Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงสร้างรายวิชา ชีววิทยา1 ม.4

โครงสร้างรายวิชา ชีววิทยา1 ม.4

Published by ida6011, 2021-05-10 03:45:19

Description: โครงสร้างรายวิชา ชีววิทยา1 ม.4

Search

Read the Text Version

คาํ อธบิ ายรายวชิ า รายวชิ า ชวี วทิ ยา1 รหสั วชิ า ว31203 ชัน้ มธั ยมศึกษาปท4ี่ ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 60 ชว่ั โมง จํานวน 1.5 หนวยกติ คาํ อธบิ ายรายวชิ า ศึกษาเกย่ี วกบั ลักษณะสําคญั ของสง่ิ มีชวี ิต การศกึ ษาชวี วิทยาโดยอาศยั วิธกี ารทางวิทยาศาสตร การนําความรู เก่ียวกับชีววิทยามาประยุกตใชในชีวิตประจําวัน โครงสรางและหนาท่ีของสารเคมีท่ีเปนองคประกอบในเซลลของ ส่ิงมชี ีวติ ปฏิกิริยาเคมีในเซลลของส่ิงมีชีวิต โครงสรางและหนาที่ของสวนประกอบของเซลล การแพร การออสโมซิส การแพรแ บบฟาซิลเิ ทต แอกทีฟทรานสปอรต การลําเลียงสารโมเลกลุ ใหญ การแบงเซลล และการหายใจระดับเซลล โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร กระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูล การสังเกต การ วิเคราะห การทดลอง การอภิปราย การอธิบายและสรุป เพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ มีความสามารถใน การตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร มีคุณธรรม และ จรยิ ธรรม ผลการเรยี นรู 1. อธิบายและสรุปสมบัติที่สาํ คัญของสง่ิ มชี วี ติ และความสัมพนั ธข องการจัดระบบในส่ิงมีชีวติ ที่ทาํ ใหส่ิงมชี วี ติ ดาํ รงชวี ติ อยไู ด 2. อภปิ รายและบอกความสําคัญของการระบปุ ญหา ความสมั พันธร ะหวา งปญหา สมมติฐาน และวิธีการ ตรวจสอบสมมติฐาน รวมทง้ั ออกแบบ การทดลองเพอ่ื ตรวจสอบสมมติฐาน 3. สบื คน ขอ มูล อธิบายเก่ยี วกับสมบัติของนํา้ และบอกความสาํ คญั ของนํ้าทม่ี ีตอ สง่ิ มีชีวิต และยกตวั อยางธาตุ ตา ง ๆ ทีม่ คี วามสําคัญตอรา งกายสง่ิ มชี วี ติ 4. สืบคน ขอมูล อธิบายโครงสรา งของคารโ บไฮเดรต ระบุกลมุ คารโ บไฮเดรต รวมทงั้ ความสําคัญของ คารโ บไฮเดรตที่มตี อสงิ่ มชี ีวติ 5. สบื คน ขอมูล อธบิ ายโครงสรางของโปรตนี และความสาํ คัญของโปรตีนท่มี ีตอส่งิ มชี วี ิต 6. สืบคน ขอมูล อธิบายโครงสรา งของลิพิด และความสาํ คญั ของลพิ ดิ ท่มี ีตอ สงิ่ มีชีวิต 7. อธิบายโครงสรางของกรดนิวคลีอกิ และระบุชนดิ ของกรดนวิ คลอี ิกและความสาํ คญั ของกรดนิวคลีอกิ ท่ีมี ตอ ส่ิงมชี วี ติ 8. สืบคน ขอ มูลและอธิบายปฏิกริ ิยาเคมีท่ีเกดิ ขึ้นในส่งิ มีชีวิต 9. อธิบายการทํางานของเอนไซมใ นการเรงปฏิกริ ยิ าเคมใี นส่งิ มชี ีวติ และระบปุ จ จยั ที่มผี ลตอ การทํางานของ เอนไซม 10. บอกวธิ ีการและเตรยี มตัวอยางสิง่ มชี วี ิตเพ่อื ศึกษาภายใตกลอ งจุลทรรศนใชแสง วดั ขนาดโดยประมาณ และวาดภาพท่ีปรากฏภายใตกลอง บอกวิธกี ารใช และการดูแลรกั ษากลอ งจลุ ทรรศนใ ชแ สงท่ีถูกตอ ง 11. อธบิ ายโครงสรา งและหนา ท่ีของสวนทีห่ อ หมุ เซลลของเซลลพ ชื และเซลลส ัตว 12. สืบคนขอ มูล อธิบาย และระบุชนิดและหนา ที่ของออรแกเนลล 13. อธิบายโครงสรา งและหนา ท่ีของนิวเคลยี ส

14. อธิบายและเปรยี บเทยี บการแพร ออสโมซสิ การแพรแบบฟาซิลิเทต และ แอกทฟี ทรานสปอรต 15. สบื คน ขอมูล อธิบายและเขียนแผนภาพการลําเลียงสารโมเลกุลใหญออกจากเซลลดวยกระบวนการเอก โซไซโทซสิ และการลาํ เลยี งสาร โมเลกุลใหญเ ขา สเู ซลลด ว ยกระบวนการเอนโดไซโทซิส 16. สงั เกตการแบง นวิ เคลียสแบบไมโทซสิ และแบบไมโอซิสจากตัวอยา งภายใตกลองจลุ ทรรศน พรอมท้งั อธบิ ายและเปรยี บเทยี บการแบงนวิ เคลียสแบบไมโทซสิ และแบบไมโอซสิ 17. อธิบาย เปรียบเทยี บ และสรปุ ข้นั ตอน การหายใจระดบั เซลลในภาวะท่มี อี อกซเิ จนเพยี งพอและภาวะทม่ี ี ออกซิเจนไมเพียงพอ รวมทั้งหมด 17 ผลการเรยี นรู

ผังมโนทศั น รายวิชา ชีววทิ ยา1 รหสั วชิ า ว31203 ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปท ี่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2564 ชอื่ หนวย ธรรมชาติของส่งิ มชี ีวิต จาํ นวน 8 ช่วั โมง : 15 คะแนน รายวชิ า ชีววิทยา1 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 4 จํานวน 60 ชัว่ โมง ชื่อหนว ย เคมที เ่ี ปนพืน้ ฐานของส่ิงมชี วี ิต ชอื่ หนว ย เซลลของสิ่งมีชวี ติ จํานวน 12 ช่วั โมง : 25 คะแนน จํานวน 40 ชวั่ โมง : 60 คะแนน

โครงสรางรายวชิ า รายวิชา ชีววทิ ยา1 รหัสวิชาว 31203 ชือ่ หนว ยการเรียนรูท ่ี 1 ธรรมชาตขิ องสิ่งมชี วี ิต ช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี 4 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2564 ที่ ชอื่ หนว ย ผลการเรยี นรู สาระสําคญั เวลา คะแนน A 1 ธรรมชาติ 1. อธิบายและสรุปสมบัติทีส่ าํ คญั ของ (ชม.) รวม K P 3 ส่ิงมีชวี ิต และความสมั พันธ ของการ ส่ิงมชี วี ติ ทกุ ชนิดตองการสารอาหาร 8 15 5 7 ของ จัดระบบในส่งิ มีชีวิตท่ีทาํ ใหสิง่ มชี ีวติ และพลังงานมี การเจริญเติบโต มีการ สง่ิ มีชวี ิต ดาํ รงชีวติ อยูได ตอบสนองตอสิ่งเรา มีการ รักษาดุลย 2. อภปิ รายและบอกความสําคญั ของ ภาพของรางกาย มีการสืบพันธุ มีการ การระบุปญ หา ความสัมพนั ธ ระหวาง ปรับตัวทางวิวัฒนาการ และมีการ ปญหา สมมติฐาน และวธิ ีการ ทํางานรวมกันขององคประกอบตางๆ ตรวจสอบสมมติฐาน รวมทัง้ ออกแบบ อยา งเปนระบบ วิธีการทางวิทยาศาสตร การทดลองเพอ่ื ตรวจสอบสมมติฐาน เริ่มจากการต้ังปญหา ตั้งสมมติฐาน ตรวจสอบสมมติฐาน เก็บรวบรวมขอมูล วิ เ ค ร า ะ ห ข อ มู ล แ ล ะ ส รุ ป ผ ล การศึกษาเก่ียวกับส่ิงมีชีวิตตองคํานึงถึง ชวี จริยธรรม และจรรยาบรรณในการใช สตั วทดลอง

โครงสรางรายวชิ า รายวิชา ชวี วทิ ยา1 รหสั วชิ าว 31203 ช่อื หนวยการเรยี นรูท ่ี 2 เคมที เี่ ปน พนื้ ฐานของสง่ิ มชี ีวิต ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปก ารศึกษา 2564 ที่ ชอ่ื หนวย ผลการเรียนรู สาระสําคัญ เวลา คะแนน (ชม.) รวม K P A 2 เคมที ี่เปน 3. สืบคน ขอมูล อธิบายเกยี่ วกับสมบัติ ร า ง ก า ย สิ่ ง มี ชี วิ ต มี น้ํ า เ ป น 12 25 10 12 3 พืน้ ฐาน ของนํ้าและบอกความสาํ คญั ของนาํ้ ที่มี องคประกอบมากที่สุด ซึ่งนํ้ามีสมบัติ ของ ตอ สิ่งมชี ีวติ และยก ตัวอยา งธาตุตา ง ชวยรักษาดุลยภาพของเซลล รางกาย ส่ิงมีชีวิต ๆ ที่มีความสาํ คัญตอ รางกายสง่ิ มชี วี ติ ของสงิ่ มชี วี ิตประกอบไปดว ยสารอินทรีย 4. สืบคนขอมูล อธบิ ายโครงสรา งของ ท้งั คารโ บไฮเดรต โปรตีน ลิพิด และกรด คารโ บไฮเดรต ระบุกลุมคารโบไฮเดรต นิวคลีอิก ปฏิกิริยาเคมีในเซลลส่ิงมีชีวิต รวมท้งั ความสาํ คัญของคารโ บไฮเดรตท่ี จะดําเนินไปไดอยาง รวดเร็วจําเปนตอง มตี อสง่ิ มชี วี ิต อาศยั เอนไซมชว ยเรง ซง่ึ อุณหภูมิ สภาพ 5. สบื คนขอมูล อธบิ ายโครงสรางของ ความเปนกรด-เบส และตัวยบั ย้ังเอนไซม โปรตนี และความสําคญั ของโปรตนี ทม่ี ี เปน ปจจัยท่ีมีผลตอการทํางานของ ตอส่งิ มีชีวติ เอนไซม 6. สืบคนขอ มูล อธิบายโครงสรางของ ลิพิด และความสําคัญของลิพิดทมี่ ตี อ สิ่งมีชีวติ 7. อธิบายโครงสรางของกรดนิวคลีอิก และระบชุ นดิ ของกรดนิวคลีอิกและ ความสําคญั ของกรดนิวคลีอิกที่มีตอ สิง่ มีชวี ิต 8. สืบคนขอ มูลและอธิบายปฏิกิริยา เคมีทเ่ี กดิ ข้นึ ในส่งิ มีชวี ิต 9. อธบิ ายการทาํ งานของเอนไซมใน การเรง ปฏิกริ ยิ าเคมีในสิ่งมชี ีวติ และ ระบุปจ จยั ที่มีผลตอการทํางานของ เอนไซม

โครงสรางรายวิชา รายวิชา ชวี วิทยา1 รหสั วชิ าว 31203 ชื่อหนว ยการเรยี นรทู ี่ 3 เซลลข องส่งิ มชี ีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศึกษา 2564 ท่ี ช่อื หนว ย ผลการเรยี นรู สาระสําคญั เวลา คะแนน (ชม.) รวม K P A 3 เซลลข อง 10. บอกวธิ ีการและเตรยี มตวั อยาง กลองจุลทรรศนเปนเครื่องมือท่ีใช 40 60 22 35 3 สิ่งมีชวี ิต สิ่งมชี ีวิตเพอ่ื ศกึ ษาภายใตก ลอ ง ศึกษาส่ิงตางๆ ขนาดเล็กท่ีไมสามารถ จุลทรรศนใชแสง วดั ขนาด มองเหน็ ไดดวยตาเปลา โดยประมาณและวาดภาพทีป่ รากฏ เซลลเปนหนวยพื้นฐานที่เล็กที่สุด ภายใตก ลอ ง บอกวิธีการใช และการ ของสิ่งมีชีวิต ซ่ึงมีโครงสรางพ้ืนฐาน ดูแลรกั ษากลองจุลทรรศนใชแสงที่ ไดแก สวนท่ีหอหุมเซลล ไซโทพลาซึม ถกู ตอ ง และนิวเคลียส 11. อธิบายโครงสรา งและหนาที่ของ สารตางๆ มีการเคลื่อนที่เขาและ สว นทห่ี อหมุ เซลลของเซลลพืชและ ออกจากเซลล โดยกระบวนการการแพร เซลลสัตว ออสโมซิส การแพร แบบฟาซิลิเทต แอก 12. สืบคน ขอมูล อธบิ าย และระบชุ นิด ที ฟ ทร า น สปอ ร ต เอ ก โ ซ ไ ซ โ ทซิ ส และหนาที่ของออรแกเนลล เอนโดไซโทซสิ 13. อธบิ ายโครงสรางและหนา ทีข่ อง การแบงเซลลเปนกระบวนการท่ี นิวเคลียส เกิดขนึ้ ตอเนื่องเปนวฏั จักร ประกอบดวย 14. อธิบายและเปรียบเทยี บการแพร ระยะอินเตอรเฟส การแบง นิวเคลียส ออสโมซิส การแพรแบบฟาซลิ ิเทต และการแบงไซโทพลาซมึ และ แอกทฟี ทรานสปอรต การหายใจระดับเซลลเปนการสลาย 15. สบื คน ขอมูล อธิบายและเขียน สาร อาหารที่มี พ ลัง งาน สูง โ ดยมี แผนภาพการลาํ เลียงสารโมเลกุลใหญ อ อ ก ซิ เ จ น เ ป น ตั ว รั บ อิ เ ล็ ก ต ร อ น ออกจากเซลลดว ยกระบวนการเอกโซ ตัวสุดทาย ประกอบดวย 3 ข้ันตอน คือ ไซโทซสิ และการลําเลยี งสาร โมเลกลุ ไ ก ล โ ค ลิ ซิ ส วั ฏ จั ก ร เ ค ร บ ส แ ล ะ ใหญเขาสูเซลลดว ยกระบวนการเอนโด กระบวนการถา ยทอดอเิ ล็กตรอน ไซโทซิส 16. สังเกตการแบงนิวเคลยี สแบบไมโท ซิสและแบบไมโอซสิ จากตัวอยาง ภายใตก ลอ งจุลทรรศน พรอมทงั้ อธบิ ายและเปรียบเทียบการแบง นวิ เคลียสแบบไมโทซสิ และแบบไมโอ ซิส 17. อธบิ าย เปรียบเทียบ และสรปุ ขนั้ ตอน การหายใจระดับเซลลในภาวะ ท่ีมอี อกซเิ จนเพียงพอและภาวะท่มี ี ออกซเิ จนไมเพียงพอ

การวเิ คราะหผลการเรยี นรู รายวชิ า ชีววิทยา1 รหสั วิชาว 31203 ชือ่ หนว ยการเรยี นรูท่ี 1 เร่ือง ธรรมชาตขิ องส่ิงมีชีวิต ช้ัน มัธยมศกึ ษาปท ี่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศกึ ษา 2564 ผลการเรยี นรู รอู ะไร ทาํ อะไร ภาระงาน/ชิน้ งาน สมรรถนะ คุณลักษณะ คุณลักษณะ สําคญั ของวชิ า อันพงึ ประสงค 1. เขา ใจธรรมชาติ รูอะไร ชน้ิ งานท่ี 1 1. 1. ความ 1. ความมวี นิ ัย ของส่ิงมีชีวติ ธรรมชาติของส่ิงมีชีวิต แบบทดสอบกอนเรียน ความสามารถ รอบคอบ 2. ใฝเ รยี นรู การศึกษาชีววิทยา มีการสบื พนั ธุ มชี วี ติ ตองการ หนวยท่ี 1 เรื่อง ในการคิด 2. กระบวนการ 3. มุงมั่น และวธิ กี ารทาง สารอาหารและพลังงาน มี ธรรมชาติของส่งิ มีชีวติ วเิ คราะห กลมุ ในการทํางาน วทิ ยาศาสตร สารท่ี การเจริญเติบโต มีอายุขัย  2. เปน องคป ระกอบ และมีขนาดจํากัด มีการ ช้นิ งานที่ 2 ใบงาน ความสามารถ ของส่ิงมีชวี ติ ตอบสนองตอสิ่งเรา มีการ เรื่อง ชีวจรยิ ธรรม ในการแกปญหา ปฏกิ ริ ิยาเคมีใน รักษาดุลยภาพของรางกาย ชิ้นงานท่ี 3 ใบงาน เร่อื ง เซลลของ สงิ่ มีชีวติ มีลกั ษณะจาํ เพาะ และมีการ การตอบสนองตอสง่ิ เรา กลองจุลทรรศน จัดระบบ ความหมายของ โครงสรางและ ชีววิทยา ชีววิทยากับการ ชนิ้ งานที่ 4 กจิ กรรม หนา ทขี่ องเซลล ดาํ รงชวี ติ ชีวจริยธรรม และ เรื่องอณุ หภมู ิกบั การ การลําเลียงสารเขา การศกึ ษาชวี วิทยา รักษาดลุ ยภาพของปลา และออกจากเซลล ทาํ อะไร ชิ้นงานที่ 5 การแบง เซลล และ สําร ว จ สั ง เก ต ก า ร แบบฝกทักษะ เรอ่ื ง การหายใจระดบั ธรรมชาตขิ องสงิ่ มชี วี ิต เซลล ต อ บ ส น อ ง ต อ สิ่ ง เ ร า ข อ ง ส่ิ ง มี ชี วิ ต วิ เ ค ร า ะ ห ล ง ชิ้นงานท่ี 6 ความเห็นเรื่อง ชีวจริยธรรม แบบฝกทักษะ เรอ่ื ง ทดลองการศึกษาชีววิทยา ชีววทิ ยาคอื อะไร การตั้งสมมติฐาน การ ท ด ล อ ง ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห ชน้ิ งานที่ 7แบบฝก กําหนดและควบคมุ ตวั แปร ทักษะ เรือ่ ง ชวี วิทยา กบั การดํารงชวี ติ ชิ้นงานที่ 8 แบบฝกทกั ษะ เร่อื ง การศกึ ษาชวี วทิ ยา ชนิ้ งานท่ี 9 แบบทดสอบหลังเรยี น เรอ่ื ง ธรรมชาติของสิ่งมชี ีวติ

การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู รายวชิ า ชีววิทยา1 รหัสวิชาว 31203 ชือ่ หนว ยการเรียนรทู ี่ 1 เรื่อง ธรรมชาติของส่ิงมีชวี ิต ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศกึ ษา 2564 เปาหมายการ ภาระงาน/ช้นิ งาน วิธีวดั เครื่องมอื วดั ประเด็น/ คะแนน เรียนรู เกณฑก ารให 1. ตรวจแบบทดสอบ 1. แบบตรวจแบบทด สาระสาํ คัญ ชน้ิ งานที่ 1 กอ นเรียน หนวยที่ 1 สอบกอนเรียน หนว ยท่ี คะแนน สิง่ มีชวี ิตทกุ แบบทดสอบกอนเรียน เรอื่ ง ธรรมชาตขิ อง 1 เร่ือง ธรรมชาตขิ อง รอ ยละ 70 20 ชนิดตอ งการ หนวยท่ี 1 สงิ่ มีชีวติ สิง่ มชี วี ิต ของคะแนนท่ี สารอาหารและ เรอ่ื ง ธรรมชาตขิ องสงิ่ มีชวี ติ 2. ตรวจใบงาน เร่อื ง 2. แบบตรวจใบงาน ไดโดยดูความ พลงั งาน มีการ ชวี จรยิ ธรรม เรอ่ื ง ชวี จริยธรรม ถูกตองของ เจริญ เตบิ โต มี ชน้ิ งานที่ 2 3. ตรวจใบงาน เร่ือง 3. แบบตรวจใบงาน เน้อื หาท่ี การตอบสนองตอ ใบงาน เรอื่ ง ชวี จรยิ ธรรม การตอบสนองตอ ส่ิงเรา เรือ่ ง การตอบสนองตอ ผูเ รยี นบนั ทกึ สง่ิ เรา และความ สิ่งเรา มีการ ชน้ิ งานท่ี 3 4. ตรวจกิจกรรม เรือ่ ง 4. แบบตรวจกจิ กรรม ตงั้ ใจในการทํา รกั ษาดลุ ยภาพ ใบงาน เร่อื ง อุณหภมู ิกับการรักษา เร่อื ง อณุ หภมู กิ บั การ กิจกรรม ของรา งกาย มี การตอบสนองตอ สงิ่ เรา ดุลยภาพของปลา รกั ษาดลุ ยภาพของปลา การสบื พันธุ มี การปรับตวั ทาง ชิ้นงานที่ 4 5. ตรวจแบบฝกทักษะ 5. แบบตรวจแบบฝก ววิ ฒั นาการ และ กจิ กรรม เร่ือง เร่ือง ธรรมชาตขิ อง ทักษะ เร่ือง ธรรมชาติ มีการทํางาน อณุ หภมู กิ ับการรักษาดลุ ยภา ส่งิ มชี ีวิต ของส่งิ มชี วี ิต รวมกนั ของ พของปลา 6. ตรวจแบบฝกทกั ษะ 6. แบบตรวจแบบฝก เรื่อง ชีววทิ ยาคืออะไร ทกั ษะ เร่ือง ชีววิทยา องคประกอบ ชน้ิ งานที่ 5 คอื อะไร ตางๆ อยา งเปน แบบฝกทกั ษะ เรอื่ ง 7. ตรวจแบบฝกทกั ษะ 7. แบบตรวจแบบฝก ระบบ วิธกี ารทาง ธรรมชาติของสงิ่ มชี ีวิต เรอ่ื ง ชวี วทิ ยากับการ ทักษะ เร่อื ง ชีววิทยา วทิ ยาศาสตร เร่มิ ชน้ิ งานที่ 6 ดาํ รงชวี ติ กบั การดาํ รงชีวิต จากการตงั้ ปญหา แบบฝก ทักษะ เร่ือง 8. ตรวจแบบฝก ทกั ษะ 8. แบบตรวจแบบฝก ตงั้ สมมตฐิ าน ชีววิทยาคืออะไร เรอ่ื ง การศึกษาชวี วทิ ยา ทกั ษะ เร่ือง การศกึ ษา ตรวจสอบ ชวี วทิ ยา สมมตฐิ าน เก็บ ช้นิ งานท่ี 7 9. ตรวจแบบทดสอบ 9. แบบตรวจแบบทด รวบรวมขอมูล แบบฝก ทกั ษะ เร่อื ง หลังเรียน เร่ือง สอบหลังเรียน เร่ือง วเิ คราะหขอ มลู ชีววทิ ยากับการดํารงชีวติ ธรรมชาตขิ องสิง่ มีชีวติ ธรรมชาตขิ องสงิ่ มชี วี ิต และสรุปผล ชิ้นงานที่ 8 การศกึ ษา แบบฝก ทกั ษะ เรื่อง เกี่ยวกบั สง่ิ มีชีวติ การศกึ ษาชีววิทยา ตอ งคํานงึ ถงึ ชวี จรยิ ธรรม และ ชิ้นงานท่ี 9 จรรยาบรรณใน แบบทดสอบหลงั เรียน เรื่อง การใชสตั วทดลอง ธรรมชาติของสิ่งมชี ีวติ

การวเิ คราะหม าตรฐานและตวั ชีว้ ัด รายวิชา ชวี วทิ ยา1 รหสั วชิ าว 31203 ชอ่ื หนวยการเรียนรทู ่ี 2 เรอื่ ง เคมที ่ีเปน พน้ื ฐานของส่งิ มีชีวิต ชั้น มัธยมศึกษาปท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศกึ ษา 2564 ผลการเรียนรู รูอะไร ทาํ อะไร ภาระงาน/ชิ้นงาน สมรรถนะ คณุ ลักษณะ คุณลักษณะ 1. เขา ใจธรรมชาติ สาํ คญั ของวิชา อันพงึ ประสงค ของสงิ่ มีชวี ติ รอู ะไร ชิ้นงานท่ี 1 1. ความ 1. ความ 1. ความมีวินยั การศกึ ษาชวี วทิ ยา สารเคมีที่เปนพ้ืนฐาน แบบทดสอบกอนเรยี น สามารถใน รอบคอบ 2. ใฝเรียนรู และวิธีการทาง ของสิ่งมีชีวิต สารอนินทรีย เรือ่ ง การคดิ 2. กระบวน 3. มุงมั่น วทิ ยาศาสตร สารที่ ประกอบ ดวย น้ํา และแร เคมีท่เี ปน พ้นื ฐานของสิ่งมี 2. ความ การกลุม ในการทาํ งาน เปน องคป ระกอบ ธ า ตุ ส า ร อิ น ท รี ย ชีวิต สามารถใน ของสง่ิ มชี วี ติ ประกอบดวย คารโ บไฮเดรต การแกปญ หา ปฏิกริ ยิ าเคมใี น โปรตีน ลิพิด กรดนิวคลีอิก ชน้ิ งานท่ี 2 ใบงาน เร่ือง เซลลข อง สง่ิ มีชวี ิต และวิตามิน ปฏิกิริยาใน ความสาํ คญั ของสารอนนิ ท กลองจุลทรรศน เซลลของสิ่งมีชีวิต ปฏิกิรยา รียต อสงิ่ มชี วี ติ โครงสรา งและ หนาทีข่ องเซลล เคมี และเอนไซม ช้นิ งานที่ 3 การลําเลยี งสารเขา ใบงาน เร่ือง ปจ จัยที่มีผล และออกจากเซลล ทาํ อะไร ตอการทํางานของเอนไซม การแบงเซลล และ สั ง เ ก ต สํ า ร ว จ จั ด การหายใจระดบั จํ า แ น ก เ ป รี ย บ เ ที ย บ ชิน้ งานที่ 4 เซลล ต้ังสมมติฐานการทดลอง แบบฝกทกั ษะ เรื่อง วิเ ค ร า ะ หข อ มูล แ ละ ล ง สารเคมีที่ ขอสรุป ในเร่ืองกิจกรรม เปนพ้ืนฐานของสง่ิ มชี วี ติ เ ค มี ท่ี เ ป น พื้ น ฐ า น ข อ ง สงิ่ มีชวี ติ ชน้ิ งานท่ี 5 แบบฝกทักษะ เรอ่ื ง สารอนนิ ทรยี  ชิ้นงานท่ี 6 แบบฝก ทักษะ เรอื่ ง สารอนิ ทรยี  ช้ินงานท่ี 7 แบบฝกทกั ษะ เรอ่ื ง ปฏิกริ ยิ า เคมใี นเซลลข องสงิ่ มชี วี ิต ช้ินงานที่ 8 แบบทดสอบหลังเรียน เรอ่ื ง เคมที ีเ่ ปนพนื้ ฐานของสิง่ มี ชวี ติ

การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู รายวชิ า ชวี วิทยา1 รหสั วิชาว 31203 ช่อื หนว ยการเรยี นรทู ่ี 2 เรอื่ ง เคมีท่เี ปน พน้ื ฐานของสิ่งมชี ีวติ ช้นั มัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2564 เปา หมายการ ภาระงาน/ช้ินงาน วิธีวดั เครือ่ งมือวัด ประเด็น/ คะแนน เรยี นรู เกณฑก ารให คะแนน สาระสําคัญ ชิน้ งานท่ี 1 1. ตรวจแบบทดสอบ 1. แบบตรวจ รอ ยละ 70 25 ร า ง ก า ย แบบทดสอบกอ นเรียน เร่ือง กอนเรยี น เรือ่ ง เคมที ี่ แบบทดสอบกอ นเรียน ของคะแนนที่ สิ่งมีชีวิตมีน้ําเปน เคมีทเี่ ปน พืน้ ฐานของสิง่ มชี วี ติ เปน พน้ื ฐานของ เรือ่ ง เคมที ่เี ปนพืน้ ฐาน ไดโดยดคู วาม องคประกอบมาก สิง่ มชี ีวิต ของสิ่งมชี ีวติ ถกู ตอ งของ ท่ีสุด ซ่ึงน้ํามีสมบัติ เนอ้ื หาท่ี ชวยรักษาดุลยภาพ ชิน้ งานท่ี 2 ใบงาน เร่ือง 2. ตรวจใบงาน เร่ือง 2. แบบตรวจใบงาน ผเู รยี นบนั ทกึ ของเซลล รางกาย ความสําคญั ของสารอนินทรยี  ความสําคัญของสารอนิ เร่ือง ความสําคัญของ และความ ข อ ง สิ่ ง มี ชี วิ ต ตอสงิ่ มีชวี ิต นทรียตอ ส่งิ มชี วี ิต สารอนินทรยี ตอ ตงั้ ใจในการทํา 3. ตรวจใบงาน เร่อื ง สิ่งมชี ีวิต กิจกรรม ปร ะ ก อ บไ ปด ว ย ชน้ิ งานที่ 3 ส า ร อิ น ท รี ย ทั้ ง ใบงาน เรื่อง ปจ จยั ทม่ี ีผล ปจ จยั ทม่ี ีผล ตอการ 3. แบบตรวจใบงาน ค า ร โ บ ไ ฮ เ ด ร ต ตอ การทํางานของเอนไซม ทาํ งานของเอนไซม เร่อื ง ปจ จยั ทมี่ ีผล ตอ โปรตีน ลิพิด และ การทาํ งานของเอนไซม ก ร ด นิ ว ค ลี อิ ก ป ฏิ กิ ริ ย า เ ค มี ใ น 4. แบบตรวจแบบฝก เ ซ ล ล ส่ิ ง มี ชี วิ ต จ ะ ชิ้นงานที่ 4 4. ตรวจแบบฝกทกั ษะ ทักษะ เร่ือง สารเคมีที่ ดําเนินไปไดอยาง แบบฝกทักษะ เร่อื ง เรอื่ ง สารเคมที ่ี เปน เปนพื้นฐานของ รวดเร็วจําเปนตอง สารเคมีท่ี พนื้ ฐานของส่งิ มชี วี ติ สิ่งมชี ีวติ อาศัยเอนไซมชวย เปน พื้นฐานของสง่ิ มชี วี ิต 5. ตรวจแบบฝก ทักษะ 5. แบบตรวจแบบฝก เ ร ง ซึ่ ง อุ ณ ห ภู มิ ชิน้ งานที่ 5 เรอ่ื ง สารอนนิ ทรีย ทักษะ เร่ือง สารเคมีท่ี สภ าพ คว า มเป น แบบฝก ทกั ษะ เรือ่ ง เปน พื้นฐานของ กรด-เบส และตัว สารอนินทรยี  สิ่งมีชีวติ ยับยั้งเอนไซมเปน ปจจัยที่มีผลตอการ 6. ตรวจแบบฝก ทักษะ 6. แบบตรวจแบบฝก ทาํ งานของเอนไซม ชิ้นงานที่ 6 เรื่อง สารอินทรีย ทักษะ เรอ่ื ง แบบฝกทักษะ เร่อื ง สารอนิ ทรีย สารอนิ ทรีย ชิ้นงานท่ี 7 7. แบบตรวจแบบฝก 7. ตรวจแบบฝกทกั ษะ ทักษะ เรื่อง ปฏกิ ริ ิยา แบบฝกทักษะ เรอื่ ง ปฏิกริ ิยา เรอื่ ง ปฏิกริ ยิ า เคมีใน เคมใี นเซลลข อง เคมใี นเซลลของสิ่งมชี ีวิต เซลลข องส่งิ มีชีวิต สง่ิ มีชีวติ ชน้ิ งานท่ี 8 8. ตรวจแบบทดสอบ 8. แบบตรวจ หลงั เรียน เรอื่ ง เคมีที่ แบบทดสอบหลงั เรียน แบบทดสอบหลังเรียน เรือ่ ง เปน พื้นฐานของ เรอ่ื ง เคมีทเี่ ปนพนื้ ฐาน เคมที ี่เปนพน้ื ฐานของส่ิงมชี วี ติ สง่ิ มีชีวิต ของสง่ิ มชี วี ติ

การวเิ คราะหผลการเรยี นรู รายวชิ า ชวี วทิ ยา1 รหัสวชิ าว 31203 ชือ่ หนวยการเรยี นรูที่ 3 เรอื่ ง เซลลข องส่งิ มีชวี ติ ชั้น มัธยมศกึ ษาปที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศกึ ษา 2564 ผลการเรยี นรู รูอ ะไร ทาํ อะไร ภาระงาน/ชิ้นงาน สมรรถนะสําคัญ คณุ ลักษณะ คุณลักษณะ ของวิชา อนั พงึ ประสงค 1. เขาใจธรรมชาติ รูอะไร ชิ้นงานที่ 1 แบบ 1. ความ 1. ความ 1. ความมวี ินัย ของสง่ิ มีชีวติ เซลลและทฤษฎี ทดสอบกอนเรยี น เร่อื ง สามารถในการคิด กระตือรือรน 2. ใฝเรยี นรู การศกึ ษาชวี วิทยา เซลล โครงสรางของ เซลลของ 2. ความสามารถใน 2. ความ 3. มงุ มัน่ และวธิ กี ารทาง เซลลท ีศ่ ึกษาดวยกลอง สง่ิ มีชวี ติ การสือ่ สาร รอบคอบ ในการทาํ งาน วทิ ยาศาสตร สารท่ี จุลทรรศน อิเล็กตรอน 3. ความสามารถใน 3. กระบวนการ เปน องคประกอบ ก า ร ลํ า เ ลี ย ง ส า ร ผ า น ชิ้นงานท่ี 2 ใบงาน เร่ือง การแกปญ หา กลุม ของส่ิงมีชวี ิต เ ซ ล ล ก า ร ส่ื อ ส า ร การไหลของ ปฏิกิรยิ าเคมใี น ระหวา งเซลล การแบง ไซโทพลาซึม เซลลของ สิ่งมชี วี ติ เซลล การเปลี่ยนสภาพ ชิ้นงานท่ี 3 กลองจุลทรรศน ของเซลล การชราภาพ บทปฏิบัติการ เร่ือง โครงสรางและ ขอ งเซลล และก าร โครงสรา งของเซลล หนาทข่ี องเซลล หายใจระดับเซลล ทศี่ ึกษาดว ยกลอ งจุลทรร การลาํ เลียงสารเขา ทําอะไร ศนอ ิเลก็ ตรอน และออกจากเซลล สังเกต สํารวจ จัด การแบง เซลล และ จําแนก เปรียบเทียบ ชิ้นงานท่ี 4 การหายใจระดับ ต้ั ง ส ม ม ติ ฐ า น ก า ร บทปฏิบตั กิ าร เรื่อง เซลล ท ด ล อ ง วิ เ ค ร า ะ ห การลาํ เลียงสารผานเซล ขอมูลและลงขอสรุป ลพชื ใ น เ ร่ื อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ช้ินงานท่ี 5 ใบงาน เร่ือง กิจกรร ม เซ ลลขอ ง การประยุกตใช สิ่งมีชวี ติ ความรเู ร่ืองการลาํ เลียงส ารผา นเซลลในชวี ิตประ จําวนั ช้นิ งานท่ี 6 กจิ กรรม เร่ืองโมเดล การแบงเซลล ช้ินงานที่ 7 แบบฝก ทักษะ เร่ือง กําลัง ขยายของ กลอ งจลุ ทัศน

ผลการเรยี นรู รอู ะไร ทาํ อะไร ภาระงาน/ช้ินงาน สมรรถนะสําคัญ คุณลกั ษณะ คณุ ลกั ษณะ ของวชิ า อนั พงึ ประสง ชน้ิ งานท่ี 8 แบบฝก ทักษะ เรือ่ ง ค ความแตกตางระหวา งเซ ลลพ ชื และเซลลสัตว ชน้ิ งานที่ 9 แบบฝก ทักษะ เรื่อง สว นประกอบของเซลล ช้นิ งานที่ 10 แบบฝกทกั ษะ เรื่อง การส่อื สารระหวางเซลล ชน้ิ งานที่ 11 แบบฝก ทกั ษะ เรอ่ื ง การแบง เซลล ชน้ิ งานที่ 12 แบบฝก ทักษะ เรอ่ื ง การเปลี่ยนสภาพ ของเซลลแ ละการ แปรสภาพของเซลล ชิ้นงานท่ี 13 แบบฝกทกั ษะ เรอ่ื ง การหายใจระดบั เซลล ชิ้นงานที่ 14 แบบทดสอบหลังเรยี น เร่ือง เซลลข องสง่ิ มีชีวติ

การวดั และประเมินผลการเรยี นรู รายวิชา ชีววทิ ยา1 รหสั วชิ าว 31203 ชือ่ หนวยการเรยี นรูที่ 3 เรอื่ ง เซลลของสง่ิ มีชีวติ ชนั้ มธั ยมศึกษาปท่ี 4 ภาคเรียนที่ 1 ปการศกึ ษา 2564 เปาหมายการเรียนรู ภาระงาน/ชิน้ งาน วิธีวัด เคร่อื งมือวดั ประเดน็ / คะแนน เกณฑการ 60 ใหค ะแนน สาระสาํ คัญ ชิ้นงานท่ี 1 แบบ 1. ตรวจแบบทดสอบ 1. แบบตรวจ รอ ยละ 70 กลองจุลทรรศนเปน ทดสอบกอนเรียน เรื่อง กอนเรยี น เรื่อง เซลล แบบทดสอบกอน ของคะแนน เคร่ืองมือที่ใชศึกษาส่ิงตางๆ เซลลของส่งิ มชี ีวิต ของสงิ่ มชี วี ิต เรียน เร่อื ง เซลลข อง ทีไ่ ดโ ดยดู ขน า ด เ ล็ ก ที่ไ ม ส า ม า ร ถ สิ่งมชี วี ติ ความถูกตอง มองเห็นไดดวยตาเปลา ชน้ิ งานที่ 2 2. ตรวจใบงาน เร่ือง 2. แบบตรวจใบงาน ของเนอ้ื หาที่ เซลลเปนหนวยพื้นฐานที่ ใบงาน เร่อื ง การไหล การไหลของไซ เรอื่ ง การไหลของไซ ผเู รียน เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต ซ่ึงมี ของไซโทพลาซมึ โทพลาซมึ บนั ทกึ และ โครงสรางพ้ืนฐาน ไดแก ชิ้นงานท่ี 3 3. ตรวจบทปฏิบัติ โทพลาซมึ ความตั้งใจ สวนที่หอหุมเซลล ไซโทพลา บทปฏิบตั กิ าร เรือ่ ง การ เรือ่ ง โครงสรา ง ในการทํา ซึม และนิวเคลียส สารตางๆ โครงสรางของเซลล ของเซลล ที่ศกึ ษา กจิ กรรม มีการเคลื่อนท่ีเขาและออก ท่ศี ึกษาดว ยกลอ งจุลทรรศ ดวยกลอ งจลุ ทรรศน 3. แบบตรวจบท จากเซลล โดยกระบวนการ นอเิ ลก็ ตรอน อิเล็กตรอน ปฏิบตั ิการ เร่ือง การแพร ออสโมซิส การ โครง สรา งของเซลล 4. ตรวจบทปฏิบัติ ทศ่ี ึกษาดว ยกลอ ง แพร แบบฟาซิลิเทต แอก ชน้ิ งานที่ 4 การ เรือ่ ง การ จลุ ทรรศน ทีฟทรานสปอรต เอกโซไซ บทปฏบิ ัตกิ าร เรอื่ ง การ โทซิส เอนโดไซโทซิส การ ลําเลียงสารผา นเซลลพ ืช ลําเลยี งสารผา นเซลล อเิ ล็กตรอน พืช แบงเซลลเ ปนกระบวนการที่ 5. ตรวจใบงาน เร่ือง 4. แบบตรวจบท เกิดข้ึนตอเนื่อง เปนวัฏจักร ชนิ้ งานท่ี 5 การประยุกตใ ช ปฏบิ ัตกิ าร เร่อื ง การ ป ร ะ ก อ บ ด ว ย ร ะ ย ะ ใบงาน เร่ือง การ ความรูเรอ่ื งการ ลําเลยี งสารผานเซลล อิ น เ ต อ ร เ ฟ ส ก า ร แ บ ง ประยกุ ตใ ช ความรู ลาํ เลยี งสารผานเซลล พืช นิวเคลียส และการแบงไซ เร่ืองการลาํ เลียงสารผานเ โทพลาซึม ซลลในชีวิตประจาํ วัน ในชวี ติ ประจาํ วนั 5. แบบตรวจใบงาน เรอ่ื ง การประยุกตใ ช การหายใจระดับเซลล ชิ้นงานท่ี 6 6. ตรวจกจิ กรรม ความรูเร่อื งการ เปนการสลายสารอาหารที่มี กจิ กรรม เรอื่ ง โมเดลการแบง ลาํ เลยี งสารผา นเซลล พลังงานสูง โดยมีออกซิเจน เรื่อง โมเดลการแบงเซลล เซลล ในชีวติ ประจําวัน เ ป น ตั ว รั บ อิ เ ล็ ก ต ร อ น ตัวสุดทาย ประกอบดวย 3 ช้ินงานท่ี 7 7. ตรวจแบบฝก 6. แบบตรวจ ขั้นตอน คือ ไกลโคลิซิส วัฏ แบบฝก ทกั ษะ เรอื่ ง กาํ ลงั ทักษะ เรอ่ื ง กําลงั กจิ กรรม จั ก ร เ ค ร บ ส แ ล ะ ขยายของกลองจลุ ทัศน ขยายของกลอง เร่อื ง โมเดลการแบง ก ร ะ บ ว น ก า ร ถ า ย ท อ ด จลุ ทัศน เซลล อิเล็กตรอน

เปา หมายการเรยี นรู ภาระงาน/ชิน้ งาน วธิ วี ัด เคร่ืองมือวดั ประเดน็ / คะแนน เกณฑการ ชน้ิ งานที่ 8 8. ตรวจแบบฝก 7. แบบตรวจแบบฝก ใหค ะแนน แบบฝกทักษะ เร่ือง ทักษะ เรอื่ ง ความ ทกั ษะ เร่ือง ความแตกตางระหวา งเซล แตกตางระหวาง กาํ ลังขยายของกลอง ลพ ชื และเซลลสัตว เซลลพืชและสัตว จุลทัศน ชน้ิ งานที่ 9 9. ตรวจแบบฝก 8. แบบตรวจแบบฝก แบบฝก ทกั ษะ เรื่อง ทกั ษะ เรือ่ ง ทักษะ เรอ่ื ง ความ สวนประกอบของเซลล สวนประกอบของ แตกตางระหวา ง เซลล เซลลพืชและเซลล ชน้ิ งานท่ี 10 10. ตรวจแบบฝก สตั ว แบบฝกทกั ษะ เรอ่ื ง การสอ่ื สารระหวางเซลล ทกั ษะ เรอ่ื ง การ 9. แบบตรวจแบบฝก ส่อื สารระหวา งเซลล ทักษะ เรอ่ื ง ชิ้นงานท่ี 11 สวนประกอบของ แบบฝกทักษะ เรอ่ื ง 11. ตรวจแบบฝก เซลล การแบง เซลล ทกั ษะ เรอ่ื ง การแบง เซลล 10. แบบตรวจแบบ ช้ินงานท่ี 12 ฝกทกั ษะ เรอ่ื ง การ แบบฝกทักษะ เรอ่ื ง 12. ตรวจแบบฝก สือ่ สารระหวา งเซลล การเปลี่ยนสภาพของเซลล ทกั ษะ เรือ่ ง การ 11. แบบตรวจแบบ และการแปรสภาพของเซ เปล่ียนสภาพของ ฝก ทักษะ เร่ือง การ ลล เซลลและการแปร แบง เซลล สภาพของเซลล ชิ้นงานที่ 13 12. แบบตรวจแบบ แบบฝกทักษะ เรื่อง 13. ตรวจแบบฝก ฝกทักษะ เรอ่ื ง การ การหายใจระดับเซลล ทักษะ เรื่อง การ เปล่ยี นสภาพของ ชิ้นงานที่ 14 หายใจระดบั เซลล เซลล แบบทดสอบหลงั เรียน 14. ตรวจ และการแปรสภาพ เรอื่ ง เซลลข องส่งิ มชี วี ิต แบบทดสอบหลัง ของเซลล เรยี น เร่อื ง เซลลข อง ส่ิงมชี วี ิต 13. แบบตรวจแบบ ฝกทกั ษะ เรอื่ ง การ หายใจระดบั เซลล 14. แบบตรวจ แบบทดสอบหลงั เรยี น เร่ือง เซลลของ ส่งิ มีชีวติ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook