Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการบริหารงานศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดแพร่

คู่มือการบริหารงานศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดแพร่

Published by phrae.edu, 2021-02-22 08:46:11

Description: คู่มือการบริหารงานศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดแพร่ประจำปี พ.ศ. 2564

Search

Read the Text Version

๑ คู่มือการบริหารงานศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตามโครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔

๒ คู่มือการบริหารงานศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตามโครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔

ข๓ สารบญั คานา ...................................................................................................................... หนา้ ก สารบัญ ...................................................................................................................... ข ง สารบัญตาราง ...................................................................................................................... 1 2 หน้าทข่ี องผ้อู านวยการสถานศึกษา.......................................................................................... 3 4 หนา้ ทรี่ องผู้อานวยการสถานศกึ ษา.......................................................................................... 7 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน...................................................................................... 8 หนา้ ท่ขี องคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน บทบาทกรรมการ ๙ ๑๑ สถานศกึ ษา……………………………………………………………………………………… 1๑ 1๕ คณะกรรมการบรหิ ารสถานศึกษา 1๕ 1๖ หน้าท่ีของคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา................................................ 1๘ หนา้ ทีข่ องผู้ปกครองนักเรียน………………..……………………………………………… 1๘ ข้อมูลทั่วไปและสภาพปัจจบุ ัน 1๙ ขอ้ มูลทวั่ ไป................................................................................................... ๒1 24 ข้อมูลดา้ นการบริหาร.................................................................................... 28 ประวตั ิความเปน็ มาของศูนย์การศกึ ษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่.................. 29 จดุ เนน้ ของสานักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ............................................................................ 30 กลยทุ ธข์ องสานักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ............................................................................ การใหบ้ ริการเพ่อื พฒั นาสมรรถภาพเด็กพกิ าร.......................................................................... ๓1 ตราสญั ลกั ษณ์ประจาศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวัดแพร่ อักษรย่อ, ปรชั ญา, เอกลกั ษณ์, อัตลักษณ์, สปี ระจาศนู ย์....................... วสิ ยั ทัศน์, พนั ธกจิ , เปาู ประสงคห์ ลัก........................................................ ประเดน็ กลยทุ ธ์, จดุ เนน้ การจัดการศกึ ษา, บทบาทหน้าที่ ของศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ................................................................................ ประกาศการใช้มาตรฐานการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานศูนย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวัดแพร่....... ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานการศึกษาศูนย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั แพร่................ ข้อมูลดา้ นบคุ ลากร ศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจังหวัดแพร่ ข้าราชการครู................................................................................................. พนักงานราชการ, ครูอตั ราจ้าง, ครสู อนเด็กเจบ็ ป่วยในโรงพยาบาล เจา้ หน้าทธี่ ุรการ............................................................................................. ลกู จา้ งชัว่ คราว (พเ่ี ลย้ี งเด็กพิการ), (คนครัว นักการภารโรง คนงาน)........ ข้อมูลดา้ นอาคารสถานที่ แหลง่ เรียนรูภ้ ายในศูนย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั แพร่......................... ค่มู ือการบรหิ ารงานศนู ย์การศกึ ษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ ตามโครงสรา้ งการบริหารงานของสถานศึกษา ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔

๔ค โครงสรา้ งการบรหิ ารงานศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั แพร่ หน้า โครงสร้างการบรหิ ารงานศนู ย์การศกึ ษาพิเศษ ประจาจงั หวัดแพร่ ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔......................................................................... 33 โครงสร้างกลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการ................................................................. 34 โครงสร้างกลุม่ บรหิ ารงานบุคคล.................................................................... 46 โครงสร้างกลุ่มบริหารงานทว่ั ไป..................................................................... 56 โครงสรา้ งกลุม่ บริหารงานแผนงานและงบประมาณ...................................... ๖6 73 คณะทป่ี รึกษาและคณะผจู้ ัดทา.................................................................................................. คู่มือการบริหารงานศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจงั หวดั แพร่ ตามโครงสร้างการบริหารงานของสถานศกึ ษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔

ง๕ สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ ๑ ตารางแสดงจานวนเด็กพกิ ารท่ีรบั บริการจากศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจงั หวัดแพร.่ ................................................................................................. 1๗ ค่มู อื การบริหารงานศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจงั หวัดแพร่ ตามโครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสถานศกึ ษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔

1๖ หนา้ ท่ขี องผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๑. ดาเนนิ การบังคบั บัญชาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาตามอานาจหน้าที่ บริหารกิจการของสถานศึกษาใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายระเบียบข้อบังคับ นโยบายและวตั ถปุ ระสงค์ ของสถานศกึ ษา ๒. ดาเนนิ การวางแผนพฒั นาการศกึ ษา ประเมิน และจัดทารายงานเกีย่ วกบั กจิ การของสถานศกึ ษา ๓. จดั ทาและพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษาหรือแนวทางการใหบ้ รกิ ารช่วยเหลือระยะแรกเรมิ่ และการ พฒั นาศักยภาพคนพกิ าร จัดกระบวนการเรยี นรู้ พฒั นาสื่อ นวตั กรรมและเทคโนโลยีทางการศกึ ษา ดาเนินการนิเทศ และวัดผลประเมินผล ๔. ดาเนนิ การส่งเสริมและจดั การศกึ ษาใหก้ ับคนพิการท้ังในระบบ นอกระบบและตามอธั ยาศัย ๕. ดาเนนิ การจดั ทาระบบประกันคณุ ภาพการศึกษาในสถานศึกษา ๖. ดาเนินการบริหารงบประมาณการเงินและทรัพยส์ ิน ๗. ดาเนนิ การวางแผนบริหารงานบคุ คล การสรรหา บรรจุ แต่งตง้ั เสริมสรา้ งประสทิ ธภิ าพในการ ปฏิบตั งิ าน วนิ ยั การรกั ษาวินัย การดาเนินการทางวินัย การออกจากราชการ การอุทธรณ์ และรอ้ งทกุ ข์ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ ๘. ดาเนนิ การจดั ทามาตรฐานและภาระงานของข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา ประเมนิ ผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานของข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ๙. ดาเนนิ การ สง่ เสรมิ สนับสนนุ ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาให้มีการพัฒนาอยา่ งต่อเน่ือง ๑๐. ดาเนินการประสานความร่วมมือกับชมุ ชนและท้องถิน่ ในการระดมทรัพยากรเพื่อการศกึ ษา และใหบ้ รกิ ารดา้ นวิชาการแกช่ มุ ชน ๑๑. จดั ระบบควบคมุ ภายในสถานศึกษา ๑๒. จดั ระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน ๑๓. ดาเนินการเปน็ ผแู้ ทนของสถานศกึ ษาในกิจการทัว่ ไป รวมทัง้ การจัดนติ กิ รรม สัญญาในราชการ ของสถานศึกษาตามวงเงนิ งบประมาณที่สถานศึกษาได้รบั ตามที่ไดร้ บั มอบอานาจ คมู่ ือการบริหารงานศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตามโครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสถานศกึ ษา ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔

๗2 หนา้ ทีร่ องผูอ้ านวยการสถานศึกษา ปฏิบัติหน้าท่ีรองผู้อานวยการสถานศึกษา โดยปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้อานวยการ สถานศึกษาในการช่วยบริหารกิจการของสถานศึกษา การวางแผนการปฏิบัติงาน การควบคุม กากับ ดูแล เกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล การบริหารงานทั่วไปและงานอื่น ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ดังนี้ ๑. กลุ่มบริหารงานวิชาการ จัดทาและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา แนวทางการให้บริการช่วยเหลือ ระยะแรกเริ่มและการพัฒนาศักยภาพคนพิการ การจัดกระบวนการเรียนรู้ การพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา นิเทศ การวัดผลและประเมินผล ส่งเสริมและจัดการศึกษาให้กับผู้เรียนทุก กลุ่มเปูาหมาย โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล เพ่ือพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ จัดให้มีระบบการ ประกันคุณภาพการศึกษา ยกระดับและพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นท่ียอมรับ ของชุมชน และมกี ารจดั ทารายงานผลการศึกษาของสถานศึกษาตอ่ ชมุ ชนและผูท้ เ่ี ก่ยี วข้อง ๒. กลุ่มบริหารงานแผนงานและงบประมาณ จัดทาแผนปฏิบัติราชการให้สอดคล้องกับนโยบาย ของทางราชการและชุมชน โดยเน้นความสาคัญต่อการจัดสรรงบประมาณพัฒนาผู้เรียนเป็นอันดับแรก และมีการวางแผนระดมทุนทางสังคมจากทุกภาคส่วนเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษา อย่างเปน็ ระบบ ทัง้ ระบบการบรหิ ารงานพัสดุ การจดั ซอื้ จดั จา้ ง การเงนิ บญั ชี และพัสดุครภุ ณั ฑ์ ๓. กลุ่มบริหารงานบุคคล มีการวางแผนการจัดการบริหารงานบุคคล เพ่ือเสริมสร้างประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงานของบุคลากร โดยจัดทามาตรฐานภาระงานของบุคคลให้ชัดเจน มีการส่งเสริมสนับสนุน บคุ ลากรใหม้ ีการพฒั นาอยา่ งต่อเนอ่ื ง รวมทง้ั การสร้างขวญั กาลังใจอย่างท่ัวถงึ และเป็นธรรม ๔. กลุ่มบริหารงานทั่วไป บริหารสถานศึกษาให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ นโยบาย และวัตถุประสงค์ เปูาหมายของสถานศึกษา จัดระบบควบคุมภายในสถานศึกษา เพื่อเป็นแนวทาง ในการดาเนินงาน และกากับ ติดตาม ตรวจสอบ จัดให้มีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ส่งเสริมสนับสนุน ช่วยเหลือให้ตรงกับความต้องการของผู้เรียนกลุ่มต่าง ๆ โดยมีการประสานภาคีเครือข่ายชุมชนท้องถิ่น ในการระดมทุนทางสังคม เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาและให้บริการทางวิชาการ บุคลากร วัสดุอุปกรณ์ สถานท่ีแกช่ มุ ชน คู่มอื การบรหิ ารงานศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจงั หวัดแพร่ ตามโครงสร้างการบรหิ ารงานของสถานศึกษา ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔

3๘ คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั แพร่ 1. นายเชษฐา สยนานนท์ ผทู้ รงคุณวุฒิ ประธานกรรมการ 2. นายอนุวธั วงศ์วรรณ 3. นายทวศี กั ด์ิ ลอ้ บณุ ยารกั ษ์ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ กรรมการ 4. นายชวลิต บทกลอน 5. พระครศู รีกิตติวงศ์ ผู้ทรงคณุ วุฒิ กรรมการ 6. นายสิทธิพร กาศสกูล 7. นางสาวมธั รกิ า เป็งวัน ผู้แทนองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ กรรมการ 8. นายพิชติ พล ฝักฝาุ ย 9. นางบุณยรกั ษ์ ภู่พฒั น์ ผแู้ ทนพระภิกษุสงฆ์ กรรมการ ผู้แทนองค์กรชมุ ชน กรรมการ ผูแ้ ทนผูป้ กครอง กรรมการ ผู้แทนครู กรรมการ ผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา กรรมการ/เลขานุการ ค่มู ือการบรหิ ารงานศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวัดแพร่ ตามโครงสร้างการบรหิ ารงานของสถานศึกษา ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔

๙4 หนา้ ที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน บทบาทกรรมการสถานศกึ ษา หน้าท่ีข้อ ๑ กาหนดนโยบายและแผนพัฒนาของสถานศึกษา มแี นวปฏิบัติ ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑. ศึกษาและทาความเข้าใจในความมงุ่ หมาย หลักการของการจัดการศกึ ษาตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ ๒. ศึกษาและทาความเข้าใจข้อมลู เกี่ยวกับสภาพปัจจบุ ันของชมุ ชน/ทอ้ งถน่ิ ทีต่ ัง้ ของสถานศึกษา ๓. กาหนดแผนพฒั นาสถานศึกษาด้านวชิ าการบุคลากร งบประมาณ อาคารสถานที่กิจกรรม ๔. กาหนดนโยบาย เปาู หมาย และทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ๕. กาหนดให้สถานศกึ ษา จัดทาธรรมนญู ของสถานศึกษา หนา้ ทีข่ อ้ ๒ ใหค้ วามเหน็ ชอบแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีของสถานศกึ ษา มแี นวปฏบิ ตั ิ ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑. ศึกษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกับแผนปฏิบัตกิ ารประจาปีของสถานศกึ ษา ๒. พิจารณาความสอดคล้องของแผนปฏิบตั กิ ารประจาปี กับแผนพฒั นาของสถานศกึ ษา ๓. พจิ ารณาถงึ ความเป็นไปได้และความเหมาะสมเกย่ี วกบั วิธีการหรอื ยุทธศาสตรก์ ารดาเนนิ งาน ของกจิ กรรม งาน/โครงงานทีร่ ะบุไว้ในแผนปฏิบตั ิการของสถานศึกษา ๔. ให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัตกิ ารของสถานศกึ ษา หนา้ ทข่ี ้อ ๓ ใหค้ วามเหน็ ชอบในการจดั ทาสาระหลกั สตู รให้สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของท้องถน่ิ มีแนวปฏิบัติ ดังต่อไปน้ี ๑. ศึกษาหลักการ จดุ หมาย โครงสร้างของหลักสตู ร การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ๒. พจิ ารณาความสอดคลอ้ งของสาระการเรียนรูก้ ับหลักสตู รการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ๓. พิจารณาความถูกตอ้ งความสมบูรณข์ องสาระการเรียนรแู้ ละความสอดคล้องกับความตอ้ งการ ของท้องถิ่น ๔. ให้ความเหน็ ชอบในการจดั ทาสาระการเรียนรู้ของสถานศกึ ษา หน้าที่ข้อ ๔ กากบั และติดตามการดาเนินงานตามแผนของสถานศึกษา มแี นวปฏบิ ัติ ดังตอ่ ไปนี้ ๑. กาหนดแผนการกากับและติดตามร่วมกบั สถานศึกษา ได้แก่ วิธีการ ระยะเวลา ๒. ดาเนนิ การกากับติดตามการดาเนนิ งานของสถานศึกษาตามแผนที่กาหนดไว้ โดยใชเ้ คร่อื งมือ ทห่ี ลากหลาย ๓. ใหข้ อ้ มูลปูอนกลับแก่สถานศึกษาและให้ความช่วยเหลอื สนบั สนนุ และขวญั กาลังใจในการ ดาเนนิ งานของสถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ ไปตามแผนและมีวธิ กี ารพฒั นาอย่างต่อเนื่อง หน้าที่ขอ้ ๕ ส่งเสรมิ และสนบั สนุนให้เดก็ ทุกคนในเขตบริการไดร้ ับการศึกษาข้นั พ้นื ฐานอยา่ งท่วั ถึง มคี ณุ ภาพและไดม้ าตรฐาน มีแนวปฏิบตั ิ ดังต่อไปน้ี ๑. สถานศกึ ษาจดั ทาขอ้ มูล สารสนเทศทีเ่ ก่ยี วข้องกับจานวนผูเ้ รียน การคมนาคม สภาพทางเศรษฐกจิ ๒. สนับสนุนและจดั หาที่เรยี นให้แก่เด็กในพน้ื ที่บรกิ ารไดเ้ ข้าเรียนในสถานศกึ ษาใหม้ ากทส่ี ุด ๓. จดั หาทุนการศึกษาอปุ กรณก์ ารศกึ ษาและสง่ิ จาเป็นอืน่ ๆ แก่ผเู้ รียนที่ขาดแคลน คู่มือการบริหารงานศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวดั แพร่ ตามโครงสรา้ งการบริหารงานของสถานศกึ ษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔

๑5๐ หน้าทีข่ อ้ ๖ พทิ ักษส์ ทิ ธิเด็ก ดแู ลเด็กพิการ เดก็ ด้อยโอกาสและเดก็ ท่มี ีความสามารถพิเศษ ใหไ้ ด้รับ การพัฒนาเต็มศกั ยภาพ มแี นวปฏิบตั ิ ดงั ต่อไปนี้ ๑. สนับสนนุ ให้เด็กพิการ ไดม้ กี ารเรยี นร่วมกบั เด็กปกติ ๒. สอดส่อง ดูแลเดก็ ท่ไี ดร้ ับการทารณุ กดข่ี ขม่ เหง ลว่ งละเมดิ ทางเพศ ใช้แรงงานเดก็ กกั ขัง ฯลฯ ให้ไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื และสง่ ไปขอรับบรกิ ารท่ีเหมาะสม ๓. สอดสอ่ ง ดูแลเด็กที่มคี วามบกพรอ่ งทางร่างกาย จิตใจ สตปิ ญั ญา อารมณ์ สังคม การสื่อสารและ การเรยี นร้หู รอื มีร่างกายท่ีพกิ าร หรือทพุ พลภาพหรือไม่มีผู้ดแู ลหรือดอ้ ยโอกาสให้ไดร้ ับการศึกษา ขน้ั พนื้ ฐานอย่างทว่ั ถงึ ๔. ส่งเสริม สนบั สนุน ใหส้ ถานศกึ ษาใหแ้ ก่เด็กทม่ี คี วามสามารถพเิ ศษใหไ้ ด้รบั การพฒั นา เป็นรายบคุ คลใหม้ ากทีส่ ดุ ๕. สนบั สนนุ ส่งเสรมิ การทางานร่วมกับ องคก์ รการพทิ ักษ์สิทธเิ ด็ก หนา้ ทีข่ อ้ ๗ เสนอแนะและมสี ว่ นรว่ มในการบริหารด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ดา้ นการบริหารงาน บคุ คลและดา้ นการบริหารงานท่ัวไปของสถานศกึ ษา มแี นวปฏบิ ตั ิ ดงั ต่อไปน้ี การบริหารจดั การดา้ นวชิ าการ ๑. มีส่วนรว่ มในการกาหนดมาตรฐานวิชาการของศึกษา ๒. มีสว่ นร่วมในการจัดหา ผลิตสื่อ เพื่อพฒั นาการเรยี น การบรหิ ารจัดการดา้ นงบประมาณ ๑. มสี ่วนร่วมในการกาหนดวิธกี ารบรหิ ารใชง้ บประมาณของสถานศกึ ษา โดยคานงึ ถงึ ประสิทธิภาพ ๒. มสี ว่ นรว่ มในการกาหนดวธิ ีการตรวจสอบติดตามและประเมนิ ผล การบริหารจดั การดา้ นการบรหิ ารงานบคุ คล ๑. มีส่วนรว่ มในการกาหนดแผนพฒั นาครูและบคุ ลากรอ่นื ในสถานศกึ ษาและสง่ เสริมใหม้ ีการ พัฒนาการอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ๒. ให้ขวัญกาลงั ใจและยกย่องเชิดชูเกยี รตแิ ก่ครูและบคุ ลากรอน่ื ในสถานศกึ ษา หน้าทขี่ อ้ ๘ ระดมทรพั ยากรเพือ่ การศึกษา ตลอดจนใชว้ ทิ ยากรภายนอกและภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ เพอ่ื ส่งเสรมิ พฒั นาการของนักเรียนทกุ ด้าน รวมทัง้ สืบสานจารตี ประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรมของทอ้ งถน่ิ และของชาติ มีแนวปฏิบตั ิ ดงั ต่อไปนี้ ๑. หารายไดท้ รัพยส์ ินและทรัพยากรจากแหล่งต่างๆ เพือ่ สนบั สนนุ จดั การเรยี นการสอน ๒. สง่ เสริมและกากับติดตามการใชว้ ิทยากรภายนอกและภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น ๓. ส่งเสรมิ และกากับตดิ ตามเพ่อื ให้สถานศกึ ษาจดั กจิ กรรมทศ่ี ึกษาจารีตประเพณี ศิลปวฒั นธรรม ของท้องถน่ิ และของชาติ พรอ้ มทงั้ การยกย่องเชดิ ชูเกียรตภิ ูมิปัญญาท้องถนิ่ ตามความเหมาะสม และโอกาสอนั สมควร คมู่ อื การบริหารงานศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ ตามโครงสร้างการบรหิ ารงานของสถานศกึ ษา ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔

๑6๑ หน้าทข่ี อ้ ที่ ๙ เสริมสรา้ งความสมั พันธ์ระหวา่ งสถานศกึ ษากบั ชมุ ชนตลอดจนประสานงานกับองคก์ ร ท้งั ภาครฐั และเอกชนเพื่อใหส้ ถานศกึ ษาเปน็ แหล่งวิทยากรของชุมชนและมสี ่วนร่วม ในการพัฒนาชมุ ชนและทอ้ งถิ่น มแี นวปฏบิ ัติ ดงั ต่อไปน้ี ๑. สง่ เสรมิ และสนบั สนุนให้สถานศกึ ษารว่ มกบั ชมุ ชน องคก์ รทง้ั ภาครฐั และเอกชนจดั กจิ กรรม เพอ่ื พัฒนาทอ้ งถนิ่ ๒. ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ใหส้ ถานศึกษาเป็นแหลง่ วทิ ยาการและให้บรกิ ารด้านตา่ งๆ แกช่ มุ ชน หนา้ ที่ข้อ ๑๐ ให้ความเห็นชอบรายงานผลการดาเนนิ งานประจาปขี องสถานศกึ ษา ก่อนเสนอต่อสาธารณชน มีแนวปฏบิ ตั ิ ดงั ต่อไปน้ี ๑. ใหส้ ถานศกึ ษาจดั ทารายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี ๒. เสนอแนะในการปรับปรงุ รายงานผลการดาเนินงานประจาปี ๓. ให้ความเหน็ ชอบรายงานผลการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษากอ่ นเผยแพร่ของสาธารณชน หน้าทขี่ ้อ ๑๑ แตง่ ต้ังทป่ี รกึ ษาและหรอื คณะอนกุ รรมการ เพ่ือการดาเนินงานตามระเบียบน้ี ตามที่เห็นสมควร มีแนวปฏบิ ัติ ดงั ต่อไปนี้ ประธานกรรมการสถานศึกษาแต่งตั้งที่ปรึกษาและหรือคณะอนุกรรมการตามความเหมาะสม และความจาเปน็ ในแต่ละกรณี ค่มู อื การบรหิ ารงานศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ ตามโครงสร้างการบริหารงานของสถานศกึ ษา ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔

๑7๒ คณะกรรมการบริหารสถานศึกษาศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ ๑. นางบณุ ยรักษ์ ภูพ่ ัฒน์ ตาแหนง่ ผูอ้ านวยการสถานศึกษา ๒. นายพงศกาญจน์ คาสแี ก้ว ตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศึกษา ๓. นางสาวอนสุ รา จนั ทรต์ าธรรม ตาแหน่ง รองผอู้ านวยการสถานศึกษา ๔. นางสาวเบญจวรรณ สุดเสน่ห์ ตาแหน่ง ครูชานาญการ ปฏิบัตหิ นา้ ทีห่ วั หน้ากลมุ่ บริหารงานบุคคล ๕. นายสถาพงษ์ คงสมพงษ์ ตาแหนง่ ครู ปฏิบัติหน้าท่หี ัวหน้ากล่มุ บรหิ ารงานวชิ าการ ๖. นางสาวอภิญญา กาศสนกุ ตาแหนง่ ครู ปฏบิ ตั หิ น้าท่หี ัวหนา้ กลุ่มบริหารงานทว่ั ไป ๗. นางพชั ราพรรณ กาศวลิ าศ ตาแหนง่ ครู ปฏบิ ตั ิหน้าทีห่ ัวหนา้ กลมุ่ บรหิ ารงานแผนงาน และงบประมาณ หน้าท่ขี องคณะกรรมการบรหิ ารสถานศกึ ษา ๑. ออกระเบยี บ และขอ้ บังคับตา่ งๆ ของสถานศึกษา ๒. ใหค้ วามเหน็ ชอบนโยบาย และแผนพฒั นาการศึกษาของสถานศกึ ษา ๓. ใหค้ าแนะนาการบริหารและการจดั การสถานศกึ ษาในด้านกลุ่มบรหิ ารงานบคุ คล กลุ่มบริหารงานแผนงานและงบประมาณ กลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ กลมุ่ บรหิ ารงานทัว่ ไป และความสมั พันธ์กับชุมชน ๔. กากับดูแลให้มรี ะบบการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา ๕. ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบตั งิ านของสถานศกึ ษา ๖. ให้ความเหน็ ชอบการกาหนดค่าธรรมเนียมการศกึ ษาและค่าธรรมเนยี มอืน่ ของสถานศึกษา ๗. ใหค้ วามเห็นชอบรายงานประจาปี งบการเงินประจาปีและการแต่งต้ังผูส้ อบบัญชี ๘. พิจารณาคาร้องทุกข์ของครู ผู้ปกครองและนกั เรยี น ๙. ดาเนนิ การอน่ื ตามท่ีกฎหมายระบใุ ห้เป็นอานาจหนา้ ที่ของคณะกรรมการบริหาร คูม่ ือการบริหารงานศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตามโครงสร้างการบรหิ ารงานของสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔

8๑๓ หน้าทข่ี องผู้ปกครองนกั เรยี น ๑. ช่วยสนับสนนุ การจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา ทง้ั ด้านความรู้และทนุ ทรัพย์ ๒. สนับสนุนนโยบายของสถานศกึ ษาโดยการดูแลบตุ รหลานให้ประพฤตติ นในทางทสี่ ง่ เสริมผลการเรยี นของตน ๓. แสวงหาความร่วมมอื กับชมุ ชนในส่งิ ทีส่ ามารถสนบั สนุนกิจการใด ของสถานศกึ ษากไ็ ด้ ๔. กระตุ้นใหผ้ ปู้ กครองและชมุ ชนได้เข้ามามสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมตา่ งๆ ของสถานศกึ ษา ๕. เปน็ ผเู้ สนอความคิดเห็นเก่ียวกับการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษาเพอื่ เปน็ แนวทางตา่ งๆ ของสถานศกึ ษา ๖. สง่ เสริมใหม้ ีสว่ นช่วยดูแลรกั ษาทรัพย์สินต่างๆ ของสถานศึกษาและปฏิบตั ิตามข้อตกลงต่างๆ ของสถานศึกษา ๗. ประชาสมั พันธ์ผลงานและความสาเรจ็ ของสถานศกึ ษาใหช้ ุมชนได้ทราบ ๘. ให้ความร่วมมอื กับสมาคมผ้ปู กครองและครู เพอื่ ชว่ ยเหลือในการดาเนินงานของสถานศกึ ษา ๙. สรา้ งความเช่อื ม่นั ในการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษาแกบ่ ุคคลทว่ั ไป ๑๐. ส่งเสริมสนบั สนนุ กจิ กรรมสถานศึกษาเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพนักเรียน ๑๑. รว่ มมือกบั ครเู พอื่ ประสานงาน ปูองกนั และแกไ้ ขปญั หาพฤตกิ รรมนกั เรียนที่ไม่เหมาะสม ๑๒. สนบั สนุนทรัพยากรการศึกษาตามความเหมาะสมและจาเปน็ ๑๓. ปฏิบัติตนเปน็ บุคคลแหง่ การเรยี นรู้ มีความรู้ มีคุณธรรม เปน็ แบบอย่างที่ดี คู่มือการบรหิ ารงานศนู ย์การศกึ ษาพิเศษ ประจาจงั หวดั แพร่ ตามโครงสร้างการบรหิ ารงานของสถานศกึ ษา ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔

๑9๔ ขอ้ มลู ท่วั ไปและสภาพปัจจบุ นั ข้อมูลท่ัวไป ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ สังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศจัดตั้ง เม่ือวันท่ี ๖ กรกฎาคม ๒๕๔๒ ตง้ั อยทู่ เ่ี ลขที่ ๔๔๔/๖ หมู่ท่ี ๙ ตาบลนาจักร อาเภอเมือง จงั หวัดแพร่ โทรศัพท์ ๐๕๔-๖๕๓๒๘๐ โทรสาร ๐๕๔-๖๕๓๒๘๑ เวป็ ไซต์ www.phraespecial.go.th เพจ www.facebook.com/PhraeSpeEdC มีเนอื้ ที่ ๕ ไร่ ๓ งาน ๑๗ ตารางวา โดยมอี าณาเขตดงั ต่อไปนี้ ทศิ เหนือ ตดิ ต่อกับ ทด่ี นิ เอกชน ทิศตะวนั ออก ติดตอ่ กับ ที่ดนิ เอกชน ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกับ ที่ดินเอกชน ทิศตะวันตก ตดิ ตอ่ กับ ทดี่ ินเอกชน แผนทศ่ี นู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั แพร่ คู่มือการบริหารงานศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวัดแพร่ ตามโครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔

1๑๕0 แผนผังอาคารสถานท่ี โดยสังเขป ศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ บนเน้อื ท่ี ๕ ไร่ ๓ งาน ๑๗ ตารางวา ปัจจบุ ันศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจังหวัดแพร่ ให้บริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่มเด็กพิการ ซึ่งแบ่งออก ตามประเภทความพกิ าร ดังนี้ ๑. บกพรอ่ งทางการเหน็ ๒. บกพร่องทางการไดย้ ิน ๓. บกพร่องทางสติปญั ญา ๔. บกพร่องทางรา่ งกายหรือสุขภาพ ๕. บกพร่องทางการเรยี นรู้ ๖. บกพร่องทางการพูดและภาษา ๗. บกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ ๘. บุคคลออทิสติก ๙. พิการซอ้ น นอกจากนี้ ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ ประสานงานจัดการเรียนรวมในเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษาแพร่เขต ๑ และ เขต ๒ และใหบ้ ริการในเขตพ้ืนท่ี ๘ อาเภอ ประกอบด้วย อาเภอเมืองแพร่ อาเภอสูงเม่น อาเภอหนองม่วงไข่ อาเภอเด่นชัย(หน่วยบริการ) อาเภอลอง(หน่วยบริการ) อาเภอวังชิ้น (หน่วยบริการ) อาเภอร้องกวาง(หน่วยบรกิ าร) และอาเภอสอง(หนว่ ยบริการ) คู่มือการบริหารงานศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจงั หวัดแพร่ ตามโครงสร้างการบริหารงานของสถานศึกษา ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔

1๑๑๖ ข้อมูลดา้ นการบรหิ าร ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวัดแพร่ มีการแบง่ การบรหิ ารงานออกเป็น ๔ กลุม่ คือ กลุ่มบริหารงานวิชาการ กลุ่มบริหารงานแผนงานและงบประมาณ กลุ่มบริหารงานบุคคล และกลุ่มบริหารงานท่ัวไป โดยมผี ูบ้ รหิ ารศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวดั แพร่ คนปจั จุบนั คือ นางบุณยรักษ์ ภ่พู ัฒน์ ตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศึกษา วทิ ยฐานะชานาญการพิเศษ นายพงศกาญจน์ คาสีแกว้ ตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศึกษา วิทยฐานะชานาญการพิเศษ นางสาวอนุสรา จนั ทรต์ าธรรม ตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา วิทยฐานะชานาญการ ประวตั คิ วามเปน็ มาของศูนยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจงั หวัดแพร่ กระทรวงศึกษาธิการตระหนัก และเห็นความจาเป็นที่ต้องพัฒนาการศึกษาพิเศษ ให้แก่เด็กพิการ หรือผู้ท่ีมีความบกพร่องทางร่างกาย อารมณ์ สติปัญญา และจิตใจ เพื่อให้คนพิการซึ่งเป็นกลุ่มด้อยโอกาส ได้รับบริการทางการศึกษาเต็มตามศักยภาพของแต่ละบุคคลอย่างกว้างขวางท่ัวถึง และมีประสิทธิภาพ ดังนั้นเพื่อให้การดาเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงาน ที่เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาพิเศษท้ังภาครัฐและเอกชน จึงได้ร่วมกันจัดทาแบบแผนพัฒนาการศึกษาพิเศษ ด้านคนพิการข้ึนเพ่ือให้เป็นแม่บท ซ่ึงคณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบเมื่อวันท่ี 21 มีนาคม 2538 เพ่ือให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและเอกชนนาไปเป็นแนวทางในการจัดทารายละเอียด แผนโครงการ และงบประมาณต่อไป รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ได้บัญญัติแนวทางการจัดการศึกษาโดยรัฐ จดั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน ไม่น้อยกวา่ 12 ปี อยา่ งทวั่ ถึง และมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย (มาตรา 42) และระบุว่า บุคคลท่ีพิการหรือทุพพลภาพมีสิทธิได้รับสื่อ สิ่งอานวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะและความช่วยเหลือจากรัฐ ทั้งน้ตี ามท่กี ฎหมายบัญญัติ (มาตรา 55) รัฐต้องสงเคราะหค์ นชรา ผู้ยากไร้ ผพู้ ิการหรือทุพพลภาพ และผู้ด้อยโอกาส ใหม้ คี ุณภาพชีวติ ท่ีดแี ละพึ่งตนเองได้ (มาตรา 80) พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พทุ ธศักราช 2542 (แก้ไขเพิ่มเติม 2545) เป็นกฎหมายแม่บทใน การจัดการศึกษาของประเทศไทยในปัจจุบัน ซ่ึงเป็นกฎหมายลูกตามบัญญัติในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช 2540 (มาตรา 81) กาหนดไว้หมวดท่ี 2 เร่ืองสิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา ว่า การจัดการ ศกึ ษาต้องจดั ให้อย่างทวั่ ถึง และมีคณุ ภาพโดยไม่เก็บค่าใชจ้ า่ ย การจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปี ที่รัฐต้องจัดอย่างท่ัวถึง และมีคุณภาพ การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การส่ือสาร และการเรียนรู้ หรือร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพ หรือบุคคลซ่ึง ไม่สามารถพึ่งตนเองได้ หรือไม่มีผู้ดูแล หรือด้อยโอกาสต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิโอกาส ได้รับการศึกษา คมู่ ือการบริหารงานศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจงั หวดั แพร่ ตามโครงสรา้ งการบริหารงานของสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔

1๑๒๗ ขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดโดยกฎกระทรวง การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลซ่ึงมี ความสามารถพิเศษ ต้องจัดรูปแบบทีเ่ หมาะสมโดยคานึงถงึ ความสามารถของบุคคลน้นั (มาตรา 10) ในปี 2542 กระทรวงศึกษาธิการได้เสนอมาตรการจัดการศึกษาเพ่ือให้คนพิการต่อคณะรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรีได้ประชุมปรึกษา เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2542 และได้ลงมติเห็นชอบในหลักการมาตรการ จัดการศึกษาพิเศษ และได้ดาเนินการตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการเสนอ ซ่ึงในแผนดังกล่าว ได้กาหนด เป็นนโยบาย และมาตรการด้านบริการว่าจัดให้มีศูนย์หรือหน่วยงานบริการให้คาปรึกษา แนะนาวินิจฉัย ความพิการตลอดจนช่วยเหลือระยะแรกเริ่มแก่คนพิการทุกวัย และครอบครัวในระยะเร่งด่วนด้านโครงสร้าง บริหารการจัดการศกึ ษาเพือ่ คนพกิ าร คือให้มีศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัด ทาหน้าที่เป็นศูนย์เตรียมการ นานโยบายไปสู่การปฏิบัติ จัดทาและจัดสรรงบประมาณให้แก่สถานศึกษา ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในพ้ืนท่ีให้บริการการศึกษา การบาบัดฟื้นฟู และดาเนินการส่งต่อโรงเรียนและชุมชน โดยมีเงื่อนไขในข้ันนี้คือ ให้โรงเรียนศึกษาพิเศษในสังกัดกรมสามัญศึกษา ใน 35 จังหวัด ทาหน้าที่เป็น ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจา จังหวดั และเลอื กโรงเรยี นอ่ืนท่เี หมาะสมในอกี 40 จังหวัด ซึ่งต่อมากระทรวงศึกษาธิการ โดยกรมสามัญศึกษาได้ดาเนินการประกาศจัดต้ังศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศกึ ษา จานวน 13 ศนู ย์ และศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษ ประจาจังหวัดอีก 63 ศูนย์ เมื่อวันท่ี 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2543 และในวนั ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 ได้มีการปฏิรูประบบการทางานของกระทรวงต่างๆ ทาให้ ปัจจุบันศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัด และศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา ได้ย้ายสังกัดเดิมไปอยู่ใน สังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการใน ปจั จบุ นั ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ สังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โดยอยู่ในเขตพ้ืนที่การศึกษาภาคเหนือตอนบนของศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 8 จังหวดั เชยี งใหม่ จดั ต้งั ข้นึ ตามมติของคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 6 กรกฎาคม พ.ศ.2542 ได้เห็นชอบ ในหลักการของการจัดการศึกษาเพื่อคนพิการ โดยอนุมัติให้กระทรวงศึกษาธิการดาเนินการ และจัดโครงสร้างการ บริหารงานการจัดการของศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัด โดยทาหน้าท่ี เป็นศูนย์กลางการนานโยบายไปสู่การ ปฏิบัติ โดยจัดทาและจัดสรรงบประมาณให้แก่สถานศึกษา ประสานงานกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ในเขตพ้ืนที่ ที่รับผิดชอบ ในการให้บริการการช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม และเตรียมความพร้อมทางการศึกษา การบาบัดฟ้ืนฟู ดาเนินงานระบบส่งต่อ การสนับสนุนการจัดสื่อ สิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ ให้แก่ ผู้พิการ สถานศึกษา ชุมชน หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ซึ่งทางรัฐบาลได้ประกาศให้ปี พ.ศ. 2542 เป็นปีการศึกษา เพ่ือคนพิการ โดยมีคาขวัญว่า “คนพิการทุกคนท่ีอยากเรียนต้องได้เรียน” โดยให้โรงเรียนศึกษาพิเศษ สังกัดกรมสามัญศึกษา ใน 35 จังหวัด ทาหน้าทเ่ี ป็นศนู ย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดกอ่ น รวมทัง้ สิน้ 40 จังหวดั สาหรับจังหวัดแพร่ ทางกรมสามัญศึกษาได้มอบหมายให้ ผู้อานวยการโรงเรียนศึกษาพิเศษแพร่ คือ นางพิกุล เลียวสิริพงษ์ ซึ่งดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนศึกษาพิเศษแพร่ ในขณะนั้นปฏิบัติหน้าที่ หัวหน้า ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ สานักงานชั่วคราวต้ังอยู่ท่ีอาคารเรียนกึ่งถาวร จานวน 2 ห้อง โดยเป็น หอ้ งสานกั งาน และหอ้ งกายภาพบาบดั ในปี พ.ศ. 2545 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศอนุมัติการกาหนดตาแหน่ง หัวหน้าศูนย์การศึกษาพิเศษ ท่ี ศธ 1305/980 ลงวันที่ 6 ธันวาคม 2545 โดยให้บริหารศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัด และได้แต่งตั้งให้ นายธนพันธ์ สุริยาศรี อาจารย์ 2 ระดับ 7 โรงเรียนโสตศึกษาอนุสารสุนทร จังหวัดเชียงใหม่ มาดารงตาแหน่ง หัวหน้าศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ ตามคาส่ังกรมสามัญศึกษา ลงวันท่ี 29 เมษายน พ.ศ. 2545 ได้ประสานงานและรับความอนุเคราะห์จากทางโรงเรียนศกึ ษาพเิ ศษแพรใ่ นการสนับสนุน งานด้านต่างๆ มาตามลาดับ คู่มือการบริหารงานศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษ ประจาจงั หวัดแพร่ ตามโครงสรา้ งการบริหารงานของสถานศกึ ษา ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔

1๑3๘ ทง้ั น้ี ทางคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานของศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ มีมติให้ย้ายจาก โรงเรียนการศึกษาพิเศษ ปัจจุบันคือโรงเรียนแพร่ปัญญานุกุล จังหวัดแพร่ โดยมีผู้บริหารคือ นายธนพันธ์ สุริยาศรี หัวหน้าศูนย์การศึกษาพิเศษ และมีนายเกษม ใจสุบรรณ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านดง ตาบลสวนเขื่อน อาเภอเมือง จังหวัดแพร่ เป็นประธานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้ร่วมหารือเพื่อสรรหาสถานที่ต้ังแห่งใหม่ของศูนย์ การศึกษาพิเศษ คือโรงเรียนบ้านเหล่า ตาบลนาจักร อาเภอเมือง จังหวัดแพร่ จากนั้นศูนย์การศึกษาพิเศษ ได้ขอใช้ อาคารสานักงานช่ัวคราวของสานักงานการประถมศึกษาอาเภอเมืองแพร่ (สปอ.เมืองแพร่ เดิม ) เป็นอาคาร สานักงานชั่วคราว ตั้งอยู่ท่ี 13 ถนนสันเหมืองหลวง ตาบลในเวียง อาเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ ต้ังแต่วันที่ 26 พฤศจกิ ายน 2546 ถึงวันที่ 11 กรกฎาคม 2548 ต่อมา นายเกษม ใจสบุ รรณ ผอู้ านวยการโรงเรียนบ้านดง ตาบลสวนเขือ่ น อาเภอเมอื ง จงั หวัดแพร่ ประธาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้เข้าพบ พระมหาโพธิวงศาจารย์ ท่ีปรึกษา เจ้าคณะภาค 6 เพื่อขอเข้าไปดู พ้ืนท่ีต้ังศูนย์การศึกษาพิเศษแห่งใหม่ ท่ีองค์การบริหารส่วนตาบลนาจักร บริเวณสนามทางทิศใต้และบริเวณด้าน ทิศเหนือของร้านทุ่งแก้ว โดยมีพื้นท่ีประมาณ 4-6 ไร่ ทั้งน้ี พื้นที่ตรงองค์การบริหารส่วนตาบลนาจักร ไม่สามารถ ขอใช้พื้นตรงน้ีได้ เน่ืองจากอยู่ในข้ันของการดาเนินคดีของศาล จากน้ันได้ปรึกษานายมาด เหมืองจา กานันตาบล นาจกั ร ขอใชพ้ ืน้ ทต่ี รงร้านทงุ่ แกว้ ดา้ นกานนั ไดใ้ หค้ วามเหน็ วา่ พนื้ ทตี่ รงนนั้ ไมเ่ หมาะสมตอ่ สงิ่ ปลกู สร้าง นายเกษม ใจสุบรรณ ประธานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงเข้าพบกับนายสุรศักดิ์ หงส์ทอง นายกองค์การบริหารส่วนตาบลนาจักร ร่วมปรึกษาหารือเพ่ือสรรหาสถานที่ต้ังศูนย์การศึกษาพิเศษแห่งใหม่ โดยนายสุรศักด์ิ หงส์ทอง นายกองค์การบริหารส่วนตาบลนาจักร แนะนาพื้นที่ซึ่งอยู่บริเวณใกล้ กับโรงเรียน การศกึ ษาพเิ ศษ ปจั จบุ นั คือโรงเรียนแพรป่ ัญญานุกลู จงั หวัดแพร่ พร้อมกันนี้ นายธนพันธ์ สุริยาศรี หัวหน้าศูนย์การศึกษาพิเศษ นายเกษม ใจสุบรรณ ประธาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และนายสุรศักดิ์ หงส์ทอง นายกองค์การบริหารส่วนตาบลนาจักร ได้เข้าพบ นายทวีศักด์ิ ล้อบุณยารักษ์ กรรมการโครงการกาดน้าทอง เพ่ือขอรับบริจาคท่ีดินเพ่ือจัดตั้งศูนย์การศึกษาพิเศษ แหง่ ใหม่ โดยกรรมการโครงการกาดน้าทอง ๓ ท่าน คือ ๑) นายบุ้นก้ิม แซ่ลิ้ม ๒) นายทวีศักดิ์ ล้อบุณยารักษ์ ๓) นายวินัย สราญจิตกุล ร่วมประชุมกับหุ้นส่วน และลงความเห็นร่วมกัน คือ ประสงค์มอบท่ีดินดังกล่าวจัดตั้ง ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ จนถงึ ปัจจบุ นั น้ี จานวน ๕ ไร่ ๓ งาน ๑๗ ตารางวา โดยทาการมอบท่ีดินเม่ือในวันท่ี ๑๙ กันยายน ๒๕๔๖ โดยมี นายธีระ จันทรรัตน์ ผู้อานวยการสานัก บริหารงานการศึกษาพิเศษ เป็นผู้รับมอบ วันท่ี ๕ ธันวาคม ๒๕๔๗ นายธนพันธ์ สุริยาศรี ผู้อานวยการศูนย์ การศึกษาพิเศษ ประจาจงั หวดั แพร่ ทาพิธีลงเสาเอก การก่อสร้างอาคารเรียนก่ึงถาวร แล้วเสร็จและส่งมอบอาคาร เรียนก่ึงถาวร เมื่อวันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๔๘ และวันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๔๘ ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจงั หวดั แพร่ จัดพิธีทาบุญเปิดอาคารเรียนกึ่งถาวรอาคารหลังใหม่ โดยมี นายสันทัด จัตุชัย ผู้ว่าราชการจังหวัดแพร่ เป็นประธานฝุายฆราวาส และพระมหาโพธิวงศาจารย์ ที่ปรึกษา เจ้าคณะภาค 6 เป็นประธานฝุายสงฆ์ ร่วมกับ นายประหยัด ทรงคา ผู้อานวยการศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 8 จังหวัดเชียงใหม่ ตลอดจนผู้อานวยการ สถานศกึ ษาในจังหวดั แพร่ และศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดใกล้เคียงรว่ มในพิธี ปัจจุบันศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ ต้ังอยู่เลขที่ ๔๔๔/๖ หมู่ ๙ ตาบลนาจักร อาเภอเมือง จงั หวดั แพร่ ๕๔๐๐๐ หมายเลขโทรศัพทท์ ่ีสามารถติดต่อได้ ๐๕๔-๖๕๓๒๘๑ โทรสาร ๐๕๔-๖๕๓๒๘๐ บรหิ ารจัดการศกึ ษาโดย นางบุณยรกั ษ์ ภูพ่ ัฒน์ ตาแหน่ง ผ้อู านวยการสถานศกึ ษา วิทยฐานะชานาญการพิเศษ คู่มอื การบริหารงานศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวดั แพร่ ตามโครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสถานศกึ ษา ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔

1๑๔๙ ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวัดแพร่ ประกาศจัดตั้ง โดยประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง ตงั้ ศนู ย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัด ประกาศ ณ วนั ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ.2543 คมู่ อื การบรหิ ารงานศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวัดแพร่ ตามโครงสรา้ งการบริหารงานของสถานศึกษา ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔

๒1๕๐ จดุ เนน้ ของสานกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ ๑. เรง่ พัฒนาระบบฐานขอ้ มูลสารสนเทศเพอื่ การบริหาร ๒. ม่งุ พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ๓. พฒั นาสถานศึกษาให้เปน็ ศนู ย์การเรยี นรตู้ ามแนวพระราชดารฯิ ๔. มุ่งพัฒนาระบบสนับสนนุ การจดั การเรียนรว่ ม ๕. ส่งเสรมิ สนับสนนุ การจัดการศกึ ษาเพือ่ การมีงานทา ๖. สง่ เสรมิ และสนบั สนุนให้มศี ูนยก์ ารเรียนเฉพาะความพกิ าร ๗. เตรียมความพรอ้ มสูป่ ระชาคมอาเซียน ๘. ประชาสมั พันธ์การจัดการศึกษาสาหรบั เดก็ พิการและผู้ดอ้ ยโอกาส กลยทุ ธข์ องสานกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ กลยุทธ์ที่ ๑ ขยายโอกาสทางการศกึ ษาให้ทวั่ ถงึ ผเู้ รียนได้เรียนตามศักยภาพของตนเอง - ม่งุ พัฒนาคุณภาพการศึกษา - ส่งเสริมสนับสนุนการจดั การศึกษาเพ่อื การมงี านทา กลยทุ ธ์ที่ ๒ พฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดบั ตามหลักสูตร - มงุ่ พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา กลยุทธ์ที่ ๓ พฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาทัง้ ระบบ กลยทุ ธ์ที่ ๔ - มุ่งพัฒนาคุณภาพการศึกษา กลยุทธท์ ่ี ๕ - เตรยี มความพร้อมสู่ประชาคมอาเซยี น กลยทุ ธท์ ี่ ๖ ปลกู ฝงั คณุ ธรรม ความสานกึ ในความเปน็ ชาติไทย และวิถชี ีวิตตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง - พฒั นาสถานศึกษาให้เป็นศูนยก์ ารเรียนร้ตู ามแนวพระราชดารฯิ พฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการศึกษาให้มปี ระสิทธภิ าพเปน็ ไปตามหลกั ธรรมาภบิ าล เน้นการมีส่วนร่วมจากทกุ ภาคสว่ นในการสง่ เสรมิ สนบั สนุนการจดั การศกึ ษา (Good Governance) - เร่งพฒั นาระบบฐานขอ้ มลู สารสนเทศเพื่อการบรหิ าร สง่ เสริมการมีสว่ นร่วมการจัดการศกึ ษาของทกุ ภาคส่วน - มงุ่ พฒั นาระบบสนบั สนนุ การจดั การเรียนรว่ ม - สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ให้มีศนู ย์การเรียนเฉพาะความพกิ าร - ประชาสมั พนั ธ์การจดั การศึกษาสาหรับเดก็ พกิ ารและผูด้ ้อยโอกาส คู่มอื การบริหารงานศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวัดแพร่ ตามโครงสรา้ งการบริหารงานของสถานศกึ ษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔

๒11๑6๖ การใหบ้ ริการเพ่ือพฒั นาสมรรถภาพเด็กพิการศูนยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจงั หวัดแพร่ ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดแพร่ ปัจจุบันมีนักเรียนที่มารับบริการทั้งหมด ๑๔๙ คน เป็นนักเรียนตามบา้ นจานวน ๔๖ คน หน่วยบริการ ๗๐ คน และนักเรียนที่มารับบริการที่ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ แบบหมุนเวียนไป-กลับ จานวน ๓๓ คน ศูนย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั แพร่ ให้บริการเพอ่ื พัฒนาสมรรถภาพเด็กพิการหรือบุคคลที่มีความ ต้องการพิเศษทางการศึกษา ๙ ประเภท ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔ มรี ูปแบบการใหบ้ ริการ ดังน้ี 1. การใหบ้ รกิ ารช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม (Early Intervention : EI) สาหรับนักเรียนพิการที่รับบริการ แบบหมุนเวียนไป-กลบั ในศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ 2. การให้บรกิ ารชว่ ยเหลือระยะแรกเร่ิม (Early Intervention : EI) สาหรับนักเรียนพิการท่ีรับบริการ ทีห่ นว่ ยบริการ 3. การใหบ้ ริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม (Early Intervention : EI) สาหรับนักเรียนพิการท่ีรับบริการ ตามบ้าน คมู่ ือการบริหารงานศนู ย์การศึกษาพิเศษ ประจาจงั หวัดแพร่ ตามโครงสร้างการบริหารงานของสถานศึกษา ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔

๒1๗๒ ตารางแสดงจานวนเด็กพิการท่ีรับบริการจากศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวดั แพร่ จานวนเด็กพิการทร่ี ับบริการจากศนู ย์การศกึ ษาพิเศษ ประจาจงั หวัดแพร่ (คน) ประเภทของบริการ การเห็น รวม การได้ยิน (คน) ส ิตปัญญา ร่างกาย/ ุสขภาพ เรียนรู้ ูพด/ภาษา พฤติกรรม/อารม ์ณ ออทิส ิตก ิพการซ้อน แบบไป-กลบั - 1 7 5 - - - 15 5 33 ทีร่ บั บรกิ ารตามบ้าน - - 10 21 - - 1 5 9 46 หน่วยบริการ 1 1 21 24 - 1 1 8 13 70 รวม(คน) 1 2 38 50 - 1 2 28 27 149 (ขอ้ มลู ณ วันที่ 7 มกราคม ๒๕๖4) คู่มือการบรหิ ารงานศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตามโครงสร้างการบรหิ ารงานของสถานศกึ ษา ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔

1๒๘๓ ตราสัญลักษณ์ประจาศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจังหวัดแพร่ อักษรย่อ : “ศกศ.พร.” ปรชั ญา : คนพิการสามารถพฒั นาได้ เอกลกั ษณ์ : เป็นศูนยก์ ลางการฟ้ืนฟูและจดั การศกึ ษาพเิ ศษในชมุ ชน อตั ลักษณ์ : ผเู้ รยี นมีพฒั นาการเตม็ ตามศักยภาพ เปน็ ทย่ี อมรับของสังคม สีประจาศนู ย์ : “สีฟาู ขาว” วิสยั ทัศน์ เป็นสถานศกึ ษาช้ันนาดา้ นการจดั การศกึ ษาพเิ ศษในระดบั ชาติ ภายในปี 2563 พันธกิจ ๑. ส่งเสรมิ และพฒั นาผู้เรยี นใหไ้ ด้รับการพัฒนาตามแผน IEP, IFSP, ITP ด้วยรูปแบบทห่ี ลากหลาย อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ๒. สง่ เสริมและพัฒนาครใู ห้มีประสิทธภิ าพได้มาตรฐานระดับดีเย่ียม ๓. สง่ เสรมิ การบรหิ ารจดั การท่ีดี ภาคีเครือขา่ ยมีสว่ นรว่ ม ๔. ส่งเสรมิ สถานศึกษามีระบบประกนั คุณภาพทไ่ี ด้มาตรฐานตามกฎกระทรวง ๕. พัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาใหส้ ามารถนาไปใชไ้ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ ๖. ส่งเสรมิ สนบั สนุน ให้สถานศกึ ษาเปน็ สังคมแหง่ การเรยี นร้ทู ่หี ลากหลาย เอื้อตอ่ การพฒั นาของผู้เรยี น เปา้ ประสงคห์ ลัก 1. ผเู้ รียนมพี ัฒนาการตามทีก่ าหนดไว้ในแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบคุ คล และแผนการใหบ้ รกิ าร ชว่ ยเหลือเฉพาะครอบครวั สามารถพ่ึงพาตนเองได้ และมคี ณุ ภาพชีวติ ทด่ี ขี ึ้น 2. ครูปฏบิ ตั หิ นา้ ทตี่ ามมาตรฐานวชิ าชีพอย่างมีประสิทธิภาพ 3. สถานศึกษามีการบรหิ ารจดั การทีด่ ี ภาคีเครือขา่ ยมีส่วนรว่ ม 4. สถานศึกษามรี ะบบประกนั คณุ ภาพท่ีได้มาตรฐานตามกฎกระทรวง 5. มีหลักสตู รสถานศกึ ษาทีเ่ หมาะสม สามารถนาไปใช้ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 6. สถานศึกษามีแหลง่ เรียนรู้ทห่ี ลากหลาย เอ้ือใหผ้ เู้ รียนและครอบครัวสามารถเข้าถงึ และใชป้ ระโยชน์ได้ คู่มอื การบรหิ ารงานศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษ ประจาจงั หวดั แพร่ ตามโครงสร้างการบริหารงานของสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔

1๒๙๔ ประเด็นกลยทุ ธ์ 1. พัฒนาผูเ้ รียนใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานสถานศกึ ษา 2. พัฒนาครูใหม้ คี ณุ ภาพตามมาตรฐานวชิ าชีพ 3. สง่ เสริมการบริหารจัดการทเ่ี นน้ การมีส่วนรว่ มของภาคีเครือขา่ ย 4. สง่ เสริมและพัฒนาระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาอยา่ งต่อเนื่อง 5. พฒั นาหลักสตู รสถานศึกษาท่ีมคี วามเหมาะสมกับประเภทความพิการและสามารถนาไปใช้ ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 6. สง่ เสรมิ และพัฒนาสถานศึกษาเปน็ สังคมแห่งการเรยี นรู้ จุดเน้นการจัดการศึกษา ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจังหวัดแพร่ ๑. ผูเ้ รียนมกี ารพัฒนาการดีเยี่ยมตามศักยภาพ (Learners potency development) ๒. ครูมปี ระสทิ ธภิ าพ (Competent teachers) ๓. เป็นศนู ย์กลางแห่งการเรยี นร้ดู ้านการศึกษาพเิ ศษ (Special education learning center) ๔. ระบบประกนั คุณภาพ (Quality assurance system) ๕. การมีสว่ นร่วม (Stakeholders Participation) บทบาทหนา้ ที่ของศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ บทบาทที่ ๑ จดั และสง่ เสริม สนบั สนุนการศกึ ษาในลกั ษณะศูนย์บรกิ ารช่วยเหลือระยะแรกเร่มิ (Early Intervention : EI) และเตรยี มความพร้อมของคนพิการ เพ่อื เขา้ สูศ่ ูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนอนุบาล โรงเรียนเรียนร่วม โรงเรยี นเฉพาะความพกิ าร ศนู ยก์ ารเรียนเฉพาะ ความพกิ าร และหนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง เป็นตน้ บทบาทท่ี ๒ พฒั นา และฝกึ อบรมผู้ดแู ลคนพิการ บคุ ลากรทจ่ี ัดการศึกษาสาหรับคนพิการ บทบาทท่ี ๓ จดั ระบบและสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจดั ทาแผนการจัดการศกึ ษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program : IEP) สง่ิ อานวยความสะดวก ส่ือ บรกิ าร และความชว่ ยเหลืออนื่ ใดทางการศึกษาสาหรับคนพกิ าร บทบาทที่ ๔ จัดระบบบริการช่วงเชือ่ มตอ่ สาหรบั คนพิการ (Transitional Services) บทบาทท่ี ๕ ให้บรกิ ารฟื้นฟสู มรรถภาพคนพิการโดยครอบครวั และชุมชน ดว้ ยกระบวนการ ทางการศกึ ษา บทบาทท่ี ๖ เป็นศูนย์ข้อมลู รวมท้งั จดั ระบบขอ้ มูลสารสนเทศดา้ นการศกึ ษาสาหรับคนพิการ บทบาทท่ี ๗ จัดระบบสนบั สนนุ การจดั การเรียนร่วม และประสานงานการจัดการศึกษา สาหรับคนพิการในจังหวัด บทบาทท่ี ๘ ภาระหนา้ ที่อ่นื ตามทก่ี ฎหมายกาหนดหรือตามท่ไี ด้รับมอบหมาย คมู่ อื การบริหารงานศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวัดแพร่ ตามโครงสรา้ งการบริหารงานของสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔

๒๒๐๕ ค่มู ือการบรหิ ารงานศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตามโครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสถานศกึ ษา ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔

๒๒1๖ ค่มู ือการบรหิ ารงานศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตามโครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสถานศกึ ษา ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔

๒2๗2 ค่มู ือการบรหิ ารงานศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตามโครงสรา้ งการบริหารงานของสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔

2๒3๘ ค่มู ือการบรหิ ารงานศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตามโครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสถานศกึ ษา ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔

2๒4๙ ค่มู ือการบรหิ ารงานศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตามโครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสถานศกึ ษา ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔

2๓5๐ ค่มู ือการบรหิ ารงานศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตามโครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔

2๓6๑ ค่มู ือการบรหิ ารงานศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตามโครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔

๓27๒ ค่มู ือการบรหิ ารงานศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตามโครงสรา้ งการบริหารงานของสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔

๓28๓ ข้อมูลดา้ นบคุ ลากร ศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษ ประจาจงั หวดั แพร่ ขา้ ราชการครู ท่ี ช่อื -สกลุ ตาแหน่ง วุฒิการศึกษา วิชาเอก ๑ นางบุณยรักษ์ ภูพ่ ฒั น์ ผอู้ านวยการ ปริญญาโท การบริหารการศึกษา รองผู้อานวยการ ปริญญาโท การบริหารการศึกษา ๒ นายพงศกาญจน์ คาสแี กว้ รองผอู้ านวยการ ปริญญาโท การบรหิ ารการศึกษา ๓ นางสาวอนสุ รา จันทร์ตาธรรม ปริญญาโท การบรหิ ารการศึกษา ๔ นางสาวเบญจวรรณ สดุ เสน่ห์ ครู ปรญิ ญาโท การบรหิ ารการศึกษา ครู ปริญญาโท การประถมศึกษา ๕ นางสาวกฤติกา คชปัญญา ครู ปริญญาตรี การศึกษาพิเศษ ครู ปริญญาตรี การประถมศึกษา ๖ นางสุธาสินี เหว่าโต ครู ปรญิ ญาตรี การศกึ ษาพิเศษ ๗ นางวรวรรณ ชัยยะ ครู ปรญิ ญาตรี คอมพวิ เตอร์ธุรกิจ ๘ นางสมิตา เหล่าอนิ ทร์ ครู ปริญญาตรี กายภาพบาบัด ๙ นายมณฑล จนั ทร์มนตรี ครู ปริญญาตรี เทคโนโลยเี ซรามิกส์ ครู ปริญญาตรี คอมพวิ เตอร์ศึกษา ๑๐ นางพชั ราพรรณ กาศวิลาศ ครู ปรญิ ญาตรี กิจกรรมบาบดั ครู ปรญิ ญาตรี การเงนิ การบัญชี ๑๑ นายสถาพงษ์ คงสมพงษ์ ครู ปริญญาตรี กายภาพบาบดั ครผู ชู้ ว่ ย ปรญิ ญาตรี กายภาพบาบัด ๑๒ นางสาวอภิญญา กาศสนกุ ครผู ู้ชว่ ย ปรญิ ญาตรี เศรษฐศาสตร์กจิ (การบญั ช)ี ครผู ู้ชว่ ย ปรญิ ญาตรี การประถมศึกษา ๑๓ นายพชิ ติ พล ฝกั ฝ่าย ครูผ้ชู ่วย ปรญิ ญาตรี การประถมศึกษา ครูผู้ชว่ ย ปริญญาตรี คอมพิวเตอร์ศกึ ษา ๑๔ นายอิทธพิ ล แกว้ กันใจ ครูผู้ช่วย ปรญิ ญาตรี การศกึ ษาพิเศษ ครผู ู้ช่วย ๑๕ นางสาวนฤภัค ปานอยู่ ๑๖ นางสาวกรกฎ รุ่งฤทธปิ์ ระภากร ๑๗ นางสาวชญากาณฑ์ จาอนิ ทร์ ๑๘ นายวีรพงษ์ แซ่ภู่ ๑๙ นางสาวอรสิ รา ศศภิ ทั รกลุ ๒๐ นางพนารตั น์ นะสอน ๒๑ ว่าท่ี รอ้ ยตรี สราวธุ ชูชาติ ๒๒ นางสาววชิ ชญาภรณ์ พวงเงิน ค่มู อื การบริหารงานศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจงั หวัดแพร่ ตามโครงสรา้ งการบริหารงานของสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔

2๓9๔ พนักงานราชการ ที่ ช่อื -สกลุ ตาแหน่ง วฒุ ิการศึกษา วชิ าเอก ๑ นางนพิ าดา ทุง่ ล้อม พนกั งานราชการ ปริญญาตรี บริหารธุรกจิ (การบญั ช)ี พนกั งานราชการ ปริญญาตรี การบัญชี ๒ นางสาวณฐั วติ า จอมแปลง พนกั งานราชการ ปริญญาตรี ภาษาไทย พนกั งานราชการ ปรญิ ญาตรี พลศกึ ษา ๓ นางสาวพมิ พ์ผกา สีหะอาไพ พนักงานราชการ ปรญิ ญาตรี พลศกึ ษา ๔ นายคมสัน คาตา่ น ๕ นางสาวกรกนก ปาลี ครอู ัตราจา้ ง ตาแหน่ง วฒุ กิ ารศกึ ษา วิชาเอก ที่ ชื่อ-สกลุ ครูอตั ราจา้ ง ปรญิ ญาตรี การศกึ ษาปฐมวยั ๑ นางสาวบษุ บา จินดาจารญู ครูอัตราจา้ ง ปรญิ ญาตรี สงั คมศึกษา ๒ นางสาวสมุ นิ ตรา คาสวน ศนู ย์การเรียนสาหรับเด็กในโรงพยาบาล ที่ ช่อื -สกลุ ตาแหนง่ วฒุ ิการศึกษา วิชาเอก ๑ นางสาวณัฏฐนนั ท์ อนิ ต๊ะอิน ปรญิ ญาตรี สารสนเทศศาสตร์ ครสู อนเด็กเจ็บป่วย ในโรงพยาบาลแพร่ เจ้าหนา้ ทีธ่ ุรการ ตาแหน่ง วุฒิการศกึ ษา วิชาเอก เจ้าหนา้ ทธ่ี ุรการ ที่ ชื่อ-สกลุ ปรญิ ญาตรี สงั คมศึกษา ๑ นางสาวพมิ พ์ฉวี เวยี งนาค คูม่ อื การบรหิ ารงานศนู ย์การศกึ ษาพิเศษ ประจาจงั หวัดแพร่ ตามโครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔

3๓0๕ ลูกจา้ งช่วั คราว (พ่ีเลี้ยงเดก็ พิการ) ท่ี ชอ่ื -สกลุ ตาแหน่ง วฒุ ิการศึกษา วชิ าเอก พี่เลย้ี งเด็กพกิ าร - ๑ นางรัตนาพร ไชยมงคล พี่เลี้ยงเดก็ พิการ ม.ศ.๕ พ่ีเลย้ี งเดก็ พกิ าร ปรญิ ญาตรี ภาษาอังกฤษธรุ กิจ ๒ นางกาญจนา ใจไว พี่เลีย้ งเด็กพกิ าร ปริญญาตรี การจดั การ พเี่ ล้ียงเดก็ พกิ าร ปรญิ ญาตรี การจดั การทว่ั ไป ๓ นางสาวสมฤดี ไชยนนั ทน์ พี่เลี้ยงเดก็ พกิ าร ปรญิ ญาตรี การประถมศึกษา พเ่ี ลย้ี งเด็กพกิ าร ปรญิ ญาตรี รัฐประศาสนศาสตร์ ๔ นางสาวชวนพิศ วทิ ยาภรณ์พงศ์ พเ่ี ลี้ยงเดก็ พกิ าร ปรญิ ญาตรี ธุรกจิ ศึกษา-เลขานุการ พี่เลีย้ งเด็กพกิ าร ปริญญาตรี การบญั ชี ๕ นางอนงค์ มนุษยส์ ม พเ่ี ลี้ยงเดก็ พิการ ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาตรี สาขาคหกรรม ๖ นางสาวพชั รนิ ทร์ คาจันทร์ พเ่ี ลย้ี งเดก็ พกิ าร รฐั ประศาสนศาสตร์ ประกาศนยี บตั ร ๗ นางสาวรัชนกี ร หลงลาม พี่เล้ยี งเด็กพกิ าร วิชาชีพช้ันสูง ปวส. คอมพวิ เตอร์ พเ่ี ลี้ยงเดก็ พิการ ๘ นางสาวนภสั วรรณ ทิตย์วงษ์ พเ่ี ลย้ี งเด็กพิการ ปรญิ ญาตรี รฐั ศาสตรบ์ ณั ฑติ พี่เลี้ยงเดก็ พกิ าร ปรญิ ญาตรี ๙ นางสาวชฎาณัฐ บตุ รโพธิ์ พเ่ี ลีย้ งเด็กพิการ ปรญิ ญาตรี อตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี พี่เลย้ี งเด็กพิการ มธั ยมศึกษาที่ ๖ ๑๐ นางทพิ ยส์ ุดา ทองอินทร์ พเ่ี ลย้ี งเด็กพกิ าร ปริญญาตรี บญั ชีบณั ฑติ พีเ่ ลย้ี งเดก็ พิการ มัธยมศึกษาท่ี ๖ - ๑๑ นายศุภกรณ์ จนั ทร์เขยี ว ปริญญาตรี ปรญิ ญาตรี คหกรรมศาสตร์ ๑๒ นายกฤษณะ ทะนันชัย - ๑๓ นายบัณฑิต พทิ ยากติ ๑๔ นางสาวสุภาวรรณ ทาประเสรฐิ จิตวิทยาองค์การ ๑๕ นางปภาดา ใจเยน็ การบญั ชี ๑๖ นางสาววรรณนภิ า นางแล ๑๗ นางมานดิ า ถาบู้ ๑๘ นางสาวอารยี า ส่งเสริม ๑๙ นางสาววิไลภรณ์ หมอ่ งชา ลูกจ้างชวั่ คราว (คนครัว นักการภารโรง คนงาน) ท่ี ชือ่ -สกลุ ตาแหน่ง วฒุ กิ ารศกึ ษา วชิ าเอก ๑ นายภานุพันธ์ุ กาบไม้จันทร์ คนงาน จา้ งเหมา ปริญญาตรี ดนตรี มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ - ๒ นายนเรศ ฟุม่ เฟือย นักการภารโรง มธั ยมศึกษาตอนปลาย - มัธยมศึกษาตอนปลาย - ๓ นางญาณภา ช่ืนบาน คนครัว ๔ นางสาวจริ ะภา เปล่งสุข คนงาน จ้างเหมา คู่มอื การบริหารงานศนู ย์การศกึ ษาพิเศษ ประจาจงั หวดั แพร่ ตามโครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสถานศกึ ษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔

๓๓1๖ ขอ้ มูลด้านอาคารสถานท่ี ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจงั หวดั แพร่ ตั้งอยูเ่ ลขที่ ๔๔๔/๖ หมทู่ ่ี ๙ ตาบลนาจกั ร อาเภอเมือง จังหวัดแพร่ โทรศัพท์ ๐๕๔ – ๖๕๓๒๘๑ โทรสาร ๐๕๔ – ๖๕๓๒๘๐ มีเนื้อที่ 5 ไร่ ๓ งาน ๑๗ ตารางวา ประกอบดว้ ย ที่ รายการ จานวน ที่ รายการ จานวน 1 อาคารเรยี นช่ัวคราว กงึ่ ถาวร ๑ หลงั 16 หอ้ งกจิ กรรมบาบดั ๑ ห้อง 2 อาคารพยาบาล ๑ หลัง 17 ห้องกายภาพบาบดั ๑ ห้อง 3 อาคารบาบัดฟน้ื ฟู ๑ หลงั 18 หอ้ งศิลปะบาบัด ๑ หอ้ ง 4 โรงครวั โรงอาหาร ๑ หลงั 19 หอ้ งดนตรีบาบัด ๑ หอ้ ง 5 โรงจอดรถ ๑ หลัง 20 ห้องเตรยี มฝึกพดู 1 ๑ หอ้ ง 6 บ้านพักผู้บริหาร ๑ หลงั 21 หอ้ งเตรียมฝกึ พูด 2 ๑ หอ้ ง 7 บ้านพกั ครู 207 ๑ หลงั 22 หอ้ งบาบัดคลน่ื สมอง ๑ หอ้ ง 8 แฟลตครู 8 หนว่ ย ๑ หลัง 23 หอ้ งฝึกอาชพี ๑ หอ้ ง 9 ปอู มยาม ๑ หลัง 24 ห้องสานกั งานหนว่ ยบริการ ๑ หอ้ ง 10 อาคารพฒั นาผูเ้ รยี น ๑ หลงั 25 ห้องเรยี นคุณภาพ ๑ หอ้ ง 11 อาคารอเนกประสงค์ ๓ ชนั้ ๑ หลงั 26 หอ้ งสานักงานเรยี นรวม ๑ ห้อง 12 ลานกจิ กรรม ๑ หลงั 27 หอ้ งประเมนิ พฒั นาการและจิตวิทยาคลนิ ิก ๑ ห้อง 13 เสาธง 1 ตน้ 28 ห้องกระตนุ้ พัฒนาการประสาทสัมผสั ๑ หอ้ ง 14 บ้านพกั อาศยั ของเจ้าหนา้ ที่ 1 หลงั 29 ห้องงานภาคีเครอื ขา่ ยและประกนั คุณภาพ ๑ ห้อง 15 หอถงั น้า ๒ ถงั แหล่งเรียนรภู้ ายในศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ประจาจงั หวัดแพร่ 1. หอ้ งสมดุ ศูนยส์ ื่อเทคโนโลยี 2. ลานส่อื ภมู ิปัญญา 3. สนามเด็กเล่น 4. สวนกระตนุ้ พฒั นาการประสาทสมั ผัส 5. ลานสนามหญา้ เทียม 6. สวนเกษตรผสมผสานตามแนวพระราชดารฯิ คมู่ อื การบรหิ ารงานศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตามโครงสร้างการบรหิ ารงานของสถานศึกษา ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔

๓32๗ ค่มู ือการบรหิ ารงานศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตามโครงสรา้ งการบริหารงานของสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔

3๓3๘ ค่มู ือการบรหิ ารงานศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตามโครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสถานศกึ ษา ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔

3๓4๙ ค่มู ือการบรหิ ารงานศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตามโครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔

3๔5๐ ค่มู ือการบรหิ ารงานศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตามโครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔

๔36๑ ค่มู ือการบรหิ ารงานศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตามโครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสถานศกึ ษา ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔

๔3๒7 ค่มู ือการบรหิ ารงานศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตามโครงสรา้ งการบริหารงานของสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔

๔38๓ ค่มู ือการบรหิ ารงานศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตามโครงสรา้ งการบริหารงานของสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔

๔3๔9 ค่มู ือการบรหิ ารงานศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตามโครงสรา้ งการบริหารงานของสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔

๔4๕0 ค่มู ือการบรหิ ารงานศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตามโครงสรา้ งการบริหารงานของสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔

๔๔1๖ ค่มู ือการบรหิ ารงานศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตามโครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสถานศกึ ษา ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔

๔๔๗2 ค่มู ือการบรหิ ารงานศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตามโครงสรา้ งการบริหารงานของสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔

๔๔3๘ ค่มู ือการบรหิ ารงานศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตามโครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสถานศกึ ษา ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔

๔๔4๙ ค่มู ือการบรหิ ารงานศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตามโครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔

๔๕5๐ ค่มู ือการบรหิ ารงานศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั แพร่ ตามโครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔