Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 14ขนมเทียนประยุกต์ ประมวลสานันท์

14ขนมเทียนประยุกต์ ประมวลสานันท์

Published by artaaa144, 2019-05-10 01:54:24

Description: 14ขนมเทียนประยุกต์ ประมวลสานันท์

Search

Read the Text Version

ภมู ิปญั ญาศึกษา เร่อื ง ขนมเทียนประยกุ ต์ โดย (ผ้ถู ่ายทอดภูมปิ ญั ญา) 1. นางประมวล สานนั ต์ (ผ้เู รยี บเรียงภมู ิปญั ญาท้องถิ่น) 2. นางสาวสุธิดา กองคา เอกสารภมู ิปญั ญาศึกษาน้ีเป็นส่วนหนึ่งของการศกึ ษา ตามหลักสตู รโรงเรียนผ้สู งู อายเุ ทศบาลเมอื งวังน้าเยน็ ประจาปกี ารศึกษา 2561 โรงเรยี นผูส้ งู อายเุ ทศบาลเมอื งวงั นา้ เย็น สงั กดั เทศบาลเมอื งวงั นา้ เยน็ จงั หวดั สระแก้ว

ภมู ิปัญญาศกึ ษา เรอ่ื ง ขนมเทียนประยกุ ต์ นางประมวล สานนั ต์ ผถู้ ่ายทอดภมู ิปญั ญา

คานา ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือเรียกชื่ออีกอย่างหน่ึงว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน คือองค์ความรู้ที่ชาวบ้าน ได้สั่งสมจากประสบการณ์จริงที่เกิดขึ้นหรือจากบรรพบุรุษท่ีได้ถ่ายทอดสืบกันมาตั้งแต่ในอดีตมาจนถึงปัจจุบัน เพอ่ื นามาใช้แกป้ ญั หาในชีวิตประจาวัน การทามาหากิน การประกอบการงานเล้ียงชีพ หรือกิจกรรมอ่ืนๆ เป็นการ ผ่อนคลายจากการทางาน หรือการย้ายถิ่นฐานเพื่อมาต้ังถิ่นฐานใหม่แล้วคิดค้นหรือค้นหาวิธีการดังกล่าวเพื่อการ แก้ปัญหา โดยสภาพพื้นที่น้ัน ชุมชนวังน้าเย็นแห่งนี้ เกิดขึ้นเมื่อราว ๆ 50 ปีที่ผ่านมา จากการอพยพถิ่นฐานของ ผูค้ นมาจากทกุ ๆ ภาคของประเทศไทย แลว้ มากอ่ ตั้งเป็นชุมชนวงั น้าเย็น ซ่ึงบางคนได้นาองค์ความรู้มาจากถิ่นฐาน เดิมแล้วมีการสืบทอดสืบสานมาจนถึงปัจจุบัน เช่นเดียวกับ ขนมเทียนประยุกต์ โดยนางประมวล สานันต์ ได้ รวบรวม เรียบเรียง ถ่ายทอดประสบการณใ์ ห้คนรุ่นหลังได้สืบค้นหรือค้นคว้าเป็นภูมิปัญญาศึกษา ของคนในชุมชน เทศบาลเมอื งเมืองวังนา้ เยน็ จังหวัดสระแก้ว ภูมิปัญญาฉบับน้ีสาเร็จได้ผู้ศึกษาขอขอบพระคุณ นายวันชัย นารีรักษ์ นายกเทศมนตรีเมืองวังน้าเย็น นายคนองพล เพ็ชรร่ืน ปลัดเทศบาลเมืองวังน้าเย็น คณะกรรมการโรงเรียนผู้สูงอายุ กองสวัสดิการสังคม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองวังน้าเย็น โรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธ์วิทยา โรงเรียนอนุบาล เทศบาลเมืองวังน้าเย็น หน่วยงานอื่น ๆท่ีเกี่ยวข้องและให้การสนับสนุนดูแลนักเรียนผู้สูงอายุเป็นอย่างดีและ ขอขอบพระคุณ นางสาวสุธิดา กองคา ท่ีได้เป็นที่ปรึกษาดูแลรับผิดชอบงานด้านธุรการ บันทึกเรื่องราวและจัดทา เป็นรูปเล่มท่ีสมบูรณ์ครบถ้วน ความรู้อันใดหรือกุศลอันใดท่ีเกิดจากการร่วมมือร่วมแรงร่วมใจร่วมพลังจนเกิดมี ภูมิปัญญาศึกษาฉบับนี้ ขอกุศลผลบุญนั้นจงเกิดมีแก่ผู้เก่ียวข้องดังท่ีกล่าวมาทุก ๆท่าน เพื่อสร้างสังคมแห่ง การเรยี นต่อไป ประมวล สานนั ต์ สธุ ิดา กองคา ผ้จู ดั ทา

ท่ีมาและความสาคัญของภมู ิปัญญาศึกษา จากพระราชดารสั ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช ท่วี ่า “ประชาชนน่ันแหละท่ี เขามีความรู้เขาทางานมาหลายช่ัวอายุคน เขาทากันอย่างไร เขามีความเฉลียวฉลาด เขารู้ว่าตรงไหนควรทากสิกร รม เขารู้วา่ ตรงไหนควรเก็บรกั ษาไว้ แต่ที่เสียไปเพราะพวกไม่รู้เร่ือง ไม่ได้ทามานานแล้ว ทาให้ลืมว่าชีวิตมันเป็นไป โดยการกระทาท่ีถูกต้องหรือไม่” พระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา-ภูมิพลอดุลยเดช ที่สะท้อน ถึงพระปรีชาสามารถในการรับรู้และความเข้าใจหย่ังลึก ท่ีทรงเห็นคุณค่าของภูมิปัญญาไทยอย่างแท้จริง พระองค์ ทรงตระหนักเป็นอย่างย่ิงว่า ภูมิปัญญาท้องถ่ินเป็นสิ่งท่ีชาวบ้านมีอยู่แล้ว ใช้ประโยชน์เพ่ือความอยู่รอดกันมา ยาวนาน ความสาคัญของภูมิปัญญาท้องถ่ิน ซ่ึงความรู้ที่ส่ังสมจากการปฏิบัติจริงในห้องทดลองทางสังคม เป็น ความรู้ด้ังเดิมที่ถูกค้นพบ มีการทดลองใช้ แก้ไข ดัดแปลงจนเป็นองค์ความรู้ที่สามารถแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต และถา่ ยทอดสืบตอ่ กันมา ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ เป็นขุมทรพั ยท์ างปัญญาท่คี นไทยทกุ คนควรรู้ ควรศึกษา ปรับปรุง และ พัฒนาใหส้ ามารถนาภูมิปัญญาท้องถิ่นเหล่านั้นมาแก้ไขปัญหาให้สอดคล้องกับบริบททางสังคมวัฒนธรรมของกลุ่ม ชุมชนนั้น ๆ อย่างแท้จริง การพัฒนาภูมิปัญญาศึกษานับเป็นส่ิงสาคัญต่อบทบาทของชุมชนท้องถ่ินท่ีได้พยายาม สร้างสรรค์ เปน็ นา้ พักนา้ แรงร่วมกนั ของผู้สูงอายุและคนในชุมชนจนกลายเป็นเอกลักษณ์และวัฒนธรรมประจาถิ่น ท่ีเหมาะต่อการดาเนินชีวิต หรือภูมิปัญญาของคนในท้องถิ่นนั้นๆ แต่ภูมิปัญญาท้องถ่ินส่วนใหญ่เป็นความรู้ หรือ เป็นสิ่งที่ได้มาจากประสบการณ์ หรือเป็นความเช่ือสืบต่อกันมา แต่ยังขาดองค์ความรู้ หรือขาดหลักฐานยืนยัน หนักแนน่ การสร้างการยอมรบั ที่เกิดจากฐานภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ จงึ เป็นไปได้ยาก ดงั น้ัน เพื่อให้เกิดการส่งเสริมพัฒนาภูมิปัญญาที่เป็นเอกลักษณ์ของท้องถ่ิน กระตุ้นเกิดความภาคภูมิใจใน ภูมิปญั ญาของบุคคลในทอ้ งถนิ่ ภูมปิ ญั ญาไทยและวัฒนธรรมไทย เกิดการถ่ายทอดภูมิปัญญาสู่คนรุ่นหลัง โรงเรียน ผู้สูงอายุเทศบาลเมืองวังน้าเย็น ได้ดาเนินการจัดทาหลักสูตรการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุใน ท้องถ่ินที่เน้นให้ผู้สูงอายุได้พัฒนาตนเองให้มีความพร้อมสู่สังคมผู้สูงอายุที่มีคุณภาพในอนาคต รวมทั้งสืบทอดภูมิ ปัญญาในการดารงชีวิตของนักเรียนผู้สูงอายุที่ได้ส่ังสมมา เกิดจากการสืบทอดภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ โดย นกั เรยี นผสู้ งู อายุจะเป็นผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ และมีครูพ่ีเล้ียงซ่ึงเป็นคณะครูของโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองวัง น้าเย็น เป็นผู้เรียบเรียงองค์ความรู้ไปสู่การจัดทาภูมิปัญญาศึกษา ให้ปรากฏออกมาเป็นรูปเล่มภูมิปัญญาศึกษา ใช้เปน็ สว่ นหนงึ่ ในการจบหลกั สูตรการศกึ ษาของโรงเรยี นผู้สูงอายุ ประจาปีการศึกษา 2561 พร้อมทั้งเผยแพร่และ จัดเก็บคลังภูมิปัญญาไว้ในห้องสมุดของโรงเรยี นเทศบาลมิตรสมั พันธว์ ิทยา เพื่อให้ภูมิปัญญาท้องถ่ินเหล่าน้ีเกิดการ ถา่ ยทอดสคู่ นร่นุ หลังสบื ต่อไป จากความร่วมมือในการพัฒนาบุคลากรในหน่วยงานและภาคีเครือข่ายที่มีส่วนร่วมในการผสมผสานองค์ ความรู้ เพ่อื ยกระดับความรู้ของภูมิปัญญานั้น ๆ เพ่ือนาไปสู่การประยุกต์ใช้ และผสมผสานเทคโนโลยี ใหม่ๆ ให้ สอดรับกบั วิถชี วี ิตของชุมชนไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ การนาภูมิปญั ญาไทยกลบั ส่กู ารศกึ ษา สามารถส่งเสริมให้มีการ ถ่ายทอดภูมิปัญญาในโรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธ์วิทยาและโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองวังน้าเย็น เกิดการ

มีส่วนร่วมในกระบวนการถ่ายทอด เช่ือมโยงความรู้ให้กับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในท้องถ่ิน โดยการนาบุคลากร ท่ีมีความรู้ความสามารถในท้องถิ่นเข้ามาเป็นวิทยากรให้ความรู้กับนักเรียนในโอกาสต่างๆ หรือการท่ีโรงเรียนนา องค์ความรู้ในท้องถ่ิน เข้ามาสอนสอดแทรกในกระบวนการจัดการเรียนรู้ส่ิงเหล่าน้ีทาให้การพัฒนาภูมิปัญญา ท้องถิ่น นาไปสู่การสืบทอดภูมิปัญญาศึกษา เกิดความสาเร็จอย่างเป็นรูปธรรม นักเรียนผู้สูงอายุเกิดความ ภาคภูมิใจในภูมิปัญญาของตนท่ีได้ถ่ายทอดสู่คนรุ่นหลังให้คงอยู่ในท้องถิ่น เป็นวัฒนธรรมการดาเนินชีวิตประจา ท้องถนิ่ เป็นวัฒนธรรมการดาเนนิ ชีวติ ค่แู ผน่ ดินไทยตราบนานเท่านาน นยิ ามคาศพั ทใ์ นการจัดทาภมู ิปัญญาศกึ ษา ภมู ิปญั ญาศกึ ษา หมายถงึ การนาภมู ปิ ัญญาการดาเนนิ ชีวติ ในเรือ่ งท่ีผู้สงู อายุเช่ยี วชาญท่ีสดุ ของผู้สูงอายุ ท่ีเข้าศึกษาตามหลักสูตรของโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมืองวังน้าเย็น มาศึกษาและสืบทอดภูมิปัญญาในรูปแบบ ต่าง ๆ มีการสืบทอดภูมิปัญญาโดยการปฏิบัติและการเรียบเรียงเป็นลายลักษณ์อักษรตามรูปแบบท่ีโรงเรียน ผสู้ ูงอายุกาหนดข้นึ ใชเ้ ปน็ สว่ นหน่งึ ในการจบหลักสูตรการศึกษา เพือ่ ให้ภมู ปิ ญั ญาของผู้สูงอายุได้รับการถ่ายทอดสู่ คนรุ่นหลงั และคงอยูใ่ นท้องถนิ่ ต่อไป ซง่ึ แบ่งภูมิปัญญาศึกษาออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. ภมู ิปัญญาศึกษาที่ผสู้ งู อายเุ ป็นผ้คู ดิ คน้ ภมู ิปัญญาในการดาเนนิ ชวี ติ ในเร่ืองทีเ่ ชี่ยวชาญท่สี ดุ ด้วยตนเอง 2. ภูมปิ ญั ญาศึกษาทีผ่ สู้ ูงอายเุ ป็นผูน้ าภมู ปิ ัญญาทส่ี ืบทอดจากบรรพบุรุษมาประยกุ ต์ใช้ในการดาเนนิ ชีวติ จนเกดิ ความเชีย่ วชาญ 3. ภูมิปัญญาศกึ ษาทผ่ี ูส้ งู อายุเปน็ ผู้นาภูมปิ ัญญาที่สบื ทอดจากบรรพบุรุษมาใช้ในการดาเนนิ ชวี ิตโดยไมม่ ี การเปลย่ี นแปลงไปจากเดิมจนเกดิ ความเช่ยี วชาญ ผู้ถ่ายทอดภูมปิ ัญญา หมายถึง ผูส้ งู อายุทเี่ ข้าศกึ ษาตามหลักสตู รของโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมืองวังน้า เย็น เป็นผู้ถ่ายทอดภูมิปัญญาการดาเนินชีวิตในเร่ืองที่ตนเองเช่ียวชาญมากท่ีสุด นามาถ่ายทอดให้แก่ ผู้เรียบเรียง ภมู ิปญั ญาท้องถ่ินไดจ้ ัดทาขอ้ มลู เป็นรูปเล่มภูมปิ ญั ญาศกึ ษา ผู้เรียบเรียงภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ผู้ที่นาภูมิปัญญาในการดาเนินชีวิตในเรื่องที่ผู้สูงอายุเช่ียวชาญ ที่สุดมาเรียบเรียงเป็นลายลักษณ์อักษร ศึกษาหาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่างๆ จัดทาเป็นเอกสารรูปเล่ม ใช้ช่อื วา่ “ภมู ิปัญญาศึกษา”ตามรูปแบบท่โี รงเรยี นผ้สู งู อายเุ ทศบาลเมืองวังนา้ เย็นกาหนด ครทู ี่ปรกึ ษา หมายถงึ ผทู้ ่ีปฏบิ ัติหน้าท่ีเป็นครพู เ่ี ล้ียง เปน็ ผู้เรียบเรยี งภูมปิ ัญญาท้องถิน่ ปฏิบัติหน้าที่เป็น ผู้ประเมินผล เป็นผู้รับรองภูมิปัญญาศึกษา รวมท้ังเป็นผู้นาภูมิปัญญาศึกษาเข้ามาสอนในโรงเรียน โดยบูรณาการ การจัดการเรียนรตู้ ามหลกั สตู รทอ้ งถิ่นทโ่ี รงเรียนจดั ทาข้นึ ขนมเทียน หมายถึง ขนมทาด้วยแป้งข้าวเหนียวนวดกับกะทิและน้าตาล มีไส้หวาน ไส้เค็ม อยู่ด้านในตัว ขนม หอ่ ดว้ ยใบตองสดเป็นรูปสามเหลี่ยมแลว้ นาไปน่ึงจนตวั ไส้และแปง้ สกุ ก่อนรับประทาน

ไส้ขนม หมายถึง วัตถุดิบท่ีอยู่ด้านในของตัวแป้ง ใช่วัตถุดิบที่แตกต่างกัน มีการปรุงรสชาติท่ีอร่อยและมี ช่อื เรยี กของไสน้ ั้นๆแตกตา่ งกันออกไป

ความเป็นมาและความสาคญั เรือ่ งขนมเทยี นประยกุ ต์ ขนมเทียน เป็นขนมที่ทาจากแป้งข้าวเหนียว มีไส้ ห่อด้วยใบตองเป็นทรงสามเหลี่ยมหรือทรงพีระมิด ไสท้ าด้วยถั่วเหลืองนึ่ง พริกไทย เกลือ และน้าตาลทราย ผัดให้เข้ากัน และอีกหนึ่งไส้คือ ไส้หวาน ทาจากมะพร้าว น้าตาลปีบ เกลอื ปน่ ผดั รวมกัน ขนมเทียนมีกลา่ วไว้ในกาพยเ์ ห่ชมเครอื่ งคาวหวานของพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหล้านภาลยั วา่ รสรกั ยกั ลานา ประดษิ ฐท์ าขนมเทยี น คานึงนวิ้ นางเจียน เทียนหลอ่ เหลาเกลากลึงกลม เหตุที่เรียกว่าขนมเทียนสันนิษฐานว่าเป็นเพราะเน้ือแป้งของขนมเทียนมีลักษณะเนียนเป็นมันคล้ายเนื้อของเทียน ในภาษาจีนกลางไม่มีคาเรียกขนมเทียน ส่วนในภาษาจีนแต้จ๋ิว เรียกด้วยคาภาษาไทยว่า หนุมเทียน สันนิษฐานว่า คนจีนในประเทศไทยคงผสมผสานวัฒนธรรม นาขนมซ่ึงเป็นขนมในงานบุญของไทยมาใช้เป็น ขนมไหว้ผีไร้ญาติ ในเทศกาลสารทจีนและตรุษจีน จนขนมเทียนกลายมาเป็นขนมประจาเทศกาลทั้งสองน้ีคู่ กับขนมเข่งซ่ึงป็นขนม ประจาเทศกาลตรษุ จนี มาแตเ่ ดิม ทามาจากแปง้ ข้าวเหนียวผสมน้าตาลทราย และนาไปนึ่งจนสุกไม่มีไส้ (สานักงาน ราชบณั ฑิตยสภา, 2555) ขนมเทียน หรือ ขนมนมสาว ทางภาคเหนือเรียกว่า ขนมจ็อก ซึ่งเป็นขนมที่นิยมใช้ในงานบุญของชาว เชียงใหม่โดยเฉพาะเทศกาลสงกรานต์ แต่เดิมมีไส้มะพร้าวและไส้ถั่วเขียวแต่ในปัจจุบันมีการดัดแปลงไส้ขนมจ็อก ออกไปหลากหลายมาก ชาวจีนใช้ขนมเทียนในการไหว้บรรพบุรุษช่วงวันตรุษและวันสารท ไส้เป็นถ่ัวเขียวกวนบด ถ้าแบบเค็มจะใส่พริกไทยและเกลือ แบบหวานใส่มะพร้าวและน้าตาลลงไปเพิ่ม ถ้าตัวแป้งทาด้วยแป้งเรียก ขนม เทียนแก้ว ในพิธีกรรมของชาวชองจะใชข้ นมเทียนในพิธไี หว้ผหี ง้ิ ด้วย พธิ กี รรมไหว้ผีห้ิง เป็นพิธีกรรมไหว้บรรพบุรุษ การทาขนมเทียน มีการทาขนมเทียนมาต้ังแต่สมัยโบราณ เป็นประเพณีของคนโบราณท่ีมักจะทาขนมเทียนไป ทาบุญหรือทาเพื่อประเพณีต่างๆ ซ่ึงวิธีการทาขนมเป็นวิธีการดั่งเดิมและเป็นที่เลื่องลือทางรสชาติความอร่อย (สพุ ัชรา นามวชิ ยั , 2551) ขนมเทียนแก้ว เป็นขนมเทียนอีกหนึ่งชนิดท่ีตัวแป้งมีสีใส เหนียว นุ่ม สามารถมองเห็นไส้ขนมได้อย่าง ชัดเจน ขนมเทียนแก้วเพลินจิตร เร่ิมต้นทาเมื่อปี พ.ศ. 2549 เป็นขนมไทยประยุกต์ชนิดหนึ่งที่ดัดแปลงมากจาก ขนมเทียนท่ีคนส่วนใหญ่รู้จักโดยการเปลี่ยนตัวขนมท่ีทาจากแป้งข้าวเหนียว มาใช้แป้งมัน ทาให้ตัวขนมมีสีใส มองเห็นไส้ขนมอยู่ตรงกลาง เม่ือแกะใบตองที่ห่อหุ้มตัวขนมจะร่อนไม่ติดใบตองและไม่ติดมือ ทาให้สะดวกในการ รบั ประทาน ไส้ขนมจะใสถ่ ั่วเหลอื ง เวลารับประทานจะรสู้ กึ เหนยี ว นุม่ แปลกและอร่อย การผลิตจะทาเป็นก้อนเล็ก ๆ พอดีคา ซึ่งเป็นเสน่ห์อย่างหนึ่ง รับประทานได้เรื่อย ๆ โดยไม่รู้สึกอิ่มเป็นขนมไทยท่ีเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว เพราะในใบตองหอ่ เป็นตัวขนมเหมาะสาหรับรับประทานเป็นของว่างและเป็นของฝากที่ผู้คนประทับใจ ขนมเทียน แก้วเพลินจิตร เป็นขนมที่ให้รสชาติอร่อย ได้รับการคัดสรรเป็นผลิตภัณฑ์หนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ระดับ 3 ดาว ในปี 2549 และระดับ 4 ดาวในปี 2552 ได้รับเคร่ืองหมาย อย. และเป็นวิสาหกิจชุมชน ซ่ึงขนมเทียนแก้ว

เป็นขนมที่เกิดจากภูมิปัญญาของนางเพลินจิตร คชสูงเนิน เป็นขนมไทยที่ผลิตขึ้นภายในครอบครัว กระบวนการ ผลิตมีหลายขั้นตอน ต้องช่วยกันทาจึงจะสาเร็จ เพ่ือให้เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว จึงตั้งชื่อ (ย่ีห้อ) เพลินจิตร เพ่ือ ลูกค้าจะได้จดจาได้ง่าย กระบวนการผลิตจะใช้วัตถุดิบคุณภาพอย่างดี เน้นความสะอาด ถูกสุขลักษณะตามหลัก โภชนาการ เพ่ือให้ผู้บริโภคได้รสชาติท่ีอร่อย ขนมเทียนแก้วเพลินจิตร แม้จะมีการผลิตภายในครอบครัวแต่ก็มี ความสัมพันธ์กบั ชมุ ชน ในดา้ นการชว่ ยเหลือสังคม ในหมู่บ้าน ตาบล อาเภอ และจังหวัด โดยเฉพาะในหมู่บ้านเอง มีการรับซื้อวัตถุดิบ (ใบตอง) การจ้างแรงงานของคนในชุมชนในกระบวนการผลิต และกิจกรรมขนมเทียนแก้ว ได้สร้างชื่อเสียงให้กับชุมชน มีการถ่ายทอดภูมิปัญญาให้กับนักเรียน ผู้สนใจ ช่วยเหลือ เก้ือกูลกัน ทมี่ า : otop. (2013-2019). ภูมปิ ญั ญาไทย. สืบค้นจาก http://www.otoptoday.com/wisdom/1128/

ขัน้ ตอนการเตรยี มอปุ กรณ์และส่วนผสมตา่ งๆของการทาขนมเทียนประยุกต์ ขนมเทียน เป็นภูมิปัญญาท้องถ่ิน หรือเรียกชื่ออีกอย่างหนึ่งว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน ในปัจจุบันการทา ขนมไทย เป็นส่วนหน่ึงท่ีได้สืบสานอนุรักษ์ของไทยที่กาลังจะเลือนหายไป ซ่ึงจริงๆแล้วขนมไทยมีเสน่ห์ในตัวเอง อยู่แล้วไม่ว่าจะเป็นรูปร่างหน้าตา ที่ตกแต่งออกมาสวยงาม ข้ันตอนในการทาอย่างประณีต และรสชาติที่โดดเด่น และท่ีสาคัญขนมไทยส่วนมากเป็นขนมท่ีมีความเป็นมงคลเป็นขนมท่ีนิยมใช้ในงานบุญ โดยเฉพาะการไหว้ บรรพบุรุษ ซ่ึงมีมากมายหลายไส้ ไม่ว่าจะเป็น ไส้เค็ม ไส้หวาน ไส้ถั่วเขียวกวน แต่ไส้ที่นิยมรับประทานมากที่สุด และใชใ้ นงานพิธีตา่ งๆคอื ไส้หวาน และไส้เค็ม ดั่งวิธีทาต่อไปนี้ 1. อุปกรณ์ 1.1 ถว้ ยนวดแปง้ 1.2 ถาดวางไสข้ นม 1.3 กรรไกรหรือมีด 1.4 ซง้ึ น่ึงขนม 1.5 ใบตองสด 2. สว่ นผสมของไส้หวาน 2.1 มะพร้าวขดู 2.2 เกลอื ป่น 2.3 นา้ ตาลทรายแดง 3. ส่วนผสมของไส้เค็ม 3.1 ถ่ัวเหลืองกะเทาะเปลือก 3.2 หมสู บั ละเอียด 3.3 พริกไทย 3.4 กระเทียม 3.5 เกลอื ป่น 3.6 นา้ มันพืช

4. สว่ นผสมของตวั แป้ง 4.1 แปง้ ขา้ วเหนยี ว 4.2 แปง้ ข้าวเจา้ 4.3 กะทิ 4.4 นา้ จากดอกอัญชัน 4.5 น้าจากใบเตยหอม 4.6 น้าฝนโรยดอกมะลิ วิธีการทาขนมเทียนประยกุ ต์ เร่ิมจากการเตรยี มไส้ขนมหลงั จากนน้ั เตรียมในส่วนของตัวแปง้ ปั้นเปน็ ลกู กลมๆ และห่อด้วยใบตอง นาไป นึ่งโดยใช้ซงึ่ นง่ึ ขนมบนเตาไฟจนขนมสุกสามารถรบั ประทานได้ 1. วิธที าไส้ขนมเทยี น (ไส้หวาน) 1. ขดู มะพรา้ วทม่ี ีเน้อื กาลงั ดีไม่อ่อนหรอื แก่จนเกนิ ไป เพ่ือนามาผัดบนเตาไฟ 2. เทนา้ ตาลทรายแดงใสล่ งผสมกบั มะพร้าวขูด ผัดจนมะพร้าวขูดกบั นา้ ตาลทรายแดงละลายและผสมกนั จน ได้ที่

3. โรยเกลอื ปน่ ใสล่ งไป หลงั จากนน้ั ผัดผสมรวมกัน 4. ชิมรสชาตขิ องไส้และปรงุ แตง่ ให้กลมกล่อมเน้นหวานและมีรสชาตเิ คม็ เกลือนิดๆ 5. พกั ไว้จนหายร้อน 6. ปั้นเป็นลูกกลมๆใส่ถาดเรียงกัน เพ่อื รอการห่อใส่ในตวั แป้ง

2. วธิ ีทาไสข้ นมเทียน (ไส้เคม็ ) 1. นาถว่ั เหลืองซีกแช่น้าเปลา่ ทิ้งไว้ ประมาน 4-5 ช่วั โมง หลงั จากนั้นล้างถ่ัวเหลอื งให้สะอาด นาไปน่ึงในหวด น่งึ บนเตาไฟจนถ่ัวสกุ ประมาน 15 นาที 2. นาถั่วเหลอื งนงึ่ สกุ มาบดละเอียด (สะดวกตาในครกหนิ หรือบดโดยใชเ้ ครอ่ื งปน่ั ) ตามทีส่ ะดวก 3. สับหมบู ดใหล้ ะเอยี ด เพ่ือเตรียมไวผ้ ดั ไส้ 4. โขลกกระเทยี มพริกไทยรวมกันเพ่อื ท่จี ะผัดรวมกับหมบู ดและถวั่ เหลอื ง เพือ่ เพิ่มรสชาติและกล่นิ หอมและ รสชาติเผ็ดเล็กน้อย

5. ตง้ั กระทะใหร้ อ้ น เทนามันพชื ลงบนกระทะเลก็ น้อย ผดั หมูบดกบั กระเทยี มพริกไทยรวมกันจนมกี ล่นิ หอม หลงั จากนั้นนา้ ถั่วเหลืองปน่ ละเอียดใส่ลงในกระทะ ผดั ไปมาจนสุกและเข้ากันได้ดีหลงั จากนั้นนาลงมาพักไวใ้ หเ้ ยน็ 6. ป้ันไสใ้ หเ้ ปน็ ลกู กลมๆวางลงในถาดเรยี งกันเพ่ือรอห่อกับตวั แป้ง

3. วธิ ีเตรยี มตัวแป้ง 1. เทแป้งข้าวเจ้าผสมกบั แป้งข้าวเหนยี วลงไปเลก็ น้อย เพ่ือให้ตัวแป้งมสี ่วนทีเ่ หนียว และนมุ่ นา่ รับประทาน 2. ผสมเกลือป่นลงไปเล็กนอ้ ย เพ่อื ให้เกิดรสชาตติ ดั เค็มเล็กน้อย 3. ผสมน้าตาลทรายขาวเลก็ น้อย เพ่ือให้เกดิ รสชาตหิ วานอรอ่ ย 4. หลงั จากน้ันคลกุ เคลา้ ตวั แป้งที่ผสมเกลือ นา้ ตาลทรายให้เข้ากันทกุ ส่วน 5. แบ่งแปง้ ออกเป็น 2 สว่ นเท่าๆกัน เพื่อจะผสมน้าจากสีธรรมชาตจิ ากพชื 2 ชนดิ ทา ใหต้ วั แปง้ เกดิ สสี นั นา่ รับประทาน 5.1 ตวั แป้งสฟี ้าน้าเงินหรือสมี ว่ ง จากสว่ นผสมของดอกอัญชนั 5.1.1 น้าดอกอัญชันล้างนา้ ให้สะอาด หลงั จากนัน้ แช่น้าอุ่น ทง้ิ ไว้ประมาน 5 นาที คัน้ และบีบ เอานา้ สีฟา้ น้าเงินจากดอก 5.1.2 เตรยี มนา้ ฝนท่ีโรยดอกมะลิ เพื่อทจี่ ะผสมกับตัวแป้ง แช่ดอกมะลิไวป้ ระมาน 5 นาที เพ่อื ความสง่ กลน่ิ หอมลงในน้าฝน 5.1.3 นาแป้งทแี่ บ่งไว้มา 1 ส่วน เทนา้ ทคี่ ัน้ ได้จากดอกอัญชันลงไปเลก็ น้อยและใชม้ ือนวดไป เร่ือยๆ เติมกะทสิ ดลงไปเล็กน้อย เพ่ือเพ่ิมความหอมมนั และนวดจนแปง้ เขา้ กนั เหนียวนุ่มเกาะตวั เป็นกอ้ นเดียวกนั เทน้าฝนโรยดอกมะลิลงไปเล็กนอ้ ย ผสมผสานกนั กับนา้ ดอกอญั ชนั และนวดไปเรื่อยๆประมาน 15 นาทีจนแป้งนุ่ม เปน็ กอ้ นสีฟา้ น้าเงินสเี ดียวกนั

5.2 ตวั แปง้ สเี ขียวอ่อน จากสว่ นผสมของใบเตยหอม 5.2.1 นา้ ใบเตยหอมมาหั่นละเอียดและนา้ ไปปั่นเครื่องป่นั หรือโขลกกับครกหนิ ขณะทีป่ ่ันหรือ โขลกผสมนา้ ฝนท่ีโรยดอกมะลิลงไปเลก็ นอ้ ย เพื่อให้ได้นา้ สีเขยี วจากใบเตย หลงั จากนัน้ คั่นกับตะแกรงหรือผา้ ขาว บางเพื่อได้น้าใบเตยทหี่ อมและสะอาดไม่มีกากใยใบเตย 5.2.2 นาแป้งที่แบ่งไวอ้ กี 1 สว่ นท่ีเหลือ เทน้าท่คี ้ันไดจ้ ากใบเตยหอมลงไปเลก็ น้อยและใช้มอื นวดไปเรอื่ ยๆ จนแป้งเข้ากันเหนยี วน่มุ เกาะตวั เป็นก้อนเดยี วกัน เทน้าฝนโรยดอกมะลลิ งไปเล็กน้อย ผสมผสานกนั กับนา้ ใบเตยหอมและนวดไปเรอ่ื ยๆประมาน 15 นาทีจนแป้งนุ่ม เติมกะทสิ ดลงไปเล็กน้อย เพือ่ เพิ่มความหอมมนั และนวดไปเร่ือยๆจนเป็นก้อนสเี ขียวสเี ดียวกัน

6. นาแป้งที่ผสมสีนา้ จากธรรมชาติเสร็จแล้วนัน้ มาปัน้ เปน็ วงกลมๆ หลงั จากน้นั บีบให้แปง้ แบออกเป็นแผ่นๆ แบๆ เพ่ือทีจ่ ะเอาไสห้ วานทป่ี ั้นเตรยี มไว้ใส่ลงไปตรงกลางแปง้ หลังจากนน้ั ปน้ั แป้งเปน็ วงกลมๆ ห่อตวั ไส้ไว้ด้านใน วางลงบนถาดที่โรยผงฝุน่ แป้งในถาดเลก็ น้อย เพื่อเปน็ วธิ ที ่ีทาใหแ้ ป้งไม่ตดิ กบั ถาดทว่ี าง หยิบง่าย แปง้ ไมแ่ ตกตวั 7. หอ่ แป้งกับตวั ไส้ทัง้ 2 ไส้ 2 สีจนเสรจ็ เรียบร้อย

1. นาใบตองท่เี ตรยี มไว้มาฉีกให้ความกว้างไดเ้ ท่าๆกัน และใชก้ รรไกรหรือมดี ตดั ในส่วนด้านบนท่แี ขง็ ออก เล็กนอ้ ย ตดั ให้มรี ูปทรงลกั ษณะวงกลม เทคนิคการตดั น้ี สามารถใชช้ ามใบขนาดกลางมาวางทาบไว้บนใบตอง และใชม้ ดี กรดี รอบๆชามท่วี าง เพอ่ื ให้ไดใ้ บตองท่ีเป็นงกลมอย่างสวยงามได้ 9. น้ามันพชื ทาลงบนด้านในของใบตองเล็กน้อยเพ่ือไมใ่ หต้ ัวแปง้ ติดกับใบตองเวลาแกะรับประทาน 10. จบั ใบตองเป็นรปู ทรงกรวยแหลมเพ่ือที่จะใสต่ วั แป้งและห่อเพื่อนาไปน่ึงบนเตาไฟ 10.1 จับใบตองเปน็ รปู ทรงกรวยแหลมใสต่ ัวแป้งลงไป ใช้น้ิวหวั แมม่ อื ท้งั สองข้างกดใบตอง ไปทางด้านหน้าและใช้หัวแม่มือขวาดันใบตองทางขวาไปทางดา้ นซ้าย 10.2 ใช้นิ้วหัวแมม่ อื ซา้ ยดนั ใบตองทางซา้ ยไปทางด้านขวา ลังจากนน้ั พบั ปลายใบตองยัดใสด่ า้ น ในของใบตอง ตามภาพด้านล่าง ท่ีมา : http://zodago.bloggang.com

รปู ขณะห่อขนมเทยี น

11. นาขนมเทียนท่ไี ดท้ ้ังหมด นาใสล่ งบนซ้งึ นึ่งขนมละนาไปต้งั ไฟน่งึ ประมาน 1 ช.ม. จนสกุ พร้อมรบั ประทาน

การนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจาวนั ขนมเทียน เป็นขนมที่นิยมใช้ในงานบุญของไทยจานวนมาก เช่น เทศกาลตรุษจีน เทศกาลสารทไทย งานมงคลตา่ งๆ เปน็ จานวนมาก บ่งบอกถึงเป็นขนมท่ีเป็นมงคลใช้ในงานมงคลมากมาย และขนมเทียนยังสามารถ รบั ประทานได้ตลอดเวลา ในตลาดสอหรือตลาดต่างๆ แม่ค้ายังทาขนมเทียนขายอยู่เป็นประจา ปัจจุบันขนมเทียน มกี ารประยุกตไ์ ดม้ ากมายหลายสีสนั และหลากหลายไส้ และแตผ่ ู้ทาจะค้นคว้าดัดแปลงวิธีการทาแป้งและวิธีการทา ไส้รสชาติต่างๆ ขนมเทียนยังเป็นขนมชนิดหน่ึงท่ีชาวบ้านนิยมห่อรับประทานอย่างสม่าเสมอ อาจจะเป็นกิจกรรม ภายในครอบครวั หรือครอบครัวน้ันๆ จัดงานมงคล งานสืบสานประเพณีท่เี ขานบั ถือกนั มาแตบ่ รรพบุรุษอีกดว้ ย การคา้ ขาย สามารถทาขนมเทียนเป็นอาชพี ในการขายขนมไทย หรือขนมหวานได้ เพราะคนไทยส่วนใหญ่ นยิ มรับประทานและนาไปใช้ในงานต่างๆ ในแต่ละวัน บางครอบครัวอาจจะมีกิจกรรม หรือต้องการใช้ขนมเทียนนี้ มาประกอบพิธีการ ซ่ึงนับได้ว่า การทาขนมเทียนรับประทาน หรือการทาขนมเทียนขาย สามารถเป็นกิจกรรม ส่งเสริมได้ด้านการสร้างอาชีพและงานฝีมือต่างๆ รวมท้ังการห่อขนม เป็นการรวมตัวของญาติ เพ่ือน หรือคนรู้จัก มาร่วมทาขนมและพูดคุยสนทนาแลกเปล่ียนความคิดทัศนคติเร่ืองราวต่างๆ เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมการร่วมมือ รว่ มแรงและรวมตวั สามคั คีกันไดด้ อี กี ดว้ ย “ ป้าชอบทาขนมไทย เวลาทาขนมไทยป้ารู้สกึ มคี วามสขุ มาก น่ังแล้วมองถาดขนม การเตรียมของทาขนม ย้อมมองไปถึงอดีต ตอนป้าเป็นเด็ก ป้าคิดถึงครอบครัวพ่อ แม่ แล้วญาติพี่น้องมาก เวลาทาขนมเทียน พวกเรา จะมาช่วยกันทาขนม พูดคุยกันแลกเปลี่ยนสนทนากัน มันมีความสุขมากๆเลย เลยเป็นสาเหตุให้ป้าชอบทาขนม เทียน ทาแลว้ มคี วามสขุ ทาแลว้ ไดข้ าย ไดแ้ จกเพื่อบ้านญาติๆและไดน้ ามาใชไ้ หว้ต่างๆได้ ”

คารับรอง ภมู ปิ ญั ญาศึกษา เรอื่ ง ขนมเทยี นประยุกต์ ผจู้ ัดทา นางประมวล สานันต์ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน หรือเรียกช่ืออีกอย่างหน่ึงว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน ในปัจจุบันการทาขนมไทย เป็นส่วนหนง่ึ ท่ไี ด้สบื สานอนรุ ักษข์ องไทยท่ีกาลงั จะเลือนหายไป ซ่ึงจริงๆแล้วขนมไทยมีเสน่ห์ในตัวเองอยู่แล้วไม่ว่า จะเป็นรูปร่างหน้าตา ท่ีตกแต่งออกมาสวยงาม ข้ันตอนในการทาอย่างประณีต และรสชาติท่ีโดดเด่นและท่ีสาคัญ ขนมไทยส่วนมากเป็นขนมท่ีมีความเป็นมงคลอยู่ในตัวอีกด้วย ขนมเทียน เป็นขนมที่นิยมใช้ในงานบุญ โดยเฉพาะ การไหวบ้ รรพบรุ ุษ ซึง่ มมี ากมายหลายไส้ ไม่ว่าจะเป็นไส้เค็ม ไส้หวาน ไส้ถั่วเขียวกวน แต่ไส้ที่นิยมรับประทานมาก ทส่ี ุดและใชใ้ นงานพธิ ตี ่างๆ คือ ไส้หวาน และไส้เค็ม การสืบทอดภูมิปัญญาหรือการทาขนมเทียนน้ี ได้นาองค์ความรู้มาจากถ่ินฐานเดิมแล้วมีการสืบทอดสืบ สานต่อกันมามาจนถึงปัจจุบัน เรียบเรียง ถ่ายทอดประสบการณ์ให้คนรุ่นหลังได้สืบค้นหรือค้นคว้า การทาขนม เทียนในครั้งนี้ได้รับท้ังความรู้และการแลกเปล่ียนทัศนะคติ ต่างๆกับคนรอบข้างมากมาย รับรู้เทคนิควิธีทาขนม ที่ให้ได้รสชาติที่อร่อยของคนโบราณและยังเป็นภูมิปัญญาศึกษาของคนในชุมชนเทศบาเมืองวังน้าเย็น จังหวัด สระแก้ว ตอ่ ไป ท้ังน้ีผู้รับรองขอช่ืนชม นางประมวล สานันต์ ที่ได้ถ่ายทอดภูมิปัญญาสู่คนรุ่นหลังและเพ่ือศึกษาสืบค้น ต่อไปและขอขอบพระคุณทางเทศบาลเมืองวังน้าเย็น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม โรงเรียนเทศบาลมิตร สัมพันธ์วิทยา โรงเรียนอนุบาลเทศบาลเมืองวังน้าเย็น หน่วยงานอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้องและให้การสนับสนุนดูแล นักเรยี นผูส้ ูงอายุเปน็ อยา่ งดี และทาใหภ้ มู ิปัญญาฉบบั นีไ้ ด้สาเรจ็ เสรจ็ สนิ้ อยา่ งราบรื่น ลงชอ่ื .......................................................................ผ้รู บั รอง ( นางสาวสธุ ดิ า กองคา ) ตาแหนง่ ครพู เิ ศษ

ภาคผนวก - ประวตั ผิ ู้จัดทาภูมิปญั ญาศึกษา - ภาพประกอบ

ประวตั ผิ ู้ถา่ ยทอดภมู ิปญั ญา ชอ่ื : นางประมวล สานนั ต์ เกดิ : 28 พฤษภาคม 2501 อายุ 61 ปี ภูมิลาเนา : บ้านเลขท่ี 278 หมู่ 2 ตาบลวงั นา้ เย็น อาเภอวังน้าเย็น จงั หวดั สระแกว้ ทอ่ี ยูป่ จั จบุ นั : บา้ นเลขที่ 278 หมู่ 2 ตาบลวงั น้าเย็น อาเภอวงั นา้ เยน็ จังหวดั สระแกว้ 27210 สถานภาพ: สมรส กบั นายอุทยั สานนั ต์ มบี ตุ รด้วยกนั จานวน 3 คน ดังน้ี 1. นางอรทัย สานนั ต์ 2. นางนัยณา พนั ชารี 3. นายสุรชยั สานันต์ การศึกษา: ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 จังหวดั ร้อยเอด็ ปัจจุบัน ประกอบอาชีพ : แม่บ้าน ประวัติผู้เรยี บเรยี งภูมิปัญญาศกึ ษา ชอื่ : นางสาวสุธดิ า กองคา เกดิ : 16 สงิ หาคม 2537 อายุ 24 ปี ภมู ลิ าเนา : ตาบลวงั เย็น อาเภอแปลงยาว จงั หวัดฉะเชงิ เทรา ทอ่ี ยปู่ ัจจบุ นั : บ้านเลขท่ี 20/2 หมู่ 3 ตาบลวงั เย็น อาเภอแปลงยาว จังหวดั ฉะเชิงเทรา สถานภาพ : โสด การศกึ ษา : ปริญญาตรี คณะครศุ าสตร์ สาขาการสอนภาษาจนี มหาวิทยาลยั ราชภัฏราชนครินทร์ ฉะเชิงเทรา ปัจจบุ นั ประกอบอาชพี : พนกั งานจ้างพิเศษสงั กดั เทศบาลเมืองวงั นา้ เย็น

ภาพประกอบการจัดทาภมู ิปัญญาศึกษา เรื่อง ขนมเทียนประยุกต์

เตรยี มมะพร้าวขดู ทาตัวไสแ้ ละนา้ กะทิ นา้ ฝนโรยดอกมะลิเพื่อเพิ่มความหอม นามาใช้ผสมในสว่ นของตวั แปง้

ตวั แปง้ จากน้าอัญชนั เพื่อให้ตัวแป้งได้สมี ่วงอัญชันจากธรรมชาติ ตัวแปง้ จากนา้ ใบเตย เพ่ือใหต้ ัวแป้งไดส้ ีเขียวสดจากธรรมชาติ

ตัวไสห้ วาน ไดจ้ ากผดั มะพรา้ วขูดและนา้ ตาลทรายแดงร่วมกัน ตวั ไส้เคม็ ไดจ้ ากถ่ัวเหลืองบดละเอยี ด หมูสับและกระเทียมพรกิ ไทยผดั รวมกนั จนสกุ

ผสมตัวแปง้ และปั้นแป้งเพ่ือเตรียมหอ่ ใบตอง

ภาพขณะห่อขนมเทยี น

ขนมเทยี นประยกุ ต์ไสห้ วาน ไส้เค็ม กอ่ นน่ึงและหลงั นง่ึ จนขนมสุกพรอ้ มที่จะรบั ประทาน

บรรณนุกรม ขนมไทย. [ออนไลน์]. แหลง่ ท่ีมา: https://sites.google.com/site/tumkanom/page7. (สืบค้นเม่ือวนั ที่ 20 กุมพาพนั ธ์ 2562) ขนมห่อหมก. [ออนไลน์]. แหล่งทมี่ า: http://www.baanmaha.com/community/thread43316.html. (สบื คน้ เม่ือวันท่ี 31 มกราคม 2562) นงนติ ย์ ศริ ิโภคากิจ. (2541 : 423 – 433) [ออนไลน์]. แหล่งท่มี า: www.ba.cmu.ac.th/. (สบื คน้ เมื่อวนั ที่ 26 กมุ พาพันธ์ 2562) ประวตั ขิ นมไทย. [ออนไลน์]. แหล่งทม่ี า: http://www.ezythaicooking.com/thai_dessert_recipes.html. (สืบคน้ เมื่อวันท่ี 24 กมุ พาพนั ธ์ 2562) วงพกั ตร์ ภพู่ นั ธ์ศรี [ออนไลน์]. แหล่งทีม่ า: http://ednet.kku.ac.th. (สบื คน้ เมื่อวนั ที่ 26 กมุ พาพนั ธ์ 2562) สานกั งานราชบัณฑิตยสภา [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.royin.go.th/?knowledges=ขนมเทยี น (2555). (สืบคน้ เม่ือวนั ท่ี 26 กุมพาพันธ์ 2562) otop. (2013-2019). “ภมู ิปญั ญาไทย” แหล่งที่มา: http://www.otoptoday.com/wisdom/1128/. (สืบคน้ เมื่อวนั ที่ 26 กมุ พาพันธ์ 2562)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook