Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบฝึกทักษะ หน่วยที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต (ชีววิทยา1 ม.4)

แบบฝึกทักษะ หน่วยที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต (ชีววิทยา1 ม.4)

Published by ida6011, 2021-05-20 09:50:53

Description: แบบฝึกทักษะ หน่วยที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต (ชีววิทยา1 ม.4)

Search

Read the Text Version

แบบฝก ทักษะ รายวชิ าชีววิทยา 1 มธั ยมศกึ ษาปท่ี 4 1 โดย ครสู ุดาภรณ สบื บญุ เปยม กลมุ สาระการเรยี นรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

แบบฝก ทกั ษะ รายวชิ าชีววิทยา 1 มธั ยมศกึ ษาปท่ี 4 2 แบบทดสอบกอ นเรียน หนว ยการเรียนรทู ่ี 3 คาํ ช้ีแจง : ใหนกั เรียนเลือกคําตอบท่ีถูกตองท่ีสุดเพียงขอเดียว 1. หากศกึ ษาเซลลดวยกลองจุลทรรศนใ ชแสง 5. การแลกเปล่ยี นแกส O2 และ CO2 เปนการลําเลยี ง โดยใชเลนสใ กลตา 10x เลนสใกลวัตถุ 40x สารแบบใด ภาพเซลลที่ไดจะมีขนาดใหญข ึน้ กี่เทา 1. ออสโมซสิ 1. 10 เทา 2. เอกโซไซโทซิส 2. 40 เทา 3. เอนโดไซโทซสิ 3. 50 เทา 4. แอกทฟี ทรานสปอรต 4. 100 เทา 5. การแพรแบบธรรมดา 5. 400 เทา 6. ชองเล็กๆ ทเ่ี ปน ชองทางสอ่ื สารระหวางไซโทพลาซึม 2. สิง่ ใดสามารถพบไดใ นเซลลของสงิ่ มชี วี ติ ทุก ของเซลลพ ืชท่อี ยูติดกัน เรียกวาอะไร ชนดิ 1. กรานมุ 1. เซนทรโิ อล ผนงั เซลล 2. สโตรมา 2. ผนังเซลล เย่อื หมุ เซลล 3. แกป จังกชัน 3. คลอโรพลาสต ไรโบโซม 4. นวิ เคลยี รพ อร 4. ไลโซโซม ไซโทสเกเลตอน 5. พลาสโมเดสมาตา 5. นิวเคลยี ส ไมโทคอนเดรยี 7. ขอใดไมถ ูกตองเกยี่ วกับการแบง เซลลแ บบ 3. ออรแ กเนลลใ ดทาํ หนา ท่ีเปรียบเหมือน ไมโทซิส โรงไฟฟาของเซลล 1. เปน การแบง เซลลท ่เี กิดในเซลลร า งกาย 1. ไรโบโซม 2. ในระยะโพรเฟสอาจเกิดครอสซิงโอเวอร 2. นวิ เคลียส 3. ไดเซลลใหม 2 เซลลท่ีมจี ํานวนโครโมโซม 3. คลอโรพลาสต เทา เดมิ 4. ไมโทคอนเดรีย 4. เปน การแบงเซลลเพื่อการเจริญเตบิ โตของ 5. กอลจิคอมเพล็กซ สิง่ มีชวี ติ 5. ระยะเมทาเฟสเปนระยะทเี่ หน็ โครโมโซมได 4. การลําเลยี งสารแบบใดท่ีตองใชพลังงานใน ชดั เจนที่สดุ การลาํ เลยี ง 1. ออสโมซสิ 8. การเปล่ยี นสภาพของเซลลเ กิดขึน้ เมอื่ ใด 2. เอกโซไซโทซสิ 1. ขณะแบง เซลล 3. เอนโดไซโทซสิ 2. กอนการแบงเซลล 4. แอกทฟี ทรานสปอรต 3. หลงั การแบงเซลล 5. การแพรแ บบฟาซิลเิ ทต 4. ขณะสรางเซลลสบื พนั ธุ 5. ขณะทเ่ี ซลลส บื พันธผุ สมกัน โดย ครสู ดุ าภรณ สบื บญุ เปย ม กลุม สาระการเรียนรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

แบบฝก ทกั ษะ รายวชิ าชีววิทยา 1 มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 4 3 9. ไกลโคลซิ ิสเกดิ ขึ้นทีบ่ รเิ วณใดของเซลล 10. กระบวนการหมกั เกดิ ขึ้นที่บรเิ วณใดของเซลล 1. นิวเคลยี ส 1. นิวเคลียส 2. ไซโทพลาซึม 2. ไซโทพลาซมึ 3. คลอโรพลาสต 3. คลอโรพลาสต 4. ไมโทคอนเดรยี 4. ไมโทคอนเดรีย 5. กอลจคิ อมเพล็กซ 5. กอลจคิ อมเพล็กซ โดย ครูสดุ าภรณ สืบบุญเปย ม กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

แบบฝกทกั ษะ รายวิชาชีววิทยา 1 มธั ยมศึกษาปท ่ี 4 4 ใบความรู เรื่อง แผนภาพโครงสรา งรางกายสิ่งมีชวี ติ โดย ครสู ดุ าภรณ สบื บญุ เปยม กลุมสาระการเรยี นรู วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

แบบฝกทกั ษะ รายวชิ าชีววิทยา 1 มธั ยมศึกษาปที่ 4 5 ใบความรู เรื่อง แผนภาพส่งิ มีชีวติ เซลลเ ดียว โดย ครูสุดาภรณ สืบบญุ เปย ม กลมุ สาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

แบบฝกทกั ษะ รายวชิ าชีววิทยา 1 มธั ยมศึกษาปท่ี 4 6 ใบงาน เรอื่ ง การไหลของไซโทพลาซมึ คําช้ีแจง : ใหน ักเรยี นศกึ ษาการไหลของไซโทพลาซึม ตามขั้นตอน ดังนี้ วธิ ดี าํ เนนิ การ 1. หยดนาํ้ 1 หยด ลงบนสไลด จาํ นวน 2 สไลด 2. นําใบสาหรายหางกระรอก ใบออน 1 ใบ และใบแก 1 ใบ วางลงบนสไลด ใบละ 1 สไลด แลวปด ดวย กระจกปด ลไสด 3. นําสไลดไปศกึ ษาดว ยกลองจุลทรรศน สงั เกตและเปรียบเทียบลกั ษณะการไหลของไซโทพลาซมึ ในใบ ทงั้ สอง 4. อภิปรายและตอบคําถามทา ยกิจกรรม คาํ ถามทา ยกิจกรรม 1. สังเกตการไหลของไซโทพลาซมึ ไดอยางไร 2. การไหลของไซโทพลาซึมในใบออ นกับใบแกมลี ักษณะเหมอื นกนั หรอื ไม อยางไร โดย ครูสดุ าภรณ สบื บญุ เปย ม กลุม สาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

แบบฝกทกั ษะ รายวิชาชีววทิ ยา 1 มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 4 7 กิจกรรม เรือ่ ง โครงสรางของเซลลที่ศกึ ษาดวยกลองจลุ ทรรศนอ ิเลก็ ตรอน คําชี้แจง : ใหนักเรียนสรุปใจความสําคัญเรื่องโครงสรางของเซลลที่ศึกษาดวยกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนใน รปู แบบของผงั มโนทัศน วิธีดาํ เนนิ การ 1. ใหนกั เรียนแบงกลุม สรุปใจความสําคัญเรอื่ ง โครงสรางของเซลลท่ีศกึ ษาดวยกลองจุลทรรศน อเิ ล็กตรอน ในรปู แบบของผังมโนทัศน ใหมคี วามนาสนใจ โดยควรมปี ระเด็นตา งๆ ดงั นี้ • โครงสรางของเซลล ซึ่งควรแบง ออกเปน สว นท่หี อหุมเซลล ไซโทพลาซมึ และนิวเคลียส • ลกั ษณะและหนาทขี่ องโครงสรางตางๆ - ผนงั เซลล - เย่ือหมุ เซลล - รางแหเอนโดพลาซึม - ไรโบโซม - กอลจิคอมเพลก็ ซ - ไลโซโซม - แวควิ โอล - ไมโทคอนเดรีย - พลาสติด - เซนทรโิ อล - ไซโทสเกเลตอน - นวิ เคลียส โดยจดั ทําช้นิ งานท่ีมขี นาดเทากับกระดาษ A4 ท่ีตอกันจาํ นวน 4 แผน 2. ใหนกั เรยี นแตล ะกลมุ นาํ เสนอผลงานหนาชั้นเรยี น และนําผลงานตดิ บอรดเพือ่ เปน แหลง ทบทวน ความรู โดย ครสู ดุ าภรณ สืบบญุ เปยม กลมุ สาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

แบบฝกทกั ษะ รายวชิ าชีววทิ ยา 1 มธั ยมศึกษาปท ี่ 4 8 ใบความรู เร่อื ง ลักษณะ และหนา ทขี่ องโครงสรา งตา งๆ ของเซลล โครงสรางของเซลล ลกั ษณะ หนาที่ สวนทหี่ อ หุมเซลล ผนังเซลล ประกอบดว ยเซลลูโลสไมโครไฟบริลและ เพ่ิมความแข็งแรง และทําใหเซลลคง สารอ่ืนๆ มีชองเล็กๆ เรียกวา พลาสโม- รปู รา งได เยื่อหมุ เซลล เดสมาตา ไซโทพลาซึม เยอ่ื บางๆ ประกอบดวยฟอสโฟลิพิดเปน หอหุม ไซโทพลาซมึ ควบคมุ การผานเขา- รา งแหเอนโดพลาซมึ สว นใหญ ออกของสาร ไรโบโซม ทอแบนท่ีมีบางสวนโปงออกเปนถุง แต สังเคราะหโ ปรตีน ไขมัน และ กอลจคิ อมเพลก็ ซ ละทอเรียงขนานซอนกันเปนช้ัน และ สเตอรอยดฮอรโ มน เชื่อมตอกัน ไลโซโซม มีขนาดเลก็ ไมมเี ยื่อหมุ สรา งโปรตีนและเอนไซมบ างชนดิ แวควิ โอล ถุงกลมแบนที่บริเวณขอบโปงพองออก จัดจําแนกสารที่ผลิตจากรางแหเอนโด- ไมโทคอนเดรยี แตละถงุ เรียงซอ นกนั เปนชนั้ พลาซึม แลวสงไปบริเวณตางๆ ของ พลาสตดิ เซลล เซนทรโิ อล เปนเวสิเคิลท่ีสรางมาจากกอลจิคอม ยอยสารและสลายโครงสรางเซลลเมื่อ เพล็กซ เซลลต าย ไซโทสเกเลตอน เปนถุงท่ีมีเยื่อหุมชั้นเดียว ภายในมีสาร สะสมสารตางๆ เชน สารสี ไอออน นวิ เคลียส ตางๆ บรรจอุ ยู รักษาสมดุลนา้ํ เกบ็ สะสมอาหาร นวิ เคลยี ส มีรปู รา งหลายแบบ อาจรูปรางกลม เปน เปน แหลง สรางพลงั งานภายในเซลล แทง ส้ันๆ หรอื คอ นขางยาว มีเยือ่ หุม 2 ช้นั สังเคราะหสารบางชนิด และเก็บเม็ดสี หรือรงควัตถุ คลา ยทอ ทรงกระบอก 2 อัน วางต้ังฉาก แยกโครมทิดออกจากกันในระหวางการ กนั แตละอนั ประกอบดวยไมโครทูบูล 9 แบง เซลล ชดุ ชดุ ละ 3 ทอ เสน ใยโปรตีนท่เี ช่ือมโยงกันเปน รา งแห ค้ําจุนเซลล เปนที่ยึดเกาะของออร แกเนลล และลําเลยี งออรแ กเนลล ทรงกลมอยูบริเวณกลางเซลล หรือคอน ควบคุมการแบงเซลลและกระบวนการ ไปขา งใดขางหนง่ึ เมแทบอลซิ ึมของเซลล โดย ครูสดุ าภรณ สบื บญุ เปย ม กลุมสาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

แบบฝก ทักษะ รายวชิ าชีววิทยา 1 มธั ยมศกึ ษาปที่ 4 9 กจิ กรรม เรือ่ ง การลําเลยี งสารผานเซลลพ ืช คาํ ชแ้ี จง : ใหนกั เรยี นดําเนินการทดลองเพอ่ื ศึกษาการลาํ เลียงสารผา นเซลลพ ืช และตอบคาํ ถามทายการ ทดลอง วสั ดุอุปกรณ 2. สไลดและกระจกปดสไลด 1. กลอ งจุลทรรศน 4. ปากคีบ 3. เข็มเขย่ี 6. ใบมีดโกน 5. หยอดหยด 8. นาํ้ 7. กระดาษเยือ่ 10. สารละลายกลูโคส ความเขมขน 10% 9. หอมแดง วธิ ีปฏิบัติ 1. หยดน้ําลงบนสไลด 1 หยด แลว ลอกเย่ือดานในของกลบี หอมแดงวางลงบนสไลด 2. ปด ดว ยกระจกปดสไลด แลวนําไปศกึ ษาภายใตก ลองจุลทรรศน บันทกึ ลักษณะของเซลล 3. นําสไลดเดมิ มาหยดสารละลายกลูโคส ความเขมขน 10% ลงไปบริเวณขอบของกระจกปดสไลดด าน ใดดา นหนึ่ง ในขณะเดียวกนั ใชก ระดาษเยอื่ แตะบรเิ วณขอบอกี ดานหนงึ่ ของกระจกปด สไลดเ พือ่ ให สารละลายกลโู คสไหลเขาไปแทนทนี่ ํ้าในสไลด 4. นาํ สไลดไ ปศกึ ษาภายใตกลอ งจุลทรรศน บนั ทกึ ลักษณะของเซลล คําถามทา ยการทดลอง 1. ลักษณะของเซลลเ ม่อื อยูในน้ํากบั ในสารละลายกลูโคสเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร 2. นักเรยี นจะอธิบายการเปลยี่ นแปลงของเซลลในการทดลองน้อี ยางไร โดย ครูสดุ าภรณ สบื บุญเปยม กลุม สาระการเรียนรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

แบบฝก ทักษะ รายวชิ าชีววทิ ยา 1 มธั ยมศกึ ษาปที่ 4 10 ใบงาน เรอื่ ง การประยกุ ตใ ชความรเู รอ่ื งการลาํ เลยี งสารผา นเซลลใ นชีวิตประจาํ วัน คาํ ช้แี จง : ใหน กั เรียนตอบคาํ ถามทก่ี ําหนดให 1. จงอธบิ ายหลักการแพรข องสาร 2. จงอธบิ ายหลักการออสโมซสิ ของสาร 3. จงยกตัวอยา งการนาํ ความรเู ร่อื งการลาํ เลียงสารผานเซลลไ ปใชในชวี ิตประจําวัน โดย ครสู ุดาภรณ สบื บญุ เปย ม กลมุ สาระการเรยี นรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

แบบฝก ทกั ษะ รายวิชาชีววิทยา 1 มธั ยมศกึ ษาปที่ 4 11 ใบงาน เร่อื ง การส่อื สารระหวา งเซลล คาํ ชแ้ี จง : ใหน ักเรียนสรปุ ใจความสาํ คญั เร่อื งการสอ่ื สารระหวางเซลลในรปู แบบของผังมโนทศั น วิธีดาํ เนินการ 3. ใหนกั เรยี นแบงกลุม สรปุ ใจความสําคัญเรื่อง การสอื่ สารระหวา งเซลล ในรูปแบบของ ผังมโนทัศน ใหมคี วามนาสนใจ โดยควรมปี ระเดน็ ตา งๆ ดังนี้ • การสื่อสารโดยใชส ารเคมหี รอื ฮอรโ มน • การส่ือสารโดยผา นกระแสประสาท • ขั้นตอนการสื่อสารระหวา งเซลล 4. ใหน ักเรียนแตล ะกลมุ นาํ เสนอผลงานหนา ชั้นเรียน และนาํ ผลงานติดบอรด เพื่อเปน แหลง ทบทวนความรู โดย ครสู ุดาภรณ สืบบญุ เปยม กลมุ สาระการเรยี นรู วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

แบบฝก ทักษะ รายวิชาชีววทิ ยา 1 มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 4 12 กจิ กรรม เร่อื ง โมเดลการแบง เซลล คาํ ช้แี จง : ใหนกั เรียนปฏิบตั ิกจิ กรรมตามขนั้ ตอนทกี่ ําหนดให วสั ดอุ ปุ กรณ 2. กระดาษแข็ง 3. ไหมพรม 1. ดนิ นา้ํ มนั 5. สไี ม/ สีนาํ้ /สีชอรค 6. ปูนปลาสเตอร 4. ฟว เจอรบ อรด 8. กรรไกร 9. คัตเตอร 7. กาว วิธีปฏิบตั ิ 1. ใหนักเรยี นแบง กลมุ กลุมละ 5-6 คน 2. ศกึ ษาการแบง เซลลในระยะตางๆ โดยอาจใชใบความรู 3. สรา งโมเดลแทนระยะตา งๆ ของการแบงเซลล โดยเลอื กใชวัสดอุ ุปกรณท่กี าํ หนดให 4. นาํ โมเดลแตละช้นิ วางไวโ ดยไมเรียงตามระยะของการแบง เซลล 5. ใหน กั เรียนกลมุ อื่นๆ มาจดั เรยี งโมเดลตามระยะตา งๆ ของการแบง เซลลใหถ กู ตอง โดย ครูสดุ าภรณ สบื บุญเปย ม กลมุ สาระการเรียนรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

แบบฝก ทักษะ รายวชิ าชีววิทยา 1 มธั ยมศกึ ษาปท่ี 4 13 ใบความรู เรื่อง การแบงเซลล ไมโทซสิ เซนโทรเมียร์ เสน้ ใยสปินเดลิ โดย ครูสดุ าภรณ สบื บุญเปย ม กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

แบบฝกทักษะ รายวชิ าชีววทิ ยา 1 มธั ยมศึกษาปท ่ี 4 14 ไมโอซสิ เซนทรโิ อล เสนใยสปนเดิล เซนทริโอล โครมาทนิ อนิ เตอรเฟส เยือ่ หมุ นิวเคลยี ส โพรเฟส I เมทาเฟส I โครโมโซม โพรเฟส II นวิ เคลียสทม่ี ี โครโมโซมลดลง เอนาเฟส I ครึ่งหนงึ่ เทโลเฟส I เมทาเฟส II แอนาเฟส I เทโลเฟส I โดย ครูสุดาภรณ สบื บุญเปย ม กลมุ สาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

แบบฝกทกั ษะ รายวิชาชีววิทยา 1 มธั ยมศึกษาปท ่ี 4 15 ใบความรู เร่อื ง ความชราในเด็ก เปน ท่ีทราบดแี ลว วา สัตวและมนษุ ยมีวัฏจกั รชวี ติ เวยี นวนกันไปต้ังแตเกดิ แก เจ็บ ตาย ซ่ึงภายใน รางกายของสัตวและมนุษยก็เชนเดียวกันที่พบวา เซลลมีการแบงเซลลเกิดขึ้นใหมทดแทนเซลลเดิมที่ เสอื่ มสภาพและตายไปได นอกจากน้ี เซลลท เ่ี จรญิ เตบิ โตยอ มมกี ารชราภาพเกิดขน้ึ ไดดวย เนื่องจากเม่ือ เซลลมีอายมุ ากข้นึ มกั จะมกี ารสะสมของเสียเพมิ่ ขึ้น และการชราภาพของเซลลอาจเก่ียวของกับยีนดวย ดังน้ัน การชราภาพของเซลลจึงเปนสิ่งท่ีกําหนดอายุขัยของส่ิงมีชีวิต นอกจากน้ีอายุขัยของสิ่งมีชีวิต ควบคมุ โดยยนี และส่ิงแวดลอ ม ความผดิ ปกตทิ เ่ี ซลลแ กต วั เรว็ กวาปกติ ทําใหเกิดความชราในเด็ก หรือที่รูจักในชื่อโรคโปรเจเรีย (Progeria) หรอื เวอรเนอรซ ินโดรม (Werner syndrome) พบในเด็กทั้งเพศหญิงและเพศชาย เปนโรค ที่พบไดเพียง 1 ใน 8 ลานคน โดย 90% ของเด็กท่ีปวยเปนโรคนี้เกิดจากการกลายของยีน ทําใหการ สังเคราะหโ ปรตีนบางชนดิ ผิดปกติ เซลลจะแกตัวเร็วกวาคนปกติ ลักษณะของเด็กท่ีปวยเปนโรคน้ีจะ เหมือนเด็กปกติในชวง 10–24 เดือนแรก หลังจากนั้นจะเริ่มมีการเจริญเติบโตชา รูปรางแคระแกร็น เต้ยี น้ําหนกั นอ ย แกเ รว็ และเหน่อื ยงา ย โดยมีอาการตา งๆ ท่ีปรากฏ เชน - กะโหลกศีรษะบาง ไมไดสัดสวน บริเวณหนาอกจะมีลักษณะคลายผลลูกแพร กระดูกผุ มี อาการขอยดึ เพราะมพี ังผืดอยบู รเิ วณขอ กระดูกสะโพกเคล่ือน ลกั ษณะขาจะถางออกคลาย ลกั ษณะคนขมี่ า - กระดูกบริเวณหนา ไมเ จรญิ ใบหนา และขากรรไกรมีขนาดเล็กกวาปกติ ตาโปน จมูกลีบเล็ก และโดงแหลม เสียงแหลมเล็ก ฟนนํ้านมและฟนแทขึ้นชากวาปกติ ฟนข้ึนไมเปนระเบียบ และหลดุ งา ย ผมและขนหลดุ ลวง ศีรษะลาน - ผิวหนงั เห่ยี วยนคลายคนแก ผวิ หนงั บริเวณศีรษะจะบางใสจนมองเห็นเสนเลือดชดั เจน - เล็บผดิ ปกติ ซึ่งเร่มิ สงั เกตเห็นไดตัง้ แตว ยั ทารก เล็บหกั งายและมีสีเหลือง หรือในบางรายไม มีเลบ็ เลย เด็กที่ปวยเปนโรคน้ีจะมีสุขภาพเสื่อมลงทุกป โดยเมื่อผูปวยมีอายุเฉลี่ยประมาณ 10 ป ก็จะมี อาการปวยตางๆ เหมือนในผูสูงอายุ เชน มีอาการของโรคหัวใจเพ่ิมมากขึ้น มีภาวะความดันโลหิตสูง โรคขออักเสบ บางรายตองทําการผาตัดหลอดเลือดหัวใจ สวนใหญผูปวยมักเสียชีวิตดวยภาวะหัวใจ ลมเหลว และโรคหลอดเลือดแดงในสมองแข็งตัว ปจจุบันยังไมมีวิธีรักษาโรคนี้ใหหายขาดได มีเพียงแตรักษาตามอาการ หรือการทํา Lmna testing เพื่อตรวจดูในระดับโมเลกุลของหญิงท่ีกําลังตั้งครรภ ผูปวยโรคโปรไจเรียทั่วโลกถึงแมจะ แตกตางกันในดานเช้ือชาติ แตลักษณะอาการของโรคจะแสดงออกมาเหมือนกัน และมักจะเสียชีวิต ในชว งอายุ 8–21 ป หรอื เฉลย่ี อายุประมาณ 13 ป ที่มา : เวบ็ ไซตข องสาขาชีววิทยา สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี http://biology.ipst.ac.th/?p=895 โดย ครสู ดุ าภรณ สบื บุญเปยม กลุมสาระการเรยี นรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

แบบฝกทักษะ รายวิชาชีววิทยา 1 มธั ยมศึกษาปท ี่ 4 16 ใบงาน เรื่อง การเปลี่ยนสภาพของเซลล และการชราภาพของเซลล คาํ ชแ้ี จง : ใหนกั เรียนแบงกลมุ รว มกนั สรปุ ความรูเรือ่ งการเปลีย่ นสภาพของเซลล และการชราภาพของเซลล ในรปู แบบผงั มโนทศั น โดย ครสู ดุ าภรณ สบื บญุ เปยม กลุม สาระการเรียนรู วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

แบบฝกทักษะ รายวชิ าชีววทิ ยา 1 มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 4 17 ใบงาน เรือ่ ง การหายใจระดับเซลล คําชแ้ี จง : ใหน ักเรยี นสรปุ ใจความสําคัญเรอ่ื งการหายใจระดบั เซลลใ นรูปแบบผงั มโนทศั น วิธีดาํ เนินการ 5. ใหนักเรยี นแบง กลุม กลมุ ละ 5-6 คน สรปุ ใจความสําคญั เร่ืองการหายใจระดบั เซลลในรปู แบบ ผงั มโนทัศนใหม คี วามนาสนใจ โดยอาจมีประเด็นตา งๆ ดงั น้ี • การหายใจระดบั เซลลใ นภาวะทีม่ อี อกซเิ จนเพยี งพอ - ไกลโคลิซสิ - การสรางแอซทิ ลิ โคเอนไซมเอ - วฏั จักรเครบส - กระบวนการถา ยทอดอิเลก็ ตรอน • การหายใจระดับเซลลใ นภาวะท่ีมีออกซเิ จนไมเพียงพอ - กระบวนการหมกั แอลกอฮอล - กระบวนการหมกั กรดแลกติก 6. ใหนกั เรียนแตละกลมุ นําเสนอผลงานหนาช้ันเรียน โดย ครูสดุ าภรณ สืบบญุ เปยม กลมุ สาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

แบบฝก ทกั ษะ รายวชิ าชีววิทยา 1 มธั ยมศกึ ษาปที่ 4 18 แบบทดสอบหลงั เรยี น หนว ยการเรยี นรทู ่ี 3 คําชแ้ี จง : ใหน กั เรียนเลือกคาํ ตอบท่ีถูกตองท่ีสุดเพียงขอเดียว 1. เม่อื ใชกลองจุลทรรศนศ กึ ษาวัตถุขนาด 5 5. เซลลเ ม็ดเลือดขาวมกี ระบวนการทําลายเช้ือโรค ไมโครเมตร แลว เหน็ ภาพวัตถุมขี นาด 5 โดยวิธีใด มลิ ลิเมตร แสดงวากลอ งนีม้ ีกาํ ลังขยายเทาใด 1. ฟาซิลิเทต 1. 10 เทา 2. พิโนไซโทซิส 2. 100 เทา 3. ฟาโกไซโทซิส 3. 500 เทา 4. เอกโซไซโทซิส 4. 1,000 เทา 5. แอกทฟี ทรานสปอรต 5. 5,000 เทา 6. ชอ งเลก็ ๆ ทีเ่ ยื่อหุมเซลลของเซลลสัตว ซ่งึ เปน 2. สามารถพบรงควัตถุคลอโรฟลลไดทบ่ี รเิ วณใด ทางผา นของสารเคมโี มเลกุลเล็ก มีชื่อวา อะไร 1. บนเยือ่ ไทลาคอยด 1. กรานุม 2. ทุกบริเวณในเซลลพ ืช 2. สโตรมา 3. ในรูเมนของไทลาคอยด 3. แกป จงั กช นั 4. ในสโตรมาของคลอโรพลาสต 4. นิวเคลยี รพ อร 5. เยอื่ หุม ช้นั นอกของคลอโรพลาสต 5. พลาสโมเดสมาตา 3. ออรแ กเนลลใดทําหนา ทีย่ อยสลายส่งิ 7. ขอ ใดไมถูกตอ งเก่ียวกบั การแบงเซลลแ บบ แปลกปลอมทีเ่ ขาสูภายในเซลล ไมโอซสิ 1. ไลโซโซม 1. เปน การแบง เซลลท เ่ี กิดในเซลลส บื พันธุ 2. ไรโบโซม 2. ในระยะโพรเฟสอาจเกิดครอสซงิ โอเวอร 3. นิวเคลยี ส 3. เปน การแบงเซลลเ พื่อสรางเซลลสบื พันธุ 4. ไมโทคอนเดรยี 4. ไดเ ซลลใ หม 4 เซลลที่มจี ํานวนโครโมโซม 5. คลอโรพลาสต เทา เดมิ 4. การลําเลียงเอนไซมและสารสอื่ ประสาทออก 5. ระยะเมทาเฟสเปน ระยะที่เห็นโครโมโซมได จากเซลล เปน การลําเลยี งสารแบบใด ชดั เจนที่สุด 1. ออสโมซสิ 8. การชราสภาพของเซลลเ กิดขน้ึ ไดอยา งไร 2. เอกโซไซโทซสิ 1. มีการถายทอดโครโมโซมระหวา งเซลล 3. เอนโดไซโทซิส 2. มกี ารลดจํานวนโครโมโซมทกุ ครัง้ ทมี่ ีการแบง 4. แอกทฟี ทรานสปอรต เซลล 5. การแพรแ บบฟาซิลิเทต 3. มกี ารเพมิ่ จํานวนโครโมโซมทกุ ครงั้ ทีม่ ีการ แบงเซลล 4. มีการเพิ่มข้ึนของสว นปลายโครโมโซมทุกคร้ัง ทมี่ ีการแบง เซลล 5. มกี ารขาดหายไปของสวนปลายโครโมโซมทกุ ครงั้ ทีม่ กี ารแบงเซลล โดย ครูสุดาภรณ สบื บุญเปย ม กลมุ สาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

แบบฝกทักษะ รายวชิ าชีววิทยา 1 มธั ยมศกึ ษาปที่ 4 19 9. การสลายกลูโคส 1 โมเลกลุ ไดพ ลงั งานท้งั หมด 10. ออกซเิ จนมีบทบาทอยางไรในการหายใจ กี่ ATP ระดบั เซลล 1. 2 ATP 1. เปนตวั รบั ATP ตวั สดุ ทาย 2. 12 ATP 2. เปนตวั รบั NADH ตวั สดุ ทาย 3. 24 ATP 3. เปนตวั รบั ไฮโดรเจนตัวสดุ ทา ย 4. 36 ATP 4. เปน ตวั รบั อเิ ล็กตรอนตวั สดุ ทา ย 5. 48 ATP 5. เปนตัวรับคารบอนไดออกไซดตัวสุดทา ย โดย ครสู ุดาภรณ สืบบุญเปยม กลมุ สาระการเรียนรู วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี