Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบสรุปอบรม การประชุมกลุ่ม 1

แบบสรุปอบรม การประชุมกลุ่ม 1

Published by ida6011, 2019-09-15 11:43:19

Description: แบบสรุปอบรม การประชุมกลุ่ม 1

Search

Read the Text Version

รายงานการเขา้ ร่วมประชมุ กล่มุ สมาชกิ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ครงั้ ท่ี 2/2562 หลกั สตู ร การบริหารและการจดั การ องคป์ ระกอบท่ี 3 องค์ประกอบท่ี 4 และองค์ประกอบที่ 5 ระหวา่ งวนั ที่ 27-28 พฤษภาคม 2562 ณ หอ้ งประชุมชั้น 15 อาคารราชภฏั 90 ปี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่ จังหวดั เชยี งใหม่ นางสาวสุดาภรณ์ สบื บญุ เป่ียม นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 อาเภอแม่แจม่ จงั หวัดเชียงใหม่ สานกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

รายงานผล รายงานการเขา้ ร่วมประชุมกลุม่ สมาชิกสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น คร้ังท่ี 2/2562 หลกั สูตร การบรหิ ารและการจดั การ องค์ประกอบท่ี 3 องคป์ ระกอบท่ี 4 และองค์ประกอบที่ 5 ระหวา่ งวันที่ 27-28 พฤษภาคม 2562 ณ หอ้ งประชมุ ช้นั 15 อาคารราชภัฏ 90 ปี (อาคาร 29) มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ จงั หวดั เชยี งใหม่ 1.รายงานผลการประชุม กลุ่มสมาชิกสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ครั้งท่ี 2/2562 หลักสูตร การบริหารและการจดั การ องค์ประกอบที่ 3 องคป์ ระกอบที่ 4 และองค์ประกอบท่ี 5 2. หน่วยงานที่จัด ศนู ยป์ ระสานงานโครงการอนรุ ักษพ์ ันธุกรรมพชื อันเนือ่ งมาจากพระราชดารฯิ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่ 3. หน่วยงานสนับสนนุ งบประมาณให้เข้าอบรม - 4. ระยะเวลาอบรม ระหวา่ งวันท่ี 27-28 พฤษภาคม 2562 5. สถานทจี่ ัดอบรม ณ หอ้ งประชมุ ชัน้ 15 อาคารราชภฏั 90 ปี (อาคาร 29) มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ จงั หวดั เชียงใหม่ 6. ความสอดคลอ้ งกับทศิ ทางการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาและมาตรฐาน การจดั การศึกษา ทิศทางการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา พนั ธกจิ ท่ี เปา้ หมายที่ กลยทุ ธ์ที่ 4.พัฒนาครแู ละบุคลากร พัฒนาครูให้ปฏิบัติงานตามบทบาท กลยุทธ์ท่ี 2 พัฒนาคุณภาพการ ทางการศกึ ษาตามมาตรฐาน หน้าท่ีอย่างมีประสิทธิภาพและเกิด จัดการศกึ ษา วชิ าชีพ ประสิทธิผล มาตรฐานเพ่ือการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐานด้าน มาตรฐานที่ ตวั บ่งช้ี มาตรฐานด้านครู มาตรฐานท่ี 9 ครมู คี วามสามารถใน 9.7 ครใู นกลุ่มสาระการเรยี นรู้มี ประสิทธิภาพการสอนและการ การจดั การเรียนการสอนอย่างมี พฒั นาตนเอง ประสทิ ธภิ าพและเน้นผเู้ รียนเป็น สาคัญ

7.องค์ความร้ทู ี่ไดร้ บั แนวทางการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ในการเตรยี มความพร้อมเพ่อื เขา้ รบั การประเมินรบั เกยี รติบัตรงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ข้นั ที่ 1 “เกยี รติบตั รแห่งความมุ่งม่นั อนรุ ักษ์ สรรพส่ิง สรรพชีวติ ด้วย จติ สานกึ ของครูและเยาวชน” โดยเริ่มจากการดาเนนิ งานสวนพฤกษศาสตร์ทงั้ 4 ดา้ น ดงั นี้ ดา้ นท่ี 1 การบรหิ ารและการจดั การ ด้านท่ี 2 การดาเนินงาน ด้านที่ 3 ผลการดาเนินงาน แผนงานดา้ นการตดิ ตามประเมนิ ผล ดา้ นที่ 4 ความถูกต้องทางวชิ าการด้านพฤกษศาสตร์ 1. รายละเอยี ดการดาเนนิ งานในแตล่ ะด้าน ดา้ นที่ 1 การบริหารและการจดั การ 1. โรงเรียน และชมุ ชนมสี ่วนร่วม ในงานสวน พฤกษศาสตร์โรงเรียน 1.1 รายงานการประชุม 1.2 หลักฐานทแ่ี สดงถึงการมสี ่วนร่วม 2. แตง่ ต้ังคณะกรรมการดาเนนิ งานงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน 2.1 คาสงั่ แตง่ ต้ังในแต่ละปี ตอ้ งระบหุ นา้ ท่ขี องคณะกรรมการดาเนนิ งานให้ชัดเจน 2.2 การดาเนินงาน ๕ องค์ประกอบงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น - องคป์ ระกอบท่ี 1 การจัดทาป้ายชอ่ื พรรณไม้ (13 ลาดับการเรยี นร)ู้ - องค์ประกอบที่ 2 การรวบรวมพรรณไมเ้ ขา้ ปลูกในโรงเรยี น (9 ลาดับการเรยี นร้)ู - องคป์ ระกอบท่ี 3 การศกึ ษาข้อมูลด้านตา่ งๆ (2 ลาดับการเรยี นรู)้ - องค์ประกอบที่ 4 การรายงานผลการเรยี นรู้ (7 ลาดับการเรยี นร)ู้ - องคป์ ระกอบท่ี 5 การนาไปใชป้ ระโยชน์ทางการศึกษา (4 ลาดบั การเรียนรู้) 2.3 สาระการเรยี นรู้พืชศึกษา - สาระการเรยี นรู้ที่ 1 ธรรมชาติแห่งชีวิต - สาระการเรียนรทู้ ่ี 2 สรรพสง่ิ ลว้ นพัน - สาระการเรียนรูท้ ี่ 3 ประโยชน์แทแ้ ก่มหาชน 3. วางแผนการบริหารและแผนการจัดการเรียนรู้ 3.1 แสดงคาส่ังชดุ ใหญ่ ๔ ดา้ น ด้านที่ 1 การบริหารและการจัดการ ด้านท่ี 2 การดาเนินงาน ด้านท่ี 3 ผลการดาเนินงาน ดา้ นที่ 4 ความถูกตอ้ งทางวิชาการ 3.2 แผนการจัดการเรยี นรู้ โดยเขียนแผนบรู ณาการงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน แสดงให้ เหน็ วธิ ีการจดั การเรยี นรูอ้ ยา่ งชดั เจนในทกุ ระดับชนั้ และทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 4. ดาเนนิ งานตามแผน 4.1 เอกสารสรปุ ค่าใช้จา่ ยในการดาเนนิ งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นลงนามช่อื ผบู้ รหิ าร หัวหนา้ งาน 4.2 หนงั สอื เชิญประชุม 4.3 หนงั สอื ขอบคณุ ผู้รว่ มประชุม

5. สรปุ และประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน 5.1 ผลการดาเนินงาน ๕ องค์ประกอบงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น 5.2 ผลการดาเนินงานสาระการเรียนรู้ ธรรมชาตแิ ห่งชีวติ สรรพส่งิ ลว้ นพันเกี่ยว ประโยชนแ์ ท้แก่มหาชน 6. วเิ คราะหผ์ ลและปรบั ปรงุ พฒั นางาน 6.1 วเิ คราะหป์ ญั หา และหาขอ้ สรุป 6.2 วางแผน ปรับปรุง และพฒั นาการดาเนินงานในปตี ่อไป 7. รายงานผลการดาเนินงานให้ อพ.สธ. ทราบทกุ ส้นิ ปีการศึกษา อย่างน้อย ปีการศึกษาละ 1 คร้งั รายงานผลการดาเนนิ งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน โดยแสดงหลกั ฐานตัง้ แต่ข้อ 1-6 ดา้ นท่ี 2 การดาเนินงาน 1. องค์ประกอบที่ 1 การจัดทาป้ายชอื่ พรรณไม้ ลาดบั การเรียนรู้ 1) กาหนดพนื้ ท่ศี ึกษา 2) สารวจพรรณไมใ้ นพน้ื ท่ศี กึ ษา 3) ทาและติดป้ายรหัสประจาต้น 4) ต้งั ช่อื หรอื สอบถามชอ่ื และศึกษาขอ้ มูลพืน้ บา้ น (ก.7-003 หนา้ ปก - 1) 5) ทาผังแสดงตาแหนง่ พรรณไม้ 6) ศกึ ษาและบันทึกลักษณะทางพฤกษศาสตร์ (ก.7-003 หน้า 2-7) 7) บันทกึ ภาพหรอื วาดภาพทางพฤกษศาสตร์ 8) ทาตวั อย่างพรรณไม้ (ตวั อยา่ งพรรณไม้แหง้ ตวั อยา่ งพรรณไมด้ อง ตวั อยา่ งพรรณไม้ เฉพาะสว่ น) 9) เปรยี บเทยี บขอ้ มูลทสี่ รุป (ก.7-003 หนา้ 8) กับข้อมูลท่ีสืบค้นจากเอกสาร แล้ว บนั ทกึ ใน ก.7-003 หน้า 9 - 10 10) จัดระบบขอ้ มูลทะเบยี นพรรณไม้ (ก.7-005) 11) ทารา่ งป้ายชอื่ พรรณไมส้ มบูรณ์ 12) ตรวจสอบความถกู ตอ้ งทางวิชาการด้านพฤกษศาสตร์ 13) ทาป้ายช่อื พรรณไมส้ มบรู ณ์ 2. องค์ประกอบท่ี 2 การรวบรวมพรรณไมเ้ ข้าปลกู ในโรงเรยี น ลาดับการเรยี นรู้ 1) ศกึ ษาข้อมูลจากผงั พรรณไมเ้ ดมิ และศกึ ษาธรรมชาตขิ องพรรณไม้ 2) สารวจ ศกึ ษา วเิ คราะหส์ ภาพพน้ื ที่ 3) พจิ ารณาคุณ และสุนทรียภาพของพรรณไม้ 4) กาหนดการใช้ประโยชน์ในพ้นื ที่ 5) กาหนดชนิดพรรณไม้ทจ่ี ะปลูก 6) ทาผังภูมทิ ัศน์ 7) จดั หาพรรณไม้ วัสดปุ ลกู 8) ปลกู พรรณไมเ้ พิม่ เติม 9) ศึกษาพรรณไมห้ ลังการปลกู

3. องคป์ ระกอบท่ี 3 การศึกษาข้อมูลด้านตา่ งๆ ลาดบั การเรียนรู้ 1. การศกึ ษาพรรณไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน(ก.7-๐๐3) ครบตามทะเบียนพรรณไม้ 1) การมสี ่วนร่วมของผู้ศกึ ษา 2) การศึกษาขอ้ มูลพื้นบ้าน 3) การศึกษาขอ้ มูลพรรณไม้ 4) การสรุปลกั ษณะและขอ้ มลู พรรณไม้ 5) การสบื ค้นขอ้ มูลพฤกษศาสตร์ 6) การบนั ทึกข้อมูลเพ่ิมเตมิ 7) การตรวจสอบผลงานเปน็ ระยะ 8) ความเปน็ ระเบียบ ความตั้งใจ 2. การศกึ ษาพรรณไมท้ ีส่ นใจ 1) การศึกษาลักษณะภายนอก ภายในของพืชแต่ละส่วนโดยละเอียด 2) การกาหนดเรอ่ื งท่จี ะเรียนรใู้ นแตล่ ะส่วนของพืช 3) การเรยี นรู้แตล่ ะเร่อื ง แตล่ ะส่วนขององคป์ ระกอบยอ่ ย 4) การนาข้อมูลมาเปรียบเทียบความต่างในแตล่ ะเร่ือง ในชนิดเดยี วกนั 4. องคป์ ระกอบท่ี 4 การรายงานผลการเรียนรู้ ลาดบั การเรยี นรู้ 1. รวบรวมผลการเรยี นรู้ 2. คดั แยกสาระสาคญั และจดั ให้เป็นหมวดหมู่ 2.1 วิเคราะห์ เรียบเรียงสาระ 2.2 จดั ระเบียบขอ้ มูลสาระแตล่ ะดา้ น 2.3 จดั ลาดบั สาระหรือกลมุ่ สาระ 3. สรุปและเรียบเรียง 4. เรยี นรรู้ ปู แบบการเขยี นรายงาน 4.1 แบบวิชาการ 4.2 แบบบรู ณาการ 5. กาหนดรปู แบบการเขยี นรายงาน 6. เรียนรวู้ ิธีการรายงานผล 6.1 แบบเอกสาร เชน่ หนังสือ แผน่ พับ 6.2 แบบบรรยาย เช่น การเล่านทิ าน อภปิ ราย สมั มนา 6.3 แบบศิลปะ เชน่ การแสดงศิลปะพน้ื บา้ น ละคร รอ้ งเพลง ภาพวาดทางพฤกษศาสตร์ 6.4 แบบนทิ รรศการ 7. กาหนดวธิ ีการรายงานผล 5. องคป์ ระกอบที่ 5 การนาไปใชป้ ระโยชน์ทางการศึกษา ลาดบั การเรยี นรู้ 1. การนาสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี นบูรณาการสูก่ ารเรียนการสอน 1.1 การจดั ทาหลกั สูตรและการเขยี นแผนการสอนให้สอดคล้องกับหลกั สูตร แกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 1.2 การจดั เก็บผลการเรยี นรู้

2. การเผยแพร่องค์ความรู้ 2.1 การบรรยาย 2.1.1 การสนทนา 2.2.2 การเสวนา 2.2.3 สัมมนา/อภปิ ราย 2.2 การจดั แสดง 2.2.1 จัดแสดงนทิ รรศการ 2.2.2 นิทรรศการประกอบบรรยายสรปุ 2.2.3 จัดนิทรรศการเฉพาะเรอ่ื ง/ประเภท 3. การจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ 3.1 การจดั แสดงพิพธิ ภณั ฑ์ 3.2 การจดั แสดงพพิ ิธภณั ฑ์เฉพาะเรือ่ ง 3.3 การจดั แสดงพิพธิ ภณั ฑ์ธรรมชาติวิทยา (หมายเหตุ : จดั สร้างแหลง่ เรยี นรู้ตามศักยภาพ) 4. การใช้ การดแู ลรักษา และพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ (ธรรมชาติแห่งชวี ิต สรรพสง่ิ ล้วนพนั เกย่ี ว และประโยชนแ์ ทแ้ ก่มหาชน) 1. สาระการเรียนรทู้ ่ี 1 ธรรมชาตแิ หง่ ชวี ติ 1. สัมผสั เรียนร้วู งจรชีวติ ของชีวภาพ - ศกึ ษาด้านรูปลักษณ์ ได้ขอ้ มูลการเปลย่ี นแปลงและความแตกต่างดา้ นรปู ลักษณ์ - ศึกษาดา้ นคุณสมบัติ ได้ขอ้ มลู การเปลีย่ นแปลงและความแตกต่างดา้ นคณุ สมบัติ - ศึกษาด้านพฤตกิ รรม ได้ข้อมูลการเปลย่ี นแปลงและความแตกต่างด้านพฤตกิ รรม 2. เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงและความแตกต่าง - รูปลกั ษณ์กับรปู กายตน - คุณสมบตั ิกับสมรรถภาพของตน - พฤติกรรมกบั จติ อารมณแ์ ละพฤตกิ รรมของตน 3. สรุปองคค์ วามรู้ทไี่ ด้จากการศึกษาธรรมชาติแหง่ ชีวติ 4. สรปุ แนวทางเพอ่ื นาไปสกู่ ารประยกุ ต์ใชใ้ นการดาเนนิ ชีวิต 2. สาระการเรยี นรู้ท่ี 2 สรรพสิ่งลว้ นพนั เกีย่ ว 1. รวบรวมองค์ความร้ทู ไ่ี ดจ้ ากการเรียนรธู้ รรมชาตแิ หง่ ชวี ิต 2. เรยี นรธู้ รรมชาตขิ องปัจจัยชวี ภาพอ่ืนทีเ่ ขา้ มาเกีย่ วขอ้ งกบั ปจั จยั หลัก 2.1 เรยี นรูด้ า้ นรปู ลักษณ์ คณุ สมบัติ พฤตกิ รรม 2.2 สรปุ ผลการเรียนรู้ 3. เรียนรขู้ องปัจจัยกายภาพ (ดิน นา้ แสงและอากาศ ) 3.1 เรยี นรู้ดา้ นรปู ลักษณ์ คุณสมบัติ 3.2 สรุปผลการเรียนรู้ 4. เรียนรู้ธรรมชาติของปจั จยั อ่นื ๆ (ปจั จัยประกอบ เช่น วัสดุ อปุ กรณ์ อาคารสถานท)ี่ 5. เรียนรู้ธรรมชาติความสมั พนั ธ์เกยี่ วกับระหวา่ งปจั จยั 5.1 เรียนรู้ วเิ คราะห์ใหเ้ หน็ ความสมั พนั ธ์และสัมพันธภาพ 5.2 เรยี นรู้ วเิ คราะห์ให้เหน็ ความผูกพัน 6. สรปุ ผลการเรียนรู้ดุลยภาพของความพนั เกยี่ ว

3. สาระการเรยี นรู้ท่ี 3 ประโยชนแ์ ทแ้ กม่ หาชน 1. เรียนรกู้ ารวเิ คราะหศ์ กั ยภาพของปจั จัย 1.1 พจิ ารณาศักยภาพด้านรปู ลกั ษณ์ 1.2 วเิ คราะหศ์ กั ยภาพดา้ นคุณสมบตั ิ 1.3 จินตนาการศกั ยภาพดา้ นพฤตกิ รรม 2. เรยี นรู้จนิ ตนาการเหน็ คณุ ของศักยภาพของปจั จัยศึกษา 2.1 จนิ ตนาการจากการวิเคราะหศ์ กั ยภาพ 2.2 เรียนรู้สรุปคณุ ของศักยภาพ ทไ่ี ด้จากจนิ ตนาการ 3. สรรค์สรา้ งวธิ กี าร 3.1 พิจารณาคุณทีเ่ กดิ จากจนิ ตนาการ 3.2 สรา้ งแนวคิด แนวทาง วธิ กี าร 4. สรปุ ผลการเรยี นรปู้ ระโยชน์แท้แกม่ หาชน การสารวจและจดั ทาฐานทรัพยากรทอ้ งถิ่น 1. การเก็บข้อมูลพ้นื ฐานในท้องถิ่น 2. การเกบ็ ข้อมลู การประกอบอาชีพในทอ้ งถิ่น 3. การเกบ็ ข้อมลู ด้านกายภาพในทอ้ งถ่ิน 4. การเกบ็ ข้อมูลประวตั หิ มบู่ า้ น วิถี ชมุ ชน 5. การเกบ็ ข้อมลู การใช้ประโยชนข์ องพชื ในทอ้ งถ่ิน ทะเบียนพรรณไมใ้ นชุมชน 6. การเกบ็ ขอ้ มูลการใช้ประโยชนส์ ัตวใ์ นทอ้ งถ่ิน ทะเบยี นพนั ธุ์สตั ว์ในชุมชน 7. การสารวจเก็บขอ้ มูลการใช้ประโยชนช์ วี ภาพอ่ืนๆ ทะเบยี นชีวภาพอน่ื ๆในชุมชน 8. การเก็บรวบรวมภูมิปญั ญาท้องถิ่น 9. การรวบรวมข้อมลู แหล่งทรพั ยากรธรรมชาติและโบราณคดี 10. การจัดทารายงานผลการสารวจและจดั ทาฐานทรัพยากรท้องถน่ิ ด้านท่ี 3 ผลการดาเนินงาน แผนงานด้านการติดตามประเมินผล 1. การรวบรวมผลงานดา้ นท่ี 1 ดา้ นการบริหารและการจัดการ - โรงเรยี น และชุมชนมสี ว่ นรว่ ม ในงานสวน พฤกษศาสตร์โรงเรยี น - แตง่ ต้งั คณะกรรมการดาเนนิ งานงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน - วางแผนการบริหารและแผนการจัดการเรียนรู้ - ดาเนินงานตามแผน - สรปุ และประเมินผลการดาเนินงาน - วิเคราะหผ์ ลและปรับปรุงพฒั นางาน - รายงานผลการดาเนินงานให้ อพ.สธ. ทราบทุกสนิ้ ปีการศึกษา อย่างน้อย ปกี ารศึกษา ละ 1 ครัง้ รายงานผลการดาเนนิ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น โดยแสดงหลกั ฐาน ต้งั แตข่ อ้ 1-6 2. การรวบรวมผลงานด้านที่ 2 ด้านการดาเนนิ - 5 องค์ประกอบ - 3 สาระการเรยี นรู้ - การสารวจและจัดทาฐานทรพั ยากรท้องถ่ิน ด้านที่ 4 ความถูกตอ้ งทางวชิ าการด้านพฤกษศาสตร์ 1. ดา้ นท่ี 4 ความถูกต้องทางวิชาการด้านพฤกษศาสตร์ - 5 องคป์ ระกอบ : เล่ม ก.7-003 : ทะเบยี นพรรณไม้ : รายงานพชื ศกึ ษา : การเกบ็ ตวั อย่างพรรณไม้ แห้ง ดอง เฉพาะสว่ น (การถ่ายภาพ)

: การถา่ ยภาพพรรณไม้ (ลักษณณะวิสัย ราก ลาตน้ ใบ ดอก ผล และเมล็ด) : การเกบ็ ตวั อยา่ งพรรณไม้ แหง้ ดอง เฉพาะส่วน (การถา่ ยภาพ) : ปา้ ยรหสั พรรณไม้ ป้ายรา่ งพรรณไม้สมบูรณ์ และป้ายพรรณไมส้ มบูรณ์ : รายงานพืชศึกษา - 3 สาระการเรยี นรู้ - การสารวจและจัดทาฐานทรัพยากรทอ้ งถิน่ (โดยยดึ เกณฑ์การประเมินเปน็ หลัก) 8. แนวคิด/เจตคตทิ ี่ได้รบั จากการอบรม แนวทางในการดาเนนิ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ในการเตรียมความพรอ้ มเพ่อื เข้ารับการประเมินรบั เกียรติบตั รงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ข้ันท่ี 1 “เกยี รติบัตรแห่งความมงุ่ ม่นั อนุรักษ์ สรรพสง่ิ สรรพชวี ติ ด้วย จติ สานกึ ของครูและเยาวชน” การดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์ทั้ง 4 ดา้ น โดยเรมิ่ จากการดาเนินงานในด้านท่ี 1 จนถึงดา้ นที่ 4 หากมกี ารดาเนนิ งานตามขั้นตอน ทาใหง้ านประสบผลสาเร็จได้ตามเปา้ หมายทวี่ างไว้ 9. การขยายผล ประเมนิ องค์ความร้คู รใู นการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน เพอื่ สู่การพัฒนางานในระยะยาว จดั อบรมแกนนาสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียนจากรุ่นสูร่ นุ่ จานวน 30 คน ........................................................ผู้รายงาน ........................................................ผู้รายงาน (นางสาวสุดาภรณ์ สืบบุญเป่ียม) (นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา) ตาแหนง่ พนกั งานราชการ ตาแหนง่ ครผู ู้ช่วย ความเห็นของหวั หน้างานบคุ คล ............................................................................................................................................................................... ............................................ ( นางพิกลุ เหมอื งคา ) ตาแหน่ง. ครู ค.ศ. 2 ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา ............................................................................................................................................................................... ............................................ (นางวลิ าวลั ย์ ปาลี ) ผอู้ านวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31

ภาคผนวก

เขา้ รว่ มประชุมกลุ่มสมาชิกสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น คร้งั ที่ 2/2562 หลักสตู ร การบริหารและการจดั การ องค์ประกอบที่ 3 องค์ประกอบท่ี 4 และองคป์ ระกอบท่ี 5 ระหว่างวนั ท่ี 27-28 พฤษภาคม 2562 ณ หอ้ งประชุมช้นั 15 อาคารราชภฏั 90 ปี มหาวิทยาลัยราชภฏั เชียงใหม่ จงั หวัดเชียงใหม่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook