คำอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ า วิทยาการคำนวณ รหัสวชิ า ว 23186 เวลาเรียน 1 ชวั่ โมง/สัปดาห์ ( 20 ชว่ั โมง/ภาคเรยี น ) คำอธิบายรายวชิ า ศึกษาเกี่ยวกบั การจัดการข้อมูลและสารสารเทศ การใชซ้ อฟต์แวรใ์ นการจัดการข้อมูลและสารสนเทศ ศึกษาเกี่ยวกับการประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล การรู้เท่าทันสื่อ ศึกษาเกี่ยวกับการใช้งานเทคโนโลยี สารสนเทศและกฎหมายคอมพิวเตอร์ ศกึ ษาเกี่ยวกบั แอปพลิเคชนั เทคโนโลยี ioT และการพัฒนาแอปพลิเคชัน โดยอาศยั กระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นใหผ้ ู้เรียนได้ลงมือปฏิบตั ิ ฝึกทั กษะการคดิ เผชิญสถานการณ์การ แก้ปัญหา วางแผนการเรียนรู้ ตรวจสอบการเรยี นรู้ และสร้างองค์ความรู้ใหม่ด้วยตนเองผา่ นกระบวนการคิด และปฏบิ ัติ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะการคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหาเป็น ข้นั ตอน และเป็นระบบ มีทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ รกั ษาข้อมูลสว่ นตัว และการสอื่ สารเบื้องต้นใน การแก้ปัญหาทพ่ี บในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนนำความรู้ความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์ และ นำเทคโนโลยีใหม่ที่เกิดข้ึนไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์ต่อสงั คมและการดำรงชวี ิต จนสามารถพฒั นากระบวนการคิด และจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการทักษะในการสื่อสาร ความสามารถในการ ตัดสินใจ และเป็นผู้มีจติ วทิ ยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม ค่นิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอยา่ ง สร้างสรรค์
ตวั ช้วี ัด ว. 4.2 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) รวมท้ังหมด 4 ตวั ชี้วดั ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้ 1. พัฒนาแอปพลิเคชั่นที่มี - ข้ันตอนการพัฒนาแอปพลเิ คช่ัน การบูรณาการกับวิชาอ่ืนอยา่ ง - Internet of Things (IoT) สรา้ งสรรค์ - ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการพัฒนาแอปพลิเคช่ัน เช่น Scratch,python, java, c, AppInventor - ตัวอย่างแอปพลิเคชั่น เช่น โปรแกรมแปลงสกุลเงินโปรแกรมผันเสียง วรรณยกุ ต์ โปรแกรมจำลองการแบ่งเซลลร์ ะบบรดน้ำอตั โนมตั ิ 2. รวบรวมข้อมูล ประมวลผล - การรวบรวมข้อมลู จากแหลง่ ขอ้ มูลปฐมภมู ิและทุติยภูมิประมวลผล สรา้ ง ประเมินผล นำเสนอข้อมูล ทางเลือก ประเมินผล จะทำให้ได้สารสนเทศเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาหรือ แ ล ะ ส า ร ส น เ ท ศ ต า ม การตดั สนิ ใจไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ ว ั ต ถ ุ ป ร ะ ส ง ค ์ โ ด ย ใ ช้ - การประมวลผลเป็นการกระทำกับข้อมูลเพ่ือให้ได้ผลลพั ธ์ท่ีมีความหมาย ซอฟต์แวร์ หรือบริการบน และมีประโยชน์ต่อการนำไปใช้งาน อนิ เทอรเ์ น็ตท่หี ลากหลาย - การใช้ซอฟต์แวร์หรอื บริการบนอินเทอร์เนต็ ทห่ี ลากหลายในการรวบรวม ประมวลผล สร้างทางเลือก ประเมินผลนำเสนอ จะช่วยให้แก้ปัญหาได้ อย่างรวดเร็ว ถกู ตอ้ ง และ แม่นยำ - ตัวอย่างปญั หา เช่น การเลือกโปรโมชันโทรศพั ท์ให้เหมาะกับพฤตกิ รรม การใช้งาน สินค้าเกษตรที่ต้องการและสามารถปลูกได้ในสภาพดินของ ทอ้ งถน่ิ 3. ประเมินความน่าเชื่อถือ - การประเมินความน่าเชื่อถอื ของข้อมูล เช่น ตรวจสอบและยืนยันข้อมลู ของข้อมูล วิเคราะห์สื่อและ โดยเทยี บเคียงจากข้อมูลหลายแหล่ง แยกแยะขอ้ มูลที่เปน็ ข้อเท็จจริงและ ผลกระทบจากการให้ข่าวสาร ขอ้ คิดเห็น หรือใช้ PROMPT ทผี่ ดิ เพอ่ื การใช้งานอยา่ งรู้เท่า - การสบื คน้ หาแหลง่ ต้นตอของขอ้ มลู ทัน - เหตผุ ลวบิ ัต(ิ logical fallacy) - ผลกระทบจากขา่ วสารทีผ่ ิดพลาด - การรู้เท่าทันสื่อ เช่น การวิเคราะห์ถึงจุดประสงค์ของข้อมูลและผู้ให้ ข้อมูล ตีความ แยกแยะเนื้อหาสาระของสื่อ เลือกแนวปฏิบัติได้อย่าง เหมาะสมเมื่อพบขอ้ มูลต่าง ๆ 4. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัย เชน่ การทำธรุ กรรมออนไลน์ อย่างปลอดภัยและมีความ การซอ้ื สนิ คา้ ซ้อื ซอฟตแ์ วร์ ค่าบรกิ ารสมาชกิ ซือ้ ไอเท็ม รับผิดชอบต่อสังคม ปฏิบัติ - การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งมคี วามรับผิดชอบ เช่น ไม่สร้างข่าวลวง ต า ม ก ฎ ห ม า ย เ ก ี ่ ย ว กั บ ไมแ่ ชร์ข้อมูลโดยไมต่ รวจสอบขอ้ เท็จจริง คอมพิวเตอร์ ใช้ลิขสิทธิ์ของ - กฎหมายเกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์ ผูอ้ น่ื โดยชอบธรรม - การใชล้ ขิ สิทธ์ขิ องผูอ้ น่ื โดยชอบธรรม (fair use)
การจัดทำโครงสร้างรายวิชา รายวชิ า การออกแบบและเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 จำนวน 20 ช่ัวโมง ปกี ารศึกษา 2564 ท่ี ช่ือหนว่ ย มาตรฐานฯ มโนทศั นส์ ำคัญ ชิ้นงาน เวลา น้ำหนกั คะแนน คะแนน / ตวั ชี้วัด (ช.ม.) KPA รวม 55 10 1. หนว่ ยท่ี 1 การจดั การ ว 4.2 การรวบรวมขอ้ มูล เปน็ ข้ันตอนท่ีสำคัญท่ีสดุ ของการจัดการข้อมูล และ ใบงานที่ 1 4 55 10 ข้อมลู และสารสนเทศ ม.3/2 สารสนเทศ ดังนั้นควรมีความเขา้ ใจเกี่ยวกับลักษณะและประเภทของข้อมูล เร่ือง อาชีพใน ตลอดจนวิธีการรวบรวมข้อมูล เพ่อื จะไดน้ ำไปประยุกต์ใช้ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง อนาคต การประมวลผลข้อมูล เป็นการคำนวณหรือการเปรียบเทียบ เพื่อให้ ขอ้ มูลอยู่ในรูปแบบทเ่ี ป็นประโยชน์ตรงตามความต้องการ การจัดการข้อมูลและสารสนเทศมีการนำซอฟต์แวร์ต่าง ๆ มาช่วยใน การจัดการข้อมูล โดยมีทั้งซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการรวบรวมขอ้ มลู ซอฟต์แวร์ท่ี ใชใ้ นการประมวลผลข้อมูล และซอฟตแ์ วร์ท่ใี ช้ในการนำเสนอข้อมูลเพ่ือการ จดั การข้อมลู และสารสนเทศอย่างมปี ระสิทธภิ าพ 2. หน่วยท่ี 2 ความ ว 4.2 การสืบค้นแหลง่ ข้อมูลเป็นกระบวนการค้นหาขอ้ มูลตามท่ีต้องการ โดย ใบงานที่ 2 4 น่าเช่ือถือของข้อมูล ม.3/3 ใช้เครื่องมอื ต่าง ๆ อีกท้ังข้อมลู ทไ่ี ด้จะตอ้ งมีการประเมนิ ความน่าเชื่อถือของ เร่ือง คำไหน ข้อมูล เพื่อคัดเลือกข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นข้อมูลที่มีคุณค่า มีความ เร็วกว่ากัน น่าเชื่อถือ เป็นการพิจารณาเพื่อคัดเลือกจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งจากการ ประเมินความน่าเชื่อถือจะทำให้เราได้ข้อมูลที่มีคุณค่า และนำข้อมูลไป ประยุกต์ใชอ้ ย่างเหมาะสม การรู้เท่าทันสอื่ เปน็ ลกั ษณะสมรรถนะท่คี รอบคลุมทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ในสว่ นท่เี ก่ยี วขอ้ งกับความสามารถในการเข้าถงึ สารสนเทศผ่านส่ือ และ เทคโนโลยีดิจิทลั การเลือก รับ วิเคราะห์ ประเมนิ และนำขอ้ มลู ท่ีได้รับไปใช้ ในทางสรา้ งสรรค์
ท่ี ชอื่ หนว่ ย มาตรฐานฯ มโนทศั น์สำคญั ชิ้นงาน เวลา น้ำหนกั คะแนน คะแนน / ตัวชว้ี ัด (ช.ม.) K P A รวม 3. หน่วยท่ี 3 เทคโนโลยี ว 4.2 การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศโดยคำนึงถึงความปลอดภัยในการใช้ ใบงานท่ี 3 4 5 5 - 10 สารสนเทศ ม.3/4 งาน เช่นการทำธุรกรรมออนไลน์ การซื้อสินค้าออนไลน์ และการใช้งาน เร่อื งการซ้อื เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีจิตสำนึกและจริยธรรมที่ดี คำนึงผลกระทบที่ สินค้าออนไลน์ อาจส่งผลต่อผู้อื่น ภายใต้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานเทคโนโลยี อยา่ ง สารสนเทศหลายฉบับ เช่นพระราชบญั ญัตวิ า่ ด้วยการกระทำความผดิ เกีย่ วกับ ปลอดภัย ค อ ม พ ิ ว เ ต อ ร ์ พ ร ะ ร า ช บ ั ญ ญ ั ต ิ ว ่ า ด ้ ว ย ธ ุ ร ก ร ร ม ท า ง อ ิ เ ล ็ ก ท ร อ น ิ ก ส์ พระราชบัญญตั ิการรกั ษาความมน่ั คงปลอดภยั ไซเบอร์ โดยพระราชบญั ญตั ิว่า ด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 และ พระราชบญั ญัตวิ า่ ดว้ ยการกระทำความผิดเกีย่ วคอมพวิ เตอร์ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2560 หรือลขิ สิทธิ์ เป็นผลงานทเ่ี กดิ จากการใช้ปญั ญา ความรู้ความสามารถ ในการสร้างสรรค์ผลงานซึ่งถือว่าเป็นทรัพย์สินทางปัญญาประเภทหนึ่ง ที่ กฎหมายให้ความคมุ้ ครอง - สอบกลางภาค 1/2564 10 10 - 20 4. หนว่ ยท่ี 4 พฒั นา ว 4.2 การทำให้อุปกรณ์หลายตัวสามารถสอ่ื สาร แลกเปล่ียนขอ้ มูลและทำงาน ใบงานท่ี 4 6 10 10 - 20 แอปพลิเคช่นั ม.3/1 ร่วมกันได้นั้น เรียกว่าเทดโนโลยี IOT ต้องอาศัยความสามารถของ Smart เรือ่ ง ตัวแปร Device ซง่ึ อปุ กรณ์ที่มีหนว่ ยประมวลผล หรือซนเซอร์ภายในตวั เพือ่ สง่ ข้อมูล และตวั ผา่ น Cloud Computing หรอื Wireless Network เปน็ ตัวกลางในการรับส่ง ดำเนินการ ข้อมูลภายในเครือข่ายเพื่อประมวลผล และอาศัย Dashboard สำหรับ แสดงผลและใชค้ วบคมุ การทำงานจากผใู้ ช้ ใบงานที่ 5 แอปฟลิเคชัน เป็นโปรแกรมที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพือ่ อำนวยในต้านต่าง ๆ เร่ือง การใช้ มีการออกแบบมาเพื่อใช้งานในหลายรูปแบบ ซึ่งการพัฒนาโปรแกรมใน คำส่ังแสดงผล
ท่ี ชื่อหน่วย มาตรฐานฯ มโนทศั นส์ ำคัญ ช้นิ งาน เวลา นำ้ หนักคะแนน คะแนน / ตัวชี้วัด (ช.ม.) K P A รวม ปจั จุบนั ใชโ้ ปรแกรมภาษา C หรือ ไพทอน (Python) เพราะเป็นภาษาท่ีอ่าน อินพตุ และ แล้วเข้าใจง่าย ไมข่ ับซอ้ น เอาต์พตุ ใบงานที่ 6 เรอื่ ง การ ทำงานแบบมี เง่อื นไข ใบงานที่ 7 เรอ่ื ง การ ทำซำ้ - สอบปลายภาค 1/2564 20 10 - 30 รวม 20 ช.ม. 55 45 - 100 อัตราส่วนคะแนน คะแนนเกบ็ 60 คะแนน คะแนนสอบกลางภาค 20 คะแนน คะแนนสอบปลายภาค 20 คะแนน รวม 100 คะแนน
หน่วยท่ี 1 การจดั การข้อมูล ผังมโนทศั น์ วชิ าวิทยาการคำนวณ หน่วยท่ี 3 เทคโนโลยี และสารสนเทศ ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 สารสนเทศ หนว่ ยที่ 2 ความน่าเชื่อถอื สอบกลางภาค 2/2563 ของข้อมลู ระดบั ม.3 จำนวน 20 ชั่วโมง สอบกลางภาค 1/2563 หน่วยที่ 4 พัฒนา แอปพลเิ คช่ันวศิ วกรรม
โครงสรา้ งแผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาการคำนวณ รหัสวิชา ว 23181 กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การ วธิ สี อน/ เวลา เรยี นรู้ กระบวนการจดั การเรียนรู้ (ช่วั โมง) 1. การจัดการ 1. การรวบรวม - รูปแบบการสอนแบบการอภิปราย 1 ขอ้ มูลและ ข้อมูล - วิธีการสอนแบบระบวนการ กลุม่ (Group Process) สารสนเทศ 2. การ - รูปแบบการสอนแบบการอภปิ ราย 2 ประมวลผลขอ้ มูล - วธิ กี ารสอนแบบกระบวนการ กลุ่ม (Group Process) - วธิ ีการสอนโดยใช้แนวคิดเชงิ คำนวณ (Computational Thinking) 3. การใช้ - รูปแบบการสอนแบบการอภิปราย 1 ซอฟต์แวรใ์ นการ - วธิ กี ารสอนแบบกระบวนการ กลมุ่ (Group จดั การข้อมูล Process) 2. ความ 1. การสบื คน้ เพ่อื - รปู แบบการสอนแบบการอภปิ ราย 1 น่าเชื่อถอื ของ หาแหลง่ ขอ้ มลู - วธิ กี ารสอนโดยเนน้ การเรียนรู้แบบร่วมมอื ขอ้ มลู (Collaborative learning) - เทคนคิ คู่คดิ (Think Pair Share) 2. การประเมนิ - รปู แบบการสอนแบบการอภปิ ราย 2 ความนา่ เชอ่ื ถอื - วิธกี ารสอนแบบกระบวนการ กลุ่ม (Group ของข้อมลู Process) 3. การรเู้ ท่าทนั - รูปแบบการสอนแบบการอภปิ ราย 1 ส่อื 3. เทคโนโลยี 1. การใชง้ าน - รปู แบบการสอนแบบการอภิปราย 2 สารสนเทศ เทคโนโลยี - วธิ กี ารสอนแบบการใช้คำถาม (Questioning สารสนเทศ Method) 2. กฎหมาย - รูปแบบการสอนแบบการอภิปราย 2 คอมพวิ เตอร์ และ - วธิ ีการสอนแบบกระบวนการ ลิขสิทธิ์ กลมุ่ (Group Process) 4. แอปพลเิ คชนั 1. แนวคิดและ - วิธกี ารสอนแบบการใช้คำถาม (Questioning 2 องค์ประกอบของ Method) IoT - วธิ ีการสอนโดยใชแ้ นวคิดเชิงคำนวณ (Computational Thinking) 2. ซอฟตแ์ วร์ท่ีใช้ - รปู แบบการสอนแบบการอภปิ ราย 2 ในการพัฒนาแอป - วธิ ีการสอนแบบกระบวนการกล่มุ (Group Process) พลเิ คชนั - วธิ ีการสอนโดยใชก้ ารแสดง บทบาทสมมติ (Role Playing)
หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การ วธิ สี อน/ เวลา เรยี นรู้ กระบวนการจัดการเรยี นรู้ (ชั่วโมง) - วธิ กี ารสอนโดยใช้แนวคิด เชิงคำนวณ 2 (Computational Thinking) 3. ซอฟตแ์ วรท์ ่ใี ช้ - รูปแบบการสอนแบบบรรยาย (Lecture) ในการพัฒนาแอป - วิธีการสอนโดยใชแ้ นวคิด เชงิ คำนวณ พลิเคชัน (2) (Computational Thinking)
บันทกึ ขอ้ ความ ส่วนราชการ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 อำเภอแม่แจ่ม จังหวดั เชยี งใหม่ ท่ี วนั ที่ เร่อื ง การเสนอแผนการจดั การเรียนรู้เพอื่ ขออนญุ าตใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน เรียน ผู้อำนวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ตามท่ขี ้าพเจา้ นายพงศ์ธร เปงวงศ์ ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 รหัสวิชา ว 23181 รายวิชาวทิ ยาการคำนวณ จำนวน 0.5 หน่วยกติ ในภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 นน้ั ข้าพเจ้าได้วิเคราะห์ตวั ชีว้ ัด/ผลการเรียนรู้ คำอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา เพื่อจัดทำ แผนการจัดการเรียนร้รู ายหน่วยการเรยี นรู้ ซ่งึ สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 โดยจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนท่ีเน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อที่จะได้นำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้บรรลุเป้าหมายของ หลักสตู รฯ ตอ่ ไป จงึ เรยี นมาเพ่อื โปรดทราบและพจิ ารณา ลงชือ่ ครผู ู้สอนประจำวชิ า (นายพงศ์ธร เปงวงศ์) ………/……………/………… ความเห็นของหวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ทำการตรวจสอบ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ชื่อวิชาวิทยาการคำนวณ รหัสวิชา ว 23181 ของ นายพงศธ์ ร เปงวงศ์ แลว้ มีความคิดเห็นดงั น้ี 1. ส่วนประกอบของแผนการจดั การเรยี นรู้ ท่ี รายการ มี ไมม่ ี หมายเหตุ 1 คำอธิบายรายวิชา / 2 ผลการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ัด / 3 สาระการเรียนรู้ / 4 เวลาเรียน(จำนวน ชว่ั โมง) / 5 การออกแบบกระบวนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ / 6 แผนการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ / 7 รายละเอียดแผนการวดั และประเมินการเรยี นรู้ / 2. เป็นแผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 1 ชือ่ วชิ า การสร้างเว็บไซต์ ( / ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ควรปรบั ปรุง
3. กจิ กรรมการเรียนรู้ไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้ ( / ) ทีเ่ น้นผ้เู รยี นเป็นสำคัญมาใช้ในการจัดกิจกรรมไดอ้ ย่างเหมาะสม ( ) ทยี่ ังไม่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั ควรปรับปรุงพฒั นาต่อไป 4. เปน็ แผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ที่ ( / ) นำไปใช้จรงิ ( ) ควรปรบั ปรงุ กอ่ นนำไปใช้ 5. ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ลงช่อื (นางสาวปาริชาติ สิงคำโล) …………./………../…………. ความเห็นของรองผ้อู ำนวยการโรงเรียน กลมุ่ บริหารวิชาการ ได้ทำการตรวจสอบ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 ชื่อวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี รหัสวิชา ว 23186 ของ นายพงศธ์ ร เปงวงศ์ แล้ว มคี วามคดิ เห็นดงั นี้ 1. เปน็ การวเิ คราะห์และออกแบบกระบวนการเรียนรทู้ ่ี ( ) ดมี าก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ควรปรับปรงุ 2. เป็นการวิเคราะห์และการออกแบบกระบวนการเรยี นรู้ ที่ ( ) ท่ีเน้นผเู้ รียนเป็นสำคัญมาใชใ้ นการจัดกิจกรรมไดอ้ ย่างเหมาะสม ( ) ท่ยี งั ไมเ่ น้นผ้เู รยี นเปน็ สำคญั ควรปรบั ปรุงพัฒนาตอ่ ไป 3. เปน็ การวิเคราะหแ์ ละการออกแบบกระบวนการเรยี นรู้ที่ ( ) นำไปใชจ้ รงิ ( ) ควรปรบั ปรุงก่อนนำไปใช้ 4. ขอ้ เสนอแนะ ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ลงชอื่ (นายวิเศษ ฟองตา) ………./…………../…………….. ความคดิ เห็นของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา ( ) อนุญาตให้ใช้ แผนการเรยี นรู้ นไ้ี ด้ ( ) ไม่อนญุ าต เพราะ................................................................................. ลงชอื่ (นายอดิศร แดงเรือน) ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31
แผนการจัดการเรยี นรู้ เวลา 4 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 การจดั การข้อมูลและสารสนเทศ เวลา 1 ชวั่ โมง แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 การรวบรวมข้อมูล ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 รายวชิ าวิทยาการคำนวณ กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชี้วัด สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาทีพ่ บในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาไดอ้ ย่างมี ประสิทธิภาพ รเู้ ท่าทันและมีจริยธรรม ตัวชี้วัด ม.3/2 รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศตาม วตั ถุประสงค์ โดยใชซ้ อฟตแ์ วร์หรอื บรกิ ารบนอนิ เทอรเ์ น็ตทีห่ ลากหลาย 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกลักษณะและประเภทของขอ้ มูลได้ (K) 2. เลือกวิธีการรวบรวมข้อมูลไดเ้ หมาะสมกบั ประเภทขอ้ มลู ได้ (P) 3. ตระหนักถงึ ความสำคญั ของวิธีการรวบรวมขอ้ มลู (A) 3. สาระสำคญั การรวบรวมข้อมูล เป็นขั้นตอนที่สำคัญที่สุดของการจัดการข้อมูลและสารสนเทศ ดังนั้นควรมีความ เข้าใจเกี่ยวกับลักษณะและประเภทของข้อมูล ตลอดจนวิธีการรวบรวมข้อมูล เพื่อจะได้นำไปประยุกต์ใช้ได้ อยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสมกับงานของตน หากพจิ ารณาถงึ ประเภทของข้อมูลสามารถแบ่งได้เปน็ 2 กลุ่ม ตาม แหลง่ ที่มาของขอ้ มูล ได้แก่ ขอ้ มูลปฐมภูมแิ ละขอ้ มูลทุตยิ ภูมิ 4. สาระการเรียนรู้ 1. การรวบรวมข้อมลู ปฐมภมู ิ 2. การรวบรวมขอ้ มลู ทุตยิ ภูมิ 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุง่ มั่นในการทำงาน 4. มีจิตสาธารณะ
7. กิจกรรมการเรยี นรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครสู อบถามนักเรยี นว่า “ในภาคเรยี นท่ผี ่านมา นักเรยี นชอบวชิ าไหนมากทีส่ ดุ เพราะอะไร” (ครสู มุ่ ถามนกั เรียน 4 – 5 คน) 2. จากนั้นครูถามต่อวา่ “คำถามทคี่ รถู ามขา้ งต้นเปน็ ลักษณะของขอ้ มลู ประเภทไหน” ขน้ั สอน 3. ครูทบทวนความรู้นักเรียน โดยการถามคำถาม ถ้าเราพิจารณาข้อมูลตามแหล่งที่มาของข้อมูล สามารถแบ่งข้อมูลได้ก่ีประเภท อะไรบา้ ง 4. ครูอธบิ ายกบั นักเรยี นวา่ ข้อมูลแตล่ ะประเภทมีลกั ษณะต่างกัน การรวบรวมข้อมลู จึงตา่ งกนั 5. ครูให้นักเรียนเปิดในหนังสือเรียนวิชาวิทยาการคำนวณ และอธิบายการรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ สามารถทำได้ดังนี้ การสมั ภาษณส์ ่วนบุคคล การสมั ภาษณ์ทางโทรศัพท์ การใช้แบบสอบถาม และการสังเกต 6. ครถู ามนกั เรียนว่า ในตอนตน้ ชัว่ โมงครูถามเรือ่ งวิชาที่นักเรียนชอบมากที่สุด เพราะอะไร เป็นการ เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลแบบใด 7. ครูอธบิ ายการรวบรวมขอ้ มูลทตุ ยิ ภูมิ ในการรวบรวมข้อมลู จากแหลง่ ทุติยภมู ิสามารถแบ่งออกได้ 2 รปู แบบ ไดแ้ ก่ ข้อมลู จากแหลง่ ขอ้ มูลภายในและข้อมูลจากแหลง่ ข้อมูลภายนอก 8. ครูสนทนากับนักเรียนว่า “ในคาบที่แล้วนักเรียนรูว้ ่าตัวเองชอบวิชาอะไร คาบนี้เรามาจะมาดูว่า สาขาที่นักเรียนอยากเรียนตอ่ และอาชพี ที่อยากทำอนาคต จะสมั พันธก์ ันหรอื ไม่” 9. ครูสนทนากับนักเรียนในการจัดการข้อมูลอย่างใดอย่างหนึ่ง เราต้องเลือกวิธีให้เหมาะสมกับ วัตถุประสงค์ที่เราจะใช้งาน ตั้งแต่เลือกวิธีการรวบรวมข้อมูล วิธีการประมวลผล และการนำเสนอข้อมูล จากนน้ั ครใู ห้นักเรยี นแบง่ กลุ่ม กลมุ่ ละ 4 – 5 คน 10. ครูแจกใบงานที่ 1.1.1 เรื่อง อาชีพในอนาคต ให้นักเรียนแต่ละกลุม่ รวบรวมข้อมลู ของนักเรยี น ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 3 จำนวน 20 คน ข้ึนไป ตามหัวข้อทก่ี ำหนดให้ (กลุ่มประชากรทแี่ ตล่ ะกลมุ่ รวบรวมข้อมูล ไมค่ วรซ้ำกนั ) 11. จากนั้นครูให้นักเรยี นวางแผนวิธีการรวบรวมข้อมูลที่เหมาะสม โดยนักเรียนสามารถเลอื กเพือ่ น ตา่ งห้องได้ ใชค้ าบพักเทีย่ งในการรวบรวมข้อมลู กลุ่มเปา้ หมายทนี่ ักเรยี นตอ้ งการได้ เชน่ นกั เรียนต่างหอ้ ง ขนั้ สรปุ 12. ครูใหน้ ักเรยี นรว่ มกันอภิปรายถึงความสำคัญของวิธกี ารรวบรวมขอ้ มูล 13. ครูสนทนากับนักเรียนว่า ถ้านักเรียนรวบรวมข้อมูลเสร็จแล้ว ขั้นตอนต่อไปจะต้องนำข้อมูลที่ รวบรวมได้ไปประมวลผล ซึ่งในคาบถัดไป เราจะมาเรียนรู้เรื่อง การประมวลผลข้อมูล เพื่อให้ข้อมูลนั้นอย่ใู น รูปแบบที่มีประโยชนแ์ ละตรงตามวตั ถุประสงค์การใชง้ าน
8. การวัดและประเมนิ ผล วธิ ีการวดั เคร่อื งมือวดั เกณฑก์ ารผา่ น ประเมนิ ผล ประเมินผล แต่ละจุดประสงค์ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ใบงานท่ี 1 ตรวจ การเรยี นรู้ 1. บอกลกั ษณะและประเภทของขอ้ มูลได้ (K) เร่ือง อาชพี ใบงานที่ 1 2. เลือกวิธกี ารรวบรวมข้อมูลได้เหมาะสมกับประเภท ในอนาคต เรอ่ื ง อาชพี ระดับคุณภาพ 2 ข้อมูลได้ (P) ในอนาคต ผ่านเกณฑ์ 3. ตระหนักถึงความสำคัญของวิธีการรวบรวมข้อมูล (A) 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสอื เรยี นรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ม.3 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เร่ือง การจัดการขอ้ มลู และสารสนเทศ 2. ใบงานที่ 1 เร่อื ง อาชพี ในอนาคต
ใบงานท่ี 1 เร่อื ง อาชีพในอนาคต คำช้แี จง : ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มรวบรวมขอ้ มลู ท่ีเกีย่ วขอ้ งกับการเรียนและอาชีพทอี่ ยากทำในอนาคต อย่าง น้อย 20 คน 1. วธิ ีการรวมข้อมลู (อาจมากกว่า 1 วธิ ี) พร้อมเหตุผล ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2. ขอ้ มลู ท่เี ก่ยี วขอ้ ง ช่อื – สกุล หอ้ ง สาขาท่อี ยากเรยี นตอ่ ใน คณะทอี่ ยากเรียนต่อ อาชพี ทอี่ ยากทำ ระดบั มัธยมตอนปลาย ในระดับปรญิ ญาตรี ในอนาคต 3. วธิ ีการรวบรวมข้อมูลชว่ ยใหน้ ักเรียนเขา้ ใจสงิ่ ที่คน้ หาอยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
การประเมินใบงานท่ี 1 เรอ่ื ง อาชีพในอนาคต ประเด็นในการประเมิน เกณฑ์การใหค้ ะแนน 1. การเลอื กวิธกี าร รวบรวมขอ้ มลู 32 1 2. เหตุผลการเลอื กวิธี สามารถเลอื กวธิ กี าร สามารถเลอื กวธิ ีการ สามารถเลือกวิธกี าร รวบรวมข้อมลู รวบรวมขอ้ มลู ให้ รวบรวมข้อมูลให้ รวบรวมข้อมูลให้ 3. ความสำคญั ของ เหมาะสมกบั วธิ กี ารรวบรวมข้อมูล เหมาะสมกบั เหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค์การใชง้ าน วัตถปุ ระสงคก์ ารใชง้ าน วตั ถุประสงคก์ ารใชง้ าน และเหมาะกบั กลุ่ม ตัวอย่างเพยี งบางส่วน และเหมาะกบั กลุ่ม และเหมาะกับกลมุ่ เปน็ สามารถบอกเหตขุ อง ตัวอย่าง ส่วนใหญ่ การเลือกวธิ ีรวบรวม ข้อมลู ได้สมเหตสุ มผล สามารถบอกเหตุของ สามารถบอกเหตขุ อง เพียงบางสว่ น การเลอื กวิธรี วบรวม การเลอื กวิธีรวบรวม อธิบายวิธกี ารรวบรวม ขอ้ มูลได้สมเหตุสมผล ขอ้ มูลได้สมเหตสุ มผล ข้อมูลวา่ มปี ระโยชน์กับ การรวบรวมขอ้ มลู ท่ี เปน็ ส่วนใหญ่ ต้องการได้เพียงบางสว่ น อธิบายวิธกี ารรวบรวม อธบิ ายวธิ กี ารรวบรวม ข้อมลู ว่ามปี ระโยชนก์ ับ ขอ้ มูลว่ามปี ระโยชน์กับ การรวบรวมข้อมลู ที่ การรวบรวมข้อมลู ท่ี ตอ้ งการได้ชดั เจน ตอ้ งการไดช้ ดั เจนเป็น ส่วนใหญ่ เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 8-9 ดี 5–7 พอใช้ นอ้ ยกวา่ 5 ปรบั ปรุง
แผนการจดั การเรียนรู้ เวลา 4 ชว่ั โมง หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 การจดั การขอ้ มูลและสารสนเทศ เวลา 2 ช่วั โมง แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2 การประมวลผลข้อมูล ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 รายวชิ าวิทยาการคำนวณ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวชวี้ ัด สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอย่างเป็นข้ันตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ รเู้ ท่าทนั และมจี ริยธรรม ตัวชี้วัด ม.3/2 รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศตาม วัตถปุ ระสงค์ โดยใชซ้ อฟต์แวรห์ รือบริการบนอนิ เทอรเ์ น็ตที่หลากหลาย 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. บอกประเภทของการประมวลผลขอ้ มลู ได้ (K) 2. เลือกวธิ ีการประมวลขอ้ มูลทเี่ หมาะสมกับประเภทของข้อมลู ได้ (K,P) 3. ยกตวั อยา่ งประโยชนข์ องการประมวลผลขอ้ มูลทีเ่ หมาะสมกบั ประเภทของข้อมูล (A) 3. สาระสำคัญ การประมวลผลขอ้ มูล หมายถึง วิธกี ารจัดการกับขอ้ มูลด้วยการ คำนวณหรือการเปรยี บเทียบ เพื่อให้ ข้อมูลอยใู่ นรปู แบบทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ รงตามความตอ้ งการ โดยการประมวลผลข้อมูลสามารถแบง่ ตาม อุปกรณ์ ที่ใช้ได้ 3 ประเภท คือ การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องจักรกล และการ ประมวลผลขอ้ มูลด้วยคอมพิวเตอร์ 4. สาระการเรียนรู้ 1. การประมวลผลขอ้ มูลดว้ ยมือ 2. การประมวลผลขอ้ มูลด้วยเคร่อื งจกั ร 3. การประมวลผลขอ้ มูลดว้ ยคอมพิวเตอร์ 5. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งม่นั ในการทำงาน
7. กิจกรรมการเรียนรู้ ขนั้ นำเขา้ สบู่ ทเรียน 1. ครูสอบถามว่าจากการสำรวจข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างในคาบที่แล้ว แต่ละกลุ่มใช้วิธีการรวบรวม ข้อมูล แบบใดบ้าง 2. ครูสนทนากบั นกั เรยี นวา่ เราสามารถนำขอ้ มูลน้ันมาใชเ้ ลยไดห้ รือไม่ ขั้นสอน 3. ครูอธิบายการประมวลผลข้อมูลเป็นวิธีการจัดการกับข้อมูล อาจเป็นการคำนวณหรือการเปรียบ ลักษณะต่าง ๆ เพื่อให้ขอ้ มูลน้ันอยู่ในรูปแบบที่มปี ระโยชน์ตรงกบั จุดประสงคข์ องผู้ใชง้ าน ซึ่งการประมวลผล ข้อมูลแบ่งออกตามอุปกรณ์ที่ใช้ได้ 3 ประเภท คือ การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ การประมวลผลข้อมูลด้วย เคร่ืองจักรกล และการประมวลผลขอ้ มูลด้วยคอมพิวเตอร์ 4. จากนัน้ ครอู ธิบาย “การประมวลผลขอ้ มลู ด้วยมือ” 5. ครูสนทนาว่าจากข้อมูลท่ีให้ไปรวบรวมข้อมูลในกิจกรรมอาชีพในฝัน ใหน้ ักเรียนนำข้อมูล อาชีพที่ อยากทำในอนาคตมาจัดอนั ดบั โดยการนำขอ้ มูลของกลมุ่ ตนเองมาจดั อันดับอาชพี ที่มีคนอยากทำมากท่ีสุด 5 อนั ดับ 6. ครใู หแ้ ต่ละกลมุ่ ออกมานำเสนออาชีพ 5 อนั ดบั แรกจากการรวบรวมข้อมลู ของกลุม่ ตนเอง 7. ครูถามนักเรียนว่าวิธีการจัดการกับข้อมูลที่รวบรวมได้จากเพื่อน 20 คนในคาบที่แล้วเป็นการ ประมวลผลประเภทใด เพราะอะไร 8. ครูสนทนากับนักเรียนว่า คาบที่ผ่านมานักเรียนได้ประมวลผลข้อมูลด้วยมือ เราทราบอยู่แล้วว่า การประมวลผลข้อมลู สามารถทำไดห้ ลายวิธี จากนน้ั ครูอธิบาย “การประมวลผลขอ้ มลู ด้วยเครอ่ื งจักรกล” 9. ครูยกตัวอย่างการประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องจักรกล เช่น เครื่องคิดเลขในมินมิ าร์ทที่เป็นเครื่อง ทำบัญชี อาชพี นักบญั ชที ่ีตอ้ งมีการคำนวณเก่ียวกับเงินซึ่งต้องการความแมน่ ยำสูงจะมีเครอ่ื งทำบญั ชเี ขา้ มาช่วย ทำให้การคำนวณแมน่ ยำมากขนึ้ โดยการทำงานของเคร่อื งกจ็ ะมีฟงั กช์ นั่ ตา่ ง ๆ ทีส่ ะดวกต่อการคำนวณตัวเลข 10. ครูตั้งคำถามวา่ หากข้อมูลทีเ่ ราต้องการประมวลผลมีจำนวนทีม่ ากขึน้ จนไม่สามารถประมวลได้ เอง เราจะมวี ิธกี ารแกป้ ัญหาอยา่ งไร 11. ครูยกตัวอย่างว่าในแต่ละเทอมเราจะต้องตัดเกรด และในขั้นตอนการตัดเกรดมีคะแนนที่ต้อง คำนวณหลายอย่าง ซึ่งครูส่วนใหญ่จึงจำเป็นต้องใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการประมวลผลข้อมูล จะแม่นยำกว่า และประมวลผลเรว็ กวา่ 12. ครสู อบถามวา่ นักเรยี นทราบหรอื ไม่การประมวลผลขอ้ มูลด้วยคอมพวิ เตอร์มีลำดับขนั้ ตอนออย่าง ไร 13. จากนัน้ ครูอธิบายลำดับการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ 14. ครูอธิบายวธิ กี ารประมวลผลดว้ ยคอมพิวเตอร์ ซึ่งวธิ กี ารประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ แบง่ เป็น 2 วิธี ดงั น้ี การประมวลผลแบบแบตช์ และการประมวลผลแบบอินเทอร์แอก็ ทฟิ 15. จากนั้นครูอธิบายเนื้อหา กรรมวิธีในการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ มีวิธีในการ ประมวลผลหลายวิธี ได้แก่ 1) การคำนวณ 2) การจัดเรยี งข้อมูล 3) การจดั กลุม่ ขอ้ มลู 4) การสืบคน้ ขอ้ มลู 5) การรวบรวมข้อมูล 6) การสรุปผล 7) การทำรายงาน 8) การบันทึก 9) การปรับปรุงข้อมูล 10) การสำเนา ขอ้ มลู 11) การสำรองขอ้ มลู 12) การกขู้ อ้ มูล 13) การสอื่ สารข้อมูล 14) การบีบอัดข้อมูล
16. ครูยกตวั อย่างกรรมวธิ ใี นการประมวลผลขอ้ มูลด้วยคอมพิวเตอรบ์ างข้อให้นกั เรยี นฟัง 1) การคำนวณขอ้ มลู เช่น การนำระดบั เกรดของแต่ละวชิ ามาคำนวณเพื่อหาเกรดเฉล่ยี 2) การจดั เรยี งข้อมลู เช่น การเรยี งลำดับจากนอ้ ยไปมาก การเรียงตวั อักษร 3) การจัดกลุ่มข้อมูล เช่น สรุปข้อมูลผลการเรียนนักเรียนตามชั้นของนักเรียน เช่น เกรด เฉลีย่ นักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 4) การสืบค้นข้อมูล เช่น ครูค้นหาข้อมูลผลการเรียนนักเรียนจากชื่อ ค้นหาข้อมูลนักเรียน จากรหัสนกั เรยี น 5) การรวมข้อมูล เช่น การนำประวัติการเข้าแถวมารวมกบั ประวัตผิ ลการเรยี น 17. ครูสนทนากับนักเรยี นวา่ จากคาบเรียนท่ีแลว้ เราพดู ถึงขัน้ ตอนการประมวลผลขอ้ มูลมี 3 ขน้ั ตอน จากนน้ั ใหน้ ักเรยี นศึกษารายละเอยี ดในหนังสือเรียนวชิ า เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) 18. ครูให้นักเรียนยกตัวอย่างประโยชน์ของการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ ถ้าสมมติเรา ตอ้ งการเก็บขอ้ มลู เพอื่ ทำโปรโมชันลูกคา้ ร้านสะดวกซ้ือ เราควรรวบรวมข้อมลู อะไรบ้าง ควรจัดกลุ่มขอ้ มูลแบบ ไหน ประมูลผลขอ้ มูลออกมาในรูปแบบใด เพื่อให้งา่ ยต่อการเรียกใช้งาน ใหน้ ักเรียนตอบคำถามลงสมุด 19. ครสู ุ่มนกั เรยี นเพ่อื ยกตัวอยา่ ง กรรมวธิ ใี นการประมวลผลขอ้ มูลด้วยคอมพิวเตอร์ในแต่ละวธิ ี เพื่อ เปน็ การทบทวนความร้คู าบทผี่ า่ นมา 20. ครูถามคำถามนักเรียนว่า ในการเลือกศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และ ระดบั อดุ มศึกษาเราควรตอ้ งคำนงึ ข้อมลู ด้านใดบ้าง 21. ครูสนทนากบั นักเรียนว่า จากขอ้ มูลท่ีนกั เรยี นจัดอนั ดับอาชพี ที่มีคนอยากทำมากท่ีสุด 5 อันดับ ใหน้ ักเรยี นสบื คน้ ข้อมูลวา่ ถา้ ทำงาน 5 อาชพี นี้นักเรียนควรเรยี นคณะอะไร ค่าเทอมเทา่ ไร รวบรวมขอ้ มลู อยา่ ง น้อย 6 มหาวิทยาลัยขึ้นไป จากนั้นหาค่าเฉลี่ยค่าเทอมว่าถ้าอยากทำอาชีพนี้ จะต้องเรียนคณะไหนและมี ค่าใชจ้ า่ ยเฉลี่ยเท่าไรต่อเทอม 22. ครูใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกนั วางแผน รวบรวมข้อมูล ประมวลผลข้อมลู ดว้ ยคอมพิวเตอร์ ขัน้ สรปุ 23. ครูและนักเรียนรว่ มกันอภิปรายการประมวลผลข้อมูลแตล่ ะประเภท และวิธีการเลือกเครือ่ งมอื ในการประมวลผลใหเ้ หมาะสมกบั ขอ้ มลู 8. การวดั และประเมินผล วธิ ีการวดั เครอื่ งมือวัด เกณฑก์ ารผ่าน จุดประสงค์การเรยี นรู้ ประเมินผล ประเมนิ ผล แต่ละจดุ ประสงค์ 1. บอกประเภทของการประมวลผลข้อมลู ได้ (K) การเรียนรู้ 2. เลือกวิธีการประมวลข้อมูลที่เหมาะสมกับประเภท สงั เกตการ แบบสังเกต ระดับคณุ ภาพ 2 การตอบ ผ่านเกณฑ์ ของขอ้ มูลได้ (K,P) ตอบคำถาม คำถาม 3. ยกตัวอย่างประโยชน์ของการประมวลผลข้อมูลที่ เหมาะสมกับประเภทของข้อมลู (A)
9. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสอื เรยี นรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ม.3 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรือ่ ง การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ 2. เคร่อื งคอมพิวเตอร์
แผนการจัดการเรียนรู้ เวลา 4 ช่วั โมง หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 การจดั การข้อมูลและสารสนเทศ เวลา 1 ชวั่ โมง แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 3 การใช้ซอฟตแ์ วรใ์ นการจดั การขอ้ มลู และสารสนเทศ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 รายวชิ าวิทยาการคำนวณ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชีว้ ัด สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาไดอ้ ย่างมี ประสิทธภิ าพ รเู้ ทา่ ทนั และมจี รยิ ธรรม ตัวชี้วัด ม.3/2 รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศตาม วตั ถุประสงค์ โดยใช้ซอฟต์แวรห์ รือบรกิ ารบนอินเทอร์เนต็ ทห่ี ลากหลาย 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ใช้ซอฟต์แวร์ที่เหมาะสมในการจัดการข้อมูลและสารสนเทศ และตรงวัตถุประสงค์การใช้งานได้ (K,P) 2. ตระหนักถึงข้อมลู ทน่ี ำเสนอวา่ ไมค่ วรสง่ ผลกระทบต่อผู้อืน่ (A) 3. สาระสำคัญ การจัดการข้อมูลและสารสนเทศมีการนำซอฟต์แวร์ต่าง ๆ มาช่วยในการจัดการข้อมูล โดยมีท้ัง ซอฟตแ์ วร์ทีใ่ ช้ในการรวบรวมข้อมูล ซอฟตแ์ วรท์ ่ีใช้ในการประมวลผลข้อมูล และซอฟต์แวรท์ ่ีใช้ในการนำเสนอ ขอ้ มลู เพอ่ื การจัดการขอ้ มลู และสารสนเทศอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 4. สาระการเรียนรู้ 1. ซอฟต์แวรท์ ี่ใชใ้ นการรวบรวมข้อมลู 2. ซอฟตแ์ วรท์ ่ีใชใ้ นการประมวลผลข้อมูล 3. ซอฟตแ์ วรท์ ใ่ี ช้ในการสร้างและนำเสนอข้อมูล 5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมน่ั ในการทำงาน
7. กิจกรรมการเรียนรู้ ขนั้ นำเข้าส่บู ทเรียน 1. ครูสอบถามนักเรียนว่าจากคาบที่ผ่านมาในการรวบรวมข้อมูลนักเรียนใช้เครื่องมือใดในการ รวบรวมขอ้ มูลบ้าง 2. ครถู ามนกั เรยี นวา่ กลุ่มที่ใช้แบบสอบถาม หรือใชว้ ธิ กี ารสัมภาษณ์ในการเก็บรวบรวมข้อมูลน้ันต้อง ใช้ระยะเวลาหน่งึ เพือ่ เก็บข้อมูลต่อกล่มุ ตัวอย่างหน่ึงคน หากมวี ิธีท่ีจะลดเวลาในขัน้ ตอนน้ีลงเพื่อเอาเวลาไปใช้ ในการทำงานขน้ั ตอนอน่ื ท่อี าจมีประโยชนก์ ว่าจะสง่ ผลดตี อ่ การทำงานหรอื ไม่ อย่างไร ขนั้ สอน 3. ครูอธบิ ายว่าซอฟตแ์ วร์ทีใ่ ช้ในการรวบรวมข้อมูลมีให้เลอื กใช้งานหลากหลาย และมีความสำคัญใน ข้นั ตอนการรวบรวมขอ้ มูลทมี่ ปี รมิ าณขอ้ มลู จำนวนมาก หรือต้องการความรวดเรว็ 4. ครูอธิบายเนื้อหาเรื่อง ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล เพื่อใช้จัดเก็บรวบรวมข้อมูลตามที่ ต้องการ โดยมีซอฟต์แวร์ที่น่าสนใจ ได้แก่ ซอฟต์แวร์ที่ติดตั้งอยู่บนคอมพิวเตอร์ เช่น Microsoft word และ ซอฟต์แวรท์ ใี่ ช้งานผา่ นอนิ เทอรเ์ น็ต เช่น Google Docs, Google Forms 5. ครูยกตัวอยา่ งซอฟตแ์ วร์ท่ีใชง้ านผ่านอนิ เทอร์เน็ต คือ Google Forms เปน็ ซอฟต์แวร์ท่ีถูกใช้งาน อยา่ งแพรห่ ลาย ใช้งานง่ายและมปี ระโยชน์ในการทำงาน โดยครใู หน้ ักเรยี นทดลองเป็นผู้ตอบแบบสอบถามใน กิจกรรมต่อไป เพอื่ เปน็ ตวั อย่างการจัดการขอ้ มลู และสารสนเทศ 6. ครูให้นกั เรยี นตอบแบบสอบถามใน Google Forms จากกิจกรรม “อาชพี ในอนาคต” ทีค่ รูเตรียม ไว้ 7. ครสู อบถามนกั เรียนวา่ จากตัวอย่างที่ครใู ชง้ าน Google Forms นกั เรียนคิดว่ามีขอ้ ดีอยา่ งไรบา้ ง 8. ครูอธิบายความสำคัญการเลือกใช้ซอฟตแ์ วร์ที่เหมาะกับงาน และวัตถุประสงค์ เช่น ตัวอย่างการ รวบรวบข้อมูลครูเลือกใช้ Google Forms เนื่องจากสามารถประมวลผลข้อมูลให้ได้ทันที และสามารถนำ แผนภมู ิไปใชใ้ นการนำเสนองานตอ่ ได้ จงึ ลดเวลาการทำงานได้มาก 9. ครูให้นักเรียนยกตวั อย่างโปรแกรมที่สามารถใช้โปรแกรมในการประมวลผลข้อมลู หรือการสร้าง และนำเสนอข้อมลู ได้ 10. ครูอธิบายเนื้อหาเรื่อง ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล และซอฟต์แวร์ที่ใช้สำหรับสร้าง และนำเสนอขอ้ มูล 11. ครูสอบถามนักเรียนว่า จากคาบที่แล้วครูยกตัวอย่างการใช้ซอฟต์แวร์ในการจัดการข้อมูลและ สารสนเทศ พร้อมทั้งอธิบายเนื้อหาในหนังสือเรียนเพิ่มเติม นักเรียนคิดว่าตนเองมีความถนัดในการใช้ ซอฟต์แวร์ใดเพื่อใช้ในการสร้างและนำเสนอขอ้ มลู บา้ ง 12. จากกิจกรรมที่ครูให้นักเรียนหาข้อมูลว่าถ้าต้องการทำงาน 5 อาชีพในฝันนี้นักเรียนควรเรียน คณะอะไร ค่าเฉลี่ยเทอมละเท่าไร รวบรวมข้อมูลอยา่ งน้อย 6 มหาวิทยาลัยขึ้น ในคาบเรียนนี้ให้นักเรียนนำ ขอ้ มูลทีร่ วบรวมข้อมูลและประมวลผลข้อมูลไว้ มาเตรยี มนำเสนอทีละกล่มุ โดยใหแ้ ตล่ ะกลุ่มเลือกใช้ซอฟต์แวร์ ตามความถนัดและเหมาะสมกบั วัตถุประสงคท์ จี่ ะใชง้ าน 13. ครใู หแ้ ต่ละกลมุ่ นำเสนองานหนา้ ช้นั เรยี น 14. ครูสอบถามนักเรียนแต่ละกลุ่มว่าจากการประมวลผลมมี หาวิทยาลัยใดทีน่ ่าเรียนต่อบ้าง เพราะ อะไร ขัน้ สรปุ 15. ครูให้นกั เรียนชว่ ยกนั สรุปประโยชน์จากการนำขอ้ มลู มาประมวลผล
8. การวัดและประเมินผล วธิ ีการวัด เครอ่ื งมอื วดั เกณฑก์ ารผา่ น ประเมินผล ประเมนิ ผล แตล่ ะจุดประสงค์ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ประเมินการ แบบ การเรยี นรู้ 1. ใช้ซอฟต์แวร์ที่เหมาะสมในการจัดการข้อมูลและ นำเสนอ ประเมนิ การ สารสนเทศ และตรงวัตถุประสงคก์ ารใชง้ านได้ (K,P) อาชีพ ระดบั คณุ ภาพ 2 2. ตระหนักถึงข้อมูลทีน่ ำเสนอวา่ ไม่ควรส่งผลกระทบ นำเสนอ ผา่ นเกณฑ์ ต่อผู้อื่น (A) อาชพี 9. ส่อื /แหลง่ การเรยี นรู้ 1. หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรอ่ื ง การจดั การข้อมลู และสารสนเทศ 2. ใบความรู้ เร่ือง การใช้ Google Forms 3. โทรศพั ท์มือถือ หรือเครื่องคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ เรื่อง การใช้ Google Forms คำชีแ้ จง : เอกสารน้ีเปน็ ตัวอย่างการใช้ Google Forms ในกิจกรรม อาชพี ในอนาคต ให้นักเรียนทำกจิ กรรมโดยตอบแบบสอบถามใน Google Forms ทคี่ รูเตรียมไว้ให้ จากนนั้ ครเู ปดิ ผลผลการแบบสอบถามในแถบคำสง่ั “การตอบกลบั ” ในรูปแบบแผนภูมิ ตัวอย่าง คำถามในแบบสอบถาม 1. อาชีพทอี่ ยากทำในอนาคต (ตวั อย่างตวั เลือก ครู ตำรวจ ทหาร โปรแกรมเมอร์ นักบญั ชี ดารา นกั แสดง นกั ร้อง ) 2.ระดับเงินเดือนที่คาดหวัง (ตัวอย่างตวั เลอื ก 20,000-40,000 / 40,000-60,000 / 60,000- 80,000 / 80,000-100,000 / มากกว่า 100,000 ) 3.บริษัทท่ีอยากรว่ มงานด้วย (ตวั อยา่ งตัวเลือก Apple, Facebook, Google, Adidas ) ตัวอย่าง แบบสอบถาม
ตวั อย่าง แผนภมู จิ ากการประมวลผลด้วยGoogle Forms
การประเมินการนำเสนออาชพี ประเดน็ ในการประเมิน 3 เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 1. การเลือกใช้ สามารเลอื กใชซ้ อฟตแ์ วร์ สามารเลอื กใช้ซอฟตแ์ วร์ สามารเลอื กใชซ้ อฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ในการจัดการ ท่ีเหมาะสมกบั การใช้ ทเี่ หมาะสมกับการใช้ ที่เหมาะสมกบั การใช้ ข้อมลู และสารสนเทศ รวบรวมข้อมลู หรือ รวบรวมข้อมลู หรอื รวบรวมข้อมูล หรอื ประมวลผลขอ้ มลู ตาม ประมวลผลข้อมลู ตาม ประมวลผลข้อมูลตาม วัตถุประสงค์ท่ตี อ้ งการ วตั ถปุ ระสงค์ที่ต้องการ วตั ถุประสงค์พอใชไ้ ด้ ได้ พอใช้ได้เป็นส่วนใหญ่ เพยี งบางส่วน 2. การเลือกใช้ สามารเลอื กใชซ้ อฟต์แวร์ สามารเลือกใช้ซอฟตแ์ วร์ สามารเลอื กใช้ซอฟต์แวร์ ซอฟตแ์ วรใ์ นการ ในการนำเสนอข้อมูล ในการนำเสนอข้อมลู ในการนำเสนอขอ้ มลู นำเสนอขอ้ มลู และ และสารสนเทศได้ตาม และสารสนเทศตาม และสารสนเทศพอใช้ได้ สารสนเทศ วตั ถปุ ระสงค์ท่ีตอ้ งการ วัตถุประสงค์พอใชไ้ ด้ เพยี งบางสว่ น เป็นสว่ นใหญ่ 3. การนำเสนอ มีความชัดเจนในการ มคี วามชัดเจนในการ มคี วามชัดเจนในการ ส่อื สาร ใชถ้ ้อยคำ สื่อสาร ใช้ถอ้ ยคำ สือ่ สาร ใชถ้ ้อยคำ เหมาะสมเข้าใจงา่ ย เหมาะสมเขา้ ใจงา่ ย เหมาะสมเขา้ ใจงา่ ย สามารถตอบคำถามได้ สามารถตอบคำถามได้ สามารถตอบคำถามได้ ทุกข้อ และรับฟังความ เปน็ สว่ นใหญ่ และรับฟงั เพียงบางสว่ น และรับฟงั คดิ เหน็ ของผูอ้ น่ื ความคดิ เห็นของผ้อู ่นื ความคิดเหน็ ของผ้อู ืน่ 4. ตระหนกั ถงึ ขอ้ มูลท่ีนำเสนอไม่ส่งผล ข้อมูลทนี่ ำเสนอไม่ส่งผล ข้อมูลทีน่ ำเสนอไมส่ ่งผล ผลกระทบตอ่ ผอู้ นื่ กระทบหรือใหร้ า้ ยผู้อน่ื กระทบหรอื ใหร้ า้ ยผู้อน่ื กระทบหรอื ให้ร้ายผู้อื่น ทงั้ ทางตรงและทางออ้ ม ท้ังทางตรงและทางออ้ ม ทั้งทางตรงและทางอ้อม เป็นสว่ นใหญ่ เพียงบางสว่ น เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 10 - 12 ดี 9–6 น้อยกวา่ 6 พอใช้ ปรบั ปรุง
แผนการจัดการเรียนรู้ เวลา 4 ชัว่ โมง หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 ความนา่ เชอ่ื ถอื ของขอ้ มลู เวลา 1 ชวั่ โมง แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 การสืบค้นเพอ่ื หาแหล่งข้อมลู ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 รายวชิ าวิทยาการคำนวณ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวช้ีวดั สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอยา่ งเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ รู้เท่าทันและมีจรยิ ธรรม ตวั ช้วี ัด ม.3/3 ประเมนิ ความน่าเชือ่ ถอื ของขอ้ มูล วิเคราะห์ส่ือและผลกระทบจากการใหข้ ่าวสารท่ีผิด เพ่อื การใชง้ านอยา่ งรเู้ ท่าทนั 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกขนั้ ตอนการสืบคน้ เพือ่ หาแหล่งข้อมูลดว้ ยอินเทอรเ์ นต็ ได้ (K) 2. คน้ หาข้อมลู ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ (P) 3. ค้นหาข้อมลู ทมี่ คี วามน่าเชอ่ื ถือและมคี ุณคา่ สำหรบั การนำไปใช้ประโยชนไ์ ด้ (P,A) 3. สาระสำคญั การสืบคน้ แหลง่ ข้อมูลเป็นกระบวนการค้นหาข้อมูลทต่ี อ้ งการ โดยใช้เครือ่ งมือต่าง ๆ แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท ดังนี้ 1) การสืบค้นข้อมูลด้วยมือ คือ การสืบค้นข้อมูลด้วยเอกสาร หนังสือ ตำรา 2) การสืบค้น ข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ คือ การสืบค้นข้อมูลผ่านเทคโนโลยีหรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เช่น การสืบค้น ขอ้ มลู จากระบบฐานขอ้ มูล ข้อมลู ออนไลน์ เป็นต้น 4. สาระการเรียนรู้ 1. การสบื ค้นขอ้ มูลดว้ ยระบบคอมพิวเตอร์ 2. ข้ันตอนการสืบคน้ เพ่ือหาแหลง่ ขอ้ มูลดว้ ยอนิ เทอร์เนต็ 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน
7. กิจกรรมการเรยี นรู้ ข้นั นำเข้าสู่บทเรยี น 1. ครูใหน้ กั เรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี นหน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เรอื่ ง ความนา่ เช่อื ถือของข้อมูล เพื่อ วัดความร้เู ดมิ ของนักเรยี นกอ่ นเขา้ สกู่ จิ กรรม 2. ครูสอบถามนักเรียนว่าหากต้องการทราบข้อมูลเรื่องที่สนใจ นักเรียนมีวิธีการค้นหาข้อมูลได้ อย่างไร และใช้เครื่องมือใด ขน้ั สอน 3. ครูอธิบายเน้อื หา เร่ืองในอดีตการคน้ หาขอ้ มูลส่วนใหญ่จะใช้วธิ ีการสืบค้นข้อมูลด้วยมือ เนื่องจาก ข้อมูลส่วนใหญ่อยู่ในหนังสือ เอกสาร ตำรา แต่ในยุคปัจจุบันคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตถูกใช้งานอย่าง แพร่หลาย ดงั นั้นวธิ ีการสืบคน้ ข้อมูลดว้ ยระบบคอมพิวเตอร์จงึ เป็นที่นยิ ม 4. ครูอธบิ ายเนอื้ หาในหนงั สือเรยี นวิชา เทคโนโลยี(วิทยาการคำนวณ) อจท. หนา้ 26 ขอ้ มูลที่มีอยู่ใน อนิ เทอรเ์ นต็ นั้นมีขนาดใหญ่ การสบื คน้ จึงควรมีวิธีการหรอื เคร่ืองมอื เข้ามาช่วย เชน่ กำหนดวัตถุประสงค์ของ การสืบค้น ประเภทของข้อมูลที่สามารถสืบค้นได้ อุปกรณ์และความรู้ที่ใช้ในการสืบค้น บริการอินเทอร์เนต็ เคร่อื งมอื หรือโปรแกรมสำหรับสบื ค้น 5. ครูสนทนากับนักเรียนว่าอินเทอร์เน็ตที่มีท้ังประโยชน์และโทษ ครูถามคำถามว่า “นักเรียนคิดวา่ อินเทอร์เนต็ ใหป้ ระโยชน์อย่างไรกบั ตวั นกั เรยี นบ้าง” 6. จากน้นั ครูถามคำถามนกั เรียนว่า “แล้วคดิ ว่าอนิ เทอรเ์ น็ตมีโทษกบั ตวั นักเรยี นหรือไม่ อย่างไร” 7. ครูอธิบายเพมิ่ เติมในเนื้อหาประโยชน์และโทษของอินเทอร์เนต็ 8. ครูให้นักเรียนดูแนวทางการใช้อินเทอร์เน็ตอย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม และสรุปแนวคิดเรื่อง คณุ ธรรมและจริยธรรมในการใช้อนิ เทอรเ์ นต็ รว่ มกนั 9. ครยู กตัวอยา่ งภาพเก่ียวกับการโพสในโซเชยี ลเกี่ยวกับคุณธรรมและจรยิ ธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต ใหน้ ักเรยี นดู และให้นกั เรยี นร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ ว่าขอ้ ความที่โพสเหมาะสมหรอื ไม่ อย่างไร 10. ครสู อบถามนกั เรียนวา่ หากต้องการสบื คน้ ขอ้ มูลผา่ นอนิ เทอรเ์ น็ตสามารถใชเ้ ครอ่ื งมอื ใดได้บ้าง 11. ครูอธบิ ายเครอื่ งมือสำหรับสบื คน้ ขอ้ มูลผ่านอินเทอรเ์ น็ต 12. ครูให้นักเรียนจบั ค่เู พอ่ื ทำกิจกรรม “คำไหนเร็วกว่ากนั ” กิจกรรมนตี้ อ้ งการให้นกั เรยี นกำหนดคำ สำคญั ของการสบื ค้นขอ้ และสามารถประเมนิ ความนา่ เช่ือถอื ข้องแหล่งข้อมูลได้ 13. ครูกำหนดใหน้ กั เรียนแตล่ ะค่คู น้ หาคำตอบจากอนิ เทอรเ์ นต็ โดยมอื ถอื หรือเครื่องคอมพวิ เตอร์ 14. ครูถามนักเรียนวา่ จากการทำกิจกรรมเพื่อค้นหาข้อมูลให้ได้เร็วทีส่ ุด นักเรียนได้แนวคิดอย่างไร บา้ ง 15. ครูถามนักเรียนต่อว่าหากต้องการค้นหาข้อมูลที่สนใจ นักเรียนมีการวางแผน ขั้นตอน หรือ เทคนิคอยา่ งไรบา้ ง 16. ครูอธิบายความสำคัญ ขั้นตอนการสืบค้นข้อมูลเพบนอินเทอร์เน็ต และเทคนิคการสืบค้นด้วย Google.com ข้นั สรปุ 17. ครสู อบถามนกั เรียนวา่ จากน้ีไปหากต้องการสบื ค้นขอ้ มลู ผา่ นอนิ เทอร์เนต็ ต้องมีขน้ั ตอนอยา่ งไร 18. ครใู ห้นกั เรยี นสรุปเทคนิคการคน้ หาข้อมูลที่นักเรยี นได้เรียนรรู้ ว่ มกัน
8. การวัดและประเมนิ ผล วิธีการวัด เคร่อื งมือวดั เกณฑก์ ารผา่ น ประเมินผล ประเมินผล แตล่ ะจุดประสงค์ จุดประสงค์การเรยี นรู้ ตรวจใบงาน แบบ การเรียนรู้ 1. บอกขั้นตอนการสืบค้นเพื่อหาแหล่งข้อมูลด้วย ท่ี 2 เรือ่ ง ประเมินใบ อนิ เทอร์เนต็ ได้ (K) คำไหนเร็ว งานท่ี 2 ระดับคณุ ภาพ 2 2. ค้นหาข้อมูลไดต้ รงตามวัตถุประสงค์ (P) กว่ากนั เร่อื ง คำไหน ผ่านเกณฑ์ 3. ค้นหาข้อมลู ทม่ี ีความน่าเชื่อถือและมีคุณค่าสำหรับ เรว็ กว่ากัน การนำไปใช้ประโยชน์ได้ (P,A) 9. สือ่ /แหลง่ การเรียนรู้ 1. หนังสอื เรยี นรายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.3 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรอ่ื ง ความนา่ เชื่อถือของขอ้ มูล 2. ใบงานที่ 2 เร่อื ง คำไหนเร็วกว่ากัน 3. โทรศัพทม์ อื ถือ หรอื เครอื่ งคอมพิวเตอร์
ชือ่ สมาชิก ใบงานที่ 2 เรื่อง คำไหนเร็วกวา่ กนั 1………………………………………………………………………………………………… 2………………………………………………………………………………………………… คำช้แี จง ครใู หน้ ักเรยี นจับคสู่ บื คน้ หาข้อมูลที่กำหนดให้ตอ่ ไปน้ี โดยใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ 1. การป้องกนั ตัวเม่อื ไปเทีย่ วทะเลแลว้ พลาดว่ายน้ำไปโดนแมงกะพรนุ จะแก้ปญั หาอยา่ งไร คำสำคญั ในการคน้ หาข้อมลู ................................................................................................................................ ข้อมูลที่ค้นหา...................................................................................................................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………......... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………......... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………......... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………......... แหลง่ ที่มาของขอ้ มูล……………………………………………………………………………………………………………………......... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………......... 2. เมอ่ื เปน็ ตะครวิ ขณะวา่ ยนำ้ จะเอาตวั รอดอยา่ งไร คำสำคญั ในการค้นหาขอ้ มูล................................................................................................................................ ขอ้ มูลท่ีคน้ หา...................................................................................................................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………......... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………......... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………......... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………......... แหลง่ ทม่ี าของขอ้ มูล……………………………………………………………………………………………………………………......... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………......... 3. เมื่อผูห้ ญิงโดนคุกคามจากชายฉกรรจ์ ควรมีวธิ ีปอ้ งกนั ตวั อย่างไร คำสำคญั ในการคน้ หาขอ้ มูล................................................................................................................................ ขอ้ มลู ท่ีคน้ หา...................................................................................................................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………......... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………......... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………......... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………......... แหล่งที่มาของข้อมูล……………………………………………………………………………………………………………………......... …………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………..
4. ถา้ เจอเหตกุ ารณ์ท่ีมีคนเป็นลมชัก จะตอ้ งทำอย่างไรเป็นอนั ดับแรก คำสำคญั ในการคน้ หาขอ้ มลู ......................................................................................................................... ข้อมูลท่ีค้นหา............................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. แหลง่ ทม่ี าของขอ้ มูล…………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 5. เมื่อเปน็ ตะครวิ ขณะว่ายน้ำ จะเอาตวั รอดอย่างไร คำสำคญั ในการค้นหาขอ้ มูล......................................................................................................................... ขอ้ มลู ที่คน้ หา............................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. แหลง่ ทมี่ าของข้อมลู …………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
การประเมนิ แบบฝกึ หัด ประเดน็ ในการประเมิน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 1. คน้ หาขอ้ มูล 32 1 2. แหล่งทีม่ าของข้อมูล สามารถกำหนดคำ สามารถกำหนดคำ สามารถกำหนดคำ สำคัญในการคน้ หา สำคัญในการคน้ หา สำคญั ในการค้นหา ข้อมูลไดเ้ พียงบางสว่ น ข้อมูลได้ตรงประเด็น ข้อมูลได้ตรงประเด็นเป็น และขอ้ มูลท่ไี ด้ ครอบคลมุ เพยี งบางสว่ น และขอ้ มลู ท่ีได้ ส่วนใหญ่ และขอ้ มูลทีไ่ ด้ เชน่ กนั ครอบคลุมตาม ครอบคลมุ ตาม แหลง่ ทมี่ าของข้อมลู มา วัตถปุ ระสงคท์ ่ตี ้องการ วัตถุประสงค์ท่ีตอ้ งการ จากหลายแหลง่ และมี ความนา่ เช่อื ถอื ถูกต้อง แหลง่ ทม่ี าของขอ้ มลู มา แหลง่ ที่มาของข้อมูลมา แตข่ ้อมูลอาจจะไม่ จากหลายแหลง่ และมี จากหลายแหลง่ และมี สามารถนำไปใช้ ประโยชนไ์ ด้จริง ความน่าเชอ่ื ถอื ถูกต้อง ความน่าเชือ่ ถอื ถกู ตอ้ ง มคี ุณค่าสำหรับการ มคี ณุ ค่าสำหรบั การ นำไปใช้ประโยชน์ได้จริง นำไปใช้ประโยชน์ไดจ้ รงิ เป็นสว่ นใหญ่ เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 5-6 ดี 3–4 พอใช้ น้อยกว่า 3 ปรบั ปรงุ
แผนการจัดการเรยี นรู้ เวลา 4 ชั่วโมง หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 ความนา่ เชื่อถือของข้อมูล เวลา 2 ชว่ั โมง แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 2 การประเมนิ ความน่าเช่ือถือของขอ้ มลู ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 รายวิชาวทิ ยาการคำนวณ กลุม่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วัด สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใช้แนวคดิ เชิงคำนวณในการแก้ปญั หาท่ีพบในชีวิตจริงอย่างเป็นข้ันตอน และเปน็ ระบบ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแก้ปญั หาไดอ้ ย่างมี ประสทิ ธิภาพ รเู้ ท่าทันและมีจริยธรรม ตวั ช้ีวัด ม.3/3 ประเมินความน่าเชือ่ ถอื ของขอ้ มลู วิเคราะห์ส่อื และผลกระทบจากการให้ข่าวสารท่ีผิด เพื่อการใชง้ านอย่างรเู้ ท่าทัน 2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. บอกหลักการการประเมนิ ความน่าเช่อื ถือของข้อมูลได้ (K) 2. ประเมินความน่าเชอ่ื ถอื ของข้อมลู ได้ (P) 3. คำนงึ ถึงผลกระทบที่เกดิ ขึ้นจากการใช้เหตุผลวิบตั ไิ ด้ (A) 3. สาระสำคัญ การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล เป็นขั้นตอนในการประเมินเพื่อคัดเลือกข้อมูลที่ได้จากการ สืบค้นข้อมูลที่มีคุณค่า มีความน่าเชื่อถือ เป็นการพิจารณาเพื่อคัดเลือกจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งจากการ ประเมนิ ความน่าเชื่อถือจะทำใหเ้ ราไดข้ อ้ มูลที่มีคุณคา่ และนำข้อมลู ไปประยุกตใ์ ช้อย่างเหมาะสม 4. สาระการเรียนรู้ 1. หลักการประเมนิ ความน่าเชอ่ื ถือของขอ้ มูล 2. การตรวจสอบความนา่ เชอ่ื ถือของข้อมูล 3. การประเมนิ ความน่าเช่อื ถือของขอ้ มลู โดยใช้PROMPT 4. เหตผุ ลวบิ ัติ 5. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวินยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน
7. กจิ กรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเขา้ ส่บู ทเรยี น 1. ครูถามนักเรียนว่าข้อมูล ข่าวสารในอินเทอร์เน็ตมีอยู่มากมายหากเราต้องการนำเอาข้อมูลไปใช้ ประโยชน์นักเรียนมีวิธกี ารในการคัดเลอื กขอ้ มูลท่นี า่ เชื่อถืออยา่ งไร ข้ันสอน 2. ครูเปิดตัวอย่างข่าวให้นกั เรียนดจู ากน้นั ให้นักเรยี นรว่ มกนั วิเคราะห์วา่ เป็นขอ้ มูลจรงิ หรือไม่ 3. ครถู ามนกั เรียนว่านกั เรียนใช้เกณฑ์ใดในการประเมินความน่าเชอื่ ถือของข้อมูลบ้าง 4. ครูอธิบายเน้ือหา เรือ่ ง หลกั การประเมินความน่าเช่อื ถือของขอ้ มลู จากน้ันครอู ธิบายการตรวจสอบ ความนา่ เช่ือถือของแหล่งข้อมลู 5. ครูนำตัวอย่างชุดข้อมูลหรือข่าวให้นักเรียนดูเพิ่มเติม จากนั้นให้ทุกคนช่วยกันประ เมินความ น่าเช่ือถอื (ครูสามารถหาข่าวท่ีสนใจให้เหมาะสมกับวัยของนกั เรียนได้ทางอนิ เทอร์เน็ต หรอื ส่ือสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ได)้ 6. ครสู นทนากบั นักเรียนวา่ คาบทแ่ี ลว้ เราประเมินความน่าเชือ่ ถอื ของข้อมูลด้วยหลักการการประเมิน ความน่าเชื่อถือ และการตรวจสอบแหล่งที่มาของข้อมูล นอกจาก 2 วิธีนี้แล้ว ยังสามารถประเมินความ นา่ เชอื่ ถอื ของขอ้ มลู โดยใช้ PROMPT 7. ครอู ธิบายวิธกี ารประเมินความนา่ เชื่อถือของข้อมลู โดยใช้ PROMPT 8. ครูถามคำถามทบทวนนักเรียนว่าจากคาบที่แล้วนักเรียนได้วิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของ ข้อมูลอยา่ งไรบ้าง 9. ครูนำภาพตัวอย่างการโพสข้อความบนเฟซบุ๊กให้นักเรียนดู และร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลว่าจาก ตัวอย่างดังกลา่ วนักเรยี นมคี วามคิดเหน็ อยา่ งไร (เปน็ ขา่ วทมี่ ีการใชเ้ หตผุ ลวบิ ตั ิ) 10. ครูอธิบายเพิ่มเติมว่าการสรุปเหมารวม เป็นตรรกะวิบัติที่เรียกว่า Appeal to Ignirance การ แสดงความคดิ เหน็ ต่างๆ บางเรื่องไม่มีใครทราบข้อมูลน้ัน จนทำใหอ้ า้ งความไม่รเู้ พือ่ หาข้อเท็จจรงิ น้นั 11. จากนั้นครูอธิบายเนื้อหาเรื่องการใช้เหตุผลวิบัติ และยกตัวอย่างการใช้เหตุผลวิบัติ พร้อม ผลกระทบทีเ่ กดิ ข้นึ 12. ครใู หน้ กั เรียนแบง่ กลุ่ม 4-5 คน และให้แตล่ ะกลุม่ หาตัวอย่างการใช้เหตุผลวิบัติบนอินเทอร์เน็ต เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบ หรือปัญหาที่อาจเกิดตามมาจากนั้นให้แต่ละกลุ่มเตรยี มนำข้อมูลมาแบ่งปันหน้าช้นั เรยี น ในหัวข้อ “เหตุผลวบิ ตั ิ และผลกระทบท่เี กิดขนึ้ ” 13. ครูสอบถามนักเรียนว่าจากกิจกรรมที่ให้ไปเตรียมในการแบ่งปนั ข้อมลู จากคาบที่แล้ว นักเรียน เลือกยกตวั อยา่ งเหตผุ ลวิบตั ปิ ระเภทไหนบ้าง 14. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาแบ่งปันข้อมูลหน้าชั้นตามหัวข้อท่ีได้รับมอบหมาย จากนั้นให้ นกั เรยี นกลุ่มอ่ืน ๆ รว่ มกนั แสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกับสถานการณ์ของกลุ่มทน่ี ำเสนอผลกระทบที่เกิดข้ึน จาก การใชเ้ หตผุ ลวบิ ตั ิ ขั้นสรปุ 15. ครูสอบถามนกั เรยี นวา่ จากคาบทผี่ า่ นมานักเรยี นไดม้ ุมมองในการใช้อินเทอร์เนต็ อย่างไรบ้าง
8. การวัดและประเมนิ ผล วิธกี ารวัด เครือ่ งมอื วัด เกณฑ์การผ่าน ประเมนิ ผล ประเมินผล แต่ละจุดประสงค์ จุดประสงค์การเรยี นรู้ สังเกตการ แบบสงั เกต การเรียนรู้ 1. บอกหลกั การการประเมนิ ความน่าเชอ่ื ถือของข้อมูล ตอบคำถาม การตอบ ได้ (K) คำถาม ระดบั คุณภาพ 2 2. ประเมนิ ความน่าเชอื่ ถือของข้อมูลได้ (P) ผ่านเกณฑ์ 3. คำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้เหตุผลวบิ ัติ ได้ (A) 9. สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้ 1. หนังสือเรยี นรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.3 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 เรื่อง ความนา่ เชอื่ ถือของขอ้ มลู 2. ตัวอย่างชุดข้อมูลหรือข่าว
แผนการจัดการเรยี นรู้ เวลา 4 ชว่ั โมง หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 ความนา่ เชื่อถอื ของขอ้ มลู เวลา 1 ชั่วโมง แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 3 การรู้เท่าทนั สือ่ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 รายวิชาวิทยาการคำนวณ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชีว้ ัด สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอยา่ งเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ รู้เท่าทนั และมีจรยิ ธรรม ตัวช้วี ดั ม.3/3 ประเมินความนา่ เชอื่ ถอื ของข้อมลู วิเคราะห์สอื่ และผลกระทบจากการให้ข่าวสารท่ีผิด เพอ่ื การใชง้ านอย่างร้เู ท่าทัน 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมายการร้เู ท่าทนั ส่อื ดจิ ิทัลและการรเู้ ท่าทนั สอื่ ได้ (K) 2. วิเคราะหค์ วามน่าเชื่อถือ และประเมินผลกระทบของขอ้ มูลจากข่าวสารที่ผิด เพื่อการใช้งานอย่าง ร้เู ท่าทนั ได้ (P,A) 3. สาระสำคัญ การรู้เท่าทันสื่อเป็นลักษณะสมรรถนะที่ครอบคลุมทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ ความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศผ่านสื่อ และเทคโนโลยีดิจิทัล การเลือก รับ วิเคราะห์ ประเมินและนำ ข้อมูลท่ีได้รบั ไปใชใ้ นทางสร้างสรรค์ โดยองคป์ ระกอบการรูเ้ ท่าทันสือ่ มีดงั น้ี 1) ความสามารถในการเข้าถึงส่ือ 2) ความเข้าใจการประเมินค่าสาระสนเทศเนื้อหาในสอื่ 3) การสร้าง การใชป้ ระโยชน์ และการเฝ้าระวังสาระ สนเทศและเน้อื หาในส่อื 4) การสะท้อนคิด 4. สาระการเรียนรู้ 1. องคป์ ระกอบการรู้เท่าทันส่ือ 2. การร้เู ท่าทนั สอื่ ดิจทิ ัลและการรู้เท่าทนั สื่อ 3. การใช้สอื่ และปัญหาทพ่ี บในสอื่ ปัจจุบัน 4. ผลกระทบของขอ้ มลู ทผ่ี ิดพลาด 5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมนั่ ในการทำงาน 7. กิจกรรมการเรียนรู้ ขน้ั นำเข้าสูบ่ ทเรยี น 1. ครูสอบถามนกั เรียนว่าจากคาบท่แี ลว้ ขอ้ มูลที่เราพบในอินเทอร์เนต็ นอกจากการประเมินความ น่าเชอ่ื ถอื ของขอ้ มลู ก่อนนำไปใชง้ านแลว้ เรายงั ต้องคำนึงถึงด้านใดอีกบ้าง ขน้ั สอน 2. ครถู ามนกั เรียนว่าก่อนที่จะสามารถวเิ คราะห์ และรเู้ ท่าทนั สื่อได้ ควรมีพื้นฐานความรู้ ความสามารถดา้ นใดบา้ ง 3. ครอู ธบิ ายองค์ประกอบของการรเู้ ท่าทนั สอ่ื 4. ครอู ธิบายทีม่ าของความสามารถในการรู้เทา่ ทันส่อื ดิจทิ ัล 5. ครูสุม่ นกั เรยี นยกตัวอย่างการรูเ้ ทา่ ทันส่ือคนละดา้ น พร้อมยกตัวอยา่ ง 6. ครูอธิบายหัวข้อ “การรเู้ ทา่ ทันสอ่ื ” 7. ครูถามทบทวนนกั เรียนโดยการถามคำถามวา่ ความสามารถในการร้เู ท่าทันส่อื ดจิ ิทัลมกี ดี่ ้าน อะไรบ้าง 8. ครูถามนักเรียนว่าหากมีการใช้อนิ เทอร์เนต็ อย่างไม่รูเ้ ท่าทนั จะสง่ ผลกระทบอะไรกบั ผ้อู นื่ บา้ ง 9. ครอู ธิบายความสำคญั ของการใช้อนิ เทอร์เนต็ อย่างรู้เทา่ ทัน และผลกระทบทอ่ี าจเกิดขนึ้ เร่ืองการ ใชส้ ่อื และปัญหาทพี่ บในสือ่ ปจั จุบนั และเร่ืองผลกระทบของขอ้ มูลทีผ่ ิดพลาด ขนั้ สรุป 10. ครใู ห้นักเรียนรว่ มกนั สรุปผลกระทบทอี่ าจเกิดขึน้ จากการใชอ้ ินเทอร์เนต็ อย่างไม่ร้เู ทา่ ทนั สื่อ 8. การวดั และประเมินผล วิธกี ารวดั เคร่อื งมือวัด เกณฑก์ ารผา่ น ประเมินผล ประเมนิ ผล แต่ละจุดประสงค์ จุดประสงค์การเรยี นรู้ สังเกตการ แบบสังเกต การเรียนรู้ 1. บอกความหมายการรเู้ ท่าทันส่ือดจิ ทิ ัลและการรู้เท่า ตอบคำถาม การตอบ ทนั สือ่ ได้ (K) คำถาม ระดับคุณภาพ 2 2. วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือ และประเมินผลกระทบ ผา่ นเกณฑ์ ของข้อมูลจากข่าวสารทีผ่ ิด เพื่อการใช้งานอย่างรู้เท่า ทนั ได้ (P,A) 9. สอื่ /แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสอื เรยี นรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เร่ือง ความนา่ เชือ่ ถือของขอ้ มูล
แผนการจดั การเรียนรู้ เวลา 4 ช่ัวโมง หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ เวลา 2 ชัว่ โมง แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 1 การใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 รายวชิ าวทิ ยาการคำนวณ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วัด สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอยา่ งเปน็ ข้ันตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ ร้เู ท่าทันและมจี รยิ ธรรม ตัวชี้วัด ม.3/4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย และมีความรับผิดชอบต่อสังคม ปฏิบัติตาม กฎหมายเก่ยี วกับคอมพิวเตอร์ ใชล้ ขิ สิทธิ์ของผอู้ ืน่ โดยชอบธรรม 2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. บอกลักษณะการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั ได้ (K) 2. สามารถใช้งานเทคโนโลยสี ารสนเทศไดอ้ ยา่ งปลอดภยั และมีความรับผดิ ชอบต่อสงั คม (P,A) 3. สาระสำคัญ การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศโดยคำนึงถึงความปลอดภัยในการใช้งาน เช่น การทำธุรกรรม ออนไลน์ การซื้อสนิ ค้าออนไลน์ และการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีจิตสำนกึ และจรยิ ธรรมท่ีดี คำนึง ผลกระทบที่อาจสง่ ผลตอ่ ผอู้ ืน่ 4. สาระการเรียนรู้ 1. การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศได้อยา่ งปลอดภยั 2. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมคี วามรับผิดชอบ 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 2. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มุ่งมัน่ ในการทำงาน
7. กิจกรรมการเรียนรู้ ข้นั นำเข้าสบู่ ทเรยี น 1. ครูให้นักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อวดั ความร้เู ดมิ ของนกั เรียนกอ่ นเข้าสู่กิจกรรม ขั้นสอน 2. ครูถามนักเรียนคิดวา่ เทคโนโลยมี บี ทบาทสำคญั ตอ่ ชีวติ นักเรียนหรือไม่ อย่างไรบา้ ง 3. ครูถามนักเรียนต่อว่า นอกจากเทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญต่อชีวิตนักเรียนแล้ว นักเรียนคิดว่า เทคโนโลยีมบี ทบาทสำคญั ตอ่ ระดบั องคก์ ร หรือระดับประเทศหรอื ไม่ อยา่ งไร 4. ครูอธิบายเนื้อหาเรื่องการใชง้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ 5. ครสู นทนาและถามนกั เรียนว่า ปจั จุบันเทคโนโลยีเข้ามีบาทในทกุ ดา้ นยกตัวอยา่ ง เชน่ ร้านคา้ ต้อง มีการปรับตัวการให้บริการแบบออนไลน์ ในฐานะลูกค้าหากต้องการซื้อสินค้าออนไลน์ นักเรียนจะประเมิน ความน่าเชอื่ ถือของร้านค้าอยา่ งไร 6. ครูถามตอ่ ว่าในการซ้ือสนิ ค้าออนไลนใ์ นข้ันตอนการชำระเงนิ ค่าสนิ ค้า นอกจากต้องประเมินความ น่าเช่ือถอื ของร้านค้า นักเรียนจะมวี ิธกี ารทำธรุ กรรมออนไลนห์ รอื โอนเงนิ ค่าสนิ คา้ อย่างไรให้ปลอดภัย 7. ครูอธบิ ายเนอ้ื หาเร่ืองการใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย 8. ครูทบทวนเนื้อหาจากช่ัวโมงที่แล้ว นักเรียนได้เรียนรู้การทำธุรกรรมออนไลน์อย่างปลอดภัย ใน ชั่วโมงนี้ครูให้นักเรียนจับคู่กัน จากนั้นให้นักเรียนแต่ละคนเขียนชื่อสินค้าที่นักเรียนสนใจ 1 อย่าง และนำ หัวขอ้ นั้นแลกกนั กับคู่ของตนเอง 9. ครูให้แต่ละคนค้นหาร้านค้าออนไลน์ท่ีขายสนิ ค้าตามหัวข้อทีไ่ ด้รบั จากคูข่ องตนเอง และเลือกหา ร้านคา้ ทน่ี า่ เชื่อถอื มากทสี่ ดุ จำนวน 3 ร้านค้า 10. ครูให้นักเรียนบันทึกผลการทำกิจกรรมลงในใบงานที่ 3 เรื่อง การซื้อสินค้าออนไลน์อย่าง ปลอดภยั 11. ครูสุ่มนักเรียน 5 – 6 คน นำเสนอใบงานที่ 3 เรื่อง การซื้อสินค้าออนไลน์อย่างปลอดภัยเพื่อ แลกเปลยี่ นความคิดเห็นร่วมกัน 12. ครถู ามนักเรยี นว่าจากการค้นหาร้านคา้ นักเรียนมวี ิธีการประเมินความนา่ เชอื่ ถอื ร้านค้าอย่างไร 13. ครูสอบถามนักเรียนว่าจากคาบทีแ่ ล้วในการประเมินความนา่ เชื่อถือของร้านค้า นักเรียนพบวา่ รา้ นค้าทีด่ ี นา่ เชื่อถอื ควรมลี กั ษณะอยา่ งไรบา้ ง 14. ครอู ธิบายว่าในปัจจุบนั การซ้อื ของออนไลนต์ ามเวบ็ ไซต์ต้องมีบญั ชีผู้ใชก้ อ่ นจงึ จะสามารถทำการ สง่ั ซื้อสนิ ค้าได้ 15. ครูถามนกั เรียนวา่ โดยปกติเวลาใชง้ านเวบ็ ไซต์เหล่านส้ี ามารถสมัครบญั ชผี ู้ใชไ้ ด้อยา่ งไรบา้ ง 16. ครูอธิบายว่าในขั้นตอนการลงชื่อเข้าใช้งานเว็บไซต์ด้วยบัญชี Facebook หรือ บัญชี Google เวบ็ ไซต์จะเรียกขอสิทธ์ิในการเข้าถึงข้อมูลสว่ นตัวบัญชี Facebook หรือ Google ของเราซึง่ อาจส่งผลต่อการ นำข้อมูลไปใช้และส่งผลเสียได้ ดังนัน้ นอกจากการประเมินความนา่ เชื่อถือของร้านค้าออนไลน์แล้ว ยังมีส่วน อน่ื ท่ตี อ้ งใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งระมัดระวัง 17. ครอู ธบิ ายเนอื้ หาเรือ่ งการใช้งานเทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งมคี วามรับผิดชอบ 18. ครใู ห้นกั เรียนถามคำถามนักเรียนโดยใหม้ ีสถานการณ์ “หากนกั เรยี นเป็นเจ้าของรา้ นค้ารับสกรีน ลายเสอื้ และมลี กู ค้าตดิ ตอ่ มาใหผ้ ลิตเส้ือรูปการต์ นู ทีต่ นเองไมไ่ ดเ้ ปน็ เจา้ ของลิขสิทธผ์ิ ลงาน นักเรียนจะมีวธิ ีการ
รับมือกับลูกค้าอย่างไร เช่น ข้อมูลที่เป็นส่วนตัวของลกู คา้ ความถูกต้องของขอ้ มลู สินค้า กรรมสิทธิ์ และด้าน อน่ื พรอ้ มบอกเหตุผล” จากน้ันครสู ุ่มนกั เรียน 4 – 5 คน ตอบคำถาม 19. ครูถามนักเรียนว่าจากสถานการณ์ข้างต้น ในมุมมองนักเรียนผู้บริโภคและผู้ขาย ควรมีความ รับผดิ ชอบตอ่ กนั อยา่ งไรบา้ ง ข้นั สรปุ 20. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั สรปุ นอกจากเราจะตอ้ งระวงั การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศให้ปลอดภัย กบั ตวั เราแล้ว ยงั ต้องมคี วามรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่นด้วย โดยเคารพความเปน็ ส่วนตวั คำนึงถึงความถูก ตอ้ งแม่นยำของขอ้ มลู การเปน็ เจ้าของ และการเข้าถึงขอ้ มูลที่ไมไ่ ดร้ ับอนุญาต 8. การวดั และประเมินผล วธิ กี ารวดั เคร่ืองมือวดั เกณฑ์การผา่ น ประเมนิ ผล ประเมนิ ผล แต่ละจุดประสงค์ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ แบบ การเรียนรู้ 1. บอกลกั ษณะการใชง้ านเทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง ตรวจใบงาน ประเมนิ ใบ ปลอดภยั ได้ (K) ที่ 3 เร่ือง งานที่ 3 ระดบั คณุ ภาพ 2 2. สามารถใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่าง การซอ้ื สินคา้ เรอ่ื งการซ้ือ ผา่ นเกณฑ์ ปลอดภยั และมีความรบั ผิดชอบต่อสงั คม (P,A) ออนไลน์ สนิ คา้ อย่าง ออนไลน์ ปลอดภัย อย่าง ปลอดภัย 9. สอื่ /แหล่งการเรยี นรู้ 1. หนังสือเรียนรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.3 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 เร่อื ง เทคโนโลยีสารสนเทศ 2. ใบงานที่ 3 เรอ่ื ง การซอ้ื สนิ คา้ ออนไลน์อย่างปลอดภัย
ใบงานที่ 3 เร่ือง การซื้อสนิ ค้าออนไลนอ์ ยา่ งปลอดภัย ช่ือ - นามสกลุ ....................................................................................... เลขที่ ................. ชั้น ............. 1. ชือ่ สนิ คา้ ........................................................................................................................................... . 2. ชอื่ ร้านคา้ ออนไลน์และเวบ็ ไซต์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. เหตุผลในการเลือกรา้ นค้าออนไลน์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ถ้าสงั่ ซ้อื สนิ คา้ ออนไลน์ นกั เรียนมวี ธิ กี ารชำระเงินอย่างไร ให้ปลอดภยั ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
การประเมินใบงานท่ี 3 เร่ือง การซือ้ สินคา้ ออนไลนอ์ ย่างปลอดภัย ประเด็นในการประเมิน 3 เกณฑ์การใหค้ ะแนน 1 2 1. การประเมนิ ความ สามารถประเมนิ ความ สามารถประเมินความ สามารถประเมนิ ความ นา่ เช่ือถือของรา้ นค้า นา่ เช่อื ถือ เหตผุ ลมคี วาม น่าเช่ือถอื เหตุผลมคี วาม น่าเชอ่ื ถือ เหตผุ ลมีความ ออนไลน์ สมเหตุสมผล เช่น เลือก สมเหตุสมผลเปน็ ส่วน สมเหตุสมผลเพียง เวบ็ ไซต์ที่ขึน้ ต้นด้วย ใหญ่ บางสว่ น https//: อา่ นรีววิ กอ่ น ส่งั ซ้อื สำรวจราคาตลาด กอ่ นส่งั ซอ้ื ตรวจสอบ คุณสมบัติของสินคา้ ที่ แจ้งไวเ้ กนิ จริงหรอื ไม่ ตรวจสอบการจด ทะเบยี นรา้ นค้า ตรวจสอบประวตั กิ าร ฉอ้ โกง 2. การทำธรุ กรรมอย่าง สามารถเลอื กวธิ ีการทำ สามารถเลอื กวธิ กี ารทำ สามารถเลอื กวิธีการทำ ปลอดภัย ธุรกรรมอย่างปลอดภัย ธุรกรรมอย่างปลอดภัย ธุรกรรมอยา่ งปลอดภยั ตามหลักการได้ และ ตามหลกั การได้เปน็ ส่วน ตามหลกั การไดเ้ พียง ศกึ ษาตัวเลอื กการชำระ ใหญ่ บางสว่ นเทา่ นน้ั เงินทางร้านค้าออนไลน์ อยา่ งถถ่ี ว้ น เช่น มี บริการเรียกเก็บเงนิ ปลายทาง 3. การนำเสนอ ใช้ภาษาในการนำเสนอ ใช้ภาษาในการนำเสนอ ใช้ภาษาในการนำเสนอ ชัดเจน เหมาะสมและ ชัดเจน เหมาะสมและ เขา้ ใจงา่ ย สามารถตอบ เข้าใจงา่ ย สามารถตอบ เขา้ ใจงา่ ย สามารถตอบ คำถามไดเ้ พียงบางส่วน คำถามได้ทุกข้อ คำถามไดเ้ ป็นสว่ นใหญ่ เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 8-9 ดี 5–7 พอใช้ น้อยกวา่ 5 ปรับปรุง
แผนการจดั การเรียนรู้ เวลา 4 ช่ัวโมง หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 3 เทคโนโลยสี ารสนเทศ เวลา 2 ชวั่ โมง แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 กฎหมายคอมพวิ เตอร์ และลขิ สิทธิ์ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 รายวิชาวิทยาการคำนวณ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวดั สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเปน็ ข้ันตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาไดอ้ ย่างมี ประสิทธิภาพ ร้เู ทา่ ทันและมจี ริยธรรม ตัวชี้วัด ม.3/4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย และมีความรับผิดชอบต่อสังคม ปฏิบัติตาม กฎหมายเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ ใช้ลขิ สทิ ธขิ์ องผูอ้ ืน่ โดยชอบธรรม 2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. เข้าใจและยกตัวอย่างการปฏิบัติตามกฎหมายคอมพิวเตอร์ และการใช้ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยชอบ ธรรมได้ (K,P,A) 3. สาระสำคัญ กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศหลายฉบับ เช่น พระราชบัญญัติว่าด้วยการ กระทำความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ พระราชบัญญัติวา่ ด้วยธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พระราชบัญญัติการ รักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ โดยพระราชบญั ญัติว่าด้วยการกระทำความผดิ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และพระราชบัญญตั ิว่าดว้ ยการกระทำความผิดเกย่ี วคอมพวิ เตอร์ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2560 ลิขสิทธิ์ เป็นผลงานที่เกิดจากการใช้ปัญญา ความรู้ความสามารถ และความอุตสาหะพยายามในการ สร้างสรรคผ์ ลงาน ซึ่งถือวา่ เป็นทรัพย์สินทางปญั ญาประเภทหน่ึง ที่กฎหมายใหค้ วามค้มุ ครอง 4. สาระการเรียนรู้ 1. กฎหมายคอมพวิ เตอร์ 2. ลขิ สิทธิ์ 5. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. ม่งุ ม่นั ในการทำงาน
7. กิจกรรมการเรยี นรู้ ข้ันนำเขา้ สูบ่ ทเรียน 1. ครูถามนกั เรยี นวา่ จากคาบทผ่ี ่านมาในการการทำธรุ กรรมทางการเงนิ หรอื ซื้อของออนไลน์นักเรียน ควรระมดั ระวังดา้ นใดอกี บ้าง 2. ครูถามนักเรียนว่าจากคาบท่ีแล้วเรอื่ งการประเมินความนา่ เช่ือถอื ของรา้ นคา้ ออนไลน์ หากนกั เรยี น ทำการสงั่ ซ้ือสนิ คา้ ออนไลนไ์ ป แต่ไมไ่ ดร้ บั สินค้า หรือไดร้ ับสนิ ค้าทไี่ ม่ตรงตามคำอธิบาย หรอื สินคา้ ไมม่ คี ุณภาพ นกั เรียนจะแก้ปญั หาอยา่ งไร ขน้ั สอน 3. ครใู หน้ กั เรียนแบ่งกลุม่ 3 – 4 คน จากน้ันแตล่ ะกลุ่มศกึ ษาเน้ือหา หัวข้อ “กฎหมายคอมพิวเตอร์” โดยให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวข้อกฏหมายตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเก่ี ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2560 และคน้ หาเพ่มิ เตมิ จากอินเทอร์เน็ต จากน้นั ให้สมาชิกในกลมุ่ สรุปใหเ้ พอื่ นในกลุ่มฟงั 4. นักเรียนแต่ละกลุ่มศกึ ษา หัวข้อ“ลิขสิทธิ์” และค้นหาเพิม่ เติมจากอินเทอร์เนต็ จากนั้นใหส้ มาชกิ ในกลุ่มสรปุ ให้เพือ่ นในกลุ่มฟงั 5. จากนนั้ ครูให้นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ทำใบงานที่ 4 เร่อื ง ใครมีความผิด และเตรียมตัวนำเสนอในชั่วโมง ถดั ไป 6. ครูให้นักเรียนแต่ละกลมุ่ ออกมานำเสนอแนวคิดของกลุ่มตนเอง ตรงตามความผดิ ในมาตราท่ีศึกษา หรือไม่ อยา่ งไร 7. ครใู หน้ กั เรียนช่วยกนั สรปุ แนวคดิ จากคำตอบของกลุ่มอ่ืน 8. ครใู ห้นักเรยี นแต่ละกลุม่ ออกมานำเสนอกิจกรรม 9. ครซู กั ถามกลมุ่ ทน่ี ำเสนอ เพอื่ ตรวจสอบความเข้าใจและความถกู ต้องของขอ้ มูล พร้อมทัง้ เสนอแนะ เพ่ิมเติม ขน้ั สรุป 10. ครใู ห้และนักเรียนร่วมกันสรุปเน้ือหาและความสมั พันธเ์ ก่ยี วกบั การใชง้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบ ปฏิบัติตามกฎหมายเก่ียวกับคอมพวิ เตอร์ และใช้ลิขสิทธิข์ องผู้อื่นโดยชอบ ธรรม 8. การวดั และประเมนิ ผล วธิ กี ารวัด เคร่ืองมอื วัด เกณฑก์ ารผา่ น ประเมินผล ประเมินผล แตล่ ะจุดประสงค์ จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบ การเรยี นรู้ 1. บอกลกั ษณะการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง ตรวจใบงาน ประเมินใบ ปลอดภัยได้ (K) ที่ 3 เรือ่ ง งานที่ 3 ระดบั คุณภาพ 2 2. สามารถใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่าง การซื้อสินคา้ เรอ่ื งการซอื้ ผ่านเกณฑ์ ปลอดภัย และมคี วามรบั ผิดชอบต่อสงั คม (P,A) ออนไลน์ สนิ ค้า อยา่ ง ออนไลน์ ปลอดภัย อย่าง ปลอดภยั
9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ ม.3) หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 เร่ือง เทคโนโลยสี ารสนเทศ 2. ใบงานที่ 4 เรอ่ื งใครมีความผิด
ใบงานที่ 4 เร่ือง ใครมคี วามผิด ชื่อ - นามสกลุ ....................................................................................... เลขที่ ................. ชั้น ............. คำชแ้ี จง : ครูให้นกั เรยี นแบง่ กลุ่ม 4-5 คน และตอบคำถามจากสถานการณ์ต่อไปน้ี สถานการณ์ ร้าน RC Power ได้ลงข้อมูลขายของออนไลน์ โดยขายแพคเกจสินค้าชุด Cosmos Wars Mini set ประกอบด้วยเสื้อยืดพิมพ์ลายโปสเตอร์ภาพยนตร์เรื่อง Cosmos Wars ขนาด Free size จำนวน 2 ตัว และ DVD ภาพยนตรท์ จี่ ัดทำซ้ำขึ้นใหม่จำนวน 1 ชุด พร้อมของแถมเปน็ DVD โปรแกรม KKDPlayer สำหรับ ใช้เปดิ ไฟลป์ ระเภทวีดโี อโดยทรี่ า้ น RC Power ไมไ่ ด้เป็นเจา้ ของลิขสิทธิ์ หรือไดร้ บั อนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ ใด ๆ ท้ังส้ิน แต่ทางร้านลงข้อมลู ในเว็บไซตว์ ่าสนิ คา้ และเส้อื ยืดทง้ั หมดเป็นของแทท้ ่มี ีลขิ สิทธิ์ จากสถานการณ์ดังกล่าวให้นักเรียนวิเคราะห์ว่ามีการกระทำความผิดใดตามพ ระราชบัญญัติว่าด้วย การกระทำความผดิ เกี่ยวกบั คอมพวิ เตอร์ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2560 และควรไดร้ ับโทษอยา่ งไร ความผิด .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................
การประเมนิ ใบงานท่ี 4 เรอื่ ง ใครมคี วามผิด ประเดน็ ในการประเมิน เกณฑก์ ารให้คะแนน 1. การอา้ งอิงกฎหมาย 321 2. การนำเสนอ สามารถเลือกอา้ งอิง สามารถเลอื กอา้ งองิ สามารถเลือกอ้างองิ กฎหมายคอมพวิ เตอร์ กฎหมายคอมพวิ เตอร์ กฎหมายคอมพิวเตอร์ และการค้มุ ครองลขิ สิทธ์ิ และการค้มุ ครองลขิ สิทธ์ิ และการคมุ้ ครองลิขสิทธ์ิ ได้ถูกตอ้ งสอดคลอ้ งกบั ได้ถูกต้องสอดคลอ้ งกบั ได้สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ และเหตุผล สถานการณ์ และเหตุผล สถานการณ์ เหตผุ ลที่ ท่กี ล่าวถึงมคี วาม ทีก่ ล่าวถงึ มีความ กลา่ วถึงมคี วาม สมเหตุสมผล สมเหตุสมผลเป็นสว่ น สมเหตุสมผลเพยี ง ใหญ่ บางส่วน ใช้ภาษาในการนำเสนอ ใชภ้ าษาในการนำเสนอ ใช้ภาษาในการนำเสนอ ชดั เจน เหมาะสมและ ชดั เจน เหมาะสมและ เข้าใจง่าย สามารถตอบ เขา้ ใจงา่ ย สามารถตอบ เข้าใจง่าย สามารถตอบ คำถามได้เพียงบางสว่ น คำถามไดท้ ุกข้อ คำถามไดเ้ ป็นส่วนใหญ่ เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 5–6 ดี 3–4 พอใช้ นอ้ ยกวา่ 3 ปรบั ปรงุ
การประเมินการนำเสนอ ประเดน็ ในการประเมิน เกณฑ์การใหค้ ะแนน 1. หวั ข้อท่นี ำเสนอ 32 1 2. ความถกู ต้องของ หัวขอ้ ในค้นหาข้อมูล เนื้อหา หัวข้อในคน้ หาขอ้ มลู มี หวั ข้อในค้นหาข้อมูลมี น่าสนใจ มีประโยชนต์ ่อ การเผยแพร่ให้กบั ผู้อื่น 3. การนำเสนอ ความนา่ สนใจ ทนั ต่อ ความนา่ สนใจ เปน็ เพยี งบางส่วน เหตกุ ารณ์ สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์และมี เนื้อหาที่นำเสนอมคี วาม ถกู ต้องเปน็ สว่ นใหญ่ มี และมปี ระโยชน์ตอ่ การ ประโยชนต์ อ่ การ แหลง่ ท่มี านา่ เชื่อถือ น้อยหรือไมม่ ีเลย ไม่ เผยแพร่ใหก้ บั ผ้อู ่ืน เผยแพรใ่ หก้ บั ผู้อนื่ เปน็ ละเมดิ ลขิ สิทธิ์หรือ ส่วนใหญ่ คัดลอกงานของผูอ้ ่นื ใช้ภาษาในการนำเสนอ เนอ้ื หาท่นี ำเสนอมคี วาม เน้ือหาทีน่ ำเสนอมีความ เขา้ ใจงา่ ย สามารถตอบ คำถามไดเ้ พยี งบางสว่ น ถูกตอ้ ง มีแหลง่ ท่ีมา ถกู ต้องเปน็ ส่วนใหญ่ มี นา่ เช่ือถือ ไม่ละเมดิ แหลง่ ทม่ี านา่ เช่ือถือ ไม่ ลิขสิทธ์ิหรอื คัดลอกงาน ละเมดิ ลิขสิทธ์ิหรือ ของผ้อู ่ืน คัดลอกงานของผู้อ่นื ใชภ้ าษาในการนำเสนอ ใช้ภาษาในการนำเสนอ ชัดเจน เหมาะสมและ ชดั เจน เหมาะสมและ เขา้ ใจงา่ ย สามารถตอบ เข้าใจงา่ ย สามารถตอบ คำถามไดท้ ุกขอ้ คำถามไดเ้ ปน็ ส่วนใหญ่ เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 8–9 ดี 5–7 พอใช้ น้อยกวา่ 5 ปรบั ปรุง
แผนการจัดการเรยี นรู้ เวลา 6 ชั่วโมง หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 แอปพลเิ คชัน เวลา 2 ช่ัวโมง แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 1 แนวคิดและองคป์ ระกอบของ IoT ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 รายวิชาวทิ ยาการคำนวณ กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชวี้ ดั สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเปน็ ข้ันตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาไดอ้ ย่างมี ประสิทธภิ าพ รเู้ ท่าทนั และมีจรยิ ธรรม ตัวช้ีวัด ม.3/1 พฒั นาแอปพลเิ คชนั ที่มีการบรู ณาการกับวิชาอื่นอยา่ งสร้างสรรค์ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายแนวคิดและองค์ประกอบของเทคโนโลยี IoT ได้ (K) 2. ออกแบบแนวคดิ เพื่อการพฒั นาเทคโนโลยี IoT ได้ (P) 3. ยกตวั อยา่ งประโยชน์ของเทคโนโลยี IoT ในชีวิตประจำวนั ได้ (A) 3. สาระสำคญั การทำให้อุปกรณ์หลายตัวสามารถสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูล และทำงานร่วมกันได้นั้น เรียกว่า เทคโนโลยี IoT ต้องอาศัยความสามารถของ Smart Device ซึ่งอุปกรณ์ที่มีหน่วยประมวลผล หรือเซนเซอร์ ภายในตัว เพื่อส่งข้อมูลผ่าน Cloud Computing หรือ Wireless Network เป็นตัวกลางในการรับส่งข้อมูล ภายในเครอื ข่ายเพ่ือประมวลผล และอาศยั Dashboard สำหรบั แสดงผลและใช้ควบคุมการทำงานจากผใู้ ช้ 4. สาระการเรียนรู้ 1. แนวคดิ ของเทคโนโลยี IoT 2. องคป์ ระกอบของเทคโนโลยี IoT 3. อปุ กรณท์ ใี่ ช้สำหรับพฒั นาเทคโนโลยี IoT 4. ขอ้ ดีข้อเสยี ของเทคโนโลยี IoT 5. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา 6. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุ่งม่นั ในการทำงาน
7. กิจกรรมการเรยี นรู้ ขั้นนำเขา้ ส่บู ทเรียน 1. ครถู ามคำถามกระตนุ้ ความสนใจของนกั เรยี นวา่ “นักเรียนรู้จกั เทคโนโลยี IoT หรือไม”่ ขั้นสอน 2. ครูถามนกั เรยี นวา่ เครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต หรือเครือขา่ ยไร้สายมปี ระโยชน์กบั ชวี ิตเราอย่างไร 3. ครูถามต่อว่าถ้าสมมติมือถือ หรือคอมพวิ เตอร์ แลปทอปของเราไมม่ ีความสามารถในการเช่ือมต่อ เครือขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ ได้ นกั เรยี นคิดวา่ จะมผี ลกระทบต่อชวี ิตอยา่ งไร 4. ครูอธิบายว่า ยุคก่อนหน้านี้มือถือ และคอมพิวเตอร์ของเรายังไม่มีความสามารถในการเข้าถึง อนิ เทอร์เน็ต แต่ปจั จุบนั อุปกรณ์เหล่านี้แทบทุกเคร่อื งจะมีความสามารถในการเชือ่ มตอ่ เครือข่ายเข้าหากันได้ เช่น Bluetooth , Wifi Internet ทำใหอ้ ปุ กรณ์หลายชิ้นเชื่อมต่อกัน จึงทำให้สามารถแลกเปล่ียนข้อมูลกันได้ อยา่ งรวดเร็ว 5. ครูอธิบายว่าลักษณะการทำให้อุปกรณ์หลายชิ้นเชื่อมต่อเข้าหากันผ่านเครือข่าย และทำการ แลกเปลยี่ นขอ้ มูลกันเพื่อให้ใชป้ ระโยชน์ไดม้ ากข้นึ เป็นแนวคดิ ทีค่ ล้ายกับเทคโนโลยี IoT 6. ครูอธิบายแนวคิด จุดกำเนิด และองค์ประกอบของของเทคโนโลยี IoT เรื่อง เทคโนโลยี IoT และ องคป์ ระกอบของเทคโนโลยี IoT วา่ เปน็ การทำใหอ้ ปุ กรณ์ต่าง ๆ มีหน่วยประมวลผลและความสามารถในการ เชอ่ื มต่อกับอปุ กรณ์อนื่ ได้ โดยไมต่ อ้ งพง่ึ พาความสามารถของคอมพวิ เตอร์ในการประมวลผลและการเชื่อมต่อ กับอุปกรณ์อื่น จึงทำให้อุปกรณ์สามารถส่งผ่านข้อมูลระหว่างกันได้โดยตรง เช่น เครื่องพิมพ์ที่เชื่อมเขา้ ระบบ wifi และสั่งปริ้นท์งานผ่านระบบ wifi ไม่จำเป็นต้องเชื่อมเครื่องพิมพ์กับคอมพิวเตอร์อีกต่อไป แต่สามารถ สัง่ งานจากอุปกรณใ์ ดกไ็ ด้ทเี่ ชือ่ มวงเครือขา่ ย wifi เดยี วกนั 7. ครถู ามนักเรียนวา่ หากเราสามารถพัฒนาเทคโนโลยี IoT ด้วยตนเองไดน้ กั เรยี นคิดวา่ จะนำอุปกรณ์ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ใดมาเชือ่ มต่อเครือขา่ ย และจะใช้ประโยชน์จากการเชอื่ มต่อเข้าเครือขา่ ยของอุปกรณ์น้นั อยา่ งไร สุ่มนกั เรยี นตอบคำถาม 3-5 คน 8. ครูอธิบายเพมิ่ เตมิ เก่ยี วกับแนวคิดของ IoT เรื่ององคป์ ระกอบท่สี ำคญั ทั้ง 3 สว่ นไดแ้ ก่ 1) Smart Device ใช้นำเข้าข้อมลู จากเซนเซอร์ 2) Cloud Computing หรือ Wireless Network เพ่ือใช้เป็นสอื่ กลางในการรับสง่ ข้อมูล 3) Dashboard เพื่อใชส้ อ่ื สารกบั ผใู้ ช้ ดงั น้ันนอกจากอุปกรณจ์ ะสามารถเช่ือมตอ่ เขา้ เปน็ เครือขา่ ยเดียวกันได้แล้วจะตอ้ งมีสว่ นติดต่อที่ใช้ควบคุมการ ทำงานภายในระบบได้ด้วย เช่น สั่งสตาร์ทรถผ่านมือถือโดยใช้สื่อกลางเป็นระบบอินเทอร์ เน็ต เปิด-ปิด เครอื่ งใช้ไฟฟ้าภายในบ้านดว้ ยเครอื ขา่ ยไรส้ าย Wifi 9. ครูให้นักเรียนวาดแผนผังการทำงานตามแนวคิดของเทคโนโลยี IoT และเขียนแนวคิดการ ประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยี IoT ในชีวิตประจำวนั เรือ่ ง เทคโนโลยี 10. ครสู อบถามนักเรยี นว่าสงสัยหรอื ไม่ แอร์ที่บ้านเรารูอ้ ุณหภูมวิ ่าเปน็ ก่อี งศาภายในบ้านไดอ้ ย่างไร 11. ครูสอบถามนักเรียนว่า “นักเรียนรู้จักเซนเซอรอ์ ะไรบ้าง หรือเคยเห็นเซนเซอร์ในอุปกรณ์ไหน บ้าง 12. ครูแนะนำบอร์ด kidbright ที่มีเซนเซอร์หลากหลายสามารถนำมาใช้พัฒนาเทคโนโลยี IoT ได้ โดยให้นักเรียนศึกษา เรื่อง ตัวอย่างอุปกรณ์สำหรับเทคโนโลยี IoT และยกตัวอย่างอปุ กรณ์ kidbright พร้อม บอกส่วนประกอบเบ้อื งตน้
Search