Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่9 โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก

หน่วยที่9 โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก

Published by ida6011, 2021-05-03 09:14:50

Description: หน่วยที่9 โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าชีววิทยา3 มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5 1 โดย ครสู ุดาภรณ สืบบญุ เปยม กลุม สาระการเรยี นรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาชีววิทยา3 มธั ยมศึกษาปท ่ี 5 2 แผนการจดั การเรียนรู หนวยการเรยี นรูท ่ี 9 เรอ่ื ง โครงสรา งและการเจริญเติบโตของพืชดอก แผนจัดการเรยี นรูท1่ี เร่อื ง เนอ้ื เยอื่ พืช รายวิชา ชีววิทยา4 รหสั วชิ า 32203 ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 5/1 ภาคเรียนท่ี 1 ปก ารศึกษา 2564 น้าํ หนกั เวลาเรียน 1.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 3 ชัว่ โมง/สปั ดาห เวลาที่ใชในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู 2 ช่ัวโมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสําคญั พืชดอกมีเน้ือเยื่อประกอบดวยเนอ้ื เยื่อเจริญและเนื้อเยื่อถาวร เน้ือเย่ือเจริญประกอบดวยกลุมเซลลท่ี สามารถแบงเซลลแบบไมโทซิส มีการเจริญเติบโตขยายขนาด และเปล่ียนแปลงเพื่อไปทําหนาท่ีเฉพาะสวน เนื้อเยื่อถาวรเปนกลุมเซลลท่ีเปล่ียนแปลงมาจากเนื้อเย่ือเจริญ แบงไดเปน 3 ระบบ คือ ระบบเน้ือเยื่อผิว ระบบ เนอ้ื เยือ่ พ้นื ระบบเน้ือเยอ่ื ทอ ลําเลียง ซึ่งทาํ หนา ทต่ี า งกนั ทง้ั เนอ้ื เยือ่ เจรญิ และเนอ้ื เย่ือถาวรจะมีลักษณะ และ หนาที่เฉพาะของเน้ือเย่ือแตล ะชนิด 2. มาตรฐานการเรยี นรู/ตัวชี้วดั ช้ันป/ ผลการเรยี นรู/เปา หมายการเรยี นรู ผลการเรยี นรู 5. อธบิ ายเก่ียวกับชนิดและลกั ษณะของเนอ้ื เยอ่ื พืช และเขียนแผนผังเพ่ือสรุปชนดิ ของเน้อื เยอื่ พืช 3. สาระการเรียนรู 3.1 เน้ือหาสาระหลกั : Knowledge ชนดิ และลกั ษณะของเนอื้ เย่ือเจริญและเนอื้ เยื่อถาวรของพชื จากการอภิปรายรว มกันการทาํ แบบฝก หดั และจากการเขยี นแผนผังเพอ่ื สรปุ ชนดิ ของเนื้อเยื่อพชื 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process 1) การลงความเหน็ จากขอ มลู การจําแนกประเภทจากการอภิปรายรว มกนั และการทาํ แบบฝกหัด 2) การจดั กระทาํ และส่ือความหมายขอมลู และการสื่อสารสารสนเทศและการรูเทาทันสื่อ จากการอภปิ ราย รว มกัน และการเขยี นแผนผงั เพ่ือส รุปชนดิ ของเนือ้ เยือ่ พชื 3.3 คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค : Attitude 1) สนใจใฝรใู นการศกึ ษา 2) ความอยากรูอ ยากเห็น 3) ความมวี ิจารณญาณ 4) ความใจกวาง 4. สมรรถนะสําคัญของนกั เรยี น 1) ความสามารถในการสอ่ื สาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแกปญ หา 4) ความสามารถในการใชท ักษะชีวิต 5) ความสามารถในการใชเทคโนโลยี โดย ครูสุดาภรณ สบื บญุ เปย ม กลุมสาระการเรยี นรู วิทยาศาสตร

แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าชีววิทยา3 มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5 3 5. คณุ ลักษณะของวิชา 1) ความอยากรอู ยากเห็น 2) ความมีวจิ ารณญาณ 3) ความใจกวาง 6. คณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค 1. มวี ินยั 2. ใฝเรยี นรู 3. อยอู ยางพอเพยี ง 4. มุงมน่ั ในการทาํ งาน 7. ช้นิ งาน/ภาระงาน : 1) สมุดบันทึกประสบการณการเรียนรู สรปุ สาระสาํ คัญของเร่ืองท่เี รยี น 2) แบบบนั ทึกกิจกรรม เร่อื ง เนือ้ เยือ่ พืช 3) ใบงานท่ี 1 การวเิ คราะหร ูปลักษณของพืช 4) ใบงานที่ 2 ดา นรูปลกั ษณ 5) ใบงานท่ี 3 ดานคณุ สมบัติ 8. การบรูณาการงานสวนพฤกษศาสตรโรงเรยี น งานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน ในโครงการอนรุ กั ษพ นั ธุกรรมพชื อันเนอ่ื งมาจากพระราชดาํ รสิ มเด็จ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี มีวตั ถปุ ระสงคใ หเยาวชนไดมโี อกาสใกลชดิ กับพชื พรรณไม ได เรียนรถู งึ พชื ทองถน่ิ ของตน ชวยกนั ดแู ลไมใ หส ญู พนั ธุ ซึ่งจะกอใหเกดิ จติ สาํ นกึ ในการที่ จะอนุรักษส บื ไป การ ดาํ เนินงานประกอบดวย 5 องคประกอบและ 3 สาระการเรียนรู เรอ่ื งที่จะบูรณาการ (หัวขอยอยในแบบประเมนิ ) องคป ระกอบที่ 3 การศึกษาขอมูลดานตา งๆ ลําดับการเรียนรูท ่ี 2 การศึกษาพรรณไมท ี่สนใจ 1. การศึกษาลักษณะภายนอก ภายในของพืชแตละสวนโดยละเอยี ด สาระการเรียนรู ธรรมชาตแิ หงชีวติ ลาํ ดับการเรยี นรูท ่ี 1 สัมผัสเรียนรูวงจรชวี ิตของชวี ภาพอน่ื ๆ 1.1 ศกึ ษาดา นรูปลักษณ ไดขอมูลการเปลีย่ นแปลงและความแตกตางดานรปู ลักษณ 1.2 ศกึ ษาดานคุณสมบตั ิ ไดข อ มูลการเปลย่ี นแปลงและความแตกตางดานคุณสมบัติ 9. กจิ กรรมการเรียนรู ชัว่ โมงท่ี 1 ขนั้ นําเขาสบู ทเรียน/ขั้นตงั้ คําถาม 1. ครูแจงตวั ชวี้ ัดประจําหนวยการเรยี นรใู หน กั เรยี นทราบ 2. ครูใหนกั เรยี นทาํ แบบทดสอบกอ นเรยี น หนวยท่ี 1 (ออนไลน) เรอื่ ง โครงสรา งและการเจรญิ เตบิ โต ของพชื ดอก โดย ครูสดุ าภรณ สืบบญุ เปย ม กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาชีววิทยา3 มธั ยมศึกษาปท ี่ 5 4 ขนั้ สํารวจและคน พบ/ขน้ั การเตรยี มการคน หาคําตอบ 1. ครูอธิบายและมอบหมายใหน ักเรยี นศึกษารายละเอยี ดของกจิ กรรม เร่อื ง เน้ือเยื่อพืช โดยเฉพาะ วสั ดแุ ละอปุ กรณและวธิ ีการ ทาํ กิจกรรม เพือ่ เตรียมการลวงหนา กอ นถงึ วนั ทาํ กิจกรรมจริง 2. ครคู วรศกึ ษาโครงสรา งภายในของใบพืชใบเลยี งคแู ละใบเลียงเดยี่ วท่ตี อ งการศกึ ษาลว งหนา กอน สอน จริง เพื่อใหครสู ามารถใหคา แนะนาและตอบคาถามแกนกั เรียนไดอยางมั่นใจ ชัว่ โมงที่ 2-3 ข้ันนําเขาสบู ทเรยี น/ข้ันต้ังคําถาม 1. ครูใชใบพืชใบกลวยผาใหนักเรยี นสังเกตโครงสรางภายนอกของใบ อธิบายเกีย่ วกับหนา ทีข่ องใบ จากนนั้ ใชคําถามถามนกั เรยี นวา โครงสรา งของใบ ประกอบดว ยเนอื้ เยือ่ อะไร มีความสมั พนั ธกับการสังเคราะหดวยแสงและการ แลกเปลีย่ นแกส และคายน้าํ อยางไร (คาํ ตอบอาจมไี ดห ลากหลายซ่ึงนกั เรียนจะไดคําตอบหลังจากเรยี น เรอ่ื ง โครงสรา งและการเจริญเตบิ โตของใบ) ข้ันสํารวจและคน พบ/ขั้นการเตรยี มการคน หาคาํ ตอบ 1. ครูใหนักเรียนสืบคนขอมูลเนื้อเยอ่ื พืชในใบความรเู พื่อสรุปวาเนอ้ื เยื่อพชื เปนกลุมของ เซลลพ ชื ที่มี การเจริญและเปลยี่ นแปลงเพ่ือทําหนาทเ่ี ฉพาะ และใชคําถามเพ่อื อภปิ ราย ดังน้ี - ลกั ษณะรว มท่ีสาํ คญั ของเซลลพชื คืออะไร - ผนงั เซลลพ ชื ประกอบดวย อะไรบา ง - ผนังเซลลแ ตละสวนมีลกั ษณะและความสําคญั อยางไร (จากการอภิปรายรวมกันโดยใชรูป นักเรียนควรอธิบายไดวา ผนังเซลลของพืชเปนลักษณะรวมกัน ของเซลลพ ชื แตละชนิด โดยเซลลพ ชื มผี นังเซลลเ ปน กรอบลอ มอยูรอบนอกและใหความแข็งแรงแก โครงสราง เซลลพืช ผนงั เซลลของเซลลพืช ประกอบดว ย มดิ เดิลลาเมลลา ผนังเซลลปฐมภูมิ และผนังเซลล ทุติยภูมิ โดย แตล ะสว นมีลกั ษณะและความสาํ คัญท่ีแตกตา งกัน) 2. ครูใชคําถามนาํ เพอื่ ใหไดข อ สรปุ ถงึ ประเภทของเน้อื เยื่อพืชทแี่ บงตามความสามารถในการแบง เซลลหรือ อธิบายใหน กั เรียนฟง วา เน้อื เย่อื พชื แบงตามความสามารถในการแบง เซลลไ ดเปน 2 ประเภท ไดแ ก เนอื้ เยอ่ื เจริญ และเนอ้ื เยือ่ ถาวร จากน้ันครูใชคาํ ถามนาํ เพ่อื เขาสูเนอ้ื หาเก่ยี วกับเน้อื เยอ่ื เจรญิ และเนอ้ื เยือ่ ถาวรถามนักเรียนวา - เน้อื เยือ่ เจริญและเนอื้ เย่อื ถาวรพบท่ีสวนใดของพชื เนือ้ เยื่อแตล ะชนิดมหี นา ท่ี ทีม่ ีความสําคญั ตอ การดาํ รงชีวิตของพชื ดอกอยา งไร (แนวคําตอบ อาจมไี ดห ลากหลายซ่ึงนกั เรียนจะไดค ําตอบหลงั จากเรยี น เร่อื งเน้อื เยอื่ เจริญ และ เนือ้ เยื่อถาวร) 3. ครูใหนักเรียนศกึ ษาขอมลู เกยี่ วกับเน้ือเยอื่ เจริญในใบความรู แลวอภปิ รายรว มกัน โดยใชค าํ ถาม ดงั น้ี - เนอ้ื เย่ือเจริญประกอบดว ยเซลลอะไร เซลลม ลี ักษณะ และมีสมบตั ิอยางไร - เซลลท ่ไี ดจากการแบงเซลล แบบไมโทซิส ของเนื้อเยื่อเจรญิ จะเปลยี่ นแปลงอยางไรตอ ไป - หากแบง ประเภทเนื้อเยื่อเจริญ ตามตําแหนงท่อี ยู จะแบงไดก ่ีประเภท อะไรบา ง โดย ครสู ุดาภรณ สืบบญุ เปย ม กลุมสาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาชีววิทยา3 มธั ยมศกึ ษาปที่ 5 5 (จากการอภิปรายรวมกัน นักเรียนควรจะสรุปไดวา เนื้อเย่ือเจรญิ ประกอบดว ยเซลลเจริญทีม่ ีผนงั เซลลปฐมภูมบิ าง มนี วิ เคลยี สขนาดใหญเ มอ่ื เทียบกบั ขนาดของเซลล แบง เซลลแบบไมโทซสิ เพื่อเพม่ิ จาํ นวนได ตลอดชวี ิตของเซลล และเซลลท ่ไี ดจากการแบงสวนหนง่ึ จะเปลี่ยนแปลงเปน เนอ้ื เย่อื ถาวร เพอ่ื ทําหนาทีเ่ ฉพาะ ตอไป เน้ือเยอื่ เจรญิ แบง ตามตาํ แหนง ทอ่ี ยูไดเปน 3 ประเภท ไดแ ก เนอ้ื เยื่อ เจริญสวนปลาย เนอื้ เย่ือเจรญิ ดานขา ง และเนื้อเยอ่ื เจริญเหนือขอ) 4. ครอู าจอธิบายเพ่มิ เตมิ วาเซลลล ูกสวนหน่ึงทไ่ี ดจ ากการแบง เซลลแ บบไมโทซิสจะเปล่ียนแปลงไปทาํ หนาท่ี เฉพาะ และเซลลลกู อกี สวนหนึ่งทีเ่ หลอื จะยังคงทาํ หนา ทเ่ี ปนเซลลเจริญเพื่อทาํ หนา ทแ่ี บงเซลลตอ ไป ขน้ั อธิบายและลงขอ สรุป/ข้ันดําเนินการคนหาคาํ ตอบและตรวจสอบคําตอบ 1. ครแู ละนักเรยี นอภปิ รายรวมกันเก่ยี วกบั ลักษณะและชนิดของเน้อื เย่ือเจริญโดยใชรูปประกอบ เพือ่ ใหไ ดขอสรุป ดงั นี้ 1.1 เนอ้ื เย่ือเจรญิ สว นปลายพบที่บรเิ วณปลายยอด มหี นา ทแี่ บง เซลลทําใหลําตนและกง่ิ ยาวขนึ้ รวมทง้ั สรา งลําตน กง่ิ และใบ และพบที่บรเิ วณปลายรากมีหนาท่ีแบงเซลลทําใหรากยาวขึ้น โดยการ เจริญเตบิ โตที่ เกิดจากการแบงเซลลของเนื้อเย่ือเจริญสวนปลายจดั เปนการเติบโตปฐมภูมิ 1.2 เนอื้ เยื่อเจรญิ ดานขา งอยใู นแนวขนานกับเสน รอบวงมกี ารแบงเซลลเ พิ่มจํานวนออกทางดา นขาง ทาํ ให รากและลาํ ตน ขยายขนาดใหญข ้นึ โดยการเตบิ โตทเี่ กิดจากการแบงเซลลข อง เนือ้ เย่อื เจริญดานขาง จดั เปน การเติบโตทตุ ยิ ภมู ิ พบในรากและลําตน ของพชื ใบเลยี้ งคูท่ัวไปและพชื ใบเล้ยี งเด่ียว บางชนิด เนอื้ เยอ่ื เจรญิ ดา นขางเรยี กอกี อยา งวา แคมเบยี ม แบง ตามการทาํ หนาที่ไดเปน 2 ประเภท ไดแ ก - วาสควิ ลารแคมเบยี ม มีหนา ทแี่ บง เซลลทาํ ใหเกิดเน้อื เยื่อทอ ลําเลียงเพิ่มข้นึ ในการเตบิ โตทุตยิ ภมู ิ วาสคิวลารแคมเบียมพบอยูระหวา งเนอื้ เย่อื ทอ ลําเลียงนํ้าและทอลาํ เลียงอาหาร - คอรกแคมเบียม มหี นาท่ีแบงเซลลใหค อรก และเน้ือเยื่ออื่น ๆ เพ่ือทาํ หนา ทีแ่ ทนเนื้อเยือ่ ผวิ เดิมใน การ เตบิ โตทตุ ิยภูมิในพืชบางชนิด 3. เนอื้ เย่อื เจรญิ เหนอื ขอเปน เนื้อเยื่อเจรญิ อยรู ะหวา งขอ มหี นา ท่ีแบง เซลลเพ่มิ จํานวนทาํ ใหป ลองของ พชื ใบเล้ียงเดยี่ วยดื ยาว 3.1 ครูใหนักเรียนศกึ ษาขอ มูลเนอื้ เย่อื ถาวร และรูปประกอบ ซงึ่ แสดงตาํ แหนง ของระบบเนือ้ เย่อื ใน พชื ใบเล้ยี งคู แลว อภปิ รายรวมกัน โดยใชค ําถาม ดงั น้ี - เนือ้ เยอื่ ถาวรเปล่ยี นแปลงมาจากเน้ือเยอื่ อะไร - เนอ้ื เยอ่ื ถาวรประกอบดว ยเซลลอ ะไร เซลลมีลักษณะเปนอยางไร (จากการอภปิ รายรวมกัน นกั เรียนควรจะสรปุ ไดว าเนือ้ เยอ่ื ถาวรเปลยี่ นแปลงมาจากเนือ้ เย่อื เจรญิ ประกอบดว ยเซลลท เ่ี จริญเตม็ ท่ี มรี ูปรา งคงท่ี ทาํ หนาที่ตา ง ๆ ตามลักษณะโครงสรางของเซลล สว นใหญจ ะไม สามารถแบงเซลลไดอ กี ตอไป) 3.2 ครูใหนกั เรียนศึกษาขอมูลเน้ือเย่ือถาวร และรูปภาพประกอบ ซ่งึ แสดงตําแหนง ของระบบเนอื้ เยอ่ื ในพชื ใบเลีย้ งคู แลว อภปิ รายรวมกัน โดยใชคาํ ถามดงั น้ี - เน้ือเยอื่ ถาวรเปลีย่ นแปลงมาจากเน้ือเย่อื อะไร - เนื้อเยอ่ื ถาวรประกอบดวยเซลลอะไร เซลลมีลกั ษณะเปน อยางไร (จากการอภิปรายรวมกัน นักเรยี นควรจะสรปุ ไดว าเนื้อเยอื่ ถาวรเปลีย่ นแปลงมาจากเนอ้ื เยอ่ื เจรญิ ประกอบดวยเซลลที่เจริญเตม็ ท่ี มรี ูปรา งคงที่ ทําหนาที่ตาง ๆ ตามลกั ษณะโครงสรา งของเซลล สว นใหญจะไม สามรถแบงเซลลไ ดอกี ตอ ไป) โดย ครสู ุดาภรณ สบื บญุ เปยม กลุมสาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าชวี วิทยา3 มธั ยมศกึ ษาปที่ 5 6 3.3 ครูอธบิ ายเพ่มิ เติมวาเนื้อเยอื่ ถาวรแบง ตามหนาที่ได 3 ระบบ ไดแก ระบบเนอื้ เยือ่ ผิว ระบบ เน้อื เยอื่ พื้น ระบบเนื้อเยื่อทอ ลาํ เลียง จากน้ันครใู ชร ปู ภาพ ซึ่งแสดงเน้อื เยอ่ื ถาวรและใหนกั เรียน อภิปราย รวมกนั เพ่ือใหไดขอ สรุป ดงั น้ี 1. ระบบเน้ือเยือ่ ผิว ประกอบดว ยเอพิเดอรมิส ทําหนาทีป่ อ งกันเนอ้ื เยอ่ื ดา นในของพชื ในระยะการ เตบิ โต ปฐมภมู ิ และเพรเิ ดริ ม เปน เนอื้ เย่ือที่เจริญขนึ้ มาแทนเอพเิ ดอรม ิสของรากและลําตน พชื บางชนดิ ใน ระยะการเตบิ โตทตุ ิยภูมิ พรอมกับช้ตี ําแหนงในรูปพรอมอธบิ ายนักเรยี นวา จะพบระบบเนื้อเย่ือนี้อยู ดานนอก ของอวยั วะตางๆ ของพชื 2. ระบบเน้อื เย่ือพน้ื ประกอบดว ยเน้ือเย่อื อนื่ ท่ีไมใ ชเน้อื เยื่อผวิ และเนื้อเย่ือทอลําเลยี ง พรอมกับชี้ ตําแหนงในรูปพรอ มอธบิ ายนกั เรยี นวาจะพบระบบเนือ้ เย่อื พน้ื เปนสวนใหญใ นอวยั วะตาง ๆ ของพชื 3. ระบบเน้ือเย่ือทอ ลําเลยี ง ประกอบดวยไซเลม็ และโฟลเอม็ พรอมกับชต้ี ําแหนงในรปู พรอ มอธบิ าย นกั เรียนวา ระบบเนือ้ เยอ่ื ทอ ลาํ เลยี งจะติดตอกันเปน เสน ทางลําเลียง น้ํา ธาตอุ าหารและอาหารไปท้ัง ตน ของ พชื 3.4 ครูเชอื่ มโยงเขาสชู นดิ เน้อื เยื่อถาวร โดยใชคาํ ถามถามนักเรียนวา - เน้อื เยื่อถาวรที่สาํ คญั ตอการดาํ รงชีวติ ของพืชมอี ะไรบาง (แนวคําตอบ เอพเิ ดอรม สิ พาเรงคิมา คอลเลงคิมา สเกลอเรงคิมา ไซเล็ม โฟลเอ็ม) - เนื้อเยอ่ื ถาวรแตละชนิดมลี กั ษณะและหนาทีท่ ี่มีความสาํ คัญตอการดาํ รงชีวติ ของพชื ดอกอยา งไร (แนวคําตอบ มไี ดหลากหลายซ่ึงนกั เรียนจะไดคําตอบหลังจากเรียนเรอื่ งเนอ้ื เยื่อถาวร) 3.5 ครูและนักเรยี นรว มกันอภิปรายเก่ียวกบั ลักษณะและหนาทขี่ องเน้ือเยือ่ ถาวร ท้งั 6 ชนดิ เพ่อื ให ไดขอสรปุ เก่ียวกบั ลกั ษณะและประเภทของเนือ้ เยื่อถาวร ท้ัง 6 ชนดิ ซง่ึ มคี วามหลากหลายทงั้ ลักษณะและ หนา ท่ี ข้นั ขยายความรูแ ละนาํ เสนอผลการคนหาคาํ ตอบ 1. ครใู ชร ปู แสดงการจดั เรยี งเน้อื เยือ่ ถาวรของลําตนหมอนอยและขาวโพดเพ่ือสรุปวา พชื แตละชนิด มี การจดั เรยี งตวั ของเน้อื เย่อื ถาวรท่ีแตกตางกัน แตมอี งคประกอบของระบบเนอ้ื เย่อื ทีเ่ หมือนกนั จากน้ัน ครูและ นักเรียนรวมกนั อภปิ รายและสรุปเกีย่ วกับเนื้อเยอ่ื พชื โดยใชคําถามตรวจสอบความเขาใจ ดงั นี้ - ใหน ักเรยี นเขยี นแผนผงั สรปุ ชนิดของเนื้อเย่ือพชื พรอ มท้งั บอกหนา ทแี่ ละความสําคัญของเน้ือเยื่อ พชื โดย ครูสดุ าภรณ สบื บญุ เปย ม กลมุ สาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าชวี วิทยา3 มธั ยมศึกษาปท ่ี 5 7 2. ในการสรุปความรูเนื้อเย่ือพืชเปนรูปแบบแผนผังจากคําถามตรวจสอบความเขา ใจ ครอู าจแบงนกั เรียนเปน กลุมเพื่อสรุปแผนผัง ดังน้ี 1. คน หาขอ มลู เก่ยี วกับลกั ษณะของเนอ้ื เยือ่ พชื แตละชนดิ โดยใชโ ทรศัพทเคลือ่ นท่ี แท็บเล็ต คอมพวิ เตอร หรืออปุ กรณท ่ีสามารถใชค น หารูปจากอินเทอรเ น็ตได 2. เลอื กวิธกี ารนาํ เสนอแผนผังระหวางการเขยี นหรอื วาดแผนผงั ลงในกระดาษ ใชโปรแกรมจาก คอมพิวเตอร แอพพลเิ คชั่นจากโทรศัพทเคลื่อนท่ี หรือแทบ็ เล็ต 3. ออกแบบแผนผังสรุปชนดิ ของเนอ้ื เยื่อพชื พรอ มท้ังตดิ หรอื ใสรปู ทีส่ ืบคนไดล งในแผนผัง และใส หนา ที่ หรอื ความสําคัญอยา งยอของเนอ้ื เยอ่ื พืช 4. นาํ เสนอแผนผงั สรปุ ชนิดของเนอ้ื เย่ือพืชตอช้ันเรยี น โดย ครสู ุดาภรณ สบื บุญเปย ม กลุมสาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาชวี วิทยา3 มธั ยมศกึ ษาปที่ 5 8 5. รวมกนั ตรวจสอบขอมลู เพอื่ ใหไ ดแผนผงั ที่ถูกตอง 3. ครอู ธบิ ายเพ่ิมเติมวาเนอ้ื เยื่อพชื แตล ะชนดิ มโี ครงสรางและหนา ท่เี ฉพาะซง่ึ ทาํ งานรวมกนั ไดอยางเปน ระบบ เพ่อื ทาํ ใหพ ืชเจริญเตบิ โต โดยเนอื้ เย่อื พชื มกี ารจัดเรียงตัวทแ่ี ตกตางกันอยูภายในโครงสรา งราก ลําตน และใบ จากนน้ั ใชค าํ ถามเพ่อื เชื่อมโยงเขาสเู ร่ือง โครงสรางและการเจรญิ เตบิ โตของ ราก ลําตน และใบวา - รูปแบบการจัดเรียงตวั ของเนือ้ เยือ่ พืชภายในโครงสรางราก ลําตน และใบ แตกตางกนั และสมั พนั ธ กบั การทาํ หนา ท่ีของแตละอวยั วะอยางไร (แนวคําตอบ มไี ดหลากหลายซงึ่ นกั เรียนจะไดค ําตอบหลงั จากเรียน เรื่อง โครงสรา งและการ เจรญิ เตบิ โตของ ราก ลําตน และใบ) ข้ันสรุปและประเมนิ ผล 1) ตรวจสมดุ บันทกึ ประสบการณการเรียนรู สรุปสาระสําคญั ของเรอื่ งทเ่ี รยี น 2) ตรวจแบบบันทกึ กิจกรรม เร่อื ง เน้ือเยื่อพชื 3) ตรวจใบงานที่ 1 การวิเคราะหรปู ลกั ษณข องพืช 4) ตรวจใบงานที่ 2 ดา นรูปลกั ษณ 5) ตรวจใบงานที่ 3 ดา นคุณสมบัติ 9. ส่ือการเรียนการสอน / แหลง เรยี นรู จํานวน สภาพการใชส อ่ื รายการสอ่ื 1 ชุด ขั้นสํารวจและคนพบ 1. แบบทดสอบกอ นเรียน (ออนไลน) เรอื่ ง 1 ชุด ขน้ั อธบิ ายและลงขอ สรปุ โครงสรา งและการเจริญเติบโตของพชื ดอก 1 ชดุ ขั้นอธบิ ายและลงขอ สรุป 2. สมดุ บันทึกประสบการณการเรียนรู สรุปสาระสําคญั ของเรือ่ งทเี่ รียน 1 ชดุ ขั้นสํารวจและคน พบ 3. แบบบนั ทกึ กจิ กรรม เรอื่ ง เนือ้ เยื่อพืช 1 ชุด ข้ันอธบิ ายและลงขอสรปุ 4. ใบงานที่ 1 การวเิ คราะหรปู ลักษณของพืช 1 ชดุ ข้นั อธิบายและลงขอสรุป 5. ใบงานท่ี 2 ดานรูปลักษณ 6. ใบงานท่ี 3 ดานคณุ สมบตั ิ โดย ครูสุดาภรณ สบื บุญเปย ม กลุมสาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาชีววิทยา3 มธั ยมศึกษาปที่ 5 9 10. การวดั ผลและประเมินผล เปา หมาย หลกั ฐานการเรยี นรู วธิ ีวัด เคร่ืองมอื วัดฯ ประเด็น/ การเรียนรู ชน้ิ งาน/ภาระงาน แบบทดสอบกอ นเรยี น เกณฑก ารให นักเรียนอธบิ าย 1. แบบทดสอบกอ น ตรวจแบบทดสอบ คะแนน เกยี่ วกบั ชนิดและ เรยี น หนวยการ กอ นเรียน ประเมนิ ตามสภาพ ลักษณะของเนอื้ เยื่อ เรียนรทู ี่ 1 จรงิ พชื และเขียน 2. สมุดบนั ทึก ตรวจสมดุ บนั ทึก แบบประเมินสมุดบนั ทึก รอยละ 65 ผา น แผนผงั เพือ่ สรุปชนดิ ประสบการณก าร ประสบการณการ เกณฑ ของเน้อื เยอื่ พชื และ เรียนรู สรุปสาระสําคัญ เรียนรู สรุป ลงความเห็นจาก ของเรื่องที่เรยี น สาระสําคัญของ ขอ มูล การจําแนก เรอ่ื งทเ่ี รียน ประเภทจากการ 3. แบบบนั ทกึ กจิ กรรม ตรวจแบบบนั ทึก แบบบันทกึ กจิ กรรม รอยละ 65 ผาน อภปิ รายรวมกัน เร่อื ง เนอื้ เยอื่ พืช กจิ กรรม เร่ือง เร่ือง เนอ้ื เย่ือพชื เกณฑ และการทํา เน้อื เย่ือพชื แบบประเมินใบงาน แบบฝกหดั รวมถงึ รอยละ 65 ผาน การจัดกระทําและ 4. ใบงานท่ี 1 การ ตรวจใบงานที่ 1 แบบประเมินใบงาน เกณฑ สื่อความหมายขอ มลู วเิ คราะหร ปู ลกั ษณของ การวิเคราะห แบบประเมินใบงาน และการสอื่ สาร พืช รปู ลกั ษณข องพชื ผลงานทน่ี าํ เสนอ รอ ยละ 65 ผา น สารสนเทศและการ 5. ใบงานที่ 2 ดาน ตรวจใบงานท่ี 2 เกณฑ รูเทาทันส่ือ จากการ รูปลกั ษณ ดานรปู ลกั ษณ รอ ยละ 65 ผา น เกณฑ อภิปราย รว มกนั 6. ใบงานที่ 3 ดาน ตรวจใบงานที่ 3 ระดบั คุณภาพ 2 และการเขยี นแผนผัง คณุ สมบัติ ดานคณุ สมบัติ ผานเกณฑ เพื่อสรปุ ชนดิ ของ 7. การนําเสนอผลงาน ประเมนิ การ เน้อื เยือ่ พืช นาํ เสนอผลงาน 8. พฤตกิ รรมการ สังเกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2 ทํางานรายบคุ คล การทาํ งาน การทํางานรายบคุ คล ผา นเกณฑ รายบคุ คล ระดบั คณุ ภาพ 2 9. พฤตกิ รรมการ สงั เกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤตกิ รรม ผา นเกณฑ ทํางานรายกลุม การทํางานรายกลุม การทํางานรายกลุม 9. คณุ ลกั ษณะ สงั เกตความมีวินัย แบบประเมิน ระดบั คณุ ภาพ 2 อันพงึ ประสงค ใฝเรียนรแู ละมงุ มั่น คณุ ลักษณะ ผานเกณฑ ในการทาํ งาน อันพงึ ประสงค โดย ครูสดุ าภรณ สืบบญุ เปยม กลมุ สาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาชีววิทยา3 มธั ยมศกึ ษาปที่ 5 10 แบบประเมนิ การนําเสนอผลงาน คาํ ชี้แจง : ใหผ ูสอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวางเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว ขีด ลงในชอ งที่ ตรงกบั ระดับคะแนน ลําดบั ที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 32 1 เน้อื หาละเอยี ดชัดเจน  2 ความถกู ตองของเน้ือหา   3 ภาษาที่ใชเขาใจงา ย   4 ประโยชนท ไ่ี ดจากการนาํ เสนอ   5 วธิ กี ารนาํ เสนอผลงาน    รวม ลงชือ่ ...................................................ผูป ระเมนิ (นางสาวสุดาภรณ สบื บญุ เปย ม) ............./................../............... เกณฑการใหค ะแนน ให 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคลอ งกับรายการประเมนิ สมบรู ณชัดเจน ให 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคลอ งกบั รายการประเมนิ เปน สว นใหญ ให 1 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคลอ งกับรายการประเมินบางสวน เกณฑก ารตัดสนิ คณุ ภาพ ชวงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14 - 15 ดีมาก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช ตํ่ากวา 8 ปรับปรุง โดย ครสู ุดาภรณ สืบบุญเปย ม กลุมสาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาชวี วิทยา3 มธั ยมศึกษาปท่ี 5 11 แบบสงั เกตพฤติกรรมการทาํ งานรายบคุ คล คําชีแ้ จง : ใหผสู อนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว ขีด ลงในชองที่ ตรงกบั ระดับคะแนน ลําดบั ท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน 3 21 1 การแสดงความคิดเห็น   2 การยอมรบั ฟง ความคิดเหน็ ของผูอ น่ื   3 การทํางานตามหนาที่ท่ไี ดรับมอบหมาย   4 ความมนี า้ํ ใจ   5 การตรงตอ เวลา   รวม ลงชอ่ื ...................................................ผปู ระเมนิ (นางสาวสดุ าภรณ สบื บญุ เปย ม) ............./................../............... เกณฑการใหคะแนน ให 3 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤติกรรมอยา งสมาํ่ เสมอ ให 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบอ ยคร้งั ให 1 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั เกณฑก ารตัดสินคณุ ภาพ ชวงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14 - 15 ดีมาก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช ต่าํ กวา 8 ปรับปรุง โดย ครูสุดาภรณ สบื บญุ เปย ม กลุมสาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาชวี วิทยา3 มธั ยมศกึ ษาปที่ 5 12 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทํางานกลุม คาํ ช้แี จง : ใหผสู อนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลวขดี ลงในชองที่ ตรงกับระดับคะแนน การมี ลาํ ดบั ท่ี ช่อื – สกุล การแสดง การยอมรับ การทํางาน ความมี สว นรวมใน รวม ของนักเรียน ความ ฟงคนอื่น ตามทไ่ี ดร ับ นํา้ ใจ 15 คิดเห็น การ คะแนน มอบหมาย ปรบั ปรุง ผลงานกลุม 321321321321321 ลงชอื่ ...................................................ผปู ระเมิน (นางสาวสดุ าภรณ สืบบุญเปย ม) ............../.................../............... เกณฑการใหคะแนน ให 3 คะแนน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา งสมํา่ เสมอ ให 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบอยครงั้ ให 1 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั เกณฑการตัดสนิ คุณภาพ ชว งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14 - 15 ดีมาก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช ตํ่ากวา 8 ปรบั ปรงุ โดย ครูสดุ าภรณ สืบบุญเปย ม กลมุ สาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาชวี วิทยา3 มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5 13 แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค คาํ ชีแ้ จง : ใหผูส อนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว ขดี ลงในชองที่ ตรงกบั ระดับคะแนน คุณลักษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อันพึงประสงคดาน 321 1. มวี ินยั รบั ผิดชอบ 1.1 ปฏิบตั ติ ามขอตกลง กฎเกณฑ ระเบียบ ขอ บังคบั ของครอบครวั มีความตรงตอ เวลาในการปฏิบัตกิ ิจกรรมตาง ๆ ในชวี ิตประจาํ วัน 2. ใฝเ รียนรู 2.1 รจู กั ใชเวลาวา งใหเปน ประโยชน และนาํ ไปปฏบิ ตั ไิ ด 2.2 รจู ักจดั สรรเวลาใหเ หมาะสม 2.3 เช่ือฟงคาํ สั่งสอนของบิดา - มารดา โดยไมโตแ ยง 2.4 ตั้งใจเรียน 3. อยอู ยา งพอเพยี ง 3.1 ใชท รพั ยส ินและสิ่งของของโรงเรยี นอยางประหยัด 3.2 ใชอ ปุ กรณก ารเรียนอยา งประหยัดและรูคุณคา 3.3 ใชจ า ยอยางประหยัดและมีการเกบ็ ออมเงิน 4. มุงม่ันในการทํางาน 4.1 มคี วามตั้งใจและพยายามในการทํางานที่ไดรบั มอบหมาย 4.2 มคี วามอดทนและไมท อแทตออปุ สรรคเพ่ือใหง านสําเร็จ ลงช่ือ...................................................ผปู ระเมิน (นางสาวสุดาภรณ สืบบุญเปยม) ............../.................../................ เกณฑการใหค ะแนน พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัติชัดเจนและสม่ําเสมอ ให 3 คะแนน พฤติกรรมทปี่ ฏิบัติชัดเจนและบอ ยคร้ัง ให 2 คะแนน พฤตกิ รรมทีป่ ฏบิ ัตบิ างครัง้ ให 1 คะแนน เกณฑก ารตัดสนิ คุณภาพ ชว งคะแนน ระดับคุณภาพ 51 - 60 ดีมาก 41 - 50 ดี 30 - 40 พอใช ตํา่ กวา 30 ปรับปรงุ โดย ครูสดุ าภรณ สบื บุญเปยม กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าชวี วิทยา3 มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 5 14 11. ความเห็นของผูบริหารสถานศึกษาหรือผทู ่ีไดรับมอบหมาย ขอเสนอแนะ ลงชอื่ .................................................. (นายอดิศร แดงเรอื น) 13. บันทึกผลหลงั การสอน  เนือ้ หา  กจิ กรรมการเรียนรู  สอ่ื ประกอบการเรียนรู  พฤติกรรม/การมีสว นรว มของผเู รยี น ลงช่อื ..................................................ผูส อน (นางสาวสุดาภรณ สบื บญุ เปยม) ตาํ แหนง พนักงานราชการ โดย ครสู ดุ าภรณ สืบบญุ เปย ม กลมุ สาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาชีววิทยา3 มธั ยมศึกษาปท ี่ 5 15 แผนการจดั การเรยี นรู หนวยการเรยี นรทู ่ี 9 เรอื่ ง โครงสรา งและการเจรญิ เตบิ โตของพืชดอก แผนจดั การเรียนรทู 2่ี เรอ่ื ง โครงสรา งและการเจรญิ เติบโตของราก รายวิชา ชีววทิ ยา4 รหสั วชิ า 32203 ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 5/1 ภาคเรียนที่ 1 ปการศกึ ษา 2564 นา้ํ หนักเวลาเรยี น 1.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 3 ชวั่ โมง/สปั ดาห เวลาทใี่ ชใ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู 4 ชัว่ โมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสําคัญ ราก คอื สว นแกนของพืชที่ทวั่ ไปเจริญอยูใตระดับผิวดนิ ทาํ หนาท่ียึดหรือคํ้าจุนใหพ ืชเจริญเติบโตอยูกับ ทไ่ี ด และยังมีหนา ทส่ี าํ คัญในการดดู น้าํ และธาตอุ าหารในดนิ เพอื่ สงไปยงั สว นตาง ๆ ของพืช โครงสรางภายใน ของรากระยะการเตบิ โตปฐมภมู ิ เมือ่ ตัดตามขวางจะเห็นโครงสรางแบงเปน 3 ชนั้ เรยี งจากดานนอกเขาไป คือ เอพเิ ดอรม ิส คอรเ ทกซ และสตีล ในระยะการเติบโตทตุ ยิ ภมู ขิ องรากเอพิเดอรม สิ อาจจะถกู แทนท่ีดวยเพริเดิรม ลกั ษณะมดั ทอ ลาํ เลยี งจะเปล่ียนไปเน่อื งจากมีการสรางเน้อื เย่อื ทอลําเลียงเพ่ิมขึน้ 2. มาตรฐานการเรยี นรู/ ตวั ชีว้ ดั ชน้ั ป/ผลการเรียนรู/เปาหมายการเรยี นรู ผลการเรียนรู 6. สังเกต อธิบาย และเปรียบเทยี บโครงสรา งภายในของรากพืชใบเลยี้ งเดย่ี ว และรากพชื ใบเลย้ี งคู จากการตดั ตามขวาง 3. สาระการเรยี นรู 3.1 เนอื้ หาสาระหลกั : Knowledge บอกหนาท่ีของรากพชื ดอก โครงสรา งของปลายรากตัดตามยาว และการเปรยี บเทยี บ โครงสรางภายในของรากพืชใบเลี้ยงคู และรากพืชใบเลย้ี งเด่ียวจากการตดั ตามขวางจากการเรยี น และการทํากิจกรรม 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process 1) การสังเกต การจําแนกประเภท จากการทา กจิ กรรม 2) การจัดกระทาํ และสือ่ ความหมายขอ มลู การส่ือสารสารสนเทศและการรูเทา ทนั ส่ือจากรปู วาด คําบรรยายของรปู ตัวอยางพชื และบนั ทึกผลการทดลอง 3.3 คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค : Attitude 1) สนใจใฝร ูในการศึกษา 2) ความอยากรูอยากเหน็ 3) ความมีวิจารณญาณ 4) ความใจกวา ง 4. สมรรถนะสําคญั ของนกั เรยี น 1) ความสามารถในการสือ่ สาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแกปญ หา 4) ความสามารถในการใชทักษะชีวิต 5) ความสามารถในการใชเทคโนโลยี โดย ครสู ุดาภรณ สืบบุญเปย ม กลุมสาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาชีววิทยา3 มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5 16 5. คุณลกั ษณะของวิชา 1) ความอยากรอู ยากเหน็ 2) ความมวี จิ ารณญาณ 3) ความใจกวาง 6. คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค 1. มีวนิ ยั 2. ใฝเ รียนรู 3. อยอู ยางพอเพยี ง 4. มงุ ม่ันในการทาํ งาน 7. ช้นิ งาน/ภาระงาน : 1) สมุดบันทึกประสบการณการเรยี นรู สรปุ สาระสาํ คญั ของเรอ่ื งท่ีเรียน 2) แบบบันทึกกิจกรรม เรื่อง โครงสรา งภายนอกและการเจรญิ เติบโตของราก 3) แบบบันทึกกจิ กรรม เรอื่ ง โครงสรา งปลายรากตัดตามยาว 4) แบบบนั ทึกกจิ กรรม เร่อื ง โครงสรางภายในของรากตดั ตามขวาง 8. การบรณู าการงานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน งานสวนพฤกษศาสตรโ รงเรียน ในโครงการอนรุ ักษพันธุกรรมพชื อันเน่อื งมาจากพระราชดาํ รสิ มเด็จ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี มวี ัตถุประสงคใ หเ ยาวชนไดมโี อกาสใกลชิดกบั พชื พรรณไม ได เรียนรูถงึ พชื ทองถน่ิ ของตน ชวยกันดูแลไมใหสูญพนั ธุ ซึ่งจะกอใหเกดิ จติ สํานึกในการท่ี จะอนุรกั ษสบื ไป การ ดาํ เนนิ งานประกอบดว ย 5 องคประกอบและ 3 สาระการเรียนรู เร่อื งท่ีจะบรู ณาการ (หวั ขอ ยอ ยในแบบประเมนิ ) องคป ระกอบที่ 3 การศกึ ษาขอมูลดานตางๆ ลําดบั การเรยี นรูท ี่ 2 การศกึ ษาพรรณไมท่ีสนใจ 1. การศกึ ษาลักษณะภายนอก ภายในของพชื แตละสว นโดยละเอียด สาระการเรยี นรู ธรรมชาตแิ หง ชวี ิต ลาํ ดับการเรียนรูที่ 1 สัมผัสเรียนรวู งจรชีวติ ของชีวภาพอื่นๆ 1.1 ศกึ ษาดา นรูปลักษณ ไดขอ มูลการเปลีย่ นแปลงและความแตกตางดา นรปู ลกั ษณ 1.2 ศกึ ษาดานคุณสมบตั ิ ไดขอมูลการเปลยี่ นแปลงและความแตกตางดานคุณสมบัติ 9. กจิ กรรมการเรียนรู การเตรียมลวงหนา 1) ครูมอบหมายใหน กั เรยี นศกึ ษารายละเอยี ดของกิจกรรม โดยเฉพาะวสั ดุและอุปกรณแ ละวิธกี าร ทํา กิจกรรม เพื่อเตรยี มการลว งหนา กอนถึงวนั ทํากิจกรรมจริง 2) การเตรียมตนถัว่ เขียวและขาวโพดอายุ 2 สปั ดาหครูมอบหมายใหนกั เรียนเพาะถ่ัวเขียวและ ขาวโพด โดยใหน กั เรียนปฏบิ ัตติ ามวธิ กี ารเตรียมในใบความรทู ่ีครมู อบหมายให 3) ครูควรฝก เตรยี มสไลดสดของรากพชื และศึกษาโครงสรางภายในของรากพชื ใบเล้ยี งคูและใบเลยี้ ง เดี่ยว ทุกระยะการเจริญเติบโตทีต่ อ งการศกึ ษาลวงหนา กอ นสอนจริง เพ่ือใหเ ขา ใจ 4) วิธกี ารเตรียมสไลดสดและสามารถสาธติ วิธีการไดอ ยางชาํ นาญ โดยอาจสาธิตกอ นเรม่ิ ทาํ กจิ กรรม โครงสรางภายในของรากตดั ตามขวาง หรือหลงั จากการศกึ ษาสไลดถ าวรของโครงสรา งปลายราก นอกจากนี้ โดย ครูสุดาภรณ สบื บุญเปย ม กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาชวี วิทยา3 มธั ยมศึกษาปท่ี 5 17 การศึกษาโครงสรางตดั ตามขวางของรากกอนสอนจรงิ จะชวยใหครสู ามารถใหค ําแนะนํา และตอบคําถามแก นักเรยี นไดอยางมนั่ ใจ ช่วั โมงท่ี 1-2 ขน้ั นําเขา สูบ ทเรียน/ขั้นตัง้ คาํ ถาม 1. ครใู ชรปู วาดพืช ซง่ึ แสดงเนอ้ื เยอ่ื ถาวรหรือใชพ ืชจริงท่ีถอนขนึ้ มาจากดินใหเหน็ สวนของราก เพือ่ ทบทวนเกย่ี วกับรากวาเปน อวัยวะท่ีงอกออกจากเมล็ดเจรญิ ลงสูดนิ ตามแรงโนมถวงของโลก ทาํ หนา ทด่ี ดู น้ํา และธาตอุ าหารเพอ่ื สงไปยงั สวนตา งๆ ของพืช รวมทั้งยึดลาํ ตน ใหตดิ กับพื้นดินหรือค้ําจนุ ลําตนใหพ ืช เจรญิ เติบโตอยูก บั ทไ่ี ด จากนั้นถามนักเรียนวา - โครงสรางของรากประกอบดว ยเนือ้ เยอ่ื อะไร มีความเหมาะสมตอการทําหนา ทอ่ี ยางไร (แนวคําตอบ อาจมไี ดห ลากหลายซึ่งนกั เรียนจะไดค าํ ตอบหลังจากเรยี น เรอ่ื ง โครงสรา งและ การ เจรญิ เตบิ โตของราก) ข้ันสํารวจและคนพบ/ขน้ั การเตรยี มการคนหาคําตอบ 1. ครใู หน กั เรยี นทํากจิ กรรม โครงสรา งและการเจริญเตบิ โตของราก โดยครูแจงจุดประสงคข อง กิจกรรม แสดงไวบนกระดานหนาชน้ั เรียน และอธิบายจุดประสงคแ ตละขอ กับนักเรยี นใหช ดั เจน โดย เนน วา เมอ่ื จบกิจกรรมและการเรยี นเรื่องโครงสรางและการเจริญเตบิ โตของรากแลว นักเรียนตอ ง เปรยี บเทียบ ลักษณะโครงสรา งรากพืชใบเลยี้ งคูและรากพืชใบเลย้ี งเด่ียวตดั ตามขวางได 2. ครูและนกั เรยี นรว มกนั ทาํ ความเขา ใจวิธีการทํากิจกรรม ตอนที่ 1 โครงสรา งภายนอกและการ เจริญเติบโตของราก พรอมกบั เนนใหนักเรยี น บันทกึ ผลโดยการวาดรูปหรอื ถายรูปเมล็ดที่งอกในแตละวัน และ ระบุ ชนดิ รากลงในรูปดวย 3. ครมู อบหมายใหน กั เรยี นศกึ ษาการงอกของเมลด็ ถว่ั เขยี วและเมลด็ ขา วโพด จากนัน้ ครูใชร ปู ซ่ึง แสดงลกั ษณะของรากพืชใบเลี้ยงคู และพืชใบเล้ยี งเด่ียวท่ีงอกจากเมล็ด เพอื่ รว มกันอภปิ รายผลและสรปุ เก่ียวกบั การเปลย่ี นแปลงของรากในขณะเจริญเติบโต เพอื่ ใหน ักเรียนใชขอ มูลประกอบการบันทึกผลการ ทดลอง โดย ครูสดุ าภรณ สบื บุญเปย ม กลุมสาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าชีววิทยา3 มธั ยมศกึ ษาปที่ 5 18 ตวั อยางผลการทํากจิ กรรม รปู วาดจากการศกึ ษาโครงสรางภายนอกของรากถ่ัวเขียวและขาวโพดจากเมล็ดที่กาํ ลงั งอก จากตัวอยา งผลการทากจิ กรรมของขาวโพดในวนั ท่ี 3 ยงั ไมเกดิ รากแขนง ดงั นัน้ ครอู าจใหนักเรียน เพาะเล้ียงตอเพอื่ สังเกตวารากแขนงจะเกิดในวันท่ีเทา ไหร สําหรับตัวอยา งการทาํ กิจกรรมในครงั้ นี้ พบวาราก แขนงของขาวโพดจะสงั เกตไดชดั เม่อื เพาะขาวโพด ไปแลว 6-7 วัน โดยมีลักษณะดงั รปู โดย ครสู ดุ าภรณ สืบบญุ เปย ม กลุม สาระการเรยี นรู วิทยาศาสตร

แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าชีววิทยา3 มธั ยมศกึ ษาปที่ 5 19 ขน้ั อธบิ ายและลงขอสรุป/ขั้นดาํ เนนิ การคน หาคําตอบและตรวจสอบคาํ ตอบ 1. ครูและนกั เรยี นรว มกนั อภปิ รายผลการทาํ กิจกรรมโดยใชคาํ ถามทายกจิ กรรม มแี นวคาํ ตอบดังน้ี - สว นใดของเมล็ดทง่ี อกออกมากอน งอกมาจากตําแหนงใดของเมลด็ และตําแหนง ทีง่ อกของเมล็ด ถั่วเขียวและเมล็ดขาวโพดเหมือนหรือแตกตางกนั อยา งไร (แนวคาํ ตอบ สว นท่ีงอกออกมากอน คอื สวนท่จี ะเจรญิ ไปเปน ราก โดยรากจะงอกออกมาจากรูเลก็ ใกลรอย แผลเปนซึง่ เกิดจากกานของออวลุ หลุดออกไปเชนเดยี วกันทั้งของเมลด็ ถ่วั เขยี ว และเมล็ดขา วโพด) - การงอกและการเจริญเติบโตของรากถว่ั เขียวและรากขา วโพดเหมือนหรือแตกตา งกนั อยา งไร (แนวคาํ ตอบ เหมือนกนั คือ ถั่วเขยี วและขาวโพดงอกรากที่โผลพ น เมล็ดออกมากอนคือรากปฐมภูมิ หรอื รากแกว และจะมีรากทตุ ิยภมู หิ รือรากแขนงเจรญิ ออกมาจากรากปฐมภูมิ สว นทีต่ า งกนั คอื ขาวโพดจะมี ราก ปฐมภมู ิหรือรากแกวเจริญออกมาชว งระยะหนึ่งแลว จะหยดุ การเจรญิ เตบิ โต แตจะมีรากพิเศษงอก ออกมาจากบรเิ วณอ่ืนอีกเปน จานวนมาก ซึง่ ไมพบลักษณะน้ีในถ่ัวเขยี ว) ขน้ั ขยายความรแู ละนาํ เสนอผลการคน หาคาํ ตอบ 1. เมือ่ จบกจิ กรรมและการเรียนเร่อื งโครงสรางและการเจรญิ เติบโตของรากแลว นกั เรียนตอง เปรียบเทียบ ลักษณะโครงสรา งรากพืชใบเลีย้ งคูและรากพืชใบเลีย้ งเดย่ี วจากโครงสรา งภายนอกได 2. ครยู กตัวอยางรากพชื ของตนไมช นดิ อื่น ๆ ทไ่ี ปทาํ หนา ทีเ่ ฉพาะอยา ง เชน รากหายใจ (แสม ลาํ พู ไทร) รากสังเคราะหดวยแสง (กลวยไม) รากสะสมอาหาร (กระชาย แครอท มนั เทศ มันแกว) เปนตน 3. ครแู ละนกั เรียนรวมกันอภิปรายถึงโครงสรางและหนาทข่ี องรากพชื ใบเลยี้ งเด่ยี ว พชื ใบเลีย้ งคู ชว่ั โมงท่ี 3-4 ข้นั นําเขา สูบทเรียน/ขนั้ ตง้ั คําถาม 1. ครทู บทวนเกี่ยวกับโครงสรางและหนาทขี่ องรากพืชใบเลี้ยงเดย่ี วและพืชใบเลี้ยงคู โดยใชคําถามถาม นกั เรยี นวา - ตวั อยา งรากพืชใบเลีย้ งเดยี่ ว และรากพืชใบเล้ยี งคูทน่ี ักเรยี นไดทําการทดลอง คอื รากพืชชนิดใด (แนวคาํ ตอบ รากขา วโพดเปนตัวอยา งพืชใบเลี้ยงเดีย่ ว และรากถว่ั เขียวเปน ตัวอยา งพืชใบเลีย้ งคู) - การงอกและการเจรญิ เตบิ โตของรากถ่ัวเขียวและรากขา วโพดเหมอื นหรือแตกตา งกันอยางไร (แนวคําตอบ เหมือนกันคอื ถั่วเขียวและขาวโพดงอกรากทโ่ี ผลพน เมล็ดออกมากอนคอื รากปฐมภมู ิหรอื ราก แกว และจะมรี ากทตุ ิยภูมหิ รือรากแขนงเจรญิ ออกมาจากรากปฐมภมู ิ สว นท่ตี า งกนั คอื ขาวโพดจะมีราก ปฐม ภูมหิ รือรากแกวเจรญิ ออกมาชว งระยะหนงึ่ แลวจะหยุดการเจริญเตบิ โต แตจะมีรากพเิ ศษงอก ออกมาจาก บริเวณอื่นอกี เปนจาํ นวนมาก ซง่ึ ไมพ บลกั ษณะนีใ้ นถวั่ เขยี ว) ขั้นสาํ รวจและคนพบ/ข้นั การเตรยี มการคน หาคําตอบ 1. ครูและนักเรยี นรว มกนั ทาํ ความเขาใจวิธกี ารทํากิจกรรม ตอนที่ 2.1 โครงสรางปลายรากตดั ตามยาว พรอมกับเนนใหน กั เรียนบนั ทึกผลโดยการวาดรปู โครงสรางปลายรากท่เี ห็นภายใตก ลอ งจุลทรรศน พรอมระบุ บรเิ วณตา ง ๆ 2. ครูมอบหมายใหนกั เรียนศกึ ษาโครงสรา งภายในของปลายราก จากนั้นครใู ชร ูป ซงึ่ แสดงปลายราก พืชตัดตามยาวบรเิ วณตาง ๆ เพื่อรวมกันสรปุ เก่ียวกับโครงสรางของปลายรากซึ่งแบงเปน บรเิ วณตา ง ๆ โดยใน โดย ครูสดุ าภรณ สบื บญุ เปย ม กลมุ สาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าชวี วิทยา3 มธั ยมศกึ ษาปท่ี 5 20 แตล ะบรเิ วณจะมีเซลลทีแ่ ตกตา งกนั ซ่งึ เหมาะสมกับการทา หนาท่ีทีแ่ ตกตางกนั (ครเู นน ยํา้ ให นักเรียนศึกษา ขั้นตอนการทากจิ กรรมจากใบความรโู ดยละเอียด) 3. ระหวา งการทา กจิ กรรมตอนท่ี 2.1 ครูตรวจสอบความเขาใจของนกั เรียนโดยใหนักเรียนแตละกลุม เล่อื นหาเนอ้ื เยื่อภายใตกลอ งจลุ ทรรศน เพือ่ ดบู ริเวณตา งๆ ของโครงสรา งปลายรากท่ีสามารถมองเหน็ ได ภายใตก ลอ งจุลทรรศน โดยใหนกั เรียนทุกคนในกลุม มสี ว นรว มในการตรวจสอบความเขาใจน้ี 4. ครูและนกั เรยี นรว มกันอภิปรายเพ่มิ เตมิ เก่ียวกับผลการทํากิจกรรมวา หากดูเปรียบเทียบรูปที่เห็น จาก สไลดถาวรกับรปู ดังกลา ว ซ่งึ แสดงปลายรากพืชตัดตามยาวแสดงบริเวณตางๆ แลวพบวารูปวาดที่ไดจาก การศึกษาสไลดถาวรจะเห็นหมวกรากถึงบริเวณการยืดตามยาวของเซลลโดยใชรูป ช้ีใหนักเรียน เห็นวา บรเิ วณการยืดตามยาวของเซลลมีความยาวมากทําใหไมสามารถทําสไลดเน้ือเยื่อปลายรากตัด ตามยาวจนถึง บริเวณการเปล่ียนสภาพและเจริญเต็มท่ีของเซลลได เพราะพ้ืนที่ของสไลดและระยะศึกษา ของกลอง จุลทรรศนใชแสงท่ีมีจํากัดจึงทําใหขนาดของเนื้อเยื่อท่ีใชศึกษาจํากัดไปดวย ดังนั้นรูปที่ไดจาก การศึกษา โครงสรา งปลายรากตดั ตามยาวจากสไลดถ าวรจึงไมเหน็ บรเิ วณการเปล่ียนสภาพและการเจริญ เตม็ ทีข่ องเซลล 5. ครูและนักเรียนรวมกันทําความเขาใจวิธีการทากิจกรรมตอนที่ 2.2 โครงสรางภายในของรากตัด ตามขวาง พรอมกับเนนใหนักเรียนพยายามตัดเน้ือเย่ือของรากใหครบวง และบันทึกผลโดยการวาดรูปหรือ ถา ยรปู โครงสรางภายในของรากตัดตามขวางท่ีมีการเติบโตปฐมภูมิท่ีเห็นภายใตกลองจุลทรรศน พรอมระบุ บริเวณตาง ๆ และบันทึกรายละเอียดเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกตางของเนื้อเยื่อแตละ บริเวณ ของรากถว่ั เขียวและขาวโพดในรูปแบบตารางของแบบบนั ทกึ กจิ กรรม 6. ครูมอบหมายใหน กั เรยี นศึกษาโครงสรางภายในของรากตัดตามขวาง จากน้ันครูใชรูปประกอบ ซ่ึง แสดงราก พืชใบเลี้ยงคูและรากพืชใบเลี้ยงเด่ียวตัดตามขวาง ระยะท่ีมีการเติบโตปฐมภูมิ เพื่อรวมกันสรุป เก่ยี วกับ โครงสรา งของรากพชื ใบเลี้ยงคแู ละรากพืชใบเล้ยี งเดี่ยวทม่ี ีการเติบโตปฐมภมู ิมีเนือ้ เยอ่ื แบงออกไดเปน 3 ช้นั เหมอื นกนั ไดแ ก เอพเิ ดอรมสิ คอรเทกซ และสตีล แตมกี ารจัดเรยี งของเนอ้ื เยอื่ ในช้นั สตลี ที่แตกตา ง กัน โดย ครูสุดาภรณ สบื บญุ เปย ม กลุม สาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าชีววิทยา3 มธั ยมศกึ ษาปท่ี 5 21 7. ระหวางการทาํ กจิ กรรมตอนที่ 2.2 ครูตรวจสอบความเขา ใจของนักเรียนโดยใหนักเรียนแตละกลุม เลอ่ื นหาเน้อื เยือ่ ภายใตกลองจลุ ทรรศน เพอ่ื ดูบริเวณตางๆ ของโครงสรางภายในของรากระยะท่ีมีการ เติบโต ปฐมภมู ิ โดยใหนกั เรยี นในกลุมทกุ คนมสี วนรวมในการตรวจสอบความเขาใจน้ี ข้ันอธบิ ายและลงขอ สรุป/ข้ันดาํ เนินการคน หาคําตอบและตรวจสอบคําตอบ 1. ครแู ละนักเรยี นรว มกันอภิปรายผลการทากจิ กรรม 2. ตารางเปรยี บเทียบชนิดของเซลลห รือเนือ้ เยื่อและการจัดเรียงเน้ือเยอ่ื บริเวณรากถัว่ เขยี วและ ขา วโพดท่มี ี การเติบโตปฐมภมู ิ แนวทางการบนั ทึกผลในตาราง โดย ครูสดุ าภรณ สบื บุญเปย ม กลมุ สาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าชีววิทยา3 มธั ยมศกึ ษาปท่ี 5 22 3. ครใู หน ักเรยี นตอบคาถามทายกิจกรรมโดยมีแนวคา ตอบดงั นี้ - จากการศึกษาโครงสรางปลายรากตดั ตามยาวภายใตกลองจุลทรรศนใ ชแสงเชิงประกอบ โครงสรางท่ี อยปู ลายสุดของรากคืออะไร มีความสําคญั ตอ พชื อยา งไร (แนวคาํ ตอบ หมวกราก มคี วามสําคญั ตอพชื คือปองกนั อันตรายใหก บั เนื้อเยือ่ เจริญทีอ่ ยูถัดขน้ึ ไปขณะทีร่ าก ชอน ไชลงสดู นิ ) - ถา ตองการศึกษาการแบงเซลลไมโทซสิ ระยะตาง ๆ ของปลายรากหอมควรเลือกศกึ ษาท่ีบริเวณ ใด ของโครงสรา งปลายรากตดั ตามยาว (แนวคาํ ตอบ บรเิ วณการแบงเซลล) - จากการศึกษาโครงสรางภายในของรากระยะทมี่ กี ารเตบิ โตปฐมภมู ิของรากพชื ใบเลย้ี งคแู ละราก พืช ใบเลย้ี งเดย่ี ว เนื้อเยอ่ื ชั้นใดบางทีม่ ลี กั ษณะคลา ยกัน (แนวคําตอบ เอพิเดอรม สิ และคอรเทกซ) - นักเรียนจะบอกไดอ ยางไรวา สไลดโ ครงสรางของรากทีศ่ กึ ษาอยูเปน ของรากพืชใบเลีย้ งคหู รือ ราก พืชใบเล้ยี งเดย่ี ว (แนวคาํ ตอบ บอกไดจากการจัดเรียงเนอ้ื เยอื่ ของวาสควิ ลารบนั เดลิ ในชัน้ สตีลและพิธ ถา บริเวณสตีลของสไลด ท่ี ศึกษาอยพู บไซเล็มปฐมภมู ิตรงกลางรากและโฟลเอ็มปฐมภูมอิ ยูระหวางแฉกโดยจํานวนแฉกมี ประมาณ 4-6 แฉก สไลดน ี้คอื รากพชื ใบเลีย้ งคู ถา บริเวณสตลี ของสไลดท่ีศกึ ษาอยูพ บพธิ อยตู รงกลางและไซเลม็ ปฐมภมู มิ ี จํานวนแฉกมาก สไลดน ค้ี อื รากพืชใบเลี้ยงเดยี่ ว) ข้นั ขยายความรแู ละนาํ เสนอผลการคนหาคําตอบ 1. ครูใชร ูปภาพ ซ่ึงแสดงลาํ ดับการเติบโตทุตยิ ภูมิของรากพืชใบเล้ยี งคจู ากระยะเร่มิ มีวาสคิวลารแคม เบยี ม ถึงระยะเกิดคอรก แคมเบยี ม อธบิ ายเกี่ยวกบั โครงสรา งภายในของรากระยะท่มี กี ารเตบิ โตทตุ ิยภูมิวา การ เตบิ โตทุติยภูมขิ องรากพืชใบเล้ยี งคทู าํ ใหรากมีขนาดใหญข ึน้ เน่อื งจากมกี ารสรางเนื้อเยอ่ื ถาวรเพ่ิมจากการ แบง เซลลข องวาสควิ ลารแ คมเบยี มและคอรก แคมเบียมทาํ ใหเกดิ เนื้อเยือ่ ทุติยภมู ิ 2. ครใู ชรูปภาพ ซงึ่ แสดงรากพืชใบเลย้ี งคูร ะยะการเตบิ โตทตุ ิยภูมิจากรากระยะแกมากตดั ตามขวาง เพื่อ อธิบายเก่ยี วกับเพรเิ ดิรม 3. ครใู หนักเรยี นสบื คน เพมิ่ เติมเพอื่ ตอบคาถามชวนคิดในใบความรู - ใหนักเรียนยกตวั อยางการใชป ระโยชนจากรากพชื โดยใชค วามรเู กี่ยวกับโครงสรางของรากเพือ่ อธบิ ายเหตุผลวา เพราะเหตุใดพชื ชนดิ ดังกลา วจงึ เหมาะสมกบั การใชประโยชนในดานน้นั ตัวอยา ง การใชประโยชนจ ากรากหญา แฝก มนษุ ยป ลูกหญาแฝกเพ่ือใชประโยชนจากโครงสรางและการเจริญเติบโตของรากหญาแฝกที่สามารถ เจริญลึกลงไปในดิน ทําใหเกิดเปนกําแพงดินซึ่งชวยปองกันการพังทลายของดินดินถลมจากนํ้าทวม ฉับพลัน เนื่องจากรากของหญาแฝกมลี ักษณะพเิ ศษตางจากหญาท่ัวไปคือ สามารถเจริญเติบโตตามแนวดิ่ง ลงไปในดิน หรือใตดินได 2-2.5 เมตร ซ่ึงมากกวารากหญาคาที่เจริญเติบโตลงไปในแนวดิ่งไดเพียง 50 เซนติเมตร นอกจากนี้การทาํ หนาทีร่ วมกนั ของรากฝอยของหญาแฝกทีม่ ี 2 ขนาด ทาํ ใหรากของหญา แฝก เกาะดินไดดี ซ่ึง มีรากฝอยขนาดใหญทําหนา ท่เี จาะและชอนไชลงดนิ สวนรากฝอยขนาดเล็กจะเจริญแตก แขนงออกมาจากราก โดย ครสู ดุ าภรณ สบื บญุ เปย ม กลมุ สาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าชวี วิทยา3 มธั ยมศึกษาปที่ 5 23 ฝอยขนาดใหญทําหนาที่เปนรางแหชวยในการยึดเกาะดินดวยเหตุน้ีจึงทําใหหญาแฝก เปนพืชท่ีเหมาะสมแก การปลูกเพอื่ ปองกนั การพงั ทลายของดินจากน้ําทวมฉับพลนั (ที่มา: บทความเรื่อง “หญาแฝก” กําแพงดินธรรมชาติ ของสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี แหง ชาติหรอื สวทช.) ข้นั สรปุ และประเมนิ ผล 1) สมดุ บันทกึ ประสบการณก ารเรียนรู สรุปสาระสําคญั ของเรอ่ื งท่เี รยี น 2) แบบบันทึกกิจกรรม เรอ่ื ง โครงสรา งภายนอกและการเจรญิ เตบิ โตของราก 3) แบบบันทึกกจิ กรรม เร่ือง โครงสรา งปลายรากตัดตามยาว 4) แบบบันทกึ กจิ กรรม เรื่อง โครงสรางภายในของรากตัดตามขวาง 9. สื่อการเรยี นการสอน / แหลง เรียนรู จํานวน สภาพการใชส่อื รายการสื่อ 1 ชุด ขัน้ อธบิ ายและลงขอ สรุป 1. สมุดบันทกึ ประสบการณก ารเรียนรู สรุปสาระสาํ คญั ของเรื่องทเ่ี รยี น 2. แบบบันทกึ กจิ กรรม เรอ่ื ง โครงสรางภายนอกและการเจรญิ เติบโต 1 ชดุ ขั้นอธบิ ายและลงขอสรุป ของราก 3. แบบบันทกึ กจิ กรรม เรอื่ ง โครงสรา งปลายรากตดั ตามยาว 1 ชดุ ขั้นสาํ รวจและคน พบ 4. แบบบันทึกกิจกรรม เรอื่ ง โครงสรา งภายในของรากตัดตามขวาง 1 ชุด ข้นั อธบิ ายและลงขอ สรุป โดย ครูสุดาภรณ สบื บญุ เปยม กลมุ สาระการเรยี นรู วิทยาศาสตร

แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าชวี วิทยา3 มธั ยมศึกษาปท ี่ 5 24 10. การวัดผลและประเมนิ ผล เปาหมาย หลกั ฐานการเรยี นรู วธิ ีวัด เครือ่ งมือวัดฯ ประเด็น/ การเรียนรู ชิ้นงาน/ภาระงาน เกณฑการให บอกหนาท่ีของราก 1. สมดุ บนั ทกึ คะแนน ตรวจสมุดบนั ทึก แบบประเมินสมดุ บันทึก รอยละ 65 ผาน พชื ดอก โครงสรา ง ประสบการณก าร ประสบการณการ เกณฑ ของปลายรากตดั เรยี นรู สรปุ สาระสําคญั เรยี นรู สรุป ตามยาว และการ ของเร่อื งทเี่ รียน สาระสําคัญของ เปรียบเทยี บ เรอื่ งทเ่ี รียน โครงสรา งภายในของ 2. แบบบันทกึ กิจกรรม ตรวจแบบบนั ทกึ แบบบันทกึ กจิ กรรม รอยละ 65 ผา น รากพชื ใบเล้ียงคู เรอ่ื ง โครงสราง กิจกรรม เรือ่ ง เรอื่ ง โครงสรา งภายนอก เกณฑ และรากพืชใบเล้ยี ง ภายนอกและการ โครงสรางภายนอก และการเจริญเติบโตของ เด่ยี วจากการตัดตาม เจรญิ เตบิ โตของราก และการ ราก ขวางจากการเรยี น เจรญิ เติบโตของ และการทาํ กิจกรรม ราก 3. แบบบันทึกกิจกรรม ตรวจแบบบนั ทกึ แบบบันทกึ กจิ กรรม รอ ยละ 65 ผา น เรือ่ ง โครงสรางปลาย กจิ กรรม เรื่อง เรื่อง โครงสรางปลาย เกณฑ รากตัดตามยาว โครงสรา งปลายราก รากตดั ตามยาว ตัดตามยาว 4. แบบบันทกึ กจิ กรรม ตรวจแบบบนั ทกึ แบบบันทกึ กจิ กรรม รอยละ 65 ผาน เรอ่ื ง โครงสรา งภายใน กิจกรรม เร่ือง เรอ่ื ง โครงสรา งภายใน เกณฑ ของรากตดั ตามขวาง โครงสรา งภายใน ของรากตดั ตามขวาง ของรากตดั ตาม ขวาง 7. การนาํ เสนอผลงาน ประเมินการ ผลงานทน่ี ําเสนอ ระดับคณุ ภาพ 2 นาํ เสนอผลงาน ผานเกณฑ 8. พฤติกรรมการ สงั เกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 ทํางานรายบคุ คล การทํางาน การทาํ งานรายบุคคล ผานเกณฑ รายบุคคล ระดบั คุณภาพ 2 9. พฤติกรรมการ สงั เกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ผานเกณฑ ทํางานรายกลุม การทาํ งานรายกลมุ การทํางานรายกลุม 9. คณุ ลกั ษณะ สงั เกตความมีวินัย แบบประเมิน ระดบั คณุ ภาพ 2 อนั พึงประสงค ใฝเรียนรูแ ละมุง มน่ั คณุ ลักษณะ ผานเกณฑ ในการทาํ งาน อันพึงประสงค โดย ครสู ดุ าภรณ สบื บญุ เปย ม กลมุ สาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาชีววิทยา3 มธั ยมศกึ ษาปท่ี 5 25 แบบประเมนิ การนําเสนอผลงาน คาํ ชี้แจง : ใหผ ูสอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวางเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว ขดี ลงในชอ งที่ ตรงกบั ระดับคะแนน ลําดบั ที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 32 1 เน้อื หาละเอยี ดชัดเจน  2 ความถกู ตองของเน้ือหา   3 ภาษาที่ใชเขาใจงา ย   4 ประโยชนท ไ่ี ดจากการนาํ เสนอ   5 วธิ กี ารนาํ เสนอผลงาน    รวม ลงชือ่ ...................................................ผูประเมนิ (นางสาวสดุ าภรณ สบื บุญเปย ม) ............./................../............... เกณฑการใหค ะแนน ให 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคลอ งกับรายการประเมนิ สมบรู ณชัดเจน ให 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคลอ งกบั รายการประเมนิ เปน สว นใหญ ให 1 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคลอ งกับรายการประเมินบางสวน เกณฑก ารตัดสนิ คณุ ภาพ ชว งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14 - 15 ดีมาก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช ต่าํ กวา 8 ปรับปรงุ โดย ครสู ุดาภรณ สบื บุญเปย ม กลุมสาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาชวี วิทยา3 มธั ยมศึกษาปท่ี 5 26 แบบสงั เกตพฤติกรรมการทาํ งานรายบคุ คล คําชีแ้ จง : ใหผสู อนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว ขีด ลงในชองที่ ตรงกบั ระดับคะแนน ลําดบั ท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน 3 21 1 การแสดงความคิดเห็น   2 การยอมรบั ฟง ความคิดเหน็ ของผูอ น่ื   3 การทํางานตามหนาที่ท่ไี ดรับมอบหมาย   4 ความมนี า้ํ ใจ   5 การตรงตอ เวลา   รวม ลงชอ่ื ...................................................ผปู ระเมนิ (นางสาวสดุ าภรณ สบื บญุ เปย ม) ............./................../............... เกณฑการใหคะแนน ให 3 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤติกรรมอยา งสมาํ่ เสมอ ให 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบอ ยคร้งั ให 1 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั เกณฑก ารตัดสินคณุ ภาพ ชวงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14 - 15 ดีมาก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช ต่าํ กวา 8 ปรับปรุง โดย ครูสุดาภรณ สบื บญุ เปย ม กลุมสาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาชวี วิทยา3 มธั ยมศกึ ษาปที่ 5 27 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทํางานกลุม คาํ ช้แี จง : ใหผสู อนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลวขดี ลงในชองที่ ตรงกับระดับคะแนน การมี ลาํ ดบั ท่ี ช่อื – สกุล การแสดง การยอมรับ การทํางาน ความมี สว นรวมใน รวม ของนักเรียน ความ ฟงคนอื่น ตามทไ่ี ดร ับ นํา้ ใจ 15 คิดเห็น การ คะแนน มอบหมาย ปรบั ปรุง ผลงานกลุม 321321321321321 ลงชอื่ ...................................................ผปู ระเมิน (นางสาวสดุ าภรณ สืบบุญเปย ม) ............../.................../............... เกณฑการใหคะแนน ให 3 คะแนน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา งสมํา่ เสมอ ให 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบอยครงั้ ให 1 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั เกณฑการตัดสนิ คุณภาพ ชว งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14 - 15 ดีมาก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช ตํ่ากวา 8 ปรบั ปรงุ โดย ครูสดุ าภรณ สืบบุญเปย ม กลมุ สาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาชวี วิทยา3 มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5 28 แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค คาํ ชีแ้ จง : ใหผูส อนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว ขดี ลงในชองที่ ตรงกบั ระดับคะแนน คุณลักษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อันพึงประสงคดาน 321 1. มวี ินยั รบั ผิดชอบ 1.1 ปฏิบตั ติ ามขอตกลง กฎเกณฑ ระเบียบ ขอ บังคบั ของครอบครวั มีความตรงตอ เวลาในการปฏิบัตกิ ิจกรรมตาง ๆ ในชวี ิตประจาํ วัน 2. ใฝเ รียนรู 2.1 รจู กั ใชเวลาวา งใหเปน ประโยชน และนาํ ไปปฏบิ ตั ไิ ด 2.2 รจู ักจดั สรรเวลาใหเ หมาะสม 2.3 เช่ือฟงคาํ สั่งสอนของบิดา - มารดา โดยไมโตแ ยง 2.4 ตั้งใจเรียน 3. อยอู ยา งพอเพยี ง 3.1 ใชท รพั ยส ินและสิ่งของของโรงเรยี นอยางประหยัด 3.2 ใชอ ปุ กรณก ารเรียนอยา งประหยัดและรูคุณคา 3.3 ใชจ า ยอยางประหยัดและมีการเกบ็ ออมเงิน 4. มุงม่ันในการทํางาน 4.1 มคี วามตั้งใจและพยายามในการทํางานที่ไดรบั มอบหมาย 4.2 มคี วามอดทนและไมท อแทตออปุ สรรคเพ่ือใหง านสําเร็จ ลงช่ือ...................................................ผปู ระเมิน (นางสาวสุดาภรณ สืบบุญเปยม) ............../.................../................ เกณฑการใหค ะแนน พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัติชัดเจนและสม่ําเสมอ ให 3 คะแนน พฤติกรรมทปี่ ฏิบัติชัดเจนและบอ ยคร้ัง ให 2 คะแนน พฤตกิ รรมทีป่ ฏบิ ัตบิ างครัง้ ให 1 คะแนน เกณฑก ารตัดสนิ คุณภาพ ชว งคะแนน ระดับคุณภาพ 51 - 60 ดีมาก 41 - 50 ดี 30 - 40 พอใช ตํา่ กวา 30 ปรับปรงุ โดย ครูสดุ าภรณ สบื บุญเปยม กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าชวี วิทยา3 มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 5 29 11. ความเหน็ ของผบู รหิ ารสถานศึกษาหรอื ผทู ไี่ ดร ับมอบหมาย ขอเสนอแนะ ลงชือ่ .................................................. (นายอดศิ ร แดงเรอื น) 13. บนั ทึกผลหลงั การสอน  เน้ือหา  กิจกรรมการเรยี นรู  สอื่ ประกอบการเรยี นรู  พฤติกรรม/การมสี วนรวมของผเู รยี น ลงช่อื ..................................................ผูสอน (นางสาวสุดาภรณ สบื บุญเปย ม) ตาํ แหนง พนกั งานราชการ โดย ครสู ุดาภรณ สบื บุญเปย ม กลุม สาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาชวี วิทยา3 มธั ยมศึกษาปท ี่ 5 30 แผนการจดั การเรยี นรู หนวยการเรยี นรูท่ี 9 เรอ่ื ง โครงสรางและการเจริญเตบิ โตของพืชดอก แผนจดั การเรยี นรูท่ี3 เร่ือง โครงสรา งและการเจริญเตบิ โตของลาํ ตน รายวิชา ชีววิทยา4 รหัสวิชา 32203 ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 5/1 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศกึ ษา 2564 นาํ้ หนกั เวลาเรยี น 1.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 3 ชว่ั โมง/สัปดาห เวลาทใ่ี ชในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 6 ชั่วโมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสําคญั ลําตน คอื สวนแกนของพืชท่ีโดยทั่วไปเจริญอยูเหนือระดับผิวดินถัดข้ึนมาจากราก ทําหนาที่สรางใบ และชูใบ ลําเลียงนา้ํ ธาตุอาหาร และอาหารท่ีพืชสรางข้ึนสงไปยังสวนตางๆ โครงสรางภายในของลําตนระยะ การเติบโตปฐมภูมิ เม่อื ตัดตามขวางจะเห็นโครงสรา งแบงเปน 3 ชัน้ เรียงจากดานนอกเขาไป คือ เอพิเดอรมิส คอรเ ทกซ และสตลี ลาํ ตนในระยะการเตบิ โตทุตยิ ภูมิ จะมีเสนรอบวงเพิ่มข้ึนและมีโครงสรางแตกตางจากเดิม เนอ่ื งจากมกี ารสรางเพรเิ ดริ ม และเนอ้ื เยอ่ื ทอ ลาํ เลยี งเพม่ิ ขึ้น 2. มาตรฐานการเรยี นรู/ตัวชีว้ ัดช้นั ป/ ผลการเรียนรู/เปา หมายการเรียนรู ผลการเรยี นรู 7. สงั เกต อธิบาย และเปรยี บเทียบโครงสรางภายในของลําตนพืชใบเลี้ยงเดยี่ ว และลาํ ตน พชื ใบเลี้ยงคู จาก การตดั ตามขวาง 3. สาระการเรยี นรู 3.1 เนอื้ หาสาระหลัก : Knowledge โครงสรางภายนอกและบอกหนาที่ของลาํ ตนพชื ดอก โครงสรางของปลายยอดตดั ตามยาวการ เปรียบเทยี บโครงสรางภายในของลาํ ตน พืชใบเล้ียงคูและลาํ ตนพืชใบเล้ยี งเดี่ยวจากการตดั ตามขวาง จาก การ เรียน และการทํากจิ กรรม 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process 1) การสังเกต การจําแนกประเภท จากการทาํ กจิ กรรม 2) การจดั กระทาํ และสื่อความหมายขอมลู 3) การส่ือสารสารสนเทศและการรเู ทา ทันสอื่ จากรูปวาด คาํ บรรยายของรูปตวั อยา งพชื และ บนั ทึกผล การทดลอง 3.3 คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค : Attitude 1) สนใจใฝรใู นการศกึ ษา 2) ความอยากรอู ยากเห็น 3) ความมวี จิ ารณญาณ 4. สมรรถนะสําคัญของนกั เรียน 1) ความสามารถในการส่ือสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแกป ญหา 4) ความสามารถในการใชทกั ษะชวี ติ 5) ความสามารถในการใชเทคโนโลยี โดย ครสู ดุ าภรณ สืบบุญเปย ม กลมุ สาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าชีววิทยา3 มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5 31 5. คณุ ลกั ษณะของวิชา 1) ความอยากรูอยากเห็น 2) ความมวี ิจารณญาณ 3) ความใจกวา ง 6. คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค 1. มวี ินัย 2. ใฝเ รียนรู 3. อยูอยา งพอเพียง 4. มุง มน่ั ในการทาํ งาน 7. ชน้ิ งาน/ภาระงาน : 1) สมุดบันทกึ ประสบการณการเรียนรู สรุปสาระสาํ คัญของเรื่องท่เี รยี น 2) แบบบันทกึ กจิ กรรม เร่อื ง โครงสรา งภายในปลายยอดตัด ตามยาว 3) แบบบันทกึ กจิ กรรม เรอื่ ง โครงสรางภายในของลาํ ตน ตัดตามขวาง 8. การบรณู าการงานสวนพฤกษศาสตรโ รงเรยี น งานสวนพฤกษศาสตรโ รงเรียน ในโครงการอนรุ ักษพนั ธกุ รรมพืชอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดํารสิ มเด็จ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี มีวัตถปุ ระสงคใหเ ยาวชนไดม โี อกาสใกลชิดกับพืชพรรณไม ได เรียนรถู ึงพืชทองถนิ่ ของตน ชวยกนั ดูแลไมใหสูญพนั ธุ ซ่ึงจะกอ ใหเกิดจติ สาํ นกึ ในการที่ จะอนุรกั ษส บื ไป การ ดําเนนิ งานประกอบดวย 5 องคป ระกอบและ 3 สาระการเรยี นรู เรื่องท่ีจะบูรณาการ (หวั ขอ ยอ ยในแบบประเมนิ ) องคป ระกอบท่ี 3 การศึกษาขอมูลดา นตา งๆ ลําดบั การเรยี นรทู ่ี 2 การศึกษาพรรณไมทสี่ นใจ 1. การศกึ ษาลกั ษณะภายนอก ภายในของพืชแตละสวนโดยละเอยี ด สาระการเรยี นรู ธรรมชาตแิ หงชีวิต ลาํ ดับการเรยี นรูที่ 1 สัมผัสเรยี นรูวงจรชีวติ ของชีวภาพอน่ื ๆ 1.1 ศึกษาดา นรูปลักษณ ไดขอมูลการเปล่ยี นแปลงและความแตกตา งดานรูปลักษณ 1.2 ศึกษาดานคุณสมบัติ ไดขอ มูลการเปล่ียนแปลงและความแตกตางดานคุณสมบัติ 9. กิจกรรมการเรยี นรู การเตรียมลว งหนา 1) ครูมอบหมายใหนักเรยี นศึกษารายละเอยี ดของกิจกรรม โดยเฉพาะวสั ดุและอุปกรณแ ละวธิ กี ารทํา กจิ กรรม เพื่อเตรยี มการลวงหนากอนถึงวนั ทาํ กิจกรรมจริง 2) ครคู วรศกึ ษาโครงสรา งภายในของลําตน พชื ใบเล้ยี งคูแ ละใบเล้ยี งเดี่ยวทุกระยะการเจริญเตบิ โตท่ี ตอ งการลว งหนา กอนสอนจริง เพอ่ื ใหค รสู ามารถใหคาํ แนะนําและตอบคําถามแกนักเรยี นไดอ ยา ง มนั่ ใจ โดย ครสู ดุ าภรณ สืบบุญเปย ม กลมุ สาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาชวี วิทยา3 มธั ยมศึกษาปท ่ี 5 32 ชั่วโมงที่ 1-2 ขนั้ นาํ เขาสูบทเรียน/ขน้ั ตั้งคําถาม 1. ครใู ชภาพประกอบแสดงเน้อื เย่อื ถาวรและถามนักเรียนวา - โครงสรา งของลําตน ประกอบดว ยเนอื้ เยอื่ อะไร มคี วามเหมาะสมตอ การทําหนา ทขี่ องลําตน อยา งไร (แนวคาํ ตอบ อาจมไี ดหลากหลายซึ่งนกั เรียนจะไดค ําตอบหลังจากเรยี น เรื่อง โครงสรา งและการ เจรญิ เติบโต ของลําตน) ขนั้ สาํ รวจและคน พบ/ขน้ั การเตรียมการคน หาคําตอบ 1. ครใู หน ักเรยี นทํากิจกรรม โครงสรา งและการเจริญเตบิ โตของลําตน โดยครูแจง จดุ ประสงคของ กจิ กรรม แสดงไวบนกระดานหนาชน้ั เรยี น และอธบิ ายจดุ ประสงคแ ตละขอ กบั นักเรยี นใหชดั เจน โดย เนนวา เมือ่ จบกจิ กรรมและการเรียนเรอ่ื งโครงสรางและการเจริญเตบิ โตของลาํ ตนแลว นกั เรยี นตอ ง เปรียบเทยี บ ลกั ษณะโครงสรางลําตน พืชใบเลีย้ งคูแ ละลาํ ตน พืชใบเล้ียงเด่ยี วตัดตามขวางได 2. ครแู ละนักเรียนรว มกนั ทําความเขา ใจวธิ กี ารทํากจิ กรรม ตอนท่ี 1 โครงสรา งภายนอกของลาํ ตน พรอ มกบั เนนใหนกั เรยี น บันทกึ ผลการสังเกตลกั ษณะภายนอกของลําตน เปรียบเทียบระหวา งพชื ใบเลย้ี ง คู และพชื ใบเลย้ี งเดย่ี วในรูปแบบของตาราง ข้ันอธิบายและลงขอ สรุป/ข้ันดําเนินการคนหาคําตอบและตรวจสอบคําตอบ 1. ครแู ละนกั เรยี นใชลําตน จรงิ ของพชื ใบเลีย้ งคแู ละพืชใบเล้ียงเด่ียวท่ีเลอื กศกึ ษาโครงสรางภายนอก เพื่อ รว มกนั สรุปเก่ียวกับลกั ษณะภายนอกของลําตนทส่ี ังเกตได 2. ครแู ละนกั เรยี นรวมกันอภปิ รายผลการทํากิจกรรมโดยใชคําถามทา ยกิจกรรม มีแนวคําตอบดังน้ี - ลักษณะที่สาํ คัญของโครงสรา งภายนอกของลําตน พชื ใบเลย้ี งคูและพืชใบเล้ยี งเดยี่ วเหมือนหรือ แตกตางกันอยา งไร (แนวคาํ ตอบ สว นทีเ่ หมอื นกันของลาํ ตน พืชใบเล้ียงคูและพืชใบเลย้ี งเดย่ี ว เชน ผิวของลําตนอาจเรยี บหรอื ขรขุ ระ มีขน สขี องลําตน มีสีเขยี วหรอื มสี อี ่นื ปน สวนท่ตี างกนั ของลําตนพืชเล้ียงคแู ละพืชใบเลี้ยงเดี่ยว เชน : ขอ และปลอง เห็นไดไมช ัดเจนในพืชใบเล้ยี งคูแตเหน็ ไดชัดเจนในพชื เลย้ี งเด่ียว : ตาตามซอกเห็นไดช ัดในพชื ใบเลย้ี งคู สวนในพชื ใบเล้ียงเดยี่ วไมเหน็ ตาตามซอก โดย ครสู ุดาภรณ สบื บญุ เปยม กลุมสาระการเรยี นรู วิทยาศาสตร

แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาชวี วิทยา3 มธั ยมศกึ ษาปท่ี 5 33 ขัน้ ขยายความรูและนําเสนอผลการคนหาคําตอบ 1. เมอื่ จบกจิ กรรมและการเรียนเรือ่ งโครงสรา งและการเจริญเตบิ โตของลําตน แลว นักเรียนตอ ง เปรียบเทยี บ ลักษณะโครงสรา งลําตนพืชใบเล้ียงคูและลาํ ตน พชื ใบเลีย้ งเดี่ยวจากโครงสรางภายนอกได 2. ครูอาจยกตวั อยา งลําตนพชื ของตน ไมชนดิ อื่น ๆ ทไี่ ปทาํ หนา ท่ีเฉพาะอยา ง เชน ลําตนสะสมอาหาร (ขา เผือก มันฝรง่ั ) ลําตนมือเกาะ (แตงกวา องนุ ตําลึง) ลําตนสงั เคราะหด วยแสง (กระบองเพชร) เปน ตน 3. ครูและนักเรียนรวมกนั อภปิ รายถงึ โครงสรา งและหนาทขี่ องลาํ ตนพชื ใบเลี้ยงเดย่ี ว พืชใบเลย้ี งคู ช่ัวโมงที่ 3-4 ขั้นนําเขา สูบทเรยี น/ข้ันตัง้ คําถาม 1. ครูทบทวนเกยี่ วกับโครงสรา งและหนาทขี่ องลําตนพืชใบเลยี้ งเด่ยี วและพชื ใบเล้ียงคู โดยใชคําถามถาม นักเรียนวา - ใหน ักเรยี นยกตวั อยา งพชื ใบเลี้ยงเด่ยี ว และพชื ใบเลีย้ งคู และบอกความแตกตางของพืชใบเลีย้ งเด่ียว และพืชใบเล้ียงคู (แนวคาํ ตอบ ตวั อยา งพชื ใบเลย้ี งเด่ียว – ขา วโพด ขา ว ออ ย ไผ มะพราว ปาลม บัว กลวยไม กลวย เปน ตน ตัวอยางพืชใบเลี้ยงคู – มะมว ง ขนนุ ลาํ ไย ถ่วั เขยี ว มะละกอ หมอนอย เปนตน ขอ แตกตางระหวา ง พืชใบ เล้ียงเด่ียวและพืชใบเลยี้ งคูสามารถสังเกตไดจากลําตน ถา ลําตน เห็นขอปลอ งชดั เจนจะเปน พชื ใบเลีย้ ง เด่ยี ว ถา มองเห็นขอปลอ งไมชดั เจนจะเปนพืชใบเลี้ยงคู ) ขน้ั สาํ รวจและคนพบ/ขั้นการเตรียมการคนหาคําตอบ 1. ครแู ละนักเรียนรวมกันทาํ ความเขา ใจวิธกี ารทํากิจกรรมตอนที่ 2.1 โครงสรางภายในปลายยอดตัด ตามยาว พรอ มกับเนนใหนักเรยี นบนั ทึกผลโดยการวาดรูปหรือถายรูปโครงสรา งปลายยอดท่ีเห็นภายใต กลอ ง จุลทรรศน พรอ มระบบุ รเิ วณตางๆ 2. ครมู อบหมายใหน ักเรียนศึกษาโครงสรา งภายในของปลายยอด จากน้ันครูใชภาพประกอบ แสดง ปลาย ยอดพชื ตัดตามยาว เพื่อรว มกนั สรุปเกย่ี วกับโครงสรางปลายยอดซง่ึ แบง เปนบริเวณตาง ๆ โดยในแตล ะ บรเิ วณจะมีเซลลทแ่ี ตกตางกันซง่ึ เหมาะสมกับการทําหนา ที่ที่แตกตางกัน 3. ระหวา งการทํากจิ กรรมตอนที่ 2.1 ใหค รตู รวจสอบความเขาใจของนกั เรยี นโดยใหน ักเรียนแตล ะ กลุม เลื่อนหาเนื้อเยือ่ ภายใตกลอ งจลุ ทรรศน เพ่อื ดูบริเวณตาง ๆ ของโครงสรางปลายยอดทงั้ 4 บริเวณ โดย ใหนกั เรยี นในกลุมทุกคนมสี วนรว มในการตรวจสอบความเขาใจน้ี 4. ตัวอยา งผลการทํากิจกรรม รูปวาดจากการศึกษาโครงสรางภายในของปลายยอดพืชตดั ตามขวาง โดย ครูสดุ าภรณ สืบบญุ เปยม กลมุ สาระการเรยี นรู วิทยาศาสตร

แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าชีววิทยา3 มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 5 34 5. ครูและนักเรียนรวมกันทาํ ความเขาใจวธิ ีการทํากิจกรรมตอนที่ 2.2 โครงสรางภายในของลําตนตัด ตามขวาง ภายในของลําตนตัดตามขวางท่ีมีระยะการเติบโตปฐมภูมิท่ีเห็นภายใตกลองจุลทรรศน พรอมระบุ บริเวณ ตาง ๆ และบันทึกรายละเอียดเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกตางของเนื้อเยื่อแตละบริเวณ ของ ลําตนถั่วเขยี วและขาวโพดในรปู แบบตาราง 6. ครมู อบหมายใหน ักเรียนศึกษาโครงสรา งภายในของลําตนตัดตามขวาง จากน้ันครูใชภาพประกอบ แสดงลําตน พชื ใบเลีย้ งคแู ละลาํ ตน ใบเลี้ยงเดี่ยวตัดตามขวาง เพื่อรวมกันสรุปเกี่ยวกับโครงสรางของลําตน พืช ใบเลี้ยงคูและลําตนพืชใบเล้ียงเดี่ยวที่มีการเติบโตปฐมภูมิมีเน้ือเยื่อแบงออกไดเปน 3 ช้ัน เหมือนกัน ไดแก เอพิเดอรมสิ คอรเ ทกซ และสตลี แตมีการจัดเรียงของเนือ้ เยื่อในช้นั สตลี ทีแ่ ตกตา งกนั 7. ระหวา งการทํากิจกรรมตอนท่ี 2.2 ครตู รวจสอบความเขา ใจของนักเรียนโดยใหนักเรียนแตละกลุม เลื่อน หาเนือ้ เยือ่ ภายใตกลองจุลทรรศน เพอ่ื ดบู ริเวณตา งๆ ของโครงสรา งภายในของลาํ ตนระยะท่ีมีการเติบโต ปฐมภูมิ โดยใหน กั เรยี นในกลุม ทกุ คนมีสว นรว มในการตรวจสอบความเขา ใจ ขน้ั อธิบายและลงขอสรุป/ขั้นดําเนนิ การคนหาคําตอบและตรวจสอบคาํ ตอบ 1. ครแู ละนกั เรียนรว มกนั อภปิ รายผลการทาํ กจิ กรรม ตวั อยางผลการทาํ กจิ กรรม รูปวาดจากการศกึ ษาโครงสรางภายในของลําตนระยะที่มีการเจรญิ เติบโตปฐมภูมิ 2. ครแู ละนักเรยี นรวมกนั อภปิ รายเพม่ิ เติมเกย่ี วกบั ผลการทํากิจกรรมวา วาสคิวลารบันเดิลในพืชใบ เล้ียง เดยี่ วจะเรียงตัวกระจายอยทู วั่ เนอ้ื เย่ือพ้ืน ทําใหขอบเขตของคอรเทกซและพธิ ไมชัดเจนจึงทาํ ใหไ ม สามารถระบบุ ริเวณของคอรเทกซแ ละพธิ ลงในรปู วาดได ซึ่งตางจากลาํ ตนพชื ใบเล้ยี งคูทส่ี ามารถระบุ ขอบเขต บริเวณของคอรเทกซและพธิ ไดช ัดเจน 3. ตารางเปรยี บเทยี บชนิดของเซลลห รือเนอ้ื เย่ือและการจัดเรยี งเน้ือเยอ่ื บริเวณลาํ ตนถ่ัวเขียวและ ขาวโพดท่ี มีการเติบโตปฐมภูมิ โดย ครสู ุดาภรณ สืบบุญเปยม กลุม สาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาชวี วิทยา3 มธั ยมศึกษาปที่ 5 35 4. ครใู หน ักเรียนตอบคาํ ถามทา ยกิจกรรมโดยมแี นวคาํ ตอบดงั น้ี - เนือ้ เยอ่ื ช้ันตางๆ และการจัดเรยี งตวั ของวาสควิ ลารบ นั เดิลในลาํ ตนพชื ใบเล้ยี งคูและพืชใบเล้ยี ง เดีย่ วเหมือนหรอื แตกตางกนั อยา งไร (แนวคาํ ตอบ ลกั ษณะท่ีเหมอื นกนั คือ ลําตนพชื ใบเลี้ยงคูและพืชใบเลี้ยงเด่ียวประกอบดวยเนื้อเย่ือ 3 บริเวณ คือ เอพิเดอรมิส คอรเทกซ สตีล ลักษณะท่ีตางกัน คือ ลําตนพืชใบเล้ียงคูมีคอรเทกซชัดเจน ในชั้นสตีลมี วาสคิวลารบันเดิล หลายกลุมเรียงเปนระเบียบเปนวง แตละกลุมมีเนื้อเยื่อทอลําเลียงดานในเปนไซเล็ม และ ดานนอก เปนโฟลเอ็มเรียงตัวในแนวรัศมีเดียวกัน สวนลําตนพืชใบเลี้ยงเด่ียวมีวาสคิวลารบันเดิลกระจายทั่ว เนื้อเย่ือพ้ืน ทาํ ใหเ หน็ ขอบเขตของพิธและคอรเทกซไมชัดเจน ไซเล็มและโฟลเอ็มเรียงตัวในแนวรัศมี เดียวกัน มลี ักษณะเฉพาะคลายหวั กะโหลกคน) - ถา โครงสรางตัดตามขวางท่ีเห็นในกลองจุลทรรศนเปนสวนของลําตนใกลยอดหรือใกลโคน ลําตน ทราบไดอยา งไร (แนวคําตอบ ทราบไดจ ากการสังเกตเนือ้ เยื่อผวิ และการจดั เรียงของวาสควิ ลารบ ันเดิลถามองเห็นวาเนื้อเยื่อผิว ดานนอกเปน เน้อื เยอื่ เอพิเดอรม สิ ซ่ึงลําตน พืชสว นใหญมชี ้นั เดยี ว และในช้ันสตลี พบวาสคิวลารบันเดิลมีจํานวน หลายกลมุ เรยี งเปน ระเบยี บรอบลาํ ตน ซ่ึงเปน รปู แบบการจดั เรยี งของเน้ือเยอ่ื ท่ีพบ ในการเตบิ โตปฐมภมู ิ ดังนั้น โครงสรา งทเ่ี ห็นเปนสวนของลําตนพชื ใบเลยี้ งคูใกลยอด ถามองเห็นวาเนอ้ื เยื่อผิวดานนอกเปนเพริเดิรมโดยมี คอรกหลายชั้นเรียงตัวอยูชั้นนอกสุด และในช้ันสตีลพบเน้ือเยื่อทอลําเลียงเกิดเพ่ิมข้ึนจนเชื่อมเปนวง โดยมี วาสควิ ลารแคมเบยี มอยู ระหวา งโฟลเอม็ และไซเล็ม ซึ่งเปนรูปแบบการจัดเรียงของเนื้อเย่ือที่พบในการเติบโต ทตุ ิยภมู ิ ดังนัน้ โครงสรางทเ่ี ห็นเปนสวนของลาํ ตน พืชใบเลี้ยงคใู กลโ คน) โดย ครสู ดุ าภรณ สืบบญุ เปย ม กลุมสาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าชีววิทยา3 มธั ยมศกึ ษาปท่ี 5 36 ขั้นขยายความรแู ละนาํ เสนอผลการคน หาคําตอบ 1. ครูและนักเรียนรว มกันอภิปรายเพอ่ื เปรียบเทียบเน้ือเยื่อช้นั ตา ง ๆ ของรากและลําตน วาเหมอื น หรอื แตกตา งกันอยา งไร โดยมแี นวทางการเปรียบเทียบสรปุ ได ดังตาราง โดย ครูสดุ าภรณ สืบบุญเปย ม กลุมสาระการเรยี นรู วิทยาศาสตร

แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าชวี วิทยา3 มธั ยมศึกษาปท่ี 5 37 2. ครูใชภาพประกอบ ซงึ่ แสดงลําตนพชื ใบเล้ยี งคูชนิดพชื ลมลุกระยะท่ีมกี ารเตบิ โตทุตยิ ภูมิ อธบิ าย เกีย่ วกับการ เตบิ โตทตุ ิยภมู ิของลําตน พืชใบเล้ยี งคูวา ทําใหลําตน มขี นาดใหญข ึ้น 3. ครใู หค วามรเู พิ่มเติมกับนักเรียนเก่ียวกับลาํ ตนพืชใบเลีย้ งคูชนิดพืชลมลุกที่มีการเติบโตทุติยภูมิ จะ มี วาสคิวลารแคมเบียมที่อยูในมัดทอลําเลียง ทําหนาที่แบงเซลลสรางเน้ือเย่ือทอลําเลียงทุติยภูมิภายในกลุม ทอลําเลียงเดิม และมีวาสคิวลารแคมเบียมท่ีอยูระหวางมัดทอลําเลียงโดยจะเช่ือมเรียงตัวเปนวงตอกับ วาสควิ ลารแคมเบียมท่ีอยูในกลุมทอลําเลียง โดยจะแบงเซลลสรางไซเล็มทุติยภูมิดานในและโฟลเอ็มทุติยภูมิ ดา นนอก ช่ัวโมงท่ี 5-6 ขน้ั นาํ เขาสบู ทเรียน/ขั้นตงั้ คําถาม 1. ครูใชภาพประกอบ ซงึ่ แสดงลําตน พชื ใบเลย้ี งคูชนิดไมต น ระยะท่ีมีการเตบิ โตทุตยิ ภมู อิ ธิบาย เกย่ี วกับการเติบโต ทตุ ยิ ภูมิของพืชใบเล้ียงคชู นิดไมต น และเพริเดริ มและใชคําถามถามนกั เรยี นวา - มีพชื ชนดิ ใดบา งทมี่ ีเน้อื ไม นอกจากลําตนพชื ใบเลี้ยงคูแลว ในพืชใบเลี้ยงเด่ียวมเี นอ้ื ไมห รอื ระยะท่ี มี การเติบโตทุตยิ ภูมหิ รือไม ยกตัวอยา ง โดย ครูสุดาภรณ สบื บญุ เปยม กลมุ สาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาชวี วิทยา3 มธั ยมศึกษาปท่ี 5 38 ขัน้ สาํ รวจและคนพบ/ข้ันการเตรยี มการคนหาคําตอบ 1. ครูใชภาพประกอบ ซง่ึ แสดงเน้อื ไม และเปลือกไมข องลําตน พืชที่มีอายมุ าก อธบิ ายเกย่ี วกับ เน้ือไม แกนไม และวงป จากนน้ั ครใู หน ักเรยี นรว มกันอภปิ รายเพื่อตอบคําถาม - จํานวนวงปข องตน ไมบอกอะไรไดบ าง (แนวคําตอบ บอกอายุของตนไม จากจํานวนวงปท ี่เห็น) - ความกวา งของชั้นวงปทเี่ กดิ จากไซเล็มทีม่ ีสีจางบอกใหท ราบเรอื่ งอะไร (แนวคําตอบ บอกใหทราบวา ในฤดกู าลนัน้ ของปมีนา้ํ อดุ มสมบูรณ เซลลม กี ารเจรญิ เติบโตดี โดยเฉพาะไซเลม็ จะมี เซลลขนาดใหญกวาปกติ) 2. ครมู อบหมายใหนักเรยี นแตละกลุม สืบคน ขอมูล และยกตัวอยา งการใชประโยชนจากลาํ ตนพืชใบ เล้ียงคู และลําตนพืชใบเลี้ยงเดย่ี วโดยใชความรเู กยี่ วกับโครงสรา งของลําตน เพ่อื อธบิ ายเหตุผลวา เพราะเหตุใด พชื ชนดิ ดงั กลาวจงึ เหมาะสมกบั การใชป ระโยชนใ นดานนนั้ ข้ันอธบิ ายและลงขอ สรุป/ข้ันดําเนนิ การคนหาคําตอบและตรวจสอบคาํ ตอบ 1. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายตัวอยางการใชประโยชนจากลําตนพืชใบเล้ียงคูและลําตนพืชใบ เล้ยี งเดย่ี ว โดยมตี ัวอยางการใชประโยชนข องพชื ดงั นี้ การใชประโยชนจ ากลาํ ตน ยางพารา ปจจุบันมีการนําไมยางพารามาใชผลิตเฟอรนิเจอร ทําไมแปรรูป เพื่อทดแทนไมปาขนาดใหญใน ธรรมชาติ เนอื่ งจากยางพาราเปน พืชใบเลี้ยงคชู นิดไมตนและมเี น้อื ไม โดยในการเตบิ โตทตุ ิยภูมิ วาสควิ ลารแคมเบียมจะแบง เซลลเขาดานในเกดิ เปน ไซเล็มท่ปี ระกอบดว ยเวสเซลเมมเบอรและไฟเบอรจํานวน มากซ่งึ เปน เซลลท่มี ผี นงั เซลลท ่แี ข็งแรงจงึ ทําใหไมจ ากยางพาราเหมาะแกการนํามาใชในการผลิต เฟอรนิเจอร ไมแปรรูป การใชป ระโยชนจากล าตนไมไ ผ ไผเ ปน พชื ที่นิยมนาํ มาใชผ ลติ เปนเคร่ืองจกั สานตัง้ แตอ ดตี จนถึงปจ จุบนั เนอื่ งจากเนอื้ เย่อื ของลําตนไผ มีไฟเบอรจํานวนมาก ซึ่งเปนเซลลที่มีผนังเซลลที่แข็งแรง จึงทําใหลําตนไผยืดหยุน เหนียว เหมาะสําหรับ นาํ มาใชท ําเครือ่ งจกั สาน ขั้นขยายความรูและนาํ เสนอผลการคนหาคาํ ตอบ 1. ครมู อบหมายใหนักเรยี นแตล ะกลุม สบื คนขอมูลเกีย่ วกบั หนาทข่ี องลาํ ตน ทีท่ าํ หนาทแ่ี ตกตางจาก ลาํ ตน เหนือผวิ ดินโดยทว่ั ไป 2. ครแู ละนักเรียนรว มกนั อภิปรายเกีย่ วกบั หนาทข่ี องลําตนทท่ี ําหนา ท่แี ตกตางจากลําตน เหนือผวิ ดิน โดยทวั่ ไป ดังนี้ ตัวอยา งลาํ ตน ทเี่ จริญเหนอื ระดบั ผวิ ดิน - กระบองเพชร ลาํ ตนคลายใบ (cladophyll) ลาํ ตน สีเขยี วทําหนา ทส่ี งั เคราะหด ว ยแสงแทนใบ - เฟอ งฟา หนามจากลําตน (thorn) ก่งิ ของลําตนท่เี ปล่ียนสภาพเปน หนาม - แตงกวา ลําตนมอื เกาะ (stem tendril) สวนของลาํ ตน ท่เี ปลีย่ นเปนมือเกาะ ตัวอยา งลําตน ท่ีเจริญ อยูใตระดบั ผวิ ดิน โดย ครสู ุดาภรณ สืบบุญเปยม กลุม สาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าชีววิทยา3 มธั ยมศึกษาปท่ี 5 39 - ขา เหงา (rhizome) ลําตนใตดนิ ทเ่ี จรญิ เติบโตตามผิวดนิ - เผอื ก หวั (corn) เปนลาํ ตนใตด นิ ทําหนา ท่สี ะสมอาหาร รูปรา งคอ นขา งกลม เห็นขอปลอ งชดั เจน - มันฝร่งั หัวแบบมนั ฝร่งั (tuber) เปน ลําตน ใตดนิ ทาํ หนาท่ีสะสมอาหาร รูปรางคอนขางกลม มีตา รอบหัว ข้นั สรปุ และประเมินผล 1) สมดุ บันทกึ ประสบการณก ารเรยี นรู สรปุ สาระสาํ คัญของเร่อื งทเี่ รียน 2) แบบบันทึกกิจกรรม 2.1 เรอ่ื ง โครงสรางภายในปลายยอดตดั ตามยาว 3) แบบบนั ทึกกจิ กรรม 2.2 เรอื่ ง โครงสรา งภายในของลําตนตดั ตามขวาง 9. ส่ือการเรยี นการสอน / แหลงเรยี นรู รายการสือ่ จาํ นวน สภาพการใชสอ่ื 1. สมุดบันทกึ ประสบการณการเรียนรู สรปุ สาระสําคญั ของเรื่องที่เรยี น 1 ชดุ ข้ันอธิบายและลงขอ สรุป 2. แบบบนั ทกึ กิจกรรม 2.1 เรอ่ื ง โครงสรางภายในปลายยอดตัด ตามยาว 1 ชุด ข้ันอธิบายและลงขอสรปุ 3. แบบบนั ทกึ กิจกรรม 2.2 เร่อื ง โครงสรา งภายในของลําตนตดั ตามขวาง 1 ชุด ข้นั สาํ รวจและคน พบ โดย ครสู ดุ าภรณ สบื บุญเปย ม กลมุ สาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าชีววิทยา3 มธั ยมศึกษาปที่ 5 40 10. การวัดผลและประเมนิ ผล เปาหมาย หลักฐานการเรียนรู วิธวี ัด เครอ่ื งมอื วดั ฯ ประเด็น/ การเรียนรู ชิน้ งาน/ภาระงาน เกณฑการให บอกหนา ทขี่ องราก 1. สมดุ บันทึก คะแนน ตรวจสมุดบันทกึ แบบประเมนิ สมดุ บนั ทกึ รอ ยละ 65 ผา น พืชดอก โครงสรา ง ประสบการณการ ประสบการณก าร เกณฑ ของปลายรากตัด เรยี นรู สรปุ สาระสําคญั เรียนรู สรุป ตามยาว และการ ของเร่ืองทีเ่ รยี น สาระสําคญั ของ เปรียบเทยี บ เร่อื งท่เี รียน โครงสรางภายในของ 2. แบบบนั ทกึ กิจกรรม ตรวจแบบบนั ทกึ แบบบนั ทึกกจิ กรรม 2.1 รอยละ 65 ผา น รากพชื ใบเลี้ยงคู 2.1 เรอื่ ง โครงสรา ง กจิ กรรม 2.1 เรอื่ ง เร่ือง โครงสรา งภายใน เกณฑ และรากพชื ใบเล้ียง ภายในปลายยอดตดั โครงสรางภายใน ปลายยอดตัด ตามยาว เดีย่ วจากการตดั ตาม ตามยาว ปลายยอดตัด ขวางจากการเรยี น ตามยาว และการทํากิจกรรม 3. แบบบันทึกกิจกรรม ตรวจแบบบนั ทึก แบบบันทึกกจิ กรรม 2.2 รอยละ 65 ผา น 2.2 เรอ่ื ง โครงสราง กจิ กรรม 2.2 เรอ่ื ง เร่ือง โครงสรา งภายใน เกณฑ ภายในของลําตน ตดั โครงสรา งภายใน ของลาํ ตน ตดั ตามขวาง ตามขวาง ของลําตน ตดั ตาม ขวาง 4. พฤตกิ รรมการ สงั เกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คณุ ภาพ 2 ทํางานรายบุคคล การทํางาน การทํางานรายบคุ คล ผานเกณฑ รายบคุ คล 5. พฤติกรรมการ สงั เกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ 2 ทํางานรายกลุม การทํางานรายกลุม การทาํ งานรายกลุม ผานเกณฑ 6. คณุ ลกั ษณะ สังเกตความมวี นิ ยั แบบประเมิน ระดบั คุณภาพ 2 อันพงึ ประสงค ใฝเรยี นรแู ละมุงม่ัน คุณลกั ษณะ ผานเกณฑ ในการทํางาน อันพึงประสงค โดย ครสู ุดาภรณ สืบบญุ เปย ม กลุม สาระการเรยี นรู วิทยาศาสตร

แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาชวี วิทยา3 มธั ยมศึกษาปท่ี 5 41 แบบสงั เกตพฤติกรรมการทาํ งานรายบคุ คล คําชีแ้ จง : ใหผสู อนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว ขีด ลงในชองที่ ตรงกบั ระดับคะแนน ลําดบั ท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน 3 21 1 การแสดงความคิดเห็น   2 การยอมรบั ฟง ความคิดเหน็ ของผูอ น่ื   3 การทํางานตามหนาที่ท่ไี ดรับมอบหมาย   4 ความมนี า้ํ ใจ   5 การตรงตอ เวลา   รวม ลงชอ่ื ...................................................ผปู ระเมนิ (นางสาวสดุ าภรณ สบื บญุ เปย ม) ............./................../............... เกณฑการใหคะแนน ให 3 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤติกรรมอยา งสมาํ่ เสมอ ให 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบอ ยคร้งั ให 1 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั เกณฑก ารตัดสินคณุ ภาพ ชวงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14 - 15 ดีมาก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช ต่าํ กวา 8 ปรับปรุง โดย ครูสุดาภรณ สบื บญุ เปย ม กลุมสาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาชวี วิทยา3 มธั ยมศกึ ษาปที่ 5 42 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทํางานกลุม คาํ ช้แี จง : ใหผสู อนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลวขดี ลงในชองที่ ตรงกับระดับคะแนน การมี ลาํ ดบั ท่ี ช่อื – สกุล การแสดง การยอมรับ การทํางาน ความมี สว นรวมใน รวม ของนักเรียน ความ ฟงคนอื่น ตามทไ่ี ดร ับ นํา้ ใจ 15 คิดเห็น การ คะแนน มอบหมาย ปรบั ปรุง ผลงานกลุม 321321321321321 ลงชอื่ ...................................................ผปู ระเมิน (นางสาวสดุ าภรณ สืบบุญเปย ม) ............../.................../............... เกณฑการใหคะแนน ให 3 คะแนน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา งสมํา่ เสมอ ให 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบอยครงั้ ให 1 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั เกณฑการตัดสนิ คุณภาพ ชว งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14 - 15 ดีมาก 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช ตํ่ากวา 8 ปรบั ปรงุ โดย ครูสดุ าภรณ สืบบุญเปย ม กลมุ สาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาชวี วิทยา3 มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5 43 แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค คาํ ชีแ้ จง : ใหผูส อนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว ขดี ลงในชองที่ ตรงกบั ระดับคะแนน คุณลักษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อันพึงประสงคดาน 321 1. มวี ินยั รบั ผิดชอบ 1.1 ปฏิบตั ติ ามขอตกลง กฎเกณฑ ระเบียบ ขอ บังคบั ของครอบครวั มีความตรงตอ เวลาในการปฏิบัตกิ ิจกรรมตาง ๆ ในชวี ิตประจาํ วัน 2. ใฝเ รียนรู 2.1 รจู กั ใชเวลาวา งใหเปน ประโยชน และนาํ ไปปฏบิ ตั ไิ ด 2.2 รจู ักจดั สรรเวลาใหเ หมาะสม 2.3 เช่ือฟงคาํ สั่งสอนของบิดา - มารดา โดยไมโตแ ยง 2.4 ตั้งใจเรียน 3. อยอู ยา งพอเพยี ง 3.1 ใชท รพั ยส ินและสิ่งของของโรงเรยี นอยางประหยัด 3.2 ใชอ ปุ กรณก ารเรียนอยา งประหยัดและรูคุณคา 3.3 ใชจ า ยอยางประหยัดและมีการเกบ็ ออมเงิน 4. มุงม่ันในการทํางาน 4.1 มคี วามตั้งใจและพยายามในการทํางานที่ไดรบั มอบหมาย 4.2 มคี วามอดทนและไมท อแทตออปุ สรรคเพ่ือใหง านสําเร็จ ลงช่ือ...................................................ผปู ระเมิน (นางสาวสุดาภรณ สืบบุญเปยม) ............../.................../................ เกณฑการใหค ะแนน พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัติชัดเจนและสม่ําเสมอ ให 3 คะแนน พฤติกรรมทปี่ ฏิบัติชัดเจนและบอ ยคร้ัง ให 2 คะแนน พฤตกิ รรมทีป่ ฏบิ ัตบิ างครัง้ ให 1 คะแนน เกณฑก ารตัดสนิ คุณภาพ ชว งคะแนน ระดับคุณภาพ 51 - 60 ดีมาก 41 - 50 ดี 30 - 40 พอใช ตํา่ กวา 30 ปรับปรงุ โดย ครูสดุ าภรณ สบื บุญเปยม กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาชวี วิทยา3 มธั ยมศกึ ษาปที่ 5 44 11. ความเหน็ ของผบู รหิ ารสถานศึกษาหรอื ผูทไ่ี ดรบั มอบหมาย ขอ เสนอแนะ ลงชื่อ.................................................. (นายอดิศร แดงเรือน) 12. บนั ทกึ ผลหลังการสอน  เนอ้ื หา  กิจกรรมการเรยี นรู  สอ่ื ประกอบการเรยี นรู  พฤติกรรม/การมีสวนรว มของผเู รียน ลงช่อื ..................................................ผูสอน (นางสาวสดุ าภรณ สบื บญุ เปย ม) ตาํ แหนง พนกั งานราชการ โดย ครูสุดาภรณ สบื บญุ เปยม กลมุ สาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาชวี วิทยา3 มธั ยมศึกษาปท ี่ 5 45 แผนการจดั การเรยี นรู หนวยการเรียนรทู ่ี 9 เรอื่ ง โครงสรางและการเจริญเตบิ โตของพืชดอก แผนจดั การเรียนรทู ่ี 4 เร่อื ง โครงสรา งและการเจริญเติบโตของใบ รายวิชา ชีววิทยา4 รหสั วชิ า 32203 ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 5/1 ภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศึกษา 2564 นาํ้ หนักเวลาเรียน 1.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 3 ชั่วโมง/สัปดาห เวลาท่ใี ชใ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 4 ช่วั โมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสําคัญ ใบ มีหนา ทส่ี ังเคราะหด ว ยแสง แลกเปลยี่ นแกสและคายน้ํา ใบของพืชดอกประกอบดวย กานใบ แผน ใบ เสนกลางใบ และเสน ใบ พืชบางชนิดอาจไมมกี านใบ ท่ีโคนกานใบอาจพบหรือไมพบหูใบ โครงสรางภายใน ของใบตัดตามขวาง ประกอบดวย 3 สว น ไดแ ก เอพิเดอรมิส มโี ซฟล ล และวาสคิวลารบนั เดิล นอกจากนี้ พชื ใบเลียงคูและพืชใบเลียงเด่ียวมีรูปแบบการจัดเรียงเน้ือเยื่อท่ีแตกตางกันซึ่งสัมพันธกับ รปู แบบการเจรญิ เตบิ โตและการดาํ รงชวี ติ ของตน พชื เอง 2. มาตรฐานการเรียนรู/ ตัวชวี้ ัดชน้ั ป/ผลการเรียนรู/ เปาหมายการเรียนรู ผลการเรยี นรู 8. สงั เกต อธิบาย และเปรียบเทยี บโครงสรางภายในของใบพืชจากการตดั ตามขวาง 3. สาระการเรียนรู 3.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge โครงสรา งภายนอกและบอกหนา ทขี่ องใบพชื ดอก โครงสรางภายในของใบพชื ใบเลียงคแู ละใบพชื ใบ เลยี งเด่ียวจากการตัดตามขวาง จากการเรียน และการทาํ กจิ กรรม 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process 1) การสงั เกต การจําแนกประเภท จากการทาํ กจิ กรรม 2) การจดั กระทําและสอ่ื ความหมายขอมูล 3) การสอ่ื สารสารสนเทศและการรเู ทาทันสอื่ จากรปู วาด คาํ บรรยายของรูปตวั อยา งพืช และ บนั ทึกผล การทดลอง 3.3 คณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค : Attitude 1) สนใจใฝร ูในการศึกษา 2) ความอยากรูอยากเห็น 3) ความมวี ิจารณญาณ 4) ความใจกวา ง 4. สมรรถนะสําคญั ของนักเรยี น 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแกปญ หา 4) ความสามารถในการใชทกั ษะชีวติ 5) ความสามารถในการใชเทคโนโลยี โดย ครูสดุ าภรณ สบื บญุ เปยม กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าชีววิทยา3 มธั ยมศึกษาปที่ 5 46 5. คณุ ลกั ษณะของวิชา 1) ความอยากรอู ยากเห็น 2) ความมวี จิ ารณญาณ 3) ความใจกวา ง 6. คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค 1. มวี นิ ยั 2. ใฝเ รียนรู 3. อยอู ยางพอเพียง 4. มงุ มนั่ ในการทํางาน 7. ช้ินงาน/ภาระงาน : 1) สมุดบันทกึ ประสบการณการเรยี นรู สรปุ สาระสําคญั ของเรื่องทเ่ี รยี น 2) แบบบันทึกกจิ กรรมตอนที่ 1 เรอื่ ง โครงสรางภายนอกของใบพืชใบเลย้ี งคู และใบพืชใบเลย้ี งเด่ยี ว 3) แบบบันทกึ กิจกรรมตอนที่ 2 เร่ือง โครงสรา งภายในของใบพืชใบเล้ียงคู และใบพชื ใบเลี้ยงเด่ยี ว 8. การบรูณาการงานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน งานสวนพฤกษศาสตรโรงเรยี น ในโครงการอนรุ ักษพนั ธกุ รรมพืชอนั เนื่องมาจากพระราชดาํ ริสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี มีวตั ถุประสงคใหเ ยาวชนไดมโี อกาสใกลชิดกบั พืชพรรณไม ได เรยี นรถู ึงพชื ทอ งถนิ่ ของตน ชวยกนั ดูแลไมใ หส ูญพันธุ ซงึ่ จะกอ ใหเ กิดจิตสาํ นกึ ในการที่ จะอนุรกั ษส ืบไป การ ดาํ เนินงานประกอบดว ย 5 องคประกอบและ 3 สาระการเรียนรู เรือ่ งทจ่ี ะบรู ณาการ (หวั ขอ ยอยในแบบประเมิน) องคป ระกอบที่ 3 การศกึ ษาขอมูลดานตางๆ ลําดับการเรยี นรูท่ี 2 การศกึ ษาพรรณไมท ่ีสนใจ 1. การศึกษาลักษณะภายนอก ภายในของพชื แตล ะสวนโดยละเอียด สาระการเรยี นรู ธรรมชาตแิ หงชวี ิต ลาํ ดับการเรยี นรูท ี่ 1 สมั ผัสเรียนรวู งจรชีวิตของชีวภาพอ่ืนๆ 1.1 ศกึ ษาดา นรูปลกั ษณ ไดขอมูลการเปลย่ี นแปลงและความแตกตางดา นรูปลกั ษณ 1.2 ศึกษาดานคุณสมบตั ิ ไดขอ มูลการเปลย่ี นแปลงและความแตกตางดา นคุณสมบัติ 9. กิจกรรมการเรียนรู การเตรียมลว งหนา 1) ครมู อบหมายใหน ักเรยี นศกึ ษารายละเอยี ดของกิจกรรม โดยเฉพาะวสั ดุและอปุ กรณและวธิ กี าร ทํา กิจกรรม เพ่ือเตรียมการลว งหนา กอนถึงวนั ทาํ กจิ กรรมจริง 2) ครศู กึ ษาโครงสรางภายในของใบพชื ใบเลยี งคูและใบเลียงเดี่ยวที่ตองการศึกษาลว งหนา กอ นสอน จรงิ เพอื่ ใหครูสามารถใหคาแนะนา และตอบคา ถามแกนักเรียนไดอยางมนั่ ใจ ชัว่ โมงท่ี 1-2 ข้นั นาํ เขา สูบ ทเรยี น/ขัน้ ต้ังคําถาม 1. ครูใชใบพชื ใหนักเรียนสังเกตโครงสรางภายนอกของใบ อธบิ ายเกย่ี วกับหนา ทข่ี องใบ จากนั้นใช คําถามถาม นักเรยี นวา โดย ครูสดุ าภรณ สืบบญุ เปยม กลมุ สาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าชวี วิทยา3 มธั ยมศึกษาปท่ี 5 47 - โครงสรางของใบประกอบดวยเน้ือเยอื่ อะไร มีความสมั พนั ธกับการสงั เคราะหด วยแสงและการ แลกเปลี่ยนแกส และคายนํ้าาอยา งไร (แนวคําตอบ คําตอบอาจมไี ดห ลากหลายซง่ึ นักเรยี นจะไดคาํ ตอบหลังจากเรียน เร่ือง โครงสรา งและ การ เจรญิ เติบโตของใบ) ขัน้ สํารวจและคนพบ/ขัน้ การเตรียมการคน หาคําตอบ 1. ครใู หนกั เรียนทํากจิ กรรม โครงสรางและการเจรญิ เติบโตของใบ โดยครแู จง จุดประสงคของ กิจกรรม โดยแสดงไวบนกระดานหนาชน้ั เรยี น และอธิบายจดุ ประสงคแ ตล ะขอกบั นกั เรียนใหช ัดเจน โดยเนน วาเมื่อจบกจิ กรรมและการเรียนเร่อื งโครงสรา งและการเจริญเตบิ โตของใบแลว นักเรียนตองอธิบาย โครงสราง ภายในของใบพืชจากการตัดตามขวางได 2. ครูและนกั เรียนรว มกันทําความเขาใจวิธกี ารทํากิจกรรมตอนท่ี 1 โครงสรา งภายนอกของใบพชื ใบ เลย้ี งคู และใบพืชใบเล้ยี งเดย่ี ว พรอมกับเนนใหน กั เรียน บันทึกผลจากการสงั เกตลกั ษณะภายนอกของใบ เปรยี บเทยี บระหวา งใบพืชใบเลย้ี งคูแ ละพชื ใบเล้ียงเด่ยี วในรปู แบบของตาราง 3. ครูใชภาพประกอบแสดง ปลายยอดพืชตัดตามยาว อธิบายเกี่ยวกบั การเจรญิ เตบิ โตของใบ 4. ครมู อบหมายใหนกั เรยี นศึกษาโครงสรา งภายนอกของใบพืชใบเล้ียงคแู ละใบพืชใบเล้ียงเด่ียว จากน้ันครูใช ภาพประกอบ ซึ่งแสดงโครงสรางภายนอกของใบ เพ่ือรวมกันสรุปกับนกั เรียนเกี่ยวกับโครงสรา ง ภายนอกของ ใบพชื และเพอ่ื ใหนักเรยี นใชข อมูลประกอบการบันทึกผลการทดลอง ข้ันอธบิ ายและลงขอสรปุ /ข้ันดาํ เนนิ การคน หาคําตอบและตรวจสอบคําตอบ 1. ครใู หนักเรยี นรวมกนั อภปิ รายเพือ่ ตอบคําถาม - การทใี่ บของพชื มลี ักษณะเปนแผนแบนเหมาะสมตอการสรา งอาหารของพืชอยา งไร (แนวคาํ ตอบ ใบของพืชทีม่ ีลกั ษณะเปน แผนแบนทาํ ใหใบมีพืน้ ที่ผิวในการรบั แสงมาก ซงึ่ ชว ยใหสารสี ในใบพชื ดูดกลืนแสงไดม ากและนาํ ไปใชในกระบวนการสังเคราะหดว ยแสง) - การที่เสนใบแตกแขนงไปทว่ั แผน ใบชวยสง เสริมการทําหนาทีข่ องใบอยางไร (แนวคําตอบ ชวยในการคาํ้ จุนโครงสรางของใบ และทาํ ใหพ ชื สามารถลาํ เลียงน้าํ ธาตุอาหาร และ อาหารไดท ่วั ทัง้ แผนใบ) 2. ตวั อยางผลการทํากิจกรรม โดย ครูสดุ าภรณ สืบบญุ เปย ม กลุมสาระการเรยี นรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาชวี วิทยา3 มธั ยมศึกษาปท ี่ 5 48 ข้ันขยายความรูและนําเสนอผลการคน หาคําตอบ 1. ครูและนักเรียนรว มกันอภิปรายโดยใชคาถามดังน้ี - ลักษณะใบของพชื แตล ะชนดิ เหมอื นหรอื ตา งกนั อยางไร (แนวคาํ ตอบ ลกั ษณะท่เี หมอื นกนั คอื ใบพชื ใบเลี้ยงคแู ละใบพชื ใบเลยี้ งเดย่ี ว มีโครงสรา ง 2 สว น คือ แผน ใบและ กานใบ แผน ใบเปนแผน แบน มสี เี ขียวและมีเสน ใบ ลักษณะทต่ี างกนั คอื มีขนาดรปู รา ง และลกั ษณะการเรยี งตัวของเสน ใบ ความเขมของสเี ขียว ท่ีใบ ดานบนและดานลางไมเ ทา กนั หรือผิวใบดานบนสีเขมกวา ผิวใบดา นลาง หรอื พืชบางชนิดมีผิวใบ ดา นบนและ ดานลางตางสีกนั และผิวใบดานบนมักจะมนั กวาผิวใบดา นลา ง อาจมีกานใบหรือไมมกี ็ได ขอบใบและปลายใบ อาจมลี กั ษณะแตกตางกันไป เชน หยักเวามากนอยตา งกัน ผิวใบบางชนิดอาจมี ขนหรอื ตอม) 2. ครใู หนกั เรยี นสืบคนความรเู พิ่มเตมิ เพอ่ื ตอบคําถามชวนคิด - ใหน กั เรยี นยกตัวอยางการใชป ระโยชนจากใบพืชใบเลีย้ งคูและใบพืชใบเลีย้ งเดีย่ ว โดยใชความรู เกีย่ วกบั โครงสรา งของใบเพอื่ อธิบายเหตุผลวา เพราะเหตใุ ดพืชชนดิ ดังกลา วจงึ เหมาะสมกับการใช ประโยชน ในดา นนนั้ (แนวคาํ ตอบ แนวทางการสืบคนขอมูลตวั อยางการใชประโยชนจากใบพชื ใบเลี้ยงคแู ละใบพืชใบ เลี้ยง เดี่ยวเปนดังนี้ ) การใชป ระโยชนจ ากใบบวั มนษุ ยใชใ บบัวในการหอ อาหารมาตั้งแตโ บราณ เนอ่ื งจากใบบัวมีแผนใบทกี่ ลม ใหญม ีเสน ใบสานเปน รางแห ทาํ ใหเหนยี วไมฉ ีกขาดงา ย เหมาะกบั การใชหออาหาร นอกจากนี้ บริเวณเอพิเดอรม สิ ดานบนยงั มี ชน้ั ควิ ทเิ คิลหนา ซง่ึ สรางขนึ้ มาเพ่ือปองกันการระเหยของนํ้าและทําใหน ํา้ สามารถกล้งิ ไปมาบนใบจบั ฝนุ หรอื ส่ิง สกปรกท่ตี ิดอยูชวยทําความสะอาดผิวใบ อีกทง้ั บัวยงั ไมม ผี ลกึ หรือพิษอยภู ายใน การใชป ระโยชนจากใบกลว ย มนษุ ยใ ชประโยชนจ ากใบกลวยในการหออาหาร ขนม ประดิษฐบ ายศรี กระทง และยังใชก า นใบใน การทาํ เชอื กกลว ยมาตงั้ แตโบราณ เนื่องจากใบกลวยมแี ผน ใบที่ใหญ สามารถฉกี แบงเปน แผน ตามเสนใบ ได งา ย อกี ท้ังมคี วามเหนียวและพบั ไดง า ย หากพิจารณาท่โี ครงสรางภายในตดั ตามขวางของใบกลว ยจะ พบวามี ชอ งอากาศขนาดใหญอยูร ะหวางวาสควิ ลารบ ันเดิลซึ่งลักษณะน้ี เองทที่ ําใหใบกลวยฉกี แบง ไดง าย และ เน่ืองจากโครงสรางของใบกลว ยมไี ฟเบอรจ ํานวนมากทั้งเอพเิ ดอรมสิ ดา นบนและเอพเิ ดอรมิสดา นลาง จึงทําให ใบกลว ยมคี วามเหนียวและยืดหยุน ช่วั โมงที่ 3-4 ข้ันนาํ เขา สบู ทเรียน/ขน้ั ตัง้ คาํ ถาม 1. ครูทบทวนเกย่ี วกับโครงสรางและหนา ทข่ี องลําตนพืชใบเลย้ี งเดีย่ วและพืชใบเลีย้ งคู โดยใชคําถามถาม นักเรียนวา - ใหนักเรยี นยกตัวอยา งพชื ใบเลีย้ งเดี่ยว และพืชใบเล้ียงคู และบอกความแตกตางของพชื ใบเลย้ี งเด่ียว และพชื ใบเลี้ยงคู (แนวคําตอบ ตวั อยา งพืชใบเล้ยี งเดยี่ ว – ขาวโพด ขา ว ออ ย ไผ มะพรา ว ปาลม บวั กลวยไม กลวย เปนตน ตัวอยางพชื ใบเลี้ยงคู – มะมว ง ขนนุ ลาํ ไย ถ่วั เขียว มะละกอ หมอนอ ย เปน ตน ขอแตกตา งระหวา ง โดย ครสู ดุ าภรณ สบื บญุ เปย ม กลุมสาระการเรยี นรู วิทยาศาสตร

แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาชีววิทยา3 มธั ยมศกึ ษาปท่ี 5 49 พชื ใบ เล้ียงเด่ียวและพืชใบเล้ยี งคูสามารถสังเกตไดจ ากลําตน ถา ลําตน เห็นขอ ปลองชดั เจนจะเปน พืชใบเล้ียง เด่ียว ถา มองเห็นขอปลองไมช ัดเจนจะเปน พืชใบเลย้ี งคู ) ขนั้ สํารวจและคนพบ/ข้ันการเตรยี มการคน หาคําตอบ 1. ครูและนกั เรยี นรวมกนั ทาํ ความเขาใจวธิ กี ารทํากจิ กรรมตอนท่ี 2 โครงสรางภายในของใบพืชใบ เล้ยี งคู และใบพชื ใบเลีย้ งเดยี่ ว พรอ มกบั เนน ใหนกั เรยี นบนั ทกึ ผลโดยการวาดรปู หรอื ถา ยรปู โครงสรางภายใน ของ ใบที่เห็นภายใตกลองจุลทรรศน พรอ มระบุบริเวณตาง ๆ และบนั ทึกรายละเอยี ดเปรียบเทียบเนือ้ เยอ่ื แต ละชั้นของใบพชื ใบเลย้ี งคูและใบพืชใบเลี้ยงเดี่ยวในรูปแบบตาราง 2. ครมู อบหมายใหน กั เรียนศกึ ษาโครงสรา งภายในของใบพืชใบเลย้ี งคูและพืชใบเลย้ี งเดยี่ วจากน้นั ครู ใชภาพประกอบ โครงสรา งภายในของใบพืชตัดตามขวาง เพ่อื รวมกนั สรปุ กับนักเรียนเกี่ยวกับโครงสรางใบของ พืชใบ เลี้ยงคูและพืชใบเลย้ี งเด่ียวตัดตามขวาง 3. ระหวางการทาํ กจิ กรรมตอนท่ี 2 ครูตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนโดยใหน กั เรยี นแตละกลมุ เลื่อน หาเนอ้ื เยือ่ บรเิ วณตา งๆ ของโครงสรางใบของพชื ใบเลยี้ งคูแ ละพชื ใบเล้ยี งเดีย่ วตดั ตามขวาง โดยให นักเรียนในกลุมทกุ คนมีสว นรว มในการตรวจสอบความเขาใจนี้ 4. ในการทดลองครูเนนยํา้ ใหนกั เรยี นวางช้ินตัวอยางใบโดยวางดานท่เี ปนรอยตดั ขึ้นดานบน ข้นั อธิบายและลงขอสรุป/ข้ันดําเนินการคน หาคําตอบและตรวจสอบคําตอบ 1. ครแู ละนักเรียนรวมกนั อภปิ รายผลการทํากิจกรรม ตวั อยางผลการทาํ กิจกรรม รูปวาดจากการศึกษาโครงสรางภายในของใบพชื ใบเลยี้ งคแู ละใบพืชใบเลย้ี งเดีย่ ว 2. ครแู ละนักเรียนรวมกันอภปิ รายเกย่ี วกบั ตารางเปรียบเทียบชนิดของเซลลหรือเน้ือเย่อื และการ จัดเรียง เน้ือเยอ่ื ของใบพืชใบเลยี้ งคูและใบพืชใบเลยี้ งเดย่ี ว โดย ครสู ุดาภรณ สบื บญุ เปย ม กลุมสาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตร

แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าชีววิทยา3 มธั ยมศกึ ษาปที่ 5 50 ขน้ั ขยายความรแู ละนําเสนอผลการคนหาคําตอบ 1. ครูและนักเรยี นรวมกนั อภปิ รายเพมิ่ เติมเกี่ยวกบั ผลการทาํ กิจกรรมวา ถ่ัวเขยี วเปนพืชที่มเี สนใบ ยอยแบบ เปนรางแห ทําใหมโี อกาสท่ีเม่อื ตัดตามขวางแลว อาจเห็นวาสควิ ลารบันเดิลตามยาวดงั รปู ในตวั อยาง ผลการ ทํากจิ กรรมได ซงึ่ ตา งจากพชื ใบเลีย้ งเดยี่ วท่ีมเี สนใบยอ ยแบบขนานทาํ ใหเ มอื่ ตัดตามขวางจะเห็น วาสคิวลารบันเดลิ ตามขวางในทกุ เสนใบท่ีตัดผาน 2. ครใู หนักเรยี นตอบคําถามทา ยกิจกรรมโดยมีแนวคาตอบดงั นี้ - วาสควิ ลารบนั เดิลในเสนใบมีการเรยี งตัวแตกตางจากรากและลําตนอยางไร (แนวคาํ ตอบ วาสคิวลารบ นั เดลิ ในเสนใบจะมไี ซเลม็ และโฟลเอ็มหลายกลุม เรยี งเปนแนวระนาบเดยี ว ตามแนว แผนใบ มขี นาดกลมุ แตกตา งกนั กลมุ ทมี่ ีขนาดใหญอยบู รเิ วณเสนกลางใบ กลมุ ทีม่ ีขนาดเล็กลดหลั่น กันไปอยูท ่ีบรเิ วณเสนใบและเสน ใบยอยโดยมไี ซเล็มอยูดา นบนและโฟลเอม็ อยดู านลาง ซงึ่ ตางจาก ลําตน ทีม่ ี การเรยี งวาสคิวลารบนั เดิลเปน วง โดยมโี ฟลเอม็ อยูด านนอกและไซเล็มอยดู า นใน ซ่ึงพบได ในราก ลําตน พืชใบ เลย้ี งคู และรากพชื ใบเล้ียงเดย่ี ว สว นวาสควิ ลารบ ันเดลิ ในลําตนพชื ใบเลี้ยงเดยี่ ว จะมหี ลายกลมุ เรียงกระจาย ทั่วเน้ือเยอื่ พืน้ ) - โครงสรางและการเรียงตัวของเซลลในเนื้อเยอ่ื ช้นั ตางๆ สมั พันธกบั หนาท่ขี องใบอยา งไร (แนวคําตอบ เอพิเดอรมิสซง่ึ มที ้ังดา นบนและดา นลา งประกอบดวยเซลลเรียงกันเปนชั้นเดียวปองกัน เซลลด า น ในและพบคลอโรพลาสตเฉพาะเซลลคุม ทําใหเกิดการปดเปดปากใบได อาจมีขนเพ่ือปกปองผิว ใบ ถัดจากเอพิเดอรม ิสดานบนลงมาเปนช้ันทม่ี ีเซลลรปู รางยาวเรยี งชิดกนั ในแนวตง้ั ฉากกับผิว โดยรอบเซลลจะไม สมั ผัสกันเรียกวา แพลิเซดมีโซฟลล แตละเซลลมีคลอโรพลาสตอยูหนาแนน ถัดจากช้ันแพลิเสดมีโซฟลลจะ พบเซลลที่มีรูปรางไมแนนอนเรียกช้ันน้ีวา สปองจีมีโซฟลล แตละ เซลลมีคลอโรพลาสต เซลลมีการเรียงตัว แบบหลวม ๆ ทาํ ใหเ กิดชอ งวางระหวางเซลลข นาดใหญ เปนจํานวนมากเหมาะกับการใหไอนํ้าแทรกอยูและมี การคายนาํ้ ตอ ไป ทัง้ แพลิเซดมีโซฟล ลแ ละ สปองจีมโี ซฟลล จึงทําหนาท่ีสังเคราะหดวยแสง ใบพืชจะหันดาน แพลเิ ซดมโี ซฟล ลรับแสง ทาํ ให พืชสงั เคราะหดว ยแสงไดอ ยา งมีประสิทธิภาพ) โดย ครูสดุ าภรณ สืบบญุ เปย ม กลมุ สาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook