Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงร่างวิจัยในชั้นเรียน นายพงศ์ธร เปงวงศ์

โครงร่างวิจัยในชั้นเรียน นายพงศ์ธร เปงวงศ์

Published by DekZa Craf, 2021-09-21 14:34:50

Description: โครงร่างวิจัยในชั้นเรียน นายพงศ์ธร เปงวงศ์

Search

Read the Text Version

โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 อำเภอแม่แจม่ จังหวัดเชยี งใหม่ โครงร่างวจิ ัยในช้นั เรยี น ผ้วู ิจัย นายพงศธ์ ร เปงวงศ์ โครงร่างวิจยั ในช้ันเรียน เรือ่ ง การพัฒนาบทเรียนอิเลก็ ทรอนิกส์ เรอ่ื งการใช้โปรแกรม KidBright สำหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 อำเภอแม่แจ่ม จงั หวัดเชยี งใหม่ ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 ความเป็นมาและความสำคญั ของปัญหา การจัดการศึกษาในปัจจุบัน เทคโนโลยีมีความสำคัญอย่างยิ่ง โดยเฉพาะทางด้านเทคโนโลยี คอมพวิ เตอร์ ได้มกี ารนําเสนอและแสดงผลดว้ ยระบบสือ่ ต่าง ๆ ทั้งในดา้ นขอ้ มลู รปู ภาพ เสยี ง ภาพเคล่ือนไหว และวิดีโอ อีกทั้งยังสามารถสร้างระบบการมีปฏิสัมพันธ์ โต้ตอบ ทำให้การเรียนรู้ยุคใหม่ประสบความสำเรจ็ ด้วยดี ซง่ึ ในการเรยี นการสอนทผี่ า่ นระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอรใ์ นปจั จบุ นั มีการจัดการเรียนรู้จำนวนมากมาย หลายประเภท เช่น Web-Based instruction : MEI เป็นสิ่งหนึ่งที่ได้มีการนําคุณสมบัติของไฮเปอร์มีเดีย (Hypermedia) มาเชอื่ มต่อกับเครือขา่ ย World Wide Web ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2545) กลา่ วว่า World Wide Web เปน็ บรกิ ารบนเครอื ข่ายอินเทอรเ์ น็ตซง่ึ ไดร้ บั ความนยิ มอย่างแพรห่ ลายในปจั จุบนั เรม่ิ เข้ามาเป็นที่ รูจ้ กั ในวงการศกึ ษาในประเทศไทยต้ังแต่ พ.ศ. 2538 ท่ีผา่ นมา เวบ็ ไดเ้ ข้ามามีบทบาทสำคญั ทางการศึกษาและ กลายเปน็ คลงั แห่งความรู้ท่ีไรพ้ รมแดน ซึ่งผ้สู อนไดใ้ ชเ้ ปน็ ทางเลือกใหม่ในการส่งเสรมิ การเรียนรู้เพ่ือเปิดประตู การศึกษาจากห้องเรียนไปสู่โลกแห่งการเรยี นรูอ้ ันกว้างใหญ่ รวมทั้งการนําการศึกษาไปสูผ่ ู้ที่ขาดโอกาสด้วย ข้อจํากัดทางด้านเวลาและสถานที่ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองในทุกแห่ง ควบคุมทุกสิ่งด้วยตนเอง เลือกลำดับเนื้อหาและเรียนตามเวลาที่เหมาะสมกับความสะดวกของแต่ละบุคคล ที่ผู้เรียนสามารถสรา้ งองค์ ความรู้ได้ด้วยตนเอง และผู้สอนสามารถเตรียมสื่อการสอนใน รูปแบบต่าง ๆ สามารถปรับปรุงแก้ไขสื่อการ เรียนการสอนของตนเองให้ทันสมัยได้ง่ายและสามารถขยายขอบเขตสู่ผู้เรียนได้อย่างกว้างขวาง การนํา นวัตกรรมบทเรียนออนไลนผ์ ่านระบบอินเตอรเ์ น็ต (e-learning) เป็นทางเลือกหนึ่งในการนาํ เทคโนโลยีมาใช้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้ ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life Long Leaming) และสอดคล้องกับ แนวทางทก่ี ำหนดในพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พทุ ธศักราช 2542 แนวทางท่ีกำหนดในพระราชบญั ญตั ิ การศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มาตรา 66 ที่ว่าผู้เรียนมีสิทธิได้รับ การพัฒนาขีดความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษาในโอกาสแรกทท่ี ำได้เพ่อื ให้มีความรู้และทักษะที่ เพียงพอทจ่ี ะใช้ เทคโนโลยเี พอื่ การศกึ ษาในการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเองไดอ้ ยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชวี ติ หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) มกี ารปรบั ปรุง เปลี่ยนชื่อจากรายวิชาคอมพิวเตอร์ เป็นรายวิชาเทคโนโลยี(วิทยาการคำนวณ) อยู่ในสาระเทคโนโลยี กลุ่ม สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ โดยมีเป้าหมายหลักเพอ่ื พัฒนาผเู้ รียนให้มคี วามรู้และมีทักษะ การคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบการใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาใน ชีวิตประจำวัน บูรณาการกับวิชาอื่น การเขียนโปรแกรมการคาดการณ์ผลลัพธ์ การตรวจหาข้อผิดพลาดการ พัฒนา แอปพลิเคชันหรือพัฒนาโครงงานอย่างสร้างสรรค์เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตจริงประยุกต์ใช้ความรู้ด้าน

โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 อำเภอแม่แจม่ จังหวัดเชียงใหม่ โครงร่างวิจยั ในชั้นเรียน ผ้วู จิ ยั นายพงศ์ธร เปงวงศ์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ และในการจัดการเรียนการสอนนั้นผู้สอนได้เล็งเห็นถึงความสำคัญที่จะต้องนำ เทคโนโลยีทางการศึกษาเข้ามาใช้ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีความเข้าใจในเนื้อหาวิชาการมากขึ้น และช่วยอำนวย ความสะดวกให้กับผู้สอน ในการที่จะอธบิ ายหรือยกตัวอยา่ งให้ผู้เรยี นเข้าใจไดใ้ กล้เคียงกบั ความเป็นจริงมาก ทสี่ ดุ การใช้บทเรียนอิเล็กทรอนกิ ส์เข้ามาชว่ ยในการจัดการเรียนการสอน มีผลงานวิจยั ท่ีสนับสนุนหลายเร่ือง ด้วยกันอาทิ ณัฐพล ธนเชวงสกุล (2555 : 11) ศึกษาวิจัยเรื่องบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องวัฏจักรทาง เทคโนโลยี 2 พบว่าบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องวัฏจักรทางเทคโนโลยี 2 ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนเรอื่ งวัฏจกั รทางเทคโนโลยีหลงั เรียนด้วยบทเรียนอเิ ล็กทรอนกิ ส์สงู กว่าก่อนเรยี น อย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อีกทั้งนักเรียนยังมีความคิดเห็นที่ดีและมีความพึงพอใจต่อการใช้บทเรียน อิเล็กทรอนิกส์เป็นอย่างมาก ดังนั้นการในใช้บทเรียนหรือแหล่งเรียนรู้นั้นต้องเป็นที่น่าสนใจ และสามารถ เรียนรู้ไดต้ ลอดเวลา เพือ่ ชว่ ยให้ผ้เู รียนเกิดการเรยี นรแู้ ละเกิดกระบวนการคิดอยา่ งตอ่ เนื่องและมีประสิทธิภาพ มากที่สุด โดยมกี ารเก็บรวบรวมขอ้ มูลตามท่ีต่าง ๆ ที่สอดคลอ้ งกับเนื้อหาสาระของวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการ คำนวณ) เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การเรยี นรู้อยา่ งตอ่ เนื่องและบรรลุตามวตั ถุประสงค์ท่ีกำหนดไว้ จากการเรียนการสอนรายวิชารายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ มเี นื้อหาเก่ียวกับการใช้โปรแกรม KidBright ยงั คงประสบปัญหาทางด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน จำนวนหนึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ที่ผู้สอนต้องการ ดังที่ปรากฏในแบบประเมินผล การเรียนของนักเรียนระดับช้ัน มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 ซ่ึงพบวา่ คะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนร้อย ละ 5 – 10 มีค่าเฉลีย่ ตำ่ กว่าเกณฑ์ทคี่ รูผู้สอนต้องการ คอื ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนในการทดสอบท้ายบทเรียน ไม่ตำ่ กวา่ 80 เปอรเ์ ซ็นตแ์ สดงให้เหน็ ว่าการใชบ้ ทเรยี นอิเล็กทรอนกิ ส์เป็นวธิ กี ารหน่ึงที่สามารถช่วยให้นักเรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดขี ึ้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การใช้โปรแกรม KidBright วิชาเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ของนักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 อำเภอแมแ่ จม่ จงั หวัดเชียงใหม่ ด้วยการจัดการเรียนรโู้ ดยใช้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) อันเป็น แนวทางหนง่ึ ทจ่ี ะชว่ ยพฒั นาให้กบั นักเรยี นมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น วิชาเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) อีกทั้ง ยังเป็นการส่งเสริมกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ การเสริมสร้างจินตนาการของผู้เรียนอีกด้วย และเป็น แนวทางในการสร้างสื่อการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพและส่งเสริมให้นักเรียนได้มีการพัฒนาการเรียน คอมพิวเตอรต์ ามศักยภาพของตนเองตอ่ ไป

โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ โครงรา่ งวิจยั ในชั้นเรียน ผู้วจิ ัย นายพงศ์ธร เปงวงศ์ วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย 1. เพื่อพัฒนาบทเรยี นอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เร่อื งการใชโ้ ปรแกรม KidBright สำหรับนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพตาม เกณฑ์ 80/80 2. เพ่อื วดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรยี นทไ่ี ดร้ ับการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เร่อื งการใชโ้ ปรแกรม KidBright สำหรับนกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 อำเภอ แมแ่ จม่ จังหวดั เชยี งใหม่ ผ่านเกณฑท์ ก่ี ำหนดไวร้ อ้ ยละ 80 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้บทเรียนอิเล็กทรอนกิ ส์ เร่อื ง การใช้โปรแกรม KidBright ที่มปี ระสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 2. บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การใช้โปรแกรม KidBright รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ของนักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 สามารถพฒั นาผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของนักเรยี นไดส้ ูงขึน้ ระยะเวลาดำเนินการ ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 วิธดี ำเนินการวจิ ยั 1. ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 อำเภอแม่แจ่ม จงั หวัดเชยี งใหม่ ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 จำนวน 123 คน กลุม่ ตัวอยา่ ง ได้แก่ นกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 3/1 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 อำเภอแม่แจ่ม จงั หวัดเชยี งใหม่ ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 31 คน 2. เครื่องมอื ทีใ่ ชใ้ นการวิจยั ในการวิจยั คร้งั น้ี ผ้วู จิ ัยได้ดำเนนิ การสร้างและพฒั นาเครื่องมอื จำนวน 5 เคร่อื งมอื ดงั น้ี 2.1. บทเรียนอิเล็กทรอนกิ ส์ เรอ่ื ง การใชโ้ ปรแกรม kidbright สำหรับนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษา ปีที่ 3 2.2. แบบทดสอบหลังการเรียนดว้ ยบทเรยี นอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การใช้โปรแกรม kidbright สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เป็นแบบปรนัย 5 ตัวเลือก จำนวน 15 ข้อ แบบอัตนยั 5 ข้อ ซึง่ แบบทดสอบก่อนเรยี น และแบบทดสอบหลงั เรียนเปน็ ชดุ เดยี วกัน

โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 อำเภอแม่แจม่ จงั หวดั เชียงใหม่ โครงรา่ งวิจัยในชัน้ เรยี น ผวู้ ิจยั นายพงศธ์ ร เปงวงศ์ 3.3. แบบประเมินสอ่ื โดยผู้เชย่ี วชาญ เพ่ือประเมินคุณภาพบทเรียนอิเลก็ ทรอนกิ ส์ เรื่อง การ ใช้โปรแกรม kidbright สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งแบ่งเป็น 2 ด้าน คือ ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา และผูเ้ ช่ียวชาญดา้ นเทคนิค 3. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ในการดำเนนิ การทดลองและเก็บรวบรวมขอ้ มูล ผู้วจิ ัยได้ดำเนนิ การตามลำดบั ข้ันตอน ดังนี้ 1. จัดทำบทเรียนอิเลก็ ทรอนิกส์ เร่ือง การใช้โปรแกรม kidbright ทีเ่ หมาะสมกับงานวิจัยให้ ครอบคลุมวตั ถุประสงค์ของการวจิ ัย 2. ก่อนการทดลอง ผ้วู จิ ัยชีแ้ จงหลกั การและเหตุผลใหก้ บั นักเรียนรับทราบ 3. ทำการทดสอบก่อนเรยี น (Per test) โดยใชแ้ บบทดสอบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนก่อน 4. ทดลองโดยใช้บทเรียนอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เร่ือง การใช้โปรแกรม kidbright ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 31 คน ในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564 5. หลังสิ้นสุดการทดลอง ผู้วิจัยทำการทดสอบหลังเรียน (Post test) โดยใช้แบบทดสอบ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนชุดเดยี วกับแบบทดสอบก่อนเรยี น 6. ให้กลุ่มตัวอย่างสร้างผลงานโดยใช้โปรแกรม kidbright กำหนดเวลาในการสร้างผลงาน 40 นาที และประเมนิ ผลงานทีส่ ร้างจากโปรแกรม kidbright โดยการใช้เกณฑร์ บู รคิ 7. ผวู้ ิจัยเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลทงั้ หมดแล้วนำมาวิเคราะหท์ างสถติ ิ 8. ผู้วิจัยสรปุ ผลการเก็บรวบรวมข้อมลู 4 การวิเคราะหข์ อ้ มลู ตอนที่ 1 ประสิทธิภาพของบทเรียนอเิ ล็กทรอนิกส์ เร่ือง การใชโ้ ปรแกรม KidBright ของนกั เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ตามเกณฑ์ 80/80 ตารางที่ 1 แสดงการหาประสิทธิภาพของบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การใช้โปรแกรม KidBright ของนกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 บทเรยี นอิเล็กทรอนกิ ส์ ประสทิ ธิภาพของ ประสิทธภิ าพของ กระบวนการ ������1 กระบวนการ ������2 1. พ้ืนฐานการใช้โปรแกรม KidBright 2. การสร้างภาพเคล่อื นไหว 3. สนุกกับเสยี ง เฉล่ียรวม

โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 อำเภอแมแ่ จม่ จงั หวดั เชยี งใหม่ โครงร่างวิจัยในช้นั เรียน ผู้วิจัย นายพงศธ์ ร เปงวงศ์ ตอนที่ 2 เปรียบเทียบคะแนนทดสอบก่อนเรียนกับคะแนนทดสอบหลังเรียนของนักเรียนที่เรียน จากบทเรยี นอเิ ลก็ ทรอนิกส์ เร่ือง การใช้โปรแกรม KidBright ของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ตารางที่ 2 แสดงการเปรยี บเทยี บคะแนนทดสอบกอ่ นเรยี นกับคะแนนทดสอบหลงั เรยี นของนกั เรียนท่ี เรยี นจากบทเรยี นอิเลก็ ทรอนิกส์ เร่อื ง การใช้โปรแกรม KidBright (n=31) ลำดบั รหัส ช่ือ - นามสกุล บทเรียนอเิ ลก็ ทรอนิกส์ คะแนน นักเรียน กอ่ นใช้ หลงั ใช้ ความกา้ วหน้า 1 04593 เดก็ ชายชยั วัฒน์ นริ าศสวุ รรณ 2 04624 เดก็ ชายณรงค์ฤทธ์ิ พิทกั ษ์ศกั ด์ิดิสกุล 3 04597 เด็กชายภทั รวรรณ กมิ ิสวุ รรณ 4 04683 เด็กชายวรัญชัย สถาพรประเทอื ง 5 03240 เดก็ ชายสุทศั น์ ปนั ธนธรี นันท์ 6 03241 เดก็ ชายสภุ าพ เก้อื กูลประดิษฐ์ 7 04713 เด็กชายอมรเทพ กระจ่างกิจคงเชอ้ื 8 04711 เด็กชายอุเทน เก่งกลา้ ชาญกจิ 9 04697 เดก็ หญงิ จริ าพร เขตผาติกานน 10 04625 เดก็ หญิงชนมน์ ภิ า เจนจิตรไพโรจน์ 11 04641 เด็กหญิงชลนชิ า ศรทั ธาบรบิ ูรณ์ 12 04654 เดก็ หญิงณัฎฐน์ รี ดงหงษ์ 13 04679 เด็กหญิงณฐั ณิชา บุญเขตอนันต์ 14 04689 เดก็ หญิงดารภา ปรัชญาพนาไพร 15 04643 เดก็ หญิงธวัลพร ตอมะลิ 16 04699 เดก็ หญงิ ธญั สนิ ี พฒั นาชาวไทย 17 04709 เดก็ หญิงธญั สนิ ี ชมุ พลสิริกลุ 18 04710 เด็กหญิงปุณยาพร ชลาลัยบุญเขต 19 04707 เดก็ หญิงพัชรา วนสกุลชยั 20 04657 เด็กหญิงพัชรี สถิรภูวดล 21 04704 เดก็ หญงิ มาติกา กจิ เจรญิ ชัยกุล

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 อำเภอแม่แจ่ม จงั หวดั เชยี งใหม่ โครงรา่ งวจิ ัยในชนั้ เรียน ผวู้ จิ ยั นายพงศ์ธร เปงวงศ์ ลำดบั รหสั ช่ือ - นามสกลุ บทเรยี นอเิ ล็กทรอนิกส์ คะแนน นักเรียน กอ่ นใช้ หลงั ใช้ ความก้าวหนา้ 22 04648 เด็กหญงิ มาริสา อรุณนภาลยั 23 03250 เดก็ หญิงรวนี ภิ า สิทธิ์คงขจร 24 04602 เด็กหญงิ รัตติญาภรณ์ ปู่คำ 25 04719 เด็กหญิงวลีวรรณ แซ่เหอ่ 26 04661 เด็กหญิงวิรดา จารุคงคา 27 04701 เดก็ หญงิ วิลัยพร คณุ านาถอปั สร 28 04698 เด็กหญงิ วีรดา เกษมเลิศตระกูล 29 04686 เด็กหญงิ ศิริรตั น์ อนรุ ักษ์วนภูมิ 30 04671 เดก็ หญิงสดุ ารัตน์ ปิโพ 31 04676 เดก็ หญิงสุพรรณษา นกเกร รวม ค่าเฉล่ีย ตอนท่ี 3 การประเมินผลงานท่ีสรา้ งดว้ ยโปรแกรม KidBright ของนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 ตารางที่ 3 แสดงผลการประเมินผลงานทสี่ ร้างดว้ ยโปรแกรม KidBright รายการประเมนิ คา่ เฉล่ยี ผลการประเมิน 1. ชิ้นงานเสร็จตามเวลา 2. ความสมบูรณข์ องชน้ิ งาน 3. ความคิดสรา้ งสรรค์ 4. ประโยชนข์ องช้นิ งาน 5. ความถกู ต้องของข้อมลู ในชิน้ งาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook