Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Studying

Studying

Published by ida6011, 2018-09-16 14:11:37

Description: Studying

Search

Read the Text Version

โครงการอนุรักษ์พันธกุ รรมพืชอันเน่อื งมาจากพระราชดาริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น รายงานผลการศึกษากลว้ ยผา สนองพระราชดาริโดยโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ อาเภอแม่แจม่ จังหวดั เชียงใหม่ สานกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

ก บทคัดยอ่ กล้วยผาเปน็ พชื ที่พบในแถบภูเขาสูงทางภาคเหนอื และภาคตะวันอกเฉียงเหนือของไทยตามธรรมชาติจะข้ึนอยกู่ บั ตามชายป่าท่ีระดับความสงู 300 - 800 เมตรจากระดับนํ้าทะเล สามารถข้ึนได้บริเวณซอกหน้าผาหรอื กอ้ นหนิ ขนาดใหญ่ อยู่คกู่ บั ชุมชนพ้ืนบ้านล้านนามาช้านาน ชาวบ้านนิยมนํามาปลูกเป็นไม้ประดับตามวัดและบ้านเรอื น ทง้ั ยังใชป้ ระโยชนจ์ ากลําต้นอ่อนของกลว้ ยผา นํามาประกอบอาหารได้หลายชนดิ กล้วยผาเป็นกลว้ ยป่าของไทยอยใู่ นสกลุ กลว้ ยโทน ไม่มีการแตกกอ ขยายพนั ธุด์ ว้ ยเมล็ด เป็นพืชล้มลุกมีลําต้นเทียมสูง 100 – 200 เซนติเมตร ใบเป็นใบเดี่ยวแตกจากโคนระดับตํ่า รูปขอบขนาดแกมรี ปลายใบแหลมกว้าง 30 - 50 เซนติเมตร ยาว 100 – 150 เซนติเมตร ก้านใบส้ัน สีเขียวมีร่องใบกว้าง เส้นใบสีเขียวกาบใบมีนวลหนา ใบที่ส่วนโคนเรียงเป็นวงรอบทําให้เกิดลําต้นเทียมเหนือดินท่ีแน่นและแข็งแรง คล้ายรูปสามเหล่ียมเหนือพ้นื ดิน มียางสีสม้ ดอกเป็นดอกช่อขนาดใหญ่ชูตั้งขึ้นและโน้มลงขนานกับพื้นดิน แต่ละช่อมีใบประดบั สีแดงปนเหลอื ง หรอื สีสม้ รูปปอ้ ม ปลายป้าน ดอกทีอ่ ยู่ทโ่ี คนชอ่ ดอกเปน็ ดอกกะเทย ดอกย่อยแต่ละดอกไม่มีใบประดับ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกรวมกันเรียกกลีบรวม (tepal) เกสรตัวผู้มี 5 อัน เกสรตัวเมียมี 1อัน สีขาวนวล รังไข่อยู่ใต้วงกลีบดอก ดอกมีสมมาตรด้านข้าง (zygomorphic or irregular flower) มีต่อมน้ําหวานที่ปลายรังไข่และรวมไว้บริเวณฐานที่กลีบรวม มีลักษณะเป็นเมือกหรือเจลลาติน ต้องการการผสมเกสรเพอ่ื การเจริญของผล ผลเรียงกนั ไม่เปน็ ระเบยี บ รปู ป้อม ปลายแหลม ขนาด 2 – 4 เซนติเมตร ปลายผลมีจุกยาวแหลม เหน็ กา้ นเกสรตัวเมยี ติดอยู่ ผลแก่มเี มล็ดสีดําและมีเน้ือหุ้มล้อมรอบ มีรสหวาน หากไม่ได้รับการผสมจะไม่มีการพัฒนาเป็นผล เมล็ดมีเปลือกแข็งงอกช้า ไม่มีการนํามาบริโภค แต่มีกรนํามาทําเป็นเครือ่ งประดับ การศึกษาปฏิสมั พนั ธ์ระหว่างสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและชีวภาพกับกล้วยผา พบว่า กล้วยผาข้ึนในสภาพอากาศที่อบอุ่น ชุ่มชื้น ดินมีการระบายนํ้าท่ีดีสามารถขึ้นตามซอกหน้าผาที่เป็นหินได้ บริเวณรอบๆโคนต้นมีความชื้นสูงเป็นท่ีอยู่อาศัยของสัตว์ขนาดเล็กหลายชนิด เช่น มดดํา มดแดง แมงมุม หอยทาก ตามกาบลาํ ต้นมแี มลงพวกเพลีย้ แปง้ ดูดกนิ นา้ํ เลี้ยงจากเน้ือเยอื่ ภายในลําต้น เม่ือต้นมีขนาดเล็กใบจะแผ่ปกคลุมทําใหไ้ ม่มหี ญ้า วัชพชื จนเมอ่ื ลําตน้ เทยี มยดื สูงข้นึ รอบๆลาํ ต้นจะพบหญ้า วัชพืชขนาดเลก็ จํานวนมาก

ข กติ ตกิ รรมประกาศ การศึกษาองค์ประกอบของพืช กล้วยผาครั้งนี้สําเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี คณะผู้ศึกษาขอขอบคุณท่านผู้อํานวยการสถานศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ท่ีให้การสนับสนุน ให้คําแนะนํา ขอบคุณคณะครูบุคลากร และนักเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ทุกคนท่ีได้ร่วมการศึกษาองค์ประกอบของพืชกลว้ ยผา นําไปสกู่ ารบรู ณาการการเรยี นรู้ 8 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

สารบญั ค เรือ่ ง หนา้บทคดั ย่อ กกิตติกรรมประกาศ ขสารบัญ คสารบัญภาพ งสารบัญตาราง จบทนาํ 1การตรวจเอกสาร 2อปุ กรณ์และวธิ กี าร 8ผลการศกึ ษา 9สรปุ และวจิ ารณ์ 12เอกสารอ้างอิง 15ภาคผนวก 16 รูปภาพประกอบการศึกษา บทส่งทา้ ย

สารบญั ภาพ ง เรื่อง หนา้บทคัดยอ่ ภาคผนวกภาพท่ี 1 ลําตน้ กล้วยผาทอี่ อกดอกสมบรู ณ์ภาพท่ี 2 ลําตน้ ใต้ดิน 17ภาพท่ี 3 รากกลว้ ยผา 17ภาพท่ี 4 ใบกลว้ ยผา 18ภาพที่ 5 ดอกกลว้ ยผา 18ภาพที่ 6 ผลกลว้ ยผา 19ภาพท่ี 7 เมลด็ กลว้ ยผา 19 20ประมวลภาพกิจกรรมภาพท่ี 8 การศกึ ษาสรรพสิ่งล้วนพนั เก่ียว 21ภาพที่ 9 เบ้อื งหลังการศกึ ษา 23ภาพที่ 10 เขา้ ร่วมโครงการประกวดการสร้างสรรคส์ อ่ื 24 ประเภทอนิ โฟกราฟกิ (Infographic)

จสารบัญตาราง เร่อื ง หนา้ตารางที่ 1 ตารางแสดงปริมาณสว่ นประกอบคุณค่าทางอาหารของกล้วยชนดิ ตา่ งๆ 5ในสว่ นที่รบั ประทานได้ 100 กรมัตารางที่ 1 ตารางแสดงการเปรียบเทียบสว่ นประกอบของกรดอะมโิ นและโปรตีน 6ในส่วนท่กี ินได้ 100 กรมั

1 บทที่ 1 บทนา กล้วยเป็นพืชท่ีอยู่คู่สังคมมายาวนาน มนุษย์รู้จักการนํากล้วยมาใช้ประโยชน์ในเร่ืองปัจจัย 4 ได้แก่อาหาร เคร่ืองนงุ่ ห่ม ทอี่ ยอู่ าศัย ยารกั ษาโรค ตลอดจนเกีย่ วขอ้ งกบั วฒั นธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ที่สืบทอดมาแตโ่ บราณกาล การศึกษาเรียนรเู้ ร่อื งกลว้ ยจึงเป็นการศกึ ษาท่ีมคี ณุ ค่า โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31อําเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ อยู่ที่ระดับความสูงประมาณ 600 เมตร จากระดับนํ้าทะเล บริเวณโรงเรียนและปา่ ที่อยู่ใกล้ๆ โรงเรียนมีกล้วยป่าชนิดหนึ่งท่ีมีความแตกต่างไปจากกล้วยที่พบเห็นอยู่ทั่วไป คือเป็นกล้วยโทนไม่แตกหน่อ ออกปลี ดอกชตู ้งั สวยงาม เป็นที่น่าสนใจของนักเรียน คณะครูและผู้ติดต่อราชการ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จึงได้เลือกศึกษาองค์ประกอบของพืช “กล้วยผา”เพ่ือศึกษาข้อมูลด้านพฤกษศาสตร์ นิเวศวิทยา การกระจายพันธุ์ การขยายพันธุ์ การใช้ประโยชน์ และปฏิสมั พันธร์ ะหวา่ งกลว้ ยผากบั ปจั จัยแวดลอ้ มทางกายภาพและชวี ภาพ ในการศกึ ษาครั้งนคี้ ณะผู้ศึกษาได้รวบรวมข้อมูลจากเอกสารหลักฐานทางวิชาการต่างๆ ประกอบกับข้อมูลพื้นบ้าน เพือ่ เป็นแหล่งข้อมลู ทางวชิ าการเก่ียวกบั กลว้ ยผา อนั จะเป็นประโยชนต์ ่อผู้ท่ีสนใจศึกษา และยังสามารถใชเ้ ป็นขอ้ มูลพ้ืนฐานในการศึกษาคน้ คว้าต่อไปได้

2 บทที่ 2 การตรวจเอกสาร ประวตั แิ ละสายพันธุ์กล้วย คนไทยรจู้ ักกล้วยกันมาต้ังแต่เร่ิมมีการก่อต้ังประเทศไทย เพราะประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งที่เป็นแหลง่ กาํ เนิดกลว้ ยจงึ มกี ล้วยป่า และกลว้ ยปลูกอยทู่ ัว่ ไป คนไทยจึงรู้การใช้ประโยชน์จากส่วนต่างๆ ของกล้วยเป็นอย่างดี การปลูกกล้วยในสมัยโบราณเป็นการปลูกเพื่อใช้สอยภายในบ้าน ต่อมาเร่ิมมีการค้าขายผลไม้กล้วยเปน็ ผลไม้ชนิดหน่ึงที่มีการปลูกขายกันมาต้ังแต่สมัยอยุธยา (เบญจมาศ 2545.) ในฐานที่เป็นพืชสารพัดประโยชนท์ อี่ ยูค่ ู่มากับวิวฒั นาการและอารยธรรมมนษุ ย์ แม้ว่าจะไม่ใช่พืชในยุคไดโนเสาร์ เพราะกล้วยเป็นพืชช้ันสงู มีวิวฒั นาการองค์ประกอบตา่ งๆ ที่บ่งบอกว่ากล้วยอย่เู ลยยคุ ท่ีจะร่วมอยูก่ บั ไดโนเสาร์ แต่เม่ือวิวัฒนาการของสัตวเ์ ลย้ี งลูกด้วยนมเริ่มครอบครองโลกหลังไดโนเสาร์สูญพันธ์ุน้ัน กล้วยเป็นพืชอาหารท่ีสําคัญที่อยู่ควบคู่กับวิวัฒนาการนั้น กล้วยอยู่ร่วมกับมนุษย์เกือบทุกเผ่าพันธุ์ แม้จะมีสิ่งแวดล้อมแตกต่างกันเราก็มักพบว่าพืชกล้วยจะสอดแทรกอยู่ในวัฒนธรรมมนษุ ยเ์ หลา่ นนั้ โดยเฉพาะเปน็ แหลง่ อาหารหลกั ชนดิ แรกๆ ของเราด้วยสายพันธุ์ท่ีหลากหลายและความใกล้ชิดผูกพัน ทําให้กล้วยเป็นพืชท่ีทรงเสน่ห์และเคร่ืองหมายที่บ่งชี้ความอุ ดมสมบรู ณ์ในเกอื บทกุ วัฒนธรรม การศกึ ษาเรียนรแู้ ละการอนรุ กั ษก์ ลว้ ยจงึ เปน็ เรอื่ งท่ีจําเป็นและควรสนับสนุนให้เกิดขึ้น ถ้าจําแนกโดยรายละเอียด ตามหลกั ที่นกั วทิ ยาศาสตร์ใชใ้ นการจาํ แนกส่ิงมีชวี ติ จะเรมิ่ ที่ Eukaryotes (Domain Eukaryotes : ส่งิ มีชวี ติ ท่เี ซลลท์ ี่มีผนงั group) Plantae (Kingdom Plantae : อาณาจกั รพชื group) Flowering Plant (Division Magnoliophyta of seeded vascular plant : หมวดพืชมีดอกท่ีสามารถติดเมลด็ ของพชื ที่มที ่อลําเลียง group) Liliopsida (Class Monocots (Monocotyledons group) : พชื ช้ันใบเล้ียงเดยี่ ว group) order Zingiberales ( พชื ลาํ ดบั Zingiberales group) Family Musaceae วงศก์ ลว้ ย group Family Musaceae น้ี ปัจจุบนั แบ่งเป็น 3 สกลุ (Genus-พหูพจนใ์ ช้ Genera group) คือ 1. Genus Eneste : กล้วยในสกุลนี้ไม่มีหน่อ อาจเรียกว่าสกุลกล้วยโทน เพราะไม่มีการแตกกอขยายพันธ์ดุ ้วยเมล็ด มักมอี ายุ 2–3 ปี จงึ ออกดอกตดิ ผลแลว้ กต็ าย เช่น กล้วยผา(กล้วยครกgroup) กล้วยโทน(กลว้ ยญวณgroup) 2. Genus Musa : กลว้ ยในสกุลนม้ี กี ารแตกหน่อ แตกกอ มีความสําคัญกับคนเรามากที่สุดเพราะกล้วยพันธุ์นม้ี มี ากมายหลายร้อยพันธุ์ และถกู นํามาใช้ในประโยชน์ทห่ี ลากหลาย

3 3. Genus Musella : เป็นกล้วยท่ีพบมากทางตอนใต้ของจีน (ยูนาน group) มีดอกหรือปลีสีเหลืองสดช้ีขึ้นฟ้า มีช่ือสามัญว่า กล้วยบัวทอง (Golden lotus group) ในไทยมีผู้นําเข้ามาสกุลหนึ่งเรียกว่ากลว้ ยคุณหมงิ 1. Genus Ensete เลขโครโมโซม =9 (x=ln group) กล้วยในสกุล Ensete นี้ มีการอธิบายครั้งแรกโดย Paulo และ Horaninov พ.ศ.2339-2408 group) ในเอกสารของเขา ProdromusMonographiae Scitaminarum of 1862 (พ.ศ.2405 group), กล่าวถึงกล้วยชนิดเดียวในสกุลใหม่ (Singlespecies group) ในช่ือ Genus edule อย่างไรก็ตาม สกุลน้ีไม่เป็นท่ียอมรับจนอีกเกือบ 90 ปีต่อมา (พ.ศ.2490 group) ถูกนํามาใช้ใหม่ในรายงาน Kew Bulletin ในเรื่องการจําแนกพืชกล้วย โดย E.E. Chessmanกล้วยสกุลน้ีในหลายประเทศมีการใช้โคนต้นมาคั้นเป็น แหล่งอาหารพวกแป้ง ในปัจจุบันกล้วยสกุลนี้มีอยู่ 8ชนดิ โดยที่สามารถแยกเปน็ ชนิดแอฟริกาและชนิดในเอเชยี ดงั น้ี แอฟริกา มี 4 ชนดิ (species group)1.01 Ensete gilletii1.02 Ensete homblei1.03 Ensete perrieri1.04 Ensete ventricosum (อายตุ ้นถึง 8 ปี กอ่ นออกเครอื ) เอเชยี มี 4 ชนดิ1.05 Ensete glaucum (กลว้ ยญวณ)1.06 Ensete superbum (กลว้ ยผา)1.07 Ensete wilsonii (SNOW BANANA)1.08 Ensete sp.thailand (กล้วยผาท่พี บท่ีเชียงใหม่ ลกั ษณะฐานก้านใบเกือบติดดนิ )(www.naturetaste.com)ลกั ษณะทัว่ ไปของกลว้ ยผาต้น ลาํ ต้นแท้ของกลว้ ยมีลกั ษณะเป็นหัวอยใู่ ต้ดิน (corm) ท่เี รยี กวา่ ไรโซม (rhizome) ไรโซม มีการเจริญ คล้ายซมิ โปเดยี ม (sympodial like) สูง 0.5 เมตร จะเห็นลําตน้ ไม่ชดั เจน มีลําต้นเทียมเต้ียขยายใหญ่ กวา่ สว่ นปลายคลา้ ยรูปสามเหลีย่ มใบ กา้ นใบมนี วลหนา และเรียงตัวหลวมๆ กั้นใบสั้นสีเขียว มีร่องใบกว้าง เส้นใบสีเขียว การเรียงของใบ และกาบใบบนลําต้นใต้ดินจะเกิดเรียงกันเป็นวงกลมและซ้อนๆ กันท่ีส่วนโคน ส่วนด้านปลายจะไม่ ซ้อนกัน กาบใบเรยี งกันแน่น ทาํ ให้เกดิ ลําต้นเทียมแน่นและแข็งแรง

4ดอก ปลีใหญ่คล้ายดอกบัว ชูต้ังขึ้นและโน้มลงตรงขนานกับพ้ืนดิน มีใบประดับสลับกับดอก บางชนิดสี เหลืองเขียว รูปค่อนข้างป้อม ปลายป้าน ดอกท่ีอยู่โคนช่อดอกเป็นดอกกะเทย (เบญจมาศ.2545) ดอกกล้วยเป็นดอกช่อ กลีบดอกและกลีบเล้ียงของดอกย่อยจะติดกัน เรียกว่า กลีบรวม (perianth หรือ tepal) กลีบรวมใหญ่เกิดจากกลีบรวม 5 กลีบ ติดกันเป็นแผ่น แบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ กลบี รวม 3 กลีบอยตู่ รงกลาง และมีกลบี รวมเล็กอยู่ข้างละกลีบ และยังมีกลีบรวมอีกส่วนอยู่ด้านล่าง ของดอกมีลักษณะเปน็ แผน่ ใสไม่มีสี หรอื สีมว่ งเรื่อๆ ขนาดเลก็ และส้นั กว่ากลีบรวมใหญ่ ดอกบางดอก มีการลดรปู ของเกสรเพศผู้จึงจัดว่าเป็นดอกเพศเมียอยู่ช่วงต้นๆ เครือ ผสมเกสรแล้วเจริญเป็นผลที่มี เมล็ด หรอื เจรญิ เปน็ ผลโดยไมต่ ้องผสมเกสร สว่ นดอกบางดอกมสี ่วนของรงั ไข่อยู่ แต่รังไข่ฝ่อ ดอกจึงมี ขนาดเล็กผอม เรยี กว่า ดอกเพศผอู้ ยู่ช่วงปลายเครือ ไม่ติดผล (สถาบันส่งเสริมการสอน-วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 2547.)ผล กล้วยป่าต้องการการผสมเกสรเพ่ือให้มีการเจริญของผล และผลที่แก่จะมีเมล็ดสีดําและมีเน้ือหุ้ม ลอ้ มรอบ มรี สหวาน เนอ้ื เจรญิ มาจากผนังของรังไข่ และผนังกั้นรังไข่ ผลใหญ่เรียงกันไม่เป็นระเบียบ รูปป้อม ปลายแหลมมีเมล็ดมาก เมล็ดใหญ่ เส้นผ่านศูนย์กลางเมล็ด 5-6 มิลลิเมตร หรือมากกว่า (www.doae.go.th./libarry/detril/banana)การใชป้ ระโยชน์จากกลว้ ย ประโยชนจ์ ากกล้วยมีหลายดา้ นเชน่ ดา้ นการแพทย์และสมุนไพร มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ท่ีพบว่ากล้วยฆ่าเช้ือแบคทีเรียท่ีเป็นสาเหตุของอาการท้องเสีย เช่น Escherichia coli เป็นต้น โดยพบสารจําพวกtannin ซึง่ มฤี ทธ์ฝิ าดสมาน ใชแ้ ก้อาการท้องเสีย สารจําพวก sitoindoside IV มีฤทธิ์ต้านการเกิดบาดแผลในกระเพาะอาหาร บรรเทาอาการท้องอดื ทอ้ งเฟอ้ เนื่องจากแผลในกระเพาะอาหาร นอกจากนี้ส่วนต่างของกล้วยยงั สามารถใชใ้ นทางการแพทย์ไดอ้ ีก เช่น ยาง : รสฝาด สมานแผล ห้ามเลือด ผลดบิ : รสฝาดทั้งเปลือกหั่นตากแห้ง บดเป็นผงชงนํ้าร้อนหรือป่ันเม็ดรับประทาน รักษาแผลในกระเพาะอาหาร แก้ท้องเสียเรื้อรัง ซึ่งทําให้อาหารไม่ย่อย ผงกลว้ ยดบิ ท้งั เปลือก ใช้โรยรกั ษาแผลเรอ้ื รงั แผลเน่าเป่ือย แผลติดเชื้อต่างๆ ผลสุก : รสหวานระบายอจุ จาระ บํารุงกาํ ลงั บํารุงร่างกาย รักษาแผลในกระเพาะอาหาร เปลือกลูกดิบ : รสฝาดสมานแผล หัวปลี : รสฝาดแก้โรคกระเพาะอาหาร ลาํ ไส้ แก้โรคโลหิตจาง ลดน้ําตาลในเลือด รักษาโรคเบาหวาน น้ําค้ันจากหัวปลี รบั ประทานแกถ้ า่ ยเปน็ มูกเลือด บํารุงโลหิต ใบ : รสเย็นจืดปิ้งไฟ ปิดแผลไฟไหม้ ต้มอาบแก้เม็ดผด ผื่นคัน ราก : รสฝาดเย็นตม้ ดม่ื แก้ไข้ รอ้ นในกระหายน้ํา แก้ไข้ ท้องเสีย แก้บิด แก้ผ่ืนคัน สมานภายใน(วุฒิ วุฒิธรรมเวช 2540.)

5 การใชป้ ระด้านอาหาร คนไทยรจู้ ักกล้วยเปน็ อยา่ งดมี กี ารใชส้ ่วนต่างๆ ของต้นมาทําประโยชน์ ดังเช่นลาต้นแทแ้ ละลาตน้ เทียม ลาํ ต้นหรือง้าวใช้ต้มในนํ้าเดือด และเอานํ้าน้ันมาดื่มจะช่วยขับปัสสาวะ ส่วนลําต้นเทียมหรอื กาบลําต้น ใชท้ าํ อาหารสัตว์ เชน่ อาหารของสุกรและยังเป็นอาหารของคนอีกดว้ ย โดยใช้รบั ประทานแทนผัก ดงั เช่น แกงหยวกกล้วยซง่ึ ใช้แกงไดท้ ้ังแกงส้ม และแกงค่ัว ดอก หรือที่เรียกว่าปลี คือดอกตัวผู้ ซ่ึงจะเห็นได้หลงั จากกล้วยตดิ ผลแล้ว คนไทยและชาวเอเชียรับประทานหัวปลีแทนผักโดยรับประทานสดๆ ในส่วนของหัวปลี และเอากาบปลีส่วนนอกออกท้ิง ส่วนในที่อ่อนนํามาทําเป็นเครื่องเคียงของหลายอย่าง เช่นกว๋ ยเตีย๋ วผัดไทย กะปหิ ลน เปน็ ตน้ และยังนํามาปรงุ อาหาร เช่น ยาํ หัวปลี แกงเลียง แกงหัวปลี ได้อีกด้วย หัวปลีของกล้วยป่า กล้วยตานี กล้วยนํ้าว้า มีรสชาติดีกว่าหัวปลีของกล้วยชนิดอ่ืนๆ เพราะไม่ฝาด หัวปลีของกลว้ ยบางชนดิ รบั ประทานไมไ่ ด้เพราะมีรสขม เช่น กล้วยไข่ กล้วยหอม ผล ผลของกล้วยใช้รับประทานได้ทั้งออ่ น แก่ ดบิ และสุก ผลดิบทีย่ งั อ่อนอยขู่ องกล้วยป่าและกลว้ ยตานี ยังออ่ นอยจู่ ึงรับประทานได้ ใช้ปรุงอาหารเช่น แกงป่า ส้มตํา นอกจากปรุงอาหาร ชาวเวียดนามใช้เป็นเครื่องเคียงของอาหารญวณ สําหรับผลดิบที่แก่แล้วนาํ มาเช่ือม หรือทํากล้วยทอดกรอบ กล้วยฉาบก็ได้ กล้วยสุกน้ันคนเป็นท่ีทราบกันดีอยู่ว่ามีรสชาติอร่อยความอร่อยมากนอ้ ยขน้ึ อยู่กบั ชนิดของกล้วย กล้วยบางชนิดมีรสชาติอร่อยถ้าหากรับประทานสด แต่บางชนิดตอ้ งนาํ มาทําใหส้ ุกดว้ ยความรอ้ น เช่น ต้มหรือเผา ดังนั้นผลของกล้วยสุกจึงสามารถนํามาประกอบอาหารและยังแปรรูปได้หลายอย่าง กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณะสุข ได้วิเคราะห์คุณค่าอาหารของกลว้ ยชนดิ ตา่ งๆ มตี วั เลขปรากฏดังน้ีตารางท่ี 1 ตารางแสดงปริมาณสว่ นประกอบคณุ คา่ ทางอาหารของกล้วยชนดิ ต่างๆ ในสว่ นทรี่ ับประทานได้100 กรัม ชนดิ ของกลว้ ย กลว้ ย กล้วย กล้วย กล้วย กล้วยปรมิ าณสารอาหาร นา้ ว้า ไข่ หอมทอง เลบ็ มอื นาง หกั มมุพลังงาน (กิโลแคลอร)ี 122 145 131 81 112โปรตีน (กรัม) 1.2 1.5 1.0 1.8 1.2คารโ์ บไฮเดรต (กรัม) 26.1 34.4 31.4 18.1 26.3ไขมนั (กรมั ) 0.3 0.2 0.2 0.2 0.2วติ ามนี ตา่ งๆเอ (หนว่ ยสากล) 375 633 132 133 116บหี นึ่ง (มลิ ลิกรัม) 0.03 0.02 0.04 0.03 0.14บีสอง (มิลลิกรัม) 0.04 0.09 0.03 0.04 0.10ไนอะซิน (มลิ ลกิ รัม) 0.06 1.4 1.0 0.6 0.8ซี (มิลลิกรัม) 14 16 7 8 16เกลอื แร่ (มลิ ลกิ รัม)แคลเซยี ม 12 24 26 10 18ฟอสฟอรัส 32 22 46 24 22เหล็ก 0.8 0.5 0.6 1.3 0.4น้ํา (กรัม) 71.6 62.8 66.3 79.2 71.2

6ตารางท่ี 2 ตารางแสดงเปรียบเทยี บสว่ นประกอบของกรดอะมิโนและโปรตีนในสว่ นท่กี นิ ได้ 100 กรมั ชนิดของอาหาร กลว้ ยนา้ ว้า กล้วยไข่ นมแม่ ไข่โปรตนี (กรมั )และกรดอะมโิ น (มลิ ลิกรมั ม)โปรตีน 1.0 1.6 1.0 13.3กรดอะมิโนทง้ั หมด 596 1169 1111 8533กรดอะมิโนทจ่ี าํ เปน็ ท้งั หมด 261 514 522 4020ไอโซลิวซีน 28 55 64 465ลิวซีน 45 96 108 707ไลซนี 36 97 83 631กรดอะมโิ นทม่ี ีกําถันเป็นองค์ประกอบทั้งหมด 12 21 36 489เมไทโอนีน 9 9 16 243ซีสเทอนิ 3 12 20 256กรดอะมโิ นท่มี สี ูตรโครงสร้างเปน็ วง 49 115 84 694ฟีนลิ อะลานีน 30 52 43 402ไทโรซนี 19 63 41 292ทรีโอนีน 36 50 63 357ทรปิ โตเฟน 18 26 25 193วาลีน 37 54 59 484กรดอะมิโนที่ไม่จําเป็นอาร์จนิ ีน 31 71 49 626ฮีสทิดีน 31 159 30 192อะลานีน 35 52 43 410กรดแอสพาร์ติก 69 103 102 1037กรดกลูตามิก 66 113 189 1087ไกลซีน 34 54 27 245โพรลนี 31 47 94 312ซรี นี 38 56 55 604 (หมายใจ. 2548)การใช้ประโยชน์ด้านอน่ื ๆ หยวกกลว้ ยหั่นเป็นทอ่ นๆ ยังใช้เปน็ ทนุ่ สาํ หรับว่ายนา้ํ ของเด็กแทนห่วงยางได้อีกด้วย กาบกล้วยใช้ทําเส้นใย ทําเชือก หรือเอามาทอผ้า และยังใช้ประโยชน์ในงานฝีมือในประเพณีเผาศพของคนไทยโดยใช้กาบกล้วยท่ีขาวสะอาด เช่น กาบของกล้วยตานีนํามาแกะสลักรองท่ีเชิงตะกอน เรียกว่า การแทงหยวก ใบ ใบกล้วย เรียกว่า ใบตอง แผ่นใบใช้สําหรับห่อของ มวนบุหรี่ และใช้ในงานประดิษฐ์ต่างๆ เช่น ทํากระทง เย็บแบบ ทําบายสี ฯลฯ ใบกล้วยที่นิยมมากคือ ใบของกล้วยตานี เพราะมีใบที่ใหญ่ เหนียว และมีสีเขียวเป็นเงาเม่อื นําไปประดษิ ฐห์ รอื เย็บ จงึ สวยงามไมแ่ ตกง่ายเหมอื นใบกล้วยชนดิ อ่ืน ใบกลว้ ยทใ่ี ชร้ องลงมาจากกล้วยตานีคอื กล้วยนาํ้ วา้ แผ่นใบกล้วยท่ีอ่อนถา้ นําไปอังไฟให้ออ่ นนมิ่ แล้วนํามาพอกตรงบริเวณทขี่ ัดยอก จะทาํ ให้

7อาการดงั กลา่ วหายได้ นอกจากใชแ้ ผน่ ใบแล้ว ยังมีการใช้เส้นกลางใบและก้านใบเพ่ือทําของเล่นให้เด็กได้ด้วยจะเห็นไดท้ ัว่ ไปในชนบทที่เดก็ ๆ นําเอามาทํามา้ ซึ่งทําด้วยก้านเสน้ กลางใบและกา้ นใบมาข่ีและเอามาทําเป็นปืนเด็กเล่น แล้วยงั ใช้นํามาทําเป็นเชือกมัดฟางข้าวอีกด้วย คนไทยได้นําใบตองมาใช้ประโยชน์ ในกิจกรรมต่างๆตั้งแต่เกิดจนตาย โดยใช้รองอาหาร ใช้รองเดก็ ออ่ น เมือ่ เดก็ เกดิ ก็จะเอาใบตองมารองกระด้ง และรับเด็กอ่อนท่ีพึ่งคลอดจากท้องแม่ ท้ังน้ีเพราะใบตองมมีผิวที่เงาเป็นมัน เลือดท่ีติดมากับตัวเด็กจะไม่มาเปื้อนกับผ้าซ่ึงซักออกยาก นอกจากเดก็ ออ่ นแล้ว คนปว่ ยที่เป็นฝีดาษซึ่งบนตัวจะมีนํ้าหนองและคนตาย ก็จะให้นอนบนใบตองเช่นกัน เมล็ด เมล็ดกล้วยมีเปลือกที่แข็ง งอกค่อนข้างช้า ไม่มีการนํามาบริโภคแต่มีการนํามาทําเป็นเครื่องประดับ เชน่ ทาํ สายสร้อย หรือลูกประคํา เพราะเมล็ดมีขนาดสม่ําเสมอและมีสีดําโดยเฉพาะเมล็ดของกล้วยนวลและกล้วยผาซึง่ มีขนาดใหญ่ เมือ่ นาํ มารอ้ ยเป็นลูกประคําจึงมีความสวย และเมื่อมีการลูบคลํามากๆจะเปน็ เงา

8 บทที่ 3 อุปกรณ์และวธิ ีการอุปกรณ์ 1. อุปกรณ์ในการเก็บตัวอย่าง ดอก ผล เมล็ด ยาง เช่น มีด ถุงพลาสติก ขวดปากกว้าง กล่อง พลาสติก ตลับเมตร สายวัด ethyl alcohol 70% 2. อุปกรณ์ในการศึกษาส่วนประกอบของพืช เช่น กล้องจุลทรรศน์ แว่นขยาย สารละลายไอโอดีน กระจกสไลด์ กระจกปิดสไลด์ 3. อุปกรณใ์ นการศึกษาปจั จยั ทางกายภาพ เช่น เทอรโ์ มมเิ ตอร์ pH meter 4. อปุ กรณ์ในการบันทกึ ขอ้ มลู เชน่ ปากกา ดินสอ สมดุ จด กล้องบนั ทึกภาพ 5.วธิ กี าร 1. ศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูล เอกสารดา้ นพฤกษศาสตร์ทีเ่ ก่ยี วกับกล้วย กล้วยผา เช่น หนังสือช่ือ พรรณไม้แห่งประเทศไทย ของ เต็ม สมิตินันท์ (2544) หนังสือเร่ืองกล้วยของ เบญจมาศ ศิลา ยอ้ ย (2545) เพ่ือเป็นขอ้ มลู พน้ื ฐานในการศกึ ษา 2. สํารวจและเกบ็ ตัวอย่างกล้วยผา เพอ่ื ศกึ ษาองค์ประกอบของพืช ทั้งในพ้ืนท่ขี องโรงเรียนและพ้ืนที่ ป่าใกลเ้ คียงกับโรงเรยี น 3. ศกึ ษาด้านการใชป้ ระโยชน์จากกล้วยผา กับวิถีชีวิตของชาวบ้าน บูรณาการสู่การเรียนรู้ตามกลุ่ม สาระ 4. รวบรวมข้อมลู ที่ได้จากการศึกษา จัดทํารายงานผลการศกึ ษา

9 บทท่ี4 ผลการศึกษาดา้ นอนุกรรมวธิ าน ของกลว้ ยผาDomain : Eukaryotes Kingdom : Plantae Class : Liliopsida Order : Zingiberales Family : Musaceae Genus : Ensete Speccies : Ensete superbum (Roxbs) Cheesmanช่อื พ้ืนเมอื ง:กล้วยผา,กล้วยครก,สะกยุ ( กะเหรย่ี ง:เชยี งใหม่ ) ยะเปอะลาชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Ensete superbum ( W.Roxburgh E. E. Chessman)ช่ือพอ้ ง : Musa superba Roxb.ชื่อวงศ์ : MUSACEAEลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ราก : เป็นเส้นของรากแขนง มีประมาณ 35 เส้นความยาวและเส้นรอบวงของราก ไม่เท่ากัน แบง่ เปน็ 2 กลมุ่ คอื รากเก่าและรากใหม่ รากใหมจ่ ะเป็นสขี าวอมเหลอื ยาวประมาณ 9-11 ซม. เส้นผ่านศนู ยก์ ลาง : 0.5 ซม. สีข้างใน : สขี าว ลกั ษณะของเนอื้ ราก : ขาวใส เปน็ เส้น ขา้ งในจดุ ศูนยก์ ลางจะมีสเี หลอื ง รส : ขม กล่ิน : กลิน่ ฉุน สรรพคณุ : ใชร้ ักษาผวิ หนงั ช่วยแก้ร้อนใน แกป้ วดฟัน รักษาโรคขดั เบาลักษณะลาต้น จากการศึกษาพบว่ากล้วยผามีลําต้น 2 ชนิด คือ ลําต้นเทียมกับลําต้นใต้ดิน ช่วงฤดูลําต้นเทยี มจะมีขนาดใหญ่ และแตกใบออกมาจาํ นวนมาก พอเขา้ สู่ฤดูแลง้ ใบจะเห่ียวแห้งไป เหลือเพียงลําตน้ ใต้ดิน เม่ือถึงฤดฝู นในปีถดั ไป กล้วยผาก็จะแตกใบใหม่ จนครบ 3 ปี กลว้ ยผาจะออกดอก

10ลกั ษณะ ลาํ ตน้ เทียม ลักษณะ ลําต้นเทียมอยู่เหนือดิน เป็นรูปสามเหลี่ยมสูง 215 ซม. เส้นรอบโคนต้น 120 ซม .ตรงโคนต้นคือใบท่ีแก่แล้วซ้อนกันเป็นชั้นๆ สีนํ้าตาล ตรงกลางต้นและปลายต้นเทียมเป็นสีเขียนปนขาว เมื่อเราไปสมั ผัสจะมสี ขี าวตดิ มอื สตั ว์ท่ีพบนนั้ มี หอยทาก มด รสขมฝาด ตดิ ล้ินลักษณะต้นจรงิ ลักษณะผิวขรุขระ สีนํ้าตาลปนแดง รสจืด เม่ือยางติดเส้ือผ้าซักออกยากและใช้ยางในการทาํ งานดา้ นศลิ ปะไดด้ ว้ ย เช่น การพมิ พ์ภาพจากยางกล้วยผาการใช้ประโยชน์ ลําตน้ เทียม ลําต้นเทียมอายุ 1-2ปี สามารถมาแกงรับประทานได้ สรรพคุณทางยา คือ ช่วยขบั ปัสสาวะลําตน้ แทจ้ รงิ รักษาโรคเบาหวานลกั ษณะของใบกล้วยผา 1. ใบบริเวณโคนต้น 1.1 สขี องใบแก่ ของกลว้ ยผาจะมสี เี ขียวแก่ขอบใบเปน็ สดี ํา รสขม กว้าง 40 ซม. ยาว 90 ซม. 1.2 เน้ือด้านในของโคน ก้านใบยาว 6 ซม. มียางสีขุ่น เมื่อผ่าก้านใบแก่จะเห็นเป็นช่องๆ คลา้ ยตาราง ขา้ งในแต่ละช่องมีสขี าวอมเหลือง รสขม ฝาด 1.3 ใบแก่ใน 1 ตน้ จะมีประมาณ 6 ใบ 1.4 สัตว์ ทีพ่ บ หอยทาก มด เพลี้ยแป้ง ผึ้ง 2. ใบบรเิ วณกลางลาตน้ 2.1 สใี บจะมีสเี ขียวออ่ น ขอบใบเปน็ สดี าํ รสขม กวา้ ง 31 ซม. ยาว 60 ซม 2.2 ข้างในของใบตรงกลางยาว 8 ซม .กว้าง 0.5 ซม. มียางสีเหลืองเม่ือผ่าก้านใบตองตรง กลางจะเห็นเป็นช่องๆ คล้ายตาราง ขา้ งในแต่ละช่องมีสีเขยี วอมเหลือง รสขมฝาด 2.3 ใบตรงกลาง 1 ตน้ จะมปี ระมาณ 4 ใบ 2.4 สตั วท์ ่ีพบ มด และแมงมมุ 3. ใบบรเิ วณยอด 3.1 สีใบ ตรงยอดจะมีสเี ขยี ว ขอบใบสีดาํ รสขม่ ฝาด ยาว 30 ซม. กวา้ ง 17 ซม. 3.2 เนอ้ื ด้านในของใบตรงยอดยาว 7.5 ซม. กว้าง 0.3 ซม. มียางสีเหลืองอ่อนเม่ือผ่าก้านใบตรงยอดจะเหน็ เป็นชอ่ งๆขนาดเลก็ คลา้ ยตารางข้างในแต่ละชอ่ งมสี ีเหลืองอ่อน รสขมฝาด 3.3 ใบ ตรงยอด 1 ตน้ จะมีประมาณ 3 ใบ 3.4 สัตวท์ ่ีพบ มด

11 4. ใบท่ตี ดิ ผล 4.1 สใี บ มสี ีเขียวอ่อน ขอบใบสเี หลอื งปนดาํ รสขม กว้าง 10 ซม. ยาว 17 ซม. 4.2 ข้างในของโคนก้านใบท่ตี ดิ กับผลยาว 7 ซม.กวา้ ง 0.2 ซม. ยางสเี หลืองเม่ือผ่าโคนก้านใบ ทต่ี ิดกบั ผล จะเปน็ ช่องขนาดเล็ก คล้ายตาราง ข้างในแต่ละช่องมีสีขาวอมเหลือง รสขมฝาด เหน่ยี วติดปาก 4.3 จาํ นวนใบทตี่ ดิ กบั ผลมีประมาณ 2 ใบ 4.4 สตั ว์ทพ่ี บ มดสรรพคุณ รกั ษาแผลถกู ไหม้ น้าํ ร้อนลวก รักษาโรคฝีดาษลักษณะทั่วไปของดอกดอกกลว้ ยผาประกอบด้วย 1. ใบประดบั มี 5 กลีบ ยาว 16 ซม. กว้าง 13 ซม. ด้านในของใบตรงปลายมีสีแดงเข้มด้านในตรงโคนมสี มี ่วงอ่อนปนขาวขอบของใบประดับด้านนอกมีสีแดงเข้มใบด้านนอกที่ไม่ใช่ขอบสี เหลืองอมขาว มหี นา้ ท่ีช่วยล่อแมลง สัตวท์ พ่ี บเห็นนนั้ จะมี ผง้ึ 2. ก้านชูดอก มีลักษณะเป็นช้ันๆสลับกันมีสีเขียวกับสีดํา ผิวขรุขระ ยาว 39 ซม. เส้นรอบกา้ นชูดอก 18 ซม. 3. หัวปลี มีลักษณะคล้ายดอกบัวตูม สีม่วงอมขาว ขอบสีแดง เส้นรอบหัวปลี 29 ซม.ยาว 18 ซม. 4. ดอก ดอก 1 กลีบ มีดอก 25 ดอกย่อย 1 ช่อมีเกสรตัวเมีย 1 อัน ปลายยอดเกสรตัวผู้โค้งงอ มอี ับเรณู เกสรตวั เมยี โคง้ งอน้อยกวา่ เกสรตัวผูป้ ลายเกสรตัวเมียมีสดี ํา ดอกมียางสีใสเหนียว รสขมรงั ไขข่ องดอกกลว้ ยผามสี ขี าวนวล อยใู่ ตก้ ลบี ดอก,มตี ่อมนํา้ หวานท่รี ังไข่ เป็นดอกช่อขนาดใหญช่ ตู ั้งขึ้นและโน้มลงขนาดกับพืน้ ดนิลกั ษณะของผลและเมล็ด ผล มีผลทเี่ รยี งกันไม่เปน็ ระเบยี บ รูปป้อม ปลายแหลมยาว 7 ซม. ปลายผมมีจุก ยาวแหลมเห็นกา้ นเกสรตวั เมียติดอยู่ 1 อัน กล้วยผา 7-8 หวี และ 1 หวีจะมีประมาณ 10-12 ผล ตรง โคนผลมีสีเหลืองอ่อน ตรงปลายผลมีสีเขียวเข้มอมขาว ยางมีสีใส รสขม 1 หวีนํ้าหนักประมาณ 0.5 กิโลกรัมผลมเี นื้อข้างในเปน็ สขี าวรสหวาน (เมอื่ สกุ ) ระบายอุจจาระ บํารุงกําลัง รักษาแผลในกระเพาะอาหารเปลือกดบิ รสฝาดสมานแผล เมล็ด เมล็ดมีเปลือกแข็ง สีดํา 1 ผล มีประมาณ 8-10 เม็ด รสของ เมล็ดจะขมมากข้างในเมล็ดจะมสี ีขาวคล้ายแป้งประโยชนน์ ั้นนํามาทาํ เป็น เคร่ืองประดับ

12 บทท่ี 5สรุปผลการศกึ ษา จากผลการศึกษา กล้วยผา ของนักเรียน ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ถึง มัธยมศึกษาปีท่ี 6ระยะเวลาตัง้ แต่ วนั ที่ 1 พฤศจกิ ายน 2560 สรปุ ผลการศึกษา ดังน้ีดา้ นพฤกษศาสตร์ กลว้ ยผาเป็นพืชล้มลุกมีอายุประมาณ 2-3 ปี ใบเล้ียงเดี่ยวโคนใบเรียวเป็นวงสลับบนลําต้นแท้จริงใต้ดนิ เกดิ เป็นลาํ ต้นเทยี มเหนือดนิ ทแ่ี นน่ และแข็งแรง ส่วนโคนต้นขยายใหญ่กว่าส่วนปลาย คล้ายรูปสามเหลี่ยมปลายใบแยกออกสลับไมซ่ ้อนกนั ประกอบดว้ ยก้านใบส้นั ๆ สเี ขียว ร่องใบกวา้ งแผน่ ใบสองขา้ งมีเส้นใบคู่ขนานสีเขียว ขณะที่ลําตน้ เทยี มมีการเจริญจํานวนใบจะเพ่ิมข้ึนและมีขนาดใหญ่ขึ้นวัดความยาวจากโคนใบถึงปลายใบ ยาวประมาณ 250 cm. ใบที่เล็กท่ีสุดยาวประมาณ 36 cm. กว้าง 13 cm. กล้วยผา 1 ต้น มีใบประมาณ45-49 ใบ ใบมรี ูปขอบขนาน แกมรี ปลายใบแหลมขอบใบเรยี บ ผิวใบด้านบนมีสีเขียวเข้มกว่าด้านล่าง ก้านใบมนี วลหนาสีขาว เมอ่ื เข้าสฤู่ ดูแล้งปลายใบจะแห้ง และถูกไฟป่าไหม้เป็นประจํา โคนใบท่ีอดั แน่นเป็นลําต้นเทียมดา้ นใบไม่แหง้ และหอ่ หมุ้ ลําตน้ ไม่ให้ได้รบั ความเสียหายจากไฟ หากแล้งจัดจะพักตัวอยู่ในลําต้นใต้ดิน เมื่อถึงฤดูฝนอกี ครง้ั หน่ึงจงึ จะงอกใบออกมา ดอก เปน็ ดอกช่อขนาดใหญช่ ตู ง้ั ขึ้นและโน้มลงขนานกับพ้ืนดิน วัดความสูงจากลําต้นใต้ดิน ถึงปลายช่อดอก ประมาณ 215 cm. แต่ละช่อมีใบประดับห่อหุ้มอยู่สีแดงปนเหลือง หรือออกสีส้ม รูปป้อม ปลายป้าน ดอกท่ีอยู่ที่โคนช่อดอกเป็นดอกกะเทย ดอกย่อยแต่ละดอกเช่ือมติดอยู่กับฐานของใบประดับ ดอกย่อยแต่ละดอกไม่มีใบประดับ มีวงกลีบเลี้ยงและกลีบดอกเช่ือมรวมกันเรียกกลีบรวม(tepal) มสี องส่วนคือส่วนทอ่ี ยดู่ ้านบนของดอกเปน็ กลบี รวมใหญจ่ ํานวน 5 กลีบเชื่อมติดกัน เป็นสามแฉกตรงกลางมี 3 กลีบรวมเป็นกลีบรวมใหญ่ อีกสองกลีบติดอยู่ด้านข้าง ขนาดเล็ก ส่วนกลีบรวมขนาดเล็กที่อยู่ดา้ นลา่ งของดอก มีลักษณะเป็นแผ่นใส ๆ ไม่มีสี เกสรตัวผู้จํานวน 5 อัน เกสรตัวเมีย 1 อัน สีขาวนวลมีต่อมนํ้าหวานท่ีปลายรังไข่และรวมไว้ที่บริเวณฐานของกลีบรวม มีลักษณะเป็นเมือกหรือเจลลาติน รังไข่อยู่ใต้วงกลบี ดอก (inferior ovary) มี 3 พู มีออวุลเรียงเป็นระเบียบพูละ 2 แถว ต้องการการผสมเกสรเพ่ือการเจริญของผล ผลเรียงกันไมเ่ ป็นระเบียบ รูปปอ้ ม ปลายแหลม ขนาด 2-4 cm. ปลายผลมจี ุกยาวแหลม เห็นก้านเกสรตัวเมียติดอยู่ ผลอ่อนเปลือกสีเขียว เนื้อขาว เห็นเมล็ดอ่อน มีเอ็นโดสเปิร์ม (endosperm) ขนาดใหญ่ทําหนา้ ทีส่ ะสมอาหารสขี าว ผลแกเ่ ปลือกสว่ นโคนเปลยี่ นเปน็ สเี หลอื ง เนื้ออ่อนนม่ิ เมลด็ มจี าํ นวนมาก เปลือกแข็งสีดํา เอ็นโดสเปิร์มจะมีลักษณะเป็นผงคล้ายแป้ง มีเน้ือหุ้มล้อมรอบ มีรสหวานไม่นิยมรับประทานเนื่องจากเมล็ดมีจํานวนมาก เมล็ดงอกช้า ไม่มีการนํามาบริโภค แต่มีการนํามาทําเคร่ืองประดับ หากไม่ได้รับการผสมเกสรจะไมม่ กี ารพัฒนาเปน็ ผล

13ดา้ นนิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ์ กล้วยเป็นพืชท่ีชอบอากาศร้อนชื้นจึงมีถ่ินกําเนิดอยู่ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สําหรับประวัติกล้วยในประเทศไทยเป็นแหล่งกําเนิดของกล้วยป่า และต่อมาได้มีการนําเข้า กล้วยตานีและกล้วยชนิดอ่ืนในช่วงท่ีมีการอพยพของคนไทยในการต้ังถิ่นฐานอยู่ที่จังหวัดสุโขทัย มีเอกสารเขียนโดย De La Lovbere(1693) กล่าวว่าในสมัยอยุธยาที่เขาไดเ้ ดนิ ทางมาเขาพบวา่ มกี ลว้ ยร้อยหวี ต่อมาเจ้าคุณศรีสุนทรโวหาร (2527)ได้กล่าวถึงกล้วยหลายชนิดเป็นคํากลอน พันธ์ุกล้วยต่าง ๆ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้รวบรวมพันธุ์ไว้ท่ีสถานีวิจัยปากชอ่ ง อาํ เภอปากชอ่ ง จงั หวัดนครราชสีมา กล้วยผาเป็นสกุลกล้วยป่าในประเทศไทยพบกระจายพันธุ์ตามภูเขาทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ระดับความสูง 300-800 เมตร จากระดบั นาํ้ ทะเล เมล็ดมกี ารพกั ตัวเปน็ เวลานาน สามารถงอกไดใ้ นฤดฝู นต่อมา เปน็ กล้วยท่ีทนความแห้งแล้งได้ดีขึ้นตามซอกหน้าผาท่ีเป็นหินได้ (เบญจมาศ 2545ใ) กล้วยผาท่ีข้ึนอยู่ในบริเวณโรงเรียนเป็นกล้วยผาท่ีนํามาปลูกเปน็ ดอกไม้ ไม้ประดบั อาคารสถานที่ บริเวณป่าใกล้เคียงกับโรงเรียนมีกล้วยผาข้ึนหนาแน่นในช่วงฤดูฝนมีขนาดแตกต่างกัน บางต้น กาํ ลังออกดอก บางตน้ ตดิ ผล และบางต้นเหลอื แตล่ ําตน้ ที่ออกปลดี อกแล้วแห้งตายรอบ ๆ ลําตน้ ท่ีแหง้ ตายจะมเี มลด็ กลว้ ยผาสีดาํ จาํ นวนมากตกบนพ้ืนกระจายอยู่โดยรอบ เมื่อฝนตกนํ้าฝนจะพาเมล็ดกล้วยผาไหลไปตามนํ้า ผ่านระยะการพักตัว และจะงอกเม่ือถึงฤดูฝนอีกครั้งหน่ึง ทําให้กล้วยผามีการกระจายไปบริเวณใกล้ ๆ กบั ตน้ ทเ่ี มล็ดตกบนพนื้ และบริเวณรอ่ งน้าํ ใกล้เคยี งดา้ นการใชป้ ระโยชน์ ลําต้นเทียมเหนือดิน ด้านในเรียกหยอกกล้วยอ่อน สีขาวนวล นํามาประกอบอาหารพ้ืนบ้านทางภาคเหนอื ได้หลายชนิด เช่น แกงอ่อมหยวกกล้วยผาใส่ไก่ หมู วุ้นเส้น จอหนวกกล้วยผาใส่หมู ผัดหยวกกล้วยกะทิสด กาบกล้วยด้านนอกนํามาประดิษฐ์ของเล่น เช่น เรือใบกล้วย ก้านกล้วยผา มีขนาดใหญ่นํา มาทําของเด็กเล่นหลายชนิด เช่น ม้าก้านกล้วย ปืนก้านกล้วย มีดดาบก้านกล้วย ใบกล้วยอ่อนมีลักษณะม้วนงอนาํ มารีดใหเ้ รยี บประดิษฐ์เป็นของที่ระลึก เครือ่ งประดับ กิ๊บตดิ ผม ชาวบา้ นใช้ใบอ่อนรีดตัดเป็นช้ินใช้มวนบุหร่ีสูบ ใบแกใ่ ชห้ ่ออาหาร ดอกหรือปลีกล้วยนํามาประกอบอาหารรับประทานในบางท้องท่ี เช่น ลวกจ้ิมนํ้าพริกแกงปลีกล้วย แต่บางท้องที่ไม่นิยมรับประทานเน่ืองจากมีรสฝาด ผลกล้วยผาเม่ืออ่อนอยู่สามารถนํามารับประทานได้เน้ือจากเมลด็ ยงั เจรญิ ไม่เตม็ ที่ เมลด็ กลว้ ยผามจี ํานวนมากเมื่อแก่มีเปลือกแข็ง หุ้มเมล็ดสีดํา เมื่อลูบคลํามาก ๆ จะเป็นมันเงา ใช้ทําเคร่ืองประดับ เช่น ตุ๊กตา หรือสร้อยคอ สร้อยข้อมอ ยางกล้วยผาได้จากส่วน ก้านใบ ลาํ ตน้ เทียม ลําต้นจริงมีสีน้ําตาล เมื่อติดเส้ือผาซักทําความสะอาดยาก ใช้ยาง ทํางานด้านศิลปะเช่น การพิมพภ์ าพจากยางกลว้ ยผา การวาดภาพดว้ ยยางของกล้วยผา การใช้ประโยชน์ด้านสมุนไพรยาง : รสฝาด สมานแผล ห้ามเลอื ด ผลดบิ : รสฝาดท้ังเปลือก หัน่ ตากแห้งบดเป็นผงชงนํ้าร้อนหรือป้ันเม็ดรับประทานรักษาแผลในกระเพาะอาหาร แก้ท้องเสียเร้ือรงั ซง่ึ ทาํ ใหอ้ าหารไม่ย่อย ผงกล้วยดิบท้ังเปลือก ใช้โรยรักษาแผลเรอื้ รัง แผลเน่าเปือ่ ย แผลติดเชอื้ ตา่ ง ๆ ผลสกุ : รสหวาน ระบายอจุ จาระ บาํ รุงกําลัง บาํ รงุ ร่างกาย รักษาแผลในกระเพาะอาหาร เปลือกลูกดบิ : รสฝาด สมานแผล หัวปลี : รสฝาด แก้โรคกระเพาะอาหาร ลําไส้ แก้โรค

14โลหติ จาง ลดน้ําตาลในเลอื ด รักษาโรคเบาหวาน นา้ํ คนั้ จากหัวปลี รบั ประทานแก้ถ่ายเป็นมูกเลือด บํารุงโลหิตใบ : รสเยน็ จดื ปิง้ ไฟปิดแผลไฟไหม้ ต้มอาบแกเ้ ม็ดผล ผื่นคัน ราก : รสฝาดเย็น ต้มดื่มแก้ไข้ ร้อนในกระหายนาํ้ แก้ไขท้ ้องเสีย แก้บิด แก้ผื่นคัน สมานภายในดา้ นการขยายพันธกุ์ ลว้ ยผา กล้วยผาขยายพันธ์ุโดยใช้เมล็ด เล็ดมีเปลือกแข็งหุ้มการงอกใช้ระยะเวลานานต้องการระยะพักตัวประมาณ 1 ปี จึงจะงอกใหม่เมอื่ ถงึ ฤดูฝน เพื่อให้มกี ารงอกทีเ่ รว็ ขึน้ จึงควรทําให้เปลือกของเมล็ดบางลงโดยแช่ในกรดซัลฟูรกิ ทเ่ี ขม้ ขน้ นาน 15 นาที (ไม่ควรแชน่ านเกิน 30 นาที เพราะจะทําให้เมล็ดตาย) หรือใช้วิธีการฝนเมลด็ โดยใชเ้ ครอ่ื งผสมดิน เวลาเพาะใช้วัสดุที่อุ้มความชื้นและอุณหภูมิประมาณ 35 C จะทําให้เมล็ดงอกได้ดีข้นึดา้ นการศึกษาสรรพส่ิงล้วนพันเกีย่ ว จากการศกึ ษาปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างกลว้ ยผากบั ปัจจัยแวดล้อมทางกายภาพและชีวภาพพบว่า กล้วยผาข้ึนในสภาพอากาศท่ีอบอุ่น ชุ่มช่ืน ดินมีการระบายน้ําที่ดีสามารถข้ึนตามซอกหน้าผาที่เป็นหินได้ บริเวณท่ีกล้วยผาขึ้นได้จากการศึกษามีทั้งสภาพของดินร่วนปนทราย ใกล้กับลําห้วย และดินร่วนปนกรวดเล็ก ๆ ไปจนถึง บนซอกหิน หรือหน้าผา ลักษณะการเจริญเติบโตในสภาพพ้ืนที่ท่ีแตกต่างกัน จะมีการเจริญเติบโตท่ีแตกต่างกัน คือ หากต้นกล้วยผาข้ึนในพื้นท่ีท่ีดินเป็นดินร่วนปนทรายและมีน้ําตลอดท้ังปี กล้วยผาจะผลิใบออ่ นออกมาตลอดปี แตใ่ นบริเวณที่ไม่มีนํ้าในฤดูแล้ง กล้วยผาจะไม่ผลิใบ หลบพักตัวอยู่ในลําต้นแท้จริงใต้ดินจะผลิใบออกมาเฉพาะฤดฝู นเท่านน้ั กล้วยผาเป็นพืชลม้ ลุกอายปุ ระมาณ 3 ปี จึงจะออกดอกแล้วตายไป แต่ถ้าต้นกล้วยได้รับน้ําตลอด แม้จะออกดอกแล้วยังสามารถมีชีวิตต่อได้ แสดงว่าการเจริญของกล้วยผามีความสมั พนั ธ์เกี่ยวข้องกับปัจจัยเร่ืองน้ําเป็นหลัก ส่วนบริเวณรอบ ๆ โคนต้นมีความช้ืนสูงเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ขนาดเลก็ หลายชนิด เชน่ เพล้ียแป้ง พบตามกาบลําต้นเทียมเจาะดูดกินน้ําเล้ียงจากเนื้อเยื่อภายในลําต้นมดดําอยู่รอบ ๆ ลําต้น และตามพ้ืนดิน แมงมุมชักใยดักแมลงบริเวณใบกล้วยผา ผ้ึง หานํ้าหวานบริเวณดอกยอ่ ยของกล้วยผาและชว่ ยผสมเกสร ผีเสอื้ ดดู น้าํ หวานบริเวณดอกยอ่ ย หอยทาก พบบริเวณโคนตน้ กัดกินใบไม้เล็กทีอ่ ยโู่ คนตน้ เมอ่ื ต้นมขี นาดเล็กใบจะแผ่ปกคลุมหนา้ ดนิ ทําให้หญา้ วัชพืช จนเม่ือลําต้นเทียมยืดสูงขึ้น รอบๆ ลําต้นจะพบหญา้ วชั พชื ขนาดเลก็ หลายชนดิ เชน่ หญา้ สาบแร้งสาบกา น้ํานมราชสีห์ ผักปราบ เป็นต้น พืชขนาดเลก็ เหล่านี้เลอื้ ยอยตู่ ามพืน้ ดิน และขน้ึ บรเิ วณที่ชุม่ ช่นื ไดร้ ับความชื้อจากต้นกล้วยผา การศึกษา กล้วยผา คร้ังนี้ ส่งผลให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับพืช กล้วยผา ครูมีรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ โรงเรียนและชุมชนมีความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน ช่วยเหลือด้านภูมิปัญญา สร้างความตระหนักในการอนุรกั ษ์กลว้ ยผา ใหเ้ ปน็ พชื ทส่ี ําคญั ของทอ้ งถ่ิน

15 เอกสารอ้างองิกอ่ งกานดา ชยามฤต.2541.คมู่ อื จาแนกพรรณไม้. สวนพฤกษศาสตรป์ ่าไม้ สาํ นักวชิ าการปา่ ไม้ กรมปา่ ไม้.กรงุ เทพฯ หนา้ 76 – 79.เต็ม สมิตินันท.์ 2544. ช่อื พรรณไมแ้ หง่ ประเทศไทย.พมิ พค์ ร้ังท่ี2. สวนพฤกษศาสตรป์ า่ ไม้ สาํ นกั วชิ าการป่าไม้ กรมปา่ ไม.้ กรงุ เทพฯ.หนา้ 220เบญจมาศ ศิลาย้อย.2545. กลว้ ย. สาํ นกั พมิ พ์มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์. กรงุ เทพฯ.หน้า 357วุฒิ วฒุ ิธรรมเวช.2540.สารานุกรมสมุนไพร รวมหลักเภสชั กรรมไทย. โอ.เอส.พริ้นตง้ิ เฮา้ ส์. กรุงเทพฯ.หน้า 68สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี 2547.หนงั สอื เรยี นสาระการเรยี นรู้พน้ื ฐาน และเพ่ิมเตมิ ชวี วทิ ยา เลม่ 4. โรงพมิ พค์ ุรสุ ภา.กรุงเทพฯ.หน้า 131.หมายใจ จิตรีธรรม.2548.สารพันกล้วย. แมค็ .กรงุ เทพฯ.หน้า 135.กรมส่งเสรมิ การเกษตร.www.doae.go.th 11 คุลาคม 2548.ดอกเตอรก์ ลว้ ย.www.naturetaste.com. -30 มถิ นุ ายน 2548มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.www.ku.ac.th/kaset60/ku60/banana. (3 สงิ หาคม 2548)

16ภาคผนวก

17ภาพท่ี 1 ลาตน้ กลว้ ยผาทอ่ี อกดอกสมบูรณ์ ภาพท่ี 2 ลาตน้ ใตด้ นิ กล้วยผา

18ภาพท่ี 3 รากกลว้ ยผาภาพที่ 4 ใบกล้วยผา

19 ลักษณะปลีดอกก่อนบาน เกสรตวั ผ้แู ละละอองเรณู ดอกช่อเม่อื บานเตม็ ที่ภาพท่ี 5 ดอกกลว้ ยผา ผลอ่อนทไ่ี มต่ ดิ เมล็ดภาพท่ี 6 ผลกลว้ ยผา

20 ผลแกท่ ีต่ ิดเมลด็ผลแก่มเี มล็ดสดี า ภาพท่ี 7 เมล็ดกลว้ ยผา

21ศกึ ษาลกั ษณะวิสัยต้นกลว้ ยผา ศกึ ษาลกั ษณะดอกตน้ กล้วยผาศกึ ษาปจั จัยท่เี กย่ี วขอ้ งกับตน้ กลว้ ยผา ศกึ ษาลกั ษณะเกสรตวั ผู้ต้นกล้วย ผาศึกษาลักษณะใบต้นกลว้ ยผา วัดความกวา้ ง-ยาวตน้ กลว้ ยผาศกึ ษาลักษณะรากต้นกล้วยผา สกู่ ารสรุปองคค์ วามรูจ้ ากต้นกล้วย ผาภาพท่ี 8 การศึกษาสรรพสง่ิ ลว้ นพันเกย่ี วกลว้ ยผา

22 2บรู ณาการศกึ ษาใบต้นกลว้ ยผา บูรณาการศกึ ษาต้นกลว้ ยผาปลกู ตน้ กล้วยผา ปลกู ต้นกล้วยผา สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียนการบูรณาการสรปุ องค์ความรู้ ตน้ กลว้ ยผา นกั รอ้ งหน้ากาก การบูรณาการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น กจิ กรรมหนา้ กาก กลว้ ยผา และกระท้อนภาพที่ 9 เบ้ืองหลังการทากิจกรรม

23 2ภาพท่ี 10 ได้เข้ารว่ มโครงการประกวดการสร้างสรรคส์ อื่ ประเภทอินโฟกราฟกิ (Infographic) ในกลุม่ สมาชิก สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครง้ั ท่ี 2 หวั ข้อการประกวด “การนางานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ไปใชป้ ระโยชน์ทางการศกึ ษา” ประจาปีการศึกษา 2560

ลักษณะของดอกกล้วยผา ลกั ษณะของผลและเมลด็ สวนพฤกษศาสตร์ ผล ผลท่เี รียงกนั ไม่เป็นระเบียบ รูปป้อม ปลายแหลมยาว โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ 1) ใบประดบั มี 5 กลบี ยาว 16 ซม. กว้าง 13 ซม. อาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชยี งใหม่ดา้ นในของใบตรงปลายมีสแี ดงเข้มดา้ นในตรงโคนมีสีม่วงอ่อน 7 ซม. ปลายผมมีจุก ยาวแหลม เห็นก้านเกสรตัวเมียติดอยู่ 1 สานกั บริหารงานการศึกษาพิเศษปนขาวขอบของใบประกอบด้านนอกมีสีแดงเข้มใบด้านนอกที่ อัน กล้วยผา 7-8 หวี และ 1 หวีจะมีประมาณ 10-12 ผล ตรง สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานไม่ใช่ขอบสเี หลืองอมขาว มีหน้าที่ช่วยล่อแมลง สัตว์ที่พบเห็น โคนผลมีสีเหลืองอ่อน ตรงปลายผลมีสีเขียวเข้มอมขาว ยางมีสีนัน้ จะมีผึง้ ใส รสขม 1 หวีน้าหนักประมาณ 0.5 กิโลกรัม ผลมีเนื้อข้างใน กระทรวงศึกษาธิการ เปน็ สีขาวรสหวาน (เม่ือสุก) ระบายอุจจาระ บ้ารุงก้าลัง รักษา 2) ก้านชูดอก มีลักษณะเป็นช้ันๆ สลับกันมีสีเขียว แผลในกระเพาะอาหาร เปลือกดิบ รสฝาดสมานแผล ๙๙ หมู่ ๑๐ ตาบลชา่ งเคิ่ง อาเภอแม่แจม่กับสีดา้ ผวิ ขรุขระ ยาว 39 ซม. เสน้ รอบก้านชูดอก 18 ซม. จังหวดั เชยี งใหม่ โทรศพั ท์ ๐-๕๓๒๖-๘๖๔๒ เมล็ด เมลด็ มีเปลือกแข็ง สีด้า 1 ผล มีประมาณ 8-10 3) หัวปลี มีลักษณะคล้ายดอกบัวตูม สีม่วงอมขาวขอบสแี ดง เส้นรอบหวั ปลี 29 ซม. ยาว 18 ซม. เม็ด รสของ เมล็ดจะขมมากข้างในเมล็ดจะมีสีขาวคล้าย แปง้ ประโยชน์นนั้ นา้ มาทา้ เป็น เครอื่ งประดบั 4) ดอก ดอก 1 ช่อ มีดอกย่อย 25 ดอก ดอกย่อย1 ดอกมีเกสรตวั ผู้ 3 อนั ปลายยอดเกสรตัวผู้โค้งงอ มีอับเรณู สิง่ ทีไ่ ด้รบั จากกิจกรรมนี้เกสรตัวเมียโค้ง น้อยกว่าเกสรตัวผู้ปลายเกสรตัวเมียมีสีด้าดอกมยี างสีใสเหนยี ว รสขม รังไขข่ องดอกกล้วยผามีสีขาวนวล 1. ได้รับความรู้เกีย่ วกับกล้วยผามากขึ้นอยู่ใตก้ ลบี ดอก มีตอ่ มน้าหวานที่ปลายรงั ไข 2. ได้เรียนรู้การวางแผนการท้างาน การท้างาน ตามลา้ ดับ ขนั้ ตอน ก่อน หลัง 3. ไดท้ กั ษะในการแสวงหาความร้ดู ้วยตนเอง 4. ไดค้ วามภาคภูมใิ จในผลงาน

ลกั ษณะกจิ กรรม ลาตน้ แท้จริงใต้ดนิ ใบ ลักษณะของใบ เป็นกิจกรรมทีศ่ ึกษาขอ้ มูลเก่ียวกบั ลกั ษณะ ลาต้น 1) ใบบริเวณโคนลาตน้ แผ่นใบสเี ขียวแก่ กว้าง 40 สว่ นประกอบของกลว้ ยผา ได้แก่ ราก ล้าต้น ใบ ดอก ผล และเมลด็ จากการศึกษาพบว่า กล้วยผามีล้าต้น 2 ชนิด คือ ซม. ยาว 90 ซม. ขา้ งใบของโคนก้านใบ ยาว 6 ซม. มียางสีขุ่น วตั ถปุ ระสงค์ ล้าต้นเทียมกับล้าต้นใต้ดิน ช่วงฤดูฝนล้าต้นเทียมจะมีขนาด ใหญ่ และแตกใบออกมาจ้านวนมาก เข้าสู่ฤดูแล้งใบจะเริ่ม เม่อื ผ่าก้านใบแก่จะเห็นช่องคล้ายตาราง ข้างในแต่ละช่องมีสี 1. เพือ่ ศกึ ษา รวบรวม ขอ้ มลู เกย่ี วกับลกั ษณะ เหี่ยวแห้งไป เหลือเพียงล้าต้นใต้ดิน เม่ือถึงฤดูฝนในปีถัดไป ทางพฤกษศาสตร์ของต้นกล้วยผา กล้วยผาก็จะแตกใบใหม่ จนครบ 3 ปี กล้วยผาก็จะออกดอก ขาวอมเหลือง ใน 1 ต้น จะมีประมาณ 6 ใบ ลาต้นเทียม 2. เพื่อเผยแพร่ความรเู้ กย่ี วกับกล้วยผา 2) ใบบริเวณกลางลาต้น สีเขียวอ่อน ขอบใบสีส้ม ลา้ ต้นเทยี มอยู่เหนือดนิ เป็นรูปสามเหลี่ยมสูง 215 ผลการศกึ ษา ซม. ตรงโคนต้น คือใบท่ีแก่แล้วซ้อนกันเป็นชั้นๆ สีของโคน กว้าง 31 ซม. ยาว 60 ซม. มียางสีเหลืองเม่ือผ่าก้านใบ ตรง ตน้ เทยี มเป็นสีน้าตาล ตรงกลางต้นและปลายต้นเทียมเป็นสี ราก เขยี วปนขาว เมอ่ื เราไปสัมผสั จะมีสีขาวติดมือ สัตว์ท่ีพบนั้นมี กลางจะเห็นเปน็ ช่องๆ คล้ายตาราง ข้างในแต่ละช่องมีสีเขียว หอยทาก มด รสขมฝาดตดิ ลนิ้เปน็ เส้น แตล่ ะเส้นจะ ลาต้นแท้จริง อมเหลอื ง 1 ตน้ จะมใี บประมาณ 4 ใบประกอบดว้ ยรากแก้วและรากฝอย ท้งั หมด 35 เส้น ความ ผิวขรุขระ สีน้าตาลปนแดง รสจืด เม่ือยางติด 3) ใบบรเิ วณยอด สีเขียว ขอบใบสีเหลืองใส กว้างยาวของรากจะไม่เท่ากันและสี เสื้อผ้าซักออกยากและยังใช้ยางในการท้างานด้านศิลปะได้ไม่เหมือนกนั รากใหมจ่ ะเป็นสีขาวอมเหลอื งยาว ด้วย เชน่ การพิมพภ์ าพจากยางกลว้ ยผา 17 ซม. ยาว 30 ซม. มียางสีเหลืองอ่อน เม่ือผ่าก้านใบตรงประมาณ 9-11 ซม. รากเก่าจะเปน็ สนี า้ ตาลอมส้ม ดา้ น การใช้ประโยชน์ในเป็นสขี าวยาวประมาณ 7-8 ซม. ยอดจะเห็นเป็นช่องๆ ขนาดเล็ก คล้ายตาราง ข้างในแต่ละเส้นผ่านศนู ย์กลาง 0.5 ซม. ลกั ษณะของเน้อื ขาวใส ลาตน้ เทยี ม ล้าตน้ เทียมอ่อน อายุ 1-2 ปี สามารถเปน็ เส้น ข้างในจดุ ศนู ย์กลางจะมสี เี หลอื ง รสขม กลิ่นฉนุ น้ามาแกงรับประทานได้ มีสรรพคุณทางยา คือ ช่วยขับ ชอ่ งมีสีเหลอื งออ่ น รสขมฝาด 1 ต้น จะมปี ระมาณ 3 ใบ ปัสสาวะสรรพคณุ 4) ใบประดับ จะมีสีเหลืองอมส้ม ขอบใบสีเหลือง ใช้รกั ษาผวิ หนัง ช่วยแกร้ ้อนใน แกป้ วดฟนั ลาตน้ แท้จรงิ รกั ษาโรคเบาหวาน ปนเขยี ว กว้าง 10 ซม. ยาว 17 ซม. ยางสีเหลือง เมื่อผ่าโคนโรคขัดเบา ก้านใบท่ีติดกับผล จะเป็นช่องๆ ขนาดเล็ก คล้ายตาราง ข้าง ในแต่ละชอ่ งมสี ีขาวอมเหลอื ง 1 ตน้ จะมีประมาณ 21 ใบ สรรพคุณ รกั ษาแผลถูกไฟไหม้ น้ารอ้ นลวก รกั ษาโลกฝีดาษ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook