Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงสร้างรายวิชา ชีววิทยา4 ม.5 ภาคเรียนที่ 2

โครงสร้างรายวิชา ชีววิทยา4 ม.5 ภาคเรียนที่ 2

Published by ida6011, 2021-11-05 02:20:59

Description: โครงสร้างรายวิชา ชีววิทยา4 ม.5 ภาคเรียนที่ 2

Search

Read the Text Version

คาํ อธิบายรายวชิ า รายวชิ า ชีววทิ ยา4 รหสั วชิ า ว32206 กลมุ สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 5/1 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ช่วั โมง จํานวน 1.5 หนว ยกติ คําอธิบายรายวิชา ศกึ ษาเก่ยี วกับระบบยอยอาหาร การยอยอาหารของสิ่งมีชีวิต ท้ังจุลินทรีย สิ่งมีชีวิตเซลลเดียวและสัตว การ ยอยอาหาร ของมนุษย อวัยวะที่เก่ียวของกับการยอยอาหารของมนุษย ความผิดปกติของทางเดินอาหารในมนุษย ศึกษาเก่ียวกับระบบหายใจ การแลกเปล่ียนแกสของส่ิงมีชีวิตเซลลเดียวและของสัตว การแลกเปล่ียนแกสของมนุษย โครงสรางที่ใชในการแลกเปล่ียนแกส การแลกเปล่ียนแกส กลไกการหายใจ การควบคุมการหายใจ การวัดอัตราการ หายใจ ความผิดปกตทิ เ่ี กีย่ วของกับปอด และโรคระบบทางเดินหายใจ ศึกษาเก่ยี วกับระบบหมนุ เวียนเลือด การลําเลียง สารในรา งกายของสัตวและของมนุษย ระบบน้ําเหลือง ระบบภูมิคุมกนั กลไกการทํางานของระบบภูมิคุมกัน กลไกการ สรางภมู คิ มุ กนั ความผดิ ปกติของระบบภูมคิ ุม กนั ศกึ ษาเกีย่ วกบั ระบบขับถาย การขับถายของส่ิงมีชีวิตเซลลเดียวและ ของสัตว การขับถายของมนุษย ไตและอวัยวะในระบบขับถายปสสาวะ ไตกับการรักษาดุลยภาพของรางกาย โรคท่ี เกี่ยวขอ งกบั ไต โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร กระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคน ขอมลู การสงั เกต การวเิ คราะห การทดลอง การอภิปราย การอธิบาย และการสรุป เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ มีความสามารถในการ ตดั สินใจ ส่ือสาร สิง่ ทเี่ รียนรู และนา ความรูไปใชใ นชีวติ ของตนเอง มจี ิตวิทยาศาสตร จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคานิยม ผลการเรียนรู 1. สิ่งมชี ีวติ เซลลเ ดียวละสัตวท่ีมโี ครงสรางรา งกายไมซบั ซอน มกี ารลาํ เลยี งสารตา ง ๆ โดยการแพรระหวา ง เซลลกบั ส่ิงแวดลอม 2. สัตวท ่ีมโี ครงสรา งรางกายซับซอนจะมกี ารลําเลยี งสารโดย ระบบหมนุ เวียนเลือด ซึง่ ประกอบดวย หวั ใจ หลอดเลือดและเลอื ด 3. สบื คนขอมูล อธิบาย และเปรยี บเทยี บโครงสรา งและกระบวนการยอยอาหารของสัตวทไ่ี มม ี ทางเดิน อาหาร สัตวทมี่ ที างเดินอาหารแบบไมสมบูรณ และสัตวทมี่ ีทางเดนิ อาหารแบบสมบูรณ 4. สังเกต อธิบาย การกินอาหารของไฮดราและพลานาเรยี 5. อธบิ ายเกี่ยวกบั โครงสราง หนา ท่ี และกระบวนการยอยอาหาร และการดดู ซึมสารอาหารภายใน ระบบ ยอ ยอาหารของมนุษย 6. สืบคน ขอมูล อธิบาย และเปรียบเทยี บโครงสรางทที่ ําหนาทแี่ ลกเปลี่ยนแกสของฟองนํ้า ไฮดรา พลานาเรยี ไสเ ดือนดนิ แมลง ปลา กบ และนก 7. สงั เกต และอธิบายโครงสรางของปอดในสตั วเ ล้ียงลูกดวยนาํ้ นม 8. สืบคน ขอ มูล อธบิ ายโครงสรา งทใี่ ชในการแลกเปลยี่ นแกส และกระบวนการแลกเปล่ียนแกส ของ มนษุ ย 9. อธบิ ายการทํางานของปอด และทดลองวดั ปริมาตรของอากาศในการหายใจออกของมนษุ ย 10. สืบคน ขอ มูล อธิบาย และเปรยี บเทียบระบบหมนุ เวยี นเลอื ดแบบเปดและระบบหมนุ เวยี นเลือด แบบปด 11. สงั เกต และอธิบายทศิ ทางการไหลของเลอื ดและการเคล่อื นทีข่ องเซลลเมด็ เลือดในหางปลา และ สรปุ ความสมั พันธระหวา งขนาดของหลอดเลอื ดกบั ความเรว็ ในการไหลของเลือด

12. อธิบายโครงสรางและการทาํ งานของหัวใจและหลอดเลอื ดในมนุษย 13. สังเกต และอธิบายโครงสรา งหวั ใจของสตั วเ ลี้ยงลูกดวยน้ํานม ทิศทางการไหลของเลือดผานหวั ใจ ของ มนษุ ยแ ละเขียนแผนผงั สรุป การหมนุ เวยี นเลอื ดของมนุษย 14. สืบคนขอมูล ระบคุ วามแตกตางของเซลลเม็ดเลือดแดง เซลลเม็ดเลอื ดขาวเพลตเลต และ พลาสมา 15. อธบิ ายหมเู ลอื ดและหลกั การใหแ ละรบั เลือดในระบบ ABO และระบบ Rh 16. อธบิ าย และสรุปเกี่ยวกับสวนประกอบและหนา ท่ีของนา้ํ เหลอื ง รวมทง้ั โครงสรางและหนาท่ีของ หลอด น้ําเหลอื ง และตอ มนํ้าเหลือง 17. สืบคนขอ มูล อธิบาย และเปรียบเทียบกลไกการตอตานหรอื ทําลายส่ิงแปลกปลอมแบบไมจําเพาะ และ แบบจาํ เพาะ 18. สบื คนขอ มูล อธิบาย และเปรียบเทียบการสรางภมู ิคุม กนั กอ เองและภูมิคุมกันรบั มา 19. สืบคน ขอมูล และอธบิ ายเกี่ยวกับความผิดปกติของระบบภมู คิ มุ กนั ที่ทาํ ใหเกิดเอดส ภมู ิแพ การ สราง ภูมติ า นทานตอ เน้ือเยื่อตนเอง 20. สบื คนขอ มูล อธบิ าย และเปรียบเทยี บโครงสรา งและหนาทใี่ นการกําจัดของเสยี ออกจากรางกาย ของ ฟองน้ํา ไฮดรา พลานาเรยี ไสเดอื นดนิ แมลง และสัตวมกี ระดูกสนั หลัง 21. อธิบายโครงสรา งและหนา ท่ขี องไต และโครงสรางทใ่ี ชลําเลยี งปสสาวะออกจากรางกาย 22. อธบิ ายกลไกการทํางานของหนว ยไต ในการกาํ จดั ของเสียออกจากรางกาย และเขยี นแผนผังสรุป ขนั้ ตอนการกาํ จดั ของเสยี ออกจากรา งกายโดยหนวยไต 23. สืบคนขอมูล อธิบาย และยกตัวอยา งเกย่ี วกบั ความผดิ ปกติของไตอันเนื่องมาจากโรคตา ง ๆ รวมทัง้ หมด 23 ผลการเรยี นรู

ผงั มโนทัศน รายวิชา ชีววิทยา4 รหสั วิชา ว32206 ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 5/1 ภาคเรียนท่ี 2 ปก ารศึกษา 2564 ช่อื หนวยที่ 5 ระบบยอ ยอาหาร ชื่อหนว ยท่ี 6 ระบบหายใจ จํานวน 16 ชั่วโมง : 30 คะแนน จํานวน 11 ชัว่ โมง : 20 คะแนน รายวชิ า ชีววิทยา4 ช้ัน มธั ยมศึกษาปท่ี 5/1 จํานวน 60 ชว่ั โมง ชอ่ื หนว ยท่ี 7 ระบบหมุนเวยี นเลือด ชือ่ หนวยที่ 8 ระบบขับถาย ระบบน้ําเหลอื งและระบบคุมกัน จาํ นวน 10 ชัว่ โมง : 20 คะแนน จํานวน 23 ช่วั โมง : 30 คะแนน

โครงสรางรายวิชา รายวิชา ชีววทิ ยา4 รหสั วชิ า ว32206 ชื่อหนวยการเรียนรูท่ี 1 ระบบยอ ยอาหาร ชั้น มัธยมศกึ ษาปท ่ี 5/1 ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศึกษา 2564 ท่ี ชอ่ื หนว ย ผลการเรยี นรู สาระสาํ คัญ เวลา คะแนน A (ชม.) รวม K P 7 1 ระบบยอ ย 1. สิง่ มชี ีวติ เซลลเ ดยี วละ อาหารที่ส่ิงมีชีวิตกินเขาไป 16 30 15 8 อาหาร สตั วท ม่ี ีโครงสรางรางกายไม ประกอบดวยสารอาหารท่ีจําเปนตอ ซบั ซอ น มีการลําเลียงสารตาง รางกายของส่ิงมีชีวิต ซึ่งอาหารตาง ๆ โดยการแพรร ะหวา งเซลลก บั ๆ นั้นลวนมีโมเลกุลขนาดใหญ สง่ิ แวดลอม ในขณะท่ีสารท่ีสามารถลําเลียงผาน 2. สัตวทมี่ ีโครงสรางรางกาย เซลลไดจะตองมีโมเลกุลขนาดเล็ก ซบั ซอนจะมกี ารลําเลยี งสารโดย ดังน้ัน รางกายของสิ่งมีชีวิตจึงมี ระบบหมนุ เวยี นเลอื ด ซึง่ กระบวนการยอยอาหารเพ่ือใหมี ประกอบดว ย หัวใจ หลอดเลือด ขนาดโมเลกุลที่เล็กลง และสามารถ และเลือด ลํ า เ ลี ย ง ส า ร เ ห ล า น้ั น ไ ป ใ ช ใ น 3. สบื คนขอ มูล อธิบาย และ กระบวนการตา ง ๆ ของรางกาย เปรียบเทยี บโครงสรา งและ สัตว แต ละ ชนิ ดมี ระ บบยอย กระบวนการยอยอาหารของ อาหารแตกตางกัน โดยสัตวบางชนิด สัตวท ไี่ มม ีทางเดินอาหาร สัตวท ี่ ไมม ที างเดินอาหารทแี่ ทจริงแตมีสวน มที างเดินอาหารแบบไมสมบรู ณ ท่ีเปนชองวางอยูกลางลําตัวเพื่อใช และสัตวท มี่ ีทางเดนิ อาหารแบบ เปนทางเขาและออกของอาหาร สัตว สมบูรณ บางชนิดมีทางเดินอาหารไมสมบูรณ 4. สงั เกต อธบิ าย การกิน มีชองเปดเพียงทางเดียว ทําหนาท่ี อาหารของไฮดราและพลานา เปนทั้งปากและทวารหนัก แตสัตว เรยี บางชนิดมีทางเดินอาหารสมบูรณ มี 5. อธบิ ายเกีย่ วกบั โครงสราง ชองเปดเพียงทางเดียวประกอบดวย หนาที่ และกระบวนการยอ ย ปากเปนทางเขาของอาหาร และ อาหาร และการดูดซมึ ทวารหนักเปนทางออกของของเสีย สารอาหารภายใน ระบบยอย ตา ง ๆ อาหารของมนษุ ย อ า ห า ร ท่ี ม นุ ษ ย จ ะ กิ น จ ะ ผ า น ทางเดนิ อาหารทีม่ คี วามยาวประมาณ 9 เมตร เร่ิมต้ังแตปาก ผานคอหอย สงตอไปตามหลอดอาหาร เขาสู กระเพาะอาหาร ลาํ ไสเล็ก ลําไสใหญ ไสตรง และทวารหนัก ตามลําดับ อีก ท้ั ง ยั ง มี อ วั ย ว ะ ที่ มี ส ว น ช ว ย ใ น กระบวนการยอยอาหาร ไดแก ตับ และตับออน ซึ่งอวัยวะในแตละสวน จะมีโครงสรา งและหนาท่แี ตกตา งกัน กระเพาะอาหารจะอยูภายใน ชองทองคอนไปทางดานซายใตกระ

บังลม มีกลา มเน้อื หนา แข็งแรง และ สามารถยดื หยุนไดดี ลําไสเล็กเปนอวัยวะที่ทําหนาที่ ยอยอาหารและดูดซึมอาหารมาก ทีส่ ดุ ในทางเดนิ อาหาร โดยรับอาหาร ตอ มาจากกระเพาะอาหาร ลําไสใหญเปนทางเดินอาหารท่ี ตอจากลําไสเลก็ มีความยาวประมาณ 1 . 5 เ ม ต ร ก ว า ง ป ร ะ ม า ณ 6 เซนติเมตร แบงออกเปน 3 สวน ไดแก ซีกมั โคลอน และเรกตมั ค ว า ม ผิ ด ป ก ติ ข อ ง อ วั ย ว ะ ใ น ระบบทางเดินอาหาร เร่ิมต้ังแตปาก จนถึงทวารหนัก ซ่ึงโรคที่เกิดใน ระบบอวัยวะสวนนี้มักพบการอักเสบ การติดเชื้อ หรือการแปรปรวนของ ระบบการทํางาน เชน โรคกระเพาะ อาหาร น่ิวในถุงน้ําดี ดีซาน และโรค กรดไหลยอน เปนตน

โครงสรางรายวชิ า รายวชิ า ชีววิทยา4 รหัสวชิ า ว32206 ชอื่ หนว ยการเรียนรทู ่ี 2 ระบบหายใจ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 5/1 ภาคเรยี นที่ 2 ปการศึกษา 2564 ท่ี ช่ือหนว ย ผลการเรียนรู สาระสาํ คัญ เวลา คะแนน A (ชม.) รวม K P 5 2 ระบบ 6. สบื คน ขอ มูล อธบิ าย และ ส่งิ มีชีวิตตองการพลังงานจาก 11 20 10 5 หายใจ เปรียบเทียบโครงสรางทีท่ าํ หนาท่ี การสลายสารอาหารเพ่อื นําไปใชใน แลกเปล่ียนแกสของฟองนํ้า ไฮดรา กิจกรรมตาง ๆ ของรา งกาย ซ่ึงการ พลานาเรยี ไสเดือนดนิ แมลง ปลา สลายสารอาหารสว นใหญ กบ และนก จาํ เปนตอ งใชแ กสออกซเิ จนดังนนั้ 7. สังเกต และอธิบายโครงสราง สิ่งมชี วี ติ จงึ ตองมกี ารหายใจเพอื่ ของปอดในสัตวเ ลี้ยงลกู ดวยน้ํานม แลกเปลีย่ นแกสออกซเิ จนและแกส 8. สืบคน ขอ มูล อธิบาย คารบอนไดรอ อกไซดก บั โครงสรา งท่ใี ชในการแลกเปล่ียน สิง่ แวดลอ ม แกส และกระบวนการแลกเปลีย่ น แกส ของ มนษุ ย เมอื่ หายใจนาํ อากาศเขาสู รา งกาย อากาศจะเดนิ ทางเขา สู 9. อธิบายการทาํ งานของปอด ปอด ซง่ึ จะมกี ารแลกเปลยี่ นแกส และทดลองวดั ปริมาตรของอากาศ เพื่อนาํ แกสออกซเิ จนไปใชใ น ในการหายใจออกของมนุษย กจิ กรรมตาง ๆ ของเซลล และนาํ แกส คารบอนไดออกไซดท เี่ กิดจาก กระบวนการเมแทบอลซิ ึมตาง ๆ ออกจากรางกายสูสง่ิ แวดลอมผาน การหายใจเขาออก ซ่งึ รางกายจะมี กลไกควบคุมการหายใจใหอ ยูใน ภาวะสมดุล กลไกการหายใจ (Breathing) เปนการทาํ งานรวมกันของ กลามเนื้อยดึ กระดูกซี่โครงและ กลามเนอ้ื กะบังลม โดย ประกอบดว ยการหายใจเขาและ การหายใจออก ปกติการหายใจจะถกู ควบคุม โดยระบบประสาทท่ีศูนยควบคุม การหายใจ (Respiratory centers) และสารเคมีในเลอื ด เชน ความเปน กรด-ดาง จากการ เปลยี่ นแปลงของ H+ CO2 และ O2

โรคระบบทางเดินหายใจ (Respiratory tract disease) หมายถึง โรค หรือ ความผิดปกติ ของอวยั วะในระบบทางเดนิ หายใจ ละปอด ซ่ึงสวนมากเกิดจากการตดิ เช้อื และการไดร บั สารพิษ เชน โรค ปอดบวม โรคถงุ ลมโปงพอง เปน ตน

โครงสรางรายวชิ า รายวชิ า ชีววิทยา4 รหสั วิชา ว32206 ชอื่ หนว ยการเรยี นรทู ่ี 3 ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบนาํ้ เหลือง และระบบภมู ิคมุ กนั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 5/1 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2564 ท่ี ชื่อหนวย ผลการเรียนรู สาระสาํ คัญ เวลา คะแนน A 3 ระบบ (ชม.) รวม K P 7 10. สืบคนขอ มูล อธิบาย และ ร ะ บ บ ห มุ น เ วี ย น เ ลื อ ด 23 30 15 8 หมุนเวยี น เปรียบเทยี บระบบหมนุ เวยี น (Circulatory system) ทําหนาท่ี เลือด ระบบ เลอื ดแบบเปดและระบบ ลํ า เ ลี ย ง ส า ร อ า ห า ร แ ล ะ แ ก ส นา้ํ เหลอื ง หมนุ เวียนเลือด แบบปด ออกซิเจนไปสูเซลลตาง ๆ และ และ 11. สงั เกต และอธบิ ายทศิ ลําเลียงแกสคารบอนไดออกไซด ระบบ ทางการไหลของเลือดและการ และของเสียตาง ๆ ออกจากเซลล ภูมิคมุ กัน เคลอื่ นทข่ี องเซลลเ มด็ เลือดใน รวมท้ังชวยรักษาสมดุลในรางกาย หางปลา และ สรปุ ความสมั พนั ธ ของส่ิงมีชีวิต ซ่ึงระบบหมุนเวียน ระหวางขนาดของหลอดเลือดกบั เลือดแบงออกเปน 2 ระบบ คือ ความเรว็ ในการไหลของเลือด ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปดและ 12. อธบิ ายโครงสรางและการ ระบบหมนุ เวียนเลอื ดแบบปด ทาํ งานของหัวใจและหลอดเลือด หัวใจ (Heart) เปนอวัยวะท่ี ในมนุษย ปร ะก อ บดว ยก ลาม เน้ื อ หัว ใจ 13. สงั เกต และอธิบาย (Cardiac muscle) อยูบริเวณชอง โครงสรางหัวใจของสัตวเลยี้ งลูก อกคอนไปทางดานซาย ถูกหอหุม ดวยนํ้านม ทศิ ทางการไหลของ ด ว ย ถุ ง เ ยื่ อ หุ ม หั ว ใ จ เลือดผานหัวใจ ของมนุษยแ ละ (Pericardium) ซึ่งภายในถุงจะมี เขียนแผนผังสรปุ การหมุนเวียน ของเหลวบรรจุอยูเล็กนอย ทํา เลือดของมนุษย หนาที่หลอลื่นระหวางถุงหุมหัวใจ 14. สืบคน ขอ มูล ระบคุ วาม และหัวใจเพื่อปองกนการเสียดสี แตกตางของเซลลเม็ดเลอื ดแดง ขณะหวั ใจบบี ตวั เซลลเม็ดเลือดขาวเพลตเลต และ หลอดเลือด (Blood vessel) พลาสมา ทําหนาท่ีลําเลียงเลือดไปยังอวัยวะ 15. อธบิ ายหมูเลอื ดและ ตาง ๆ ในรางกาย ซ่ึงจําแนกได 3 หลักการใหแ ละรบั เลอื ดในระบบ ประเภท ไดแก หลอดเลือดแดง ABO และระบบ Rh หลอดเลือดดํา และหลอดเลือด 16. อธบิ าย และสรปุ เกี่ยวกับ ฝอย สว นประกอบและหนาที่ของ หลอดเลือด (Blood vessel) น้ําเหลอื ง รวมทั้งโครงสรา งและ ในรางกายมีเลือดอยูประมาณ 5 หนาท่ขี อง หลอดน้ําเหลอื ง และ ลติ ร หรอื ประมาณรอยละ 7-8 ของ ตอ มน้ําเหลือง น้ําหนักตัว ประกอบดวย 2 สวน 17. สืบคนขอ มูล อธบิ าย และ คอื สวนที่เปนของเหลว เรียกวานํ้า เปรียบเทยี บกลไกการตอตา น เลอื ด หรอื พลาสมา (Plasma) ซึ่งมี หรือทําลายสงิ่ แปลกปลอมแบบ ประมาณรอยละ 55 ของปริมาณ ไมจ ําเพาะ และแบบจําเพาะ เลือดทั้งหมด และสวนที่เปนเซลล 18. สืบคน ขอมูล อธิบาย และ เมด็ เลือด ไดแ ก เซลลเม็ดเลือดแดง

เปรียบเทียบการสรา งภูมิคุม กนั เซลลเม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลือด กอเองและภูมิคมุ กันรบั มา ซ่ึ ง มี ปริ ม าณร อ ย ละ 4 5 ขอ ง ปรมิ าณเลือดทง้ั หมด 19. สืบคนขอ มูล และอธบิ าย เกย่ี วกับความผิดปกตขิ องระบบ ระบบน้ําเหลือง เปนระบบ ภมู ิคุมกนั ที่ทําใหเ กิดเอดส ภมู แิ พ ไหลเวียนของนํา้ เหลืองซึ่งเกี่ยวของ การสรา งภูมติ า นทานตอเน้ือเย่ือ กับการสรางภูมิคุมกันของรางกาย ตนเอง โ ค ร ง ส ร า ง ข อ ง ร ะ บ บ นํ้ า เ ห ลื อ ง ป ร ะ ก อ บ ด ว ย นํ้ า เ ห ลื อ ง ท อ น้ําเหลือง หรือหลอดนํ้าเหลือง และ อ วั ย ว ะ น้ํ าเ หลือ ง ร ะ บ บ น้ําเหลืองตางจากระบบหมุนเวียน เลือด คือ ไมมีอวัยวะสูบฉีดตาง ๆ แตน้ําเหลืองสามารถลําเลียงไปยัง สว นตา ง ๆ ของรา งกายได โดยการ หดตัวของกลามเน้ือเรียบบริเวณ หลอดน้ําเหลือง ร ะ บบภู มิ คุ ม กั น ทํ าหน า ท่ี ปองกันและทําลายเชื้อโรคตาง ๆ ไดแก แบคทีเรีย เช้ือรา ไวรัส พยาธิ หรือสงิ่ แปลกปลอม เชน ฝุน ละออง เกสรดอกไม ควันพิษ ละอองสารเคมี ท่ีเขาสูรางกายซึ่ง เรียกเชื้อโรคและส่ิงแปลกปลอม เหลาน้ีวาแอนติเจน โดยระบบ ภูมิคุมกันจะทําหนาที่สรางสารท่ี เรียกวา แอนติบอดี เขาทําลาย แอนติเจนท่ีไดรับ นอกจากนั้น ระบบภูมิคุมกันยังทําหนาที่กําจัด เซลลท่ีเส่ือมสภาพ เชน เซลลเม็ด เลือดแดงที่อายุมาก เปนตน และ เซลลท่ีทํางานผิดปกติ เชน เซลล เน้ืองอก เพ่ือปองกันการกลายเปน เซลลมะเร็ง โดยรางกายจะมีกลไก ตอตานหรือทําลายเชื้อโรคและส่ิง แปลกปลอมแตละชนิดที่แตกตาง กัน ระบบภมู ิคมุ กันมีความสาํ คญั ตอ การดํารงชวี ิตของมนษุ ย แตบ างคร้ัง ระบบภมู ิคุมกนั อาจมกี ารตอบสนองท่ี ผดิ ปกติ จนกอ ใหเกดิ โรคในระบบ ภมู ิคมุ กัน เชน โรคภูมิแพ โรคแพ ภมู ิคมุ กนั ตวั เอง โรคเอดส หรือ กลมุ อาการภูมิคมุ กนั บกพรอ ง เปน ตน

โครงสรางรายวชิ า รายวชิ า ชีววิทยา4 รหัสวิชา ว32206 ชอื่ หนว ยการเรียนรูที่ 4 ระบบขับถา ย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 5/1 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2564 ท่ี ชือ่ หนว ย รหัส มฐ.ตวั ชีว้ ัด/ผลการเรียนรู สาระสําคญั เวลา คะแนน A (ชม.) รวม K P 5 4 ระบบขับถา ย 20. สืบคนขอมูล อธบิ าย และ การขับถาย หมายถึง การ 10 20 10 5 เปรียบเทยี บโครงสรางและหนา ท่ี กํ า จั ด ข อ ง เ สี ย ที่ เ กิ ด จ า ก ในการกาํ จดั ของเสยี ออกจาก กระบวนการเมแทบอลิซึมออกจาก รา งกาย ของ รางกาย โดยของเสียดังกลาวอาจ ฟองนา้ํ ไฮดรา พลานาเรีย เปนแกสคารบอนไดออกไซด ไอน้ํา ไสเดอื นดิน แมลง และสัตวมี ห รื อ ส า ร ที่ มี ไ น โ ต ร เ จ น เ ป น กระดกู สนั หลงั องคประกอบ ไดแก แอมโมเนีย ยู 21. อธบิ ายโครงสรา งและ เรีย และกรดยูรกิ ซ่งึ สงิ่ มชี ีวิตแตละ หนาทขี่ องไต และโครงสรา งทใ่ี ช ชนิดจะมีวิธีการและอวัยวะที่ทํา ลาํ เลียงปสสาวะออกจากรางกาย หนาทกี่ าํ จดั ของเสยี ทแี ตกตา งกัน 22. อธบิ ายกลไกการทํางาน มนุษยมีการขับถายของเสียท่ี ของหนวยไต ในการกําจดั ของ เกิดจากกระบวนการเมแทบอลิซึม เสียออกจากรา งกาย และเขียน ของรางหาย ทั่วในรูปของปสสาวะ แผนผงั สรุป ขั้นตอนการกาํ จดั อุ จ จ า ร ะ เ ห งื่ อ แ ล ะ แ ก็ ส ของเสียออกจากรา งกายโดย คารบอนไดออกไซด ซึ่งของเสียแต หนว ยไต ล ะ ช นิ ด จ ะ ถู ก ขั บ ถ า ย ผ า น ท า ง 23. สืบคนขอมูล อธบิ าย และ อวัยวะท่ีแตกตางกัน โดยไตเปน ยกตวั อยา งเกี่ยวกับความผิดปกติ อวัยวะหลักในการขับถายของเสีย ของไตอนั เนือ่ งมาจากโรคตา ง ๆ ในรูปปสสาวะ และยังทําหนาที่ รักษาสมดุลของนํ้าและแรธาตุใน รางกายอีกดว ย การขับถายเปนการกําจัดของ เสยี ที่เกดิ จากกระบวนการเมแทบอ ลิซึมออกจากรางกาย โดยของเสีย อาจเปน แอมโมเนีย ยูเรีย หรือกรด ยูริก ซึ่งการกําจัดของเสียเหลานี้ มักจะสูญเสียนํ้าออกจากรางกาย ดังน้ัน รางกายจึงตองมีการรักษา ดลุ ยภาพของนาํ้ ภายในรางกายเพื่อ ไมใหสูญเสียน้ําออกจากรางกาย มากเกนิ ไป และตองไดรับน้ําเขามา ทดแทนนํ้าทส่ี ญู เสียไปดว ย โรคท่ีเกี่ยวของกับไต หมายถึง โรค หรือภาวะที่เกิดความเสียหาย หรือไตทํางานผิดปกติในการกําจัด ของเสีย การรักษาดุลยภาพของนํ้า

และกรด-เบสในรางกาย ซ่ึงโรคท่ี เกี่ยวของกับไต เชน โรคนิ่ว โรคไต วาย เปนตน กลางภาค (ระบบยอ ยอาหาร และระบบหายใจ) 20 ปลายภาค (ระบบหมนุ เวียนเลอื ด ระบบนาํ้ เหลอื ง และระบบภมู คิ มุ กนั และระบบขับถา ย) 20 รวมท้งั สิ้น 60 100 50 26 24

การวเิ คราะหผลการเรยี นรู รายวชิ า ชวี วทิ ยา4 รหสั วชิ า ว32206 ชื่อหนวยการเรยี นรทู ี่ 1 ระบบยอยอาหาร ช้นั มธั ยมศึกษาปท ่ี 5/1 ภาคเรยี นที่ 2 ปการศึกษา 2564 ผลการเรยี นรู รูอะไร ทาํ อะไร ภาระงาน/ชน้ิ งาน สมรรถนะสําคัญ คุณลกั ษณะ คุณลกั ษณะ 1. สง่ิ มชี ีวติ เซลล ของวชิ า อันพึง เดียวและสัตวท ่ีมี ประสงค โครงสราง รูอะไร ชน้ิ งานท่ี 1 1. ความสามารถ 1. ความ รางกายไม อาหารที่สง่ิ มชี ีวิตกนิ แบบทดสอบกอน ในการสอ่ื สาร รอบคอบ 1. ความมีวินัย ซบั ซอน มีการ 2. ความสามารถ 2. กระบวน 2. ใฝเ รียนรู ลาํ เลียงสารตาง เขา ไป ประกอบดวย เรียน หนวยการเรียนรทู ี่ ในการคิด การกลมุ 3. มงุ มั่น ๆ โดยการแพร สารอาหารที่จําเปน ตอ 5 (แบบออนไลน) ในการทํางาน ระหวา ง รา งกายของสงิ่ มชี วี ติ ซ่ึง 1) ทักษะการ เซลลกบั อาหารตาง ๆ น้ันลว นมี ชนิ้ งานที่ 2 สังเกต สิ่งแวดลอม โมเลกลุ ขนาดใหญ ในขณะ เขยี นแผนภาพสรุป ทส่ี ารที่สามารถลําเลยี ง เรอื่ ง 2) ทักษะการ ผานเซลลไ ดจ ะตองมี การยอยอาหารของจลุ ิน สาํ รวจคนหา โมเลกุลขนาดเล็ก ดังนัน้ ทรียแ ละของสิง่ มชี ีวิตเซ รางกายของส่งิ มีชวี ิตจึงมี ลลเ ดยี ว 3) ทกั ษะการ กระบวนการยอยอาหาร ทดลอง เพ่อื ใหมีขนาดโมเลกลุ ท่ี เล็กลง และสามารถ 4) ทกั ษะการ ลําเลยี งสารเหลาน้ันไปใช ตีความ หมาย ในกระบวนการตาง ๆ ของ และการลง รา งกาย ขอ สรปุ 3. ความสามารถ ในการใชทกั ษะ ชวี ติ ทาํ อะไร - อธบิ ายการยอ ยอาหาร ของจุลินทรยี ได - เขยี นแผนภาพ การ ยอยอาหารของสิง่ มชี วี ิต เซลลเดยี วได

ผลการเรยี นรู รอู ะไร ทําอะไร ภาระงาน/ชนิ้ งาน สมรรถนะสาํ คญั คุณลกั ษณะ คณุ ลกั ษณะ ของวชิ า อันพึง ประสงค 2. สัตวท ม่ี ี รูอะไร ชิ้นงานที่ 3 1. ความสามารถ 1. ความ โครงสรา ง สัตวแ ตละชนดิ มีระบบ ใบกจิ กรรม เรอ่ื ง ในการส่ือสาร รอบคอบ 1. ความมีวินัย รางกายซบั ซอน ยอ ยอาหารแตกตา งกนั การยอ ยอาหารของสตั ว 2. ความสามารถ 2. 2. ใฝเรยี นรู จะมีการลําเลยี ง โดยสัตวบางชนดิ ไมมี ทีไ่ มม ีทางเดนิ อาหารและ ในการคดิ กระบวนการ 3. สารโดย ระบบ ทางเดนิ อาหารที่แทจ ริงแต มที างเดนิ อาหาร 1) ทกั ษะการ กลมุ มงุ มัน่ ในการ หมนุ เวยี นเลือด มสี วนที่เปนชอ งวา งอยู ไมส มบูรณ สงั เกต ทํางาน ซึง่ ประกอบดวย กลางลําตวั เพ่อื ใชเปน 2) ทกั ษะการ หัวใจ หลอดเลอื ด ทางเขา และออกของ ช้นิ งานที่ 4 สาํ รวจคน หา และเลือด อาหาร สัตวบางชนิดมี ใบกิจกรรม เร่ือง 3) ทักษะการ ทางเดนิ อาหารไมสมบรู ณ ทางเดินอาหารของสัตว ทดลอง 3. สบื คนขอ มูล มชี องเปด เพียงทางเดยี ว ท่ีมีทางเดนิ อาหาร 4) ทักษะการ อธบิ าย และ ทําหนาที่เปนทั้งปากและ สมบรู ณ ตคี วาม เปรียบเทยี บ ทวารหนัก แตสตั วบ าง หมายขอ มูลและ โครงสรางและ ชนิดมที างเดินอาหาร การลง กระบวนการยอย สมบรู ณ มีชอ งเปด เพียง ขอ สรปุ อาหารของสัตวท ี่ ทางเดยี วประกอบดวย 3. ความสามารถ ไมมที างเดนิ ปากเปน ทางเขา ของ ในการใชท ักษะ อาหาร สตั วที่มี อาหาร และทวารหนกั เปน ชีวติ ทางเดินอาหาร ทางออกของของเสยี แบบไมส มบรู ณ ตาง ๆ และสัตวท่มี ี ทางเดินอาหาร ทําอะไร แบบสมบรู ณ 1. อธบิ ายโครงสรา งแล กระบวนการ ยอ ยอาหาร ของสัตวท ไี่ มม ที างเดิน 4. สังเกต อาหาร สตั วทมี่ ีทางเดนิ อธิบาย การกนิ อาหาร ไมส มบูรณ และ อาหารของไฮดรา สัตวทีม่ ีทางเดนิ อาหาร และพลานาเรยี สมบูรณได 2. เปรยี บเทยี บ โครงสรางและ กระบวนการยอยอาหาร ของสัตวท ี่ไมม ที างเดนิ อาหาร สตั วทม่ี ที างเดนิ อาหารไมสมบูรณ และ สัตวท่มี ที างเดินอาหาร สมบรู ณไ ด

3. สังเกตและอธบิ ายการ กนิ อาหารของไฮดราและพ ลานาเรยี ได 4. เขียนลาํ ดบั การ เคลื่อนท่ีของอาหารผาน ทางเดินอาหารในสตั วทมี่ ี ทางเดินอาหารสมบูรณได 5. ใชเครือ่ งมอื และ อปุ กรณทางวทิ ยาศาสตร ไดอยา งถูกตอง ผลการเรียนรู รูอะไร ทาํ อะไร ภาระงาน/ช้นิ งาน สมรรถนะสําคัญ คณุ ลกั ษณะ คุณลกั ษณะ ของวชิ า อันพึง ประสงค 5. อธบิ ายเกยี่ ว รอู ะไร ชนิ้ งานท่ี 5 1. ความสามารถ 1. ความ กบั โครงสราง อาหารท่ีมนุษยจะกิน ใบกิจกรรม เรอ่ื ง ในการส่อื สาร รอบคอบ 1. ความมวี ินัย หนา ท่ี และ จะผานทางเดินอาหารที่มี การยอ ยอาหารและการ 2. ความสามารถ 2. กระบวน 2. ใฝเรยี นรู กระบวนการยอ ย คว าม ยาว ปร ะ ม าณ 9 ดูดซมึ สารอาหารท่ี ในการคิด การกลุม 3. มงุ มัน่ อาหาร และการ เมตร เริ่มต้ังแตปาก ผาน ลําไสเล็ก ในการทาํ งาน ดูดซมึ สารอาหาร 1) ทักษะการ ภายใน ระบบ คอ หอ ย ส ง ตอ ไ ปตา ม สังเกต ยอยอาหารของ ห ล อ ด อ า ห า ร เ ข า สู ช้ินงานที่ 6 มนุษย กระเพาะอาหาร ลําไสเล็ก ใบกจิ กรรม เรื่อง 2) ทกั ษะการ ลําไสใหญ ไสตรง และ อวยั วะในระบบยอ ยอาห สาํ รวจคน หา ทวารหนัก ตามลําดับ อีก ารของมนษุ ย ท้งั ยังมีอวัยวะที่มีสวนชวย 3) ทักษะการ ในกระบวนการยอยอาหาร ช้ินงานที่ 7 ทดลอง ไดแก ตับและตับออน ซึ่ง ใบกิจกรรม เรอื่ ง อวัยวะในแตละสวนจะมี จัดทาํ แผน พับนาํ เสนอเก่ี 4) ทกั ษะการ โ ค ร ง ส ร า ง แ ล ะ ห น า ที่ ยวกบั โรคระบบยอ ย ตคี วามหมาย แตกตา งกนั อาหาร ขอ มูลและการลง กระเพาะอาหารจะอยู ขอ สรุป ภ า ย ใ น ช อ ง ท อ ง ค อ น ไ ป 3. ความสามารถ ในการใชท กั ษะ ชวี ิต ทางดานซายใตกระบังลม มีกลามเน้ือหนา แข็งแรง และสามารถยดื หยนุ ไดดี ลําไสเล็กเปนอวัยวะที่ ทําหนาที่ยอยอาหารและ ดูดซึมอาหารมากท่ีสุดใน ทางเดินอาหาร โดยรับ อาหารตอมาจากกระเพาะ

อาหาร ลําไสใหญเปนทางเดิน อาหารท่ีตอจากลําไสเล็กมี ความยาวประมาณ 1.5 เมตร กวางประมาณ 6 เซนติเมตร แบงออกเปน 3 สวน ไดแก ซีกัม โคลอน และเรกตมั ค ว า ม ผิ ด ป ก ติ ข อ ง อวัยวะในระบบทางเดิน อาหาร เร่ิมตั้งแตปาก จนถึงทวารหนัก ซ่ึงโรคที่ เกิดในระบบอวัยวะสวนนี้ มักพบการอักเสบ การติด เชื้อ หรือการแปรปรวน ของระบบการทํางาน เชน โรคกระเพาะอาหาร น่ิวใน ถุงน้ําดี ดีซาน และโรค กรดไหลยอน เปนตน ทาํ อะไร 1. อธบิ ายโครงสรา งและ หนาท่ขี องปาก คอหอย และหลอดอาหารได 2. อธบิ ายการยอ ย อาหารบรเิ วณปากได 3. อธิบายการเคลื่อนที่ ของอาหารผานหลอด อาหารได 4. อธบิ ายโครงสรางและ หนาทข่ี องกระเพาะอาหาร ได 5. อธิบายการยอ ยอาหาร และการดูดซึมสารอาหาร บริเวณปากได 6. อธบิ ายโครงสรา งและ หนา ที่ของลาํ ไสเลก็ ได 7. อธิบายการยอยอาหาร และการดูดซมึ สารอาหาร บรเิ วณลําไสเ ล็กได 8. ทดสอบสมบัติของนํา้ ดี ตอการยอยสารกลมุ ไขมนั

9. อธบิ ายโครงสรา งและ หนาท่ขี องลาํ ไสใหญได 10. อธิบายการดูดซึม สารอาหารบริเวณลําไส ใหญได 11. อธบิ ายความผดิ ปกติ ของทางเดนิ อาหารใน มนุษยไ ด

การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู รายวชิ า ชีววิทยา4 รหสั วิชา ว32206 ชื่อหนวยการเรยี นรทู ่ี 1 ระบบยอยอาหาร ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 5/1 ภาคเรยี นท่ี 2 ปการศกึ ษา 2564 เปา หมายการเรียนรู ภาระงาน/ช้นิ งาน วิธวี ดั เครอ่ื งมือวดั ประเด็น/เกณฑ คะแนน การใหคะแนน 30 สาระสําคญั ชน้ิ งานท่ี 1 1. ตรวจ อาหารท่ีส่ิงมชี ีวิตกนิ เขาไป แบบทดสอบกอน แบบทดสอบกอน 1. แบบทดสอบ รอ ยละ 65 ของ ประกอบดว ยสารอาหารที่ เรียนหนว ยการเรียน เรียน หนว ยการ กอนเรยี น คะแนนทไ่ี ดโ ดยดู จําเปน ตอ รา งกายของส่งิ มชี ีวิต รูที่ 5 (แบบออนไลน) เรยี นรูท ่ี 5 ซง่ึ อาหารตา ง ๆ นั้นลวนมี ความถกู ตอ งของ โมเลกลุ ขนาดใหญ ในขณะที่ เน้ือหาที่ผเู รียน สารท่ีสามารถลําเลียงผานเซลล ชิ้นงานที่ 2 2. แผนผงั สรปุ บนั ทกึ และความ ไดจ ะตอ งมโี มเลกุลขนาดเล็ก เขียนแผนภาพสรปุ เรอื่ ง การยอ ย ต้ังใจในการทาํ ดงั นนั้ รา งกายของส่ิงมีชีวิตจึงมี เร่อื งการยอยอาหารข อาหารของ 2. แบบประเมิน กิจกรรม ชิ้นงาน กระบวนการยอ ยอาหารเพ่อื ให องจุลินทรียและของ จลุ ินทรียและของ มีขนาดโมเลกลุ ทีเ่ ลก็ ลง และ สิ่งมชี วี ิตเซลลเดยี ว สิง่ มชี ีวิตเซลลเดียว สามารถลําเลยี งสารเหลานน้ั ไป ใชในกระบวนการตา ง ๆ ของ รา งกาย เปาหมายการเรียนรู ภาระงาน/ชน้ิ งาน วธิ วี ดั เครื่องมอื วดั ประเดน็ /เกณฑ คะแนน การใหค ะแนน สาระสาํ คัญ ชน้ิ งานท่ี 3 3. ตรวจใบกิจกรรม 3. แบบประเมิน รอ ยละ 65 ของ สัตวแ ตละชนิดมรี ะบบยอ ย ใบกิจกรรม เร่ือง เร่อื ง การยอ ย ใบกิจกรรม คะแนนทไี่ ดโดยดู อาหารแตกตางกัน โดยสัตว การยอ ยอาหารของสั อาหารของสัตวที่ไม ความถูกตอ งของ บางชนดิ ไมมที างเดนิ อาหารที่ ตวทไ่ี มม ีทางเดินอาห มี ทางเดินอาหาร เนอ้ื หาที่ผเู รยี น แทจรงิ แตม ีสว นท่ีเปนชอ งวา ง ารและมีทางเดิน และมที างเดิน บันทึกและความ อยูก ลางลําตวั เพ่อื ใชเ ปน อาหารไมสมบูรณ อาหารไมส มบรู ณ ตั้งใจในการทาํ ทางเขา และออกของอาหาร กิจกรรม สัตวบ างชนดิ มีทางเดนิ อาหาร ช้ินงานที่ 4 4. ตรวจใบกจิ กรรม 4. แบบประเมิน ไมส มบูรณ มชี อ งเปด เพยี งทาง ใบกจิ กรรม เรื่อง เรอื่ ง ทางเดนิ ใบกจิ กรรม เดียว ทําหนาทเี่ ปน ทั้งปากและ ทางเดนิ อาหารของสั อาหารของสตั วทีม่ ี ทวารหนกั แตส ตั วบางชนดิ มี ตวท่มี ีทางเดนิ อาหาร ทางเดินอาหาร ทางเดนิ อาหารสมบูรณ มชี อง สมบูรณ สมบรู ณ เปด เพียงทางเดยี ว ประกอบดวยปากเปน ทางเขา ของอาหาร และทวารหนกั เปน ทางออกของของเสียตา ง ๆ

เปา หมายการเรียนรู ภาระงาน/ชนิ้ งาน วิธีวัด เคร่อื งมือวดั ประเดน็ /เกณฑ คะแนน การใหค ะแนน สาระสําคญั ชิน้ งานที่ 5 5. ตรวจใบกจิ กรรม 5. แบบประเมิน รอยละ 65 ของ อาหารท่ีมนุษยจะกินจะ ใบกิจกรรม เรอ่ื ง เรอื่ ง การยอย ใบกจิ กรรม คะแนนทไ่ี ดโ ดยดู ผานทางเดินอาหารท่ีมีความ การยอ ยอาหารและ อาหารและการดดู ความถกู ตอ งของ ยาวประมาณ 9 เมตร เร่ิม การดูดซึมสารอาหาร ซึมสาร อาหารท่ี เน้ือหาท่ผี ูเรียน ตั้งแตปาก ผานคอหอย สง ทล่ี าํ ไสเ ลก็ ลําไสเ ลก็ บันทกึ และความ ตอไปตามหลอดอาหาร เขาสู ตง้ั ใจในการทํา กระเพาะอาหาร ลําไสเล็ก ชนิ้ งานท่ี 6 6. ตรวจใบกิจกรรม 6. แบบประเมนิ กจิ กรรม ลําไสใหญ ไสตรง และทวาร ใบกิจกรรม เรือ่ ง เร่ือง อวยั วะใน ใบกิจกรรม หนัก ตามลําดับ อีกทั้งยังมี อวัยวะในระบบยอ ย ระบบยอ ย อ วั ย ว ะ ที่ มี ส ว น ช ว ย ใ น อาหารของมนุษย อาหารของมนุษย กระบวนการยอยอาหาร ไดแก ตับและตับออ น ซงึ่ อวยั วะในแต ชิ้นงานท่ี 7 7. ตรวจชิน้ งาน 7. แบบประเมนิ ละสวนจะมีโครงสรางและหนา ใบกิจกรรม เร่อื ง แผน พบั เรอื่ ง โรค ช้ินงาน ท่ีแตกตา งกัน จดั ทาํ แผน พับนาํ เสน ระบบยอ ยอาหาร กระ เพาะอาหาร จะอ ยู อเก่ียวกบั โรคระบบย ภายในชองทองคอนไปทาง อยอาหาร ด า น ซ า ย ใ ต ก ร ะ บั ง ล ม มี กลามเนื้อหนา แข็งแรง และ สามารถยดื หยนุ ไดดี ลําไสเล็กเปนอวัยวะที่ทํา หนาที่ยอยอาหารและดูดซึม อ า ห า ร ม า ก ท่ี สุ ด ใ น ท า ง เ ดิ น อาหาร โดยรบั อาหารตอ มาจาก กระเพาะอาหาร ลําไสใหญเปน ทางเดิน อ า ห า ร ท่ี ต อ จ า ก ลํ า ไ ส เ ล็ ก มี ความยาวประมาณ 1.5 เมตร กวางประมาณ 6 เซนติเมตร แบงออกเปน 3 สวน ไดแก ซีกมั โคลอน และเรกตมั ความผดิ ปกติของอวัยวะใน ระบบทางเดินอาหาร เร่ิมตั้งแต ปากจนถึงทวารหนัก ซ่ึงโรคที่ เกิดในระบบอวัยวะสวนน้ีมัก พบการอกั เสบ การติดเช้ือ หรือ การแปรปรวนของระบบการ ทํางาน เชน โรคกระเพาะ อาหาร นิ่วในถุงน้ําดี ดีซาน และโรคกรดไหลยอ น เปน ตน

การวเิ คราะหผลการเรยี นรู รายวิชา ชีววทิ ยา4 รหสั วิชา ว32206 ชือ่ หนว ยการเรยี นรทู ี่ 2 ระบบหายใจ ช้นั มัธยมศึกษาปที่ 5/1 ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2564 ผลการเรยี นรู รอู ะไร ทาํ อะไร ภาระงาน/ชน้ิ งาน สมรรถนะสําคญั คณุ ลกั ษณะ คุณลกั ษณะ ของวิชา อันพึง ประสงค 6. สืบคนขอ มูล รูอะไร ชน้ิ งานท่ี 1 1. ความสามารถใน 1. ความ 1. อธบิ าย และเปรียบ สิ่ ง มี ชี วิ ต ต อ ง ก า ร แบบทดสอบ การคดิ รอบคอบ ความมวี นิ ยั เทียบโครงสรางที่ทํา พ ลั ง ง า น จ าก ก าร สล า ย กอนเรยี น 2. ความสามารถใน 2. กระบวน 2. ใฝเรยี นรู หนาท่ีแลกเปลย่ี น สารอาหารเพ่ือนําไปใชใน หนวยการเรยี นรทู ่ี 2 การสอื่ สาร การกลมุ 3. มุง ม่นั แกสของฟองนาํ้ กิจกรรมตาง ๆ ของรางกาย เร่อื ง ระบบหายใจ 3. ความสามารถใน ในการ ไฮดรา พลานาเรีย ซึ่งการสลายสารอาหารสวน (แบบออนไลน) การใชท กั ษะชีวิต ทํางาน ไสเดอื นดนิ แมลง ใหญ จําเ ปน ต อง ใ ชแก ส ปลา กบ และนก ออกซิเจน ดังน้ันส่ิงมีชีวิตจึง ช้นิ งานที่ 2 ต อ ง มี ก า ร ห า ย ใ จ เ พ่ื อ ใบกิจกรรม เร่อื ง 7. สังเกต และ แลกเปล่ียนแกสออกซิเจน โครงสรา งในการแลก อธิบายโครงสรา ง แ ล ะ แ ก ส ค า ร บ อ น ไ ด ร เปล่ยี นแกส ของสง่ิ มชี ี ของปอดในสัตวเ ล้ยี ง ออกไซดก บั สง่ิ แวดลอ ม วิตเซลลเดยี วและ ลูกดว ยน้ํานม ของสัตว ทาํ อะไร 1. อธิบายโครงสรา งทท่ี าํ หนาที่แลกเปลีย่ นแกส ของ สิ่งมชี ีวิตเซลลเดียวและของ สตั วได 2. อธบิ ายโครงสรางของ ปอดในสัตวเลีย้ งลกู ดว ย นาํ้ นมได 3. เปรยี บเทยี บโครงสรา ง ที่ทําหนาทแี่ ลกเปล่ยี นแกส ของสัตวตาง ๆ ได

ผลการเรียนรู รูอ ะไร ทาํ อะไร ภาระงาน/ชิ้นงาน สมรรถนะสาํ คัญ คุณลกั ษณะ คุณลักษณะ 1. ความสามารถใน ของวิชา อนั พึง การคดิ ประสงค 8. สบื คน ขอ มูล รอู ะไร ช้นิ งานที่ 3 2. ความสามารถใน 1. ความ 1. ความ อธบิ ายโครงสรา งท่ี เมื่อหายใจนําอากาศเขา ใบกจิ กรรม เร่อื ง การส่ือสาร รอบคอบ มวี ินัย ใชในการแลก 3. ความสามารถใน 2. กระบวน 2. ใฝเ รยี นรู เปล่ียนแกส และ สูรางกาย อากาศจะเดิน การแลกเปล่ียนแกส การใชท ักษะชวี ติ การกลุม 3. มุงมน่ั กระบวนการ ทางเขาสูปอด ซ่ึงจะมีการ ในการ แลกเปล่ยี นแกสของ แลกเปลี่ยนแกสเพ่ือนําแกส ทํางาน มนุษย ออกซิเจนไปใชในกิจกรรม ตาง ๆ ของเซลล และนํา แกสคารบอนไดออกไซดที่ เ กิ ด จ า ก ก ร ะ บ ว น ก า ร เ ม แทบอลิซึมตาง ๆ ออกจาก รางกายสูสิ่งแวดลอมผาน ก าร หายใจเขาอ อ ก ซ่ึ ง รางกายจะมีกลไกควบคุม การหายใจใหอยูในภาวะ สมดุล ทาํ อะไร 1. อธบิ ายโครงสรางทใ่ี ชใ น การแลกเปลยี่ นแกสของ มนุษยได 2. อธิบายการแลกเปล่ยี น แกส บรเิ วณปอดและบรเิ วณ เซลลต าง ๆ ได 3. เขียนการเคลื่อนท่ีของ อากาศเขาและออกจาก รางกายได 4. เขยี นปฏกิ ริ ยิ าทเี่ กิดขึน้ เมื่อแกส ออกซิเจนและแกส คารบอนไดออกไซดแพรเ ขา สหู ลอดเลอื ดฝอยได

ผลการเรียนรู รอู ะไร ทาํ อะไร ภาระงาน/ช้ินงาน สมรรถนะสําคัญ คณุ ลักษณะ คณุ ลักษณะ 1. ความสามารถใน ของวชิ า อนั พงึ การคดิ ประสงค 9. อธิบายการทํางาน รอู ะไร ชิ้นงานท่ี 4 2. ความสามารถใน 1. ความ 1. ความ ของปอด และ ก ล ไ ก ก า ร ห า ย ใ จ ใบกิจกรรม เร่อื ง การสื่อสาร รอบคอบ มีวนิ ยั ทดลองวัดปรมิ าตร (Breathing) เปนการทํางาน กลไกการหายใจ 3. ความสามารถใน 2. กระบวน 2. ใฝเรยี นรู ของอากาศในการ รวมกันของกลามเน้ือยึด การใชท ักษะชวี ติ การกลมุ 3. มุงม่ัน หายใจออกของ กระดูกซ่ีโครงและกลามเนื้อ ในการ มนษุ ย กะบังลม โดยประกอบดวย ทาํ งาน การ หายใจเขาและ ก าร หายใจออก ป ก ติ ก า ร ห า ย ใ จ จ ะ ถู ก ควบคมุ โดยระบบประสาทท่ี ศูน ยคว บคุมก าร หายใจ (Respiratory centers) และสารเคมีในเลือด เชน ความเปนกรด-ดาง จากการ เปล่ียนแปลงของ H+ CO2 และ O2 โรคระบบทางเดนิ หายใจ (Respiratory tract disease) หมายถึง โรค หรือ ความผิดปกตขิ อง อวัยวะในระบบทางเดนิ หายใจละปอด ซ่ึงสว นมาก เกิดจากการตดิ เช้ือ และการ ไดร ับสารพษิ เชน โรคปอด บวม โรคถงุ ลมโปง พอง เปน ตน ทําอะไร 1. อธบิ ายกลไกการหายใจ เขาและหายใจออกได 2. เปรยี บเทยี บการ เปลยี่ นแปลงของกะบงั ลม และกระดกู ซโี่ ครงในการ หายใจเขาและหายใจออกได 3. วดั ปรมิ าตรของอากาศ ในการหายใจของมนุษยได 4. จําลองการทาํ งานของ กลามเนอ้ื กะบังลมได

การวัดและประเมินผลการเรยี นรู รายวิชา ชวี วทิ ยา4 รหัสวิชา ว32206 ช่อื หนว ยการเรยี นรทู ี่ 2 ระบบหายใจ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ 5/1 ภาคเรียนที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2564 เปาหมายการเรียนรู ภาระงาน/ชิ้นงาน วิธวี ัด เครอื่ งมอื วัด ประเดน็ /เกณฑ คะแนน การใหคะแนน 20 สาระสาํ คญั ช้นิ งานท่ี 1 1. ตรวจแบบทดสอบ 1. แบบทดสอบกอน รอ ยละ 65 ของ ส่ิงมีชีวิตตองการ แบบทดสอบกอ นเรียน กอนเรยี นหนว ยการ เรียนหนว ยการ คะแนนที่ไดโ ดยดู พลังงานจากการสลาย หนว ยการเรียนรูที่ 2 เรียนรทู ี่ 2 เรื่อง เรยี นรูท ี่ 2 เรื่อง ความถูกตอ งของ สารอาหารเพ่ือนําไปใช เร่ือง ระบบหายใจ ระบบหายใจ ระบบหายใจ (แบบ เนอ้ื หาทผี่ ูเรยี น ในกิจกรรมตาง ๆ ของ (แบบออนไลน) (แบบออนไลน) ออนไลน) บนั ทกึ และความ รางกาย ซ่ึงการสลาย ตง้ั ใจในการทํา สาร อาหารส วน ใหญ ชิ้นงานท่ี 2 2. ตรวจใบกจิ กรรม 2. แบบตรวจใบ กจิ กรรม จํ า เ ป น ต อ ง ใ ช แ ก ส ใบกจิ กรรม เร่อื ง เรอื่ ง โครงสรา งใน กจิ กรรม เร่ือง อ อ ก ซิ เ จ น ดั ง นั้ น โครงสรา งในการแลกเ การแลกเปล่ียนแกส โครงสรา งในการ ส่ิงมีชีวิตจึงตองมีการ ปล่ยี นแกส ของสิง่ มีชวี ิ ของส่ิงมีชวี ิตเซลล แลกเปลยี่ นแกสของ หายใจเพ่ือแลกเปล่ียน ตเซลลเดียว เดยี วและของสัตว สิง่ มชี ีวติ เซลลเดยี ว แกสออกซิเจนและแกส และของสัตว และของสตั ว คารบ อนไดรอ อกไซดกับ สิ่งแวดลอม เปา หมายการเรียนรู ภาระงาน/ชิ้นงาน วิธวี ัด เคร่อื งมอื วัด ประเดน็ /เกณฑ คะแนน 3. ตรวจใบกจิ กรรม 3. แบบตรวจใบ การใหคะแนน รอู ะไร ชิ้นงานที่ 3 เร่อื ง กิจกรรม เรื่อง การ รอยละ 65 ของ เมื่อหายใจนํา ใบกิจกรรม เรอื่ ง การแลกเปลีย่ นแกส แลกเปลี่ยนแกส คะแนนท่ีไดโดยดู อากาศเขาสรู า งกาย การแลกเปลย่ี นแกส ความถกู ตองของ อากาศจะเดนิ ทางเขาสู เน้อื หาทผี่ ูเรียน ปอด ซ่ึงจะมีการ บนั ทึกและความ แลกเปลีย่ นแกสเพื่อนํา ต้ังใจในการทํา แกส ออกซเิ จนไปใชใน กิจกรรม กิจกรรมตาง ๆ ของ เซลล และนาํ แกส คารบอนไดออกไซดท ี่ เกดิ จากกระบวนการเม แทบอลซิ มึ ตาง ๆ ออก จากรางกายสู ส่งิ แวดลอมผา นการ หายใจเขา ออก ซง่ึ รางกายจะมกี ลไก ควบคุมการหายใจใหอยู ในภาวะสมดุล

เปา หมายการเรียนรู ภาระงาน/ชน้ิ งาน วธิ วี ดั เครอ่ื งมือวดั ประเดน็ /เกณฑ คะแนน รอู ะไร ชิ้นงานที่ 4 4. ตรวจใบกจิ กรรม 4. แบบตรวจใบ การใหค ะแนน เรอื่ ง กจิ กรรม เรอ่ื ง กลไก รอ ยละ 65 ของ กลไกการหายใจ ใบกจิ กรรม เรอื่ ง กลไกการหายใจ การหายใจ คะแนนทไ่ี ดโ ดยดู (Breathing) เปนการ กลไกการหายใจ ความถกู ตอ งของ ทาํ งานรว มกนั ของ เนอ้ื หาท่ผี ูเรียน กลา มเนอ้ื ยึดกระดูก บันทกึ และความ ซ่โี ครงและกลา มเนอ้ื ต้ังใจในการทํา กะบงั ลม โดย กิจกรรม ประกอบดว ยการหายใจ เขาและการหายใจออก ปกตกิ ารหายใจจะถกู ควบคุมโดยระบบ ประสาทท่ีศนู ยค วบคมุ การหายใจ (Respiratory centers) และสารเคมีในเลอื ด เชน ความเปนกรด-ดาง จากการเปลีย่ นแปลง ของ H+ CO2 และ O2 โรคระบบทางเดิน หายใจ (Respiratory tract disease) หมายถงึ โรค หรือ ความผดิ ปกตขิ องอวยั วะ ในระบบทางเดนิ หายใจ ละปอด ซง่ึ สว นมากเกดิ จากการติดเช้อื และการ ไดรบั สารพิษ เชน โรค ปอดบวม โรคถุงลมโปง พอง เปนตน

การวิเคราะหผลการเรยี นรู รายวิชา ชีววิทยา4 รหสั วชิ า ว32206 ชอื่ หนว ยการเรียนรูที่ 3 ระบบหมนุ เวียนเลือด ระบบนาํ้ เหลือง และระบบภมู ิคมุ กนั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 5/1 ภาคเรยี นที่ 2 ปการศึกษา 2564 ผลการเรยี นรู รอู ะไร ทําอะไร ภาระงาน/ชนิ้ งาน สมรรถนะสําคญั คณุ ลักษณะ คณุ ลกั ษณะ ของวิชา อนั พึง 10. สืบคน รอู ะไร ชิน้ งานที่ 1 1. ความสามารถใน 1. ความ ประสงค ขอ มลู อธบิ าย ระบบหมุนเวียนเลือด แบบทดสอบกอ น การคดิ กระตอื รอื รน และเปรยี บ เทยี บ (Circulatory system) ทํา เรียน เร่ือง 2. ความสามารถใน 2. ความ 1. ความมวี ินัย ระบบหมุน เวยี น หนาที่ลําเลียงสารอาหาร ระบบหมุนเวยี นเลอื ด การสือ่ สาร รอบคอบ 2. ใฝเรยี นรู เลอื ดแบบเปด และแกส ออกซิเจนไปสูเซลล ระบบนํา้ เหลือง 3. ความสามารถใน 3. กระบวน 3. มุงมั่น การกลมุ ในการทาํ งาน และระบบ ตาง ๆ และลําเลียงแกส และระบบภูมิคมุ กัน การใชทกั ษะชีวิต หมุนเวยี นเลือด คารบอนไดออกไซดแ ละของ (แบบออนไลน) แบบปด เสียตาง ๆ ออกจากเซลล รวมท้ังชวยรักษาสมดุลใน ชน้ิ งานท่ี 2 11. สงั เกต และ รางกายของสิ่งมีชีวิต ซ่ึง ใบกิจกรรม เรอ่ื ง อธบิ ายทศิ ระบบหมุนเวียนเลือดแบง ระบบหมุนเวยี น ทางการไหลของ ออกเปน 2 ระบบ คือ ระบบ เลือดของสตั ว เลือดและการ หมุนเวียนเลือดแบบเปด เคลอ่ื นทขี่ อง และระบบหมุนเวียนเลือด เซลลเมด็ เลือดใน แบบปด หางปลาและสรปุ ความสมั พันธ ทาํ อะไร ระหวางขนาด 1. อธบิ ายระบบ ของหลอดเลือด กบั ความเร็วใน หมุนเวยี นเลือดแบบเปด การไหลของเลอื ด และระบบหมุนเวียนเลือด แบบปด ได 2. เปรียบเทยี บความ แตกตา งของระบหมนุ เวียน เลอื ดแบบเปดและระบบ หมุนเวยี นเลอื ดแบบปดได 3. อธิบายทศิ ทางการไหล ของเลือดและการเคล่ือนท่ี ของเซลลเม็ดเลือดในหาง ปลาได 4. สรปุ ความสมั พันธ ระหวา งขนาดของหลอด เลอื ดกบั ความเรว็ ในการไหล ของเลอื ดในหางปลาได 5. เขยี นแผนผงั การหมุน เวยี นเลอื ดของสัตวตา ง ๆ ได

ผลการเรียนรู รูอะไร ทําอะไร ภาระงาน/ชน้ิ งาน สมรรถนะสําคัญ คุณลักษณะ คณุ ลักษณะ ของวิชา อันพึง 12. อธิบาย รูอะไร ชน้ิ งานที่ 3 1. ความสามารถใน 1. ความ ประสงค โครงสรา งและ หัวใจ (Heart) เปน ใบกิจกรรม เรื่อง การคิด กระตอื รือรน การทํางานของ อ วั ย ว ะ ที่ ป ร ะ ก อ บ ด ว ย หัวใจและการหมนุ เวี 2. ความสามารถใน 2. ความ 1. ความมวี ินัย หัวใจและหลอด กลามเนื้อหัวใจ (Cardiac ยนเลอื ดผานหัวใจ การส่ือสาร รอบคอบ 2. ใฝเรียนรู เลือดในมนุษย muscle) อยูบริเวณชองอก 3. ความสามารถใน 3. กระบวน 3. มุงมน่ั การใชทกั ษะชวี ิต การกลมุ ในการทาํ งาน 13. สงั เกต และ คอนไปทางดานซาย ถูก ชิน้ งานท่ี 4 อธิบายโครงสราง หอหุมดวยถุงเย่ือหุมหัวใจ ใบกจิ กรรม เรื่อง หวั ใจของสตั ว (Pericardium) ซ่งึ ภายในถุง ความแตกตางของ เลีย้ งลูกดวย จะ มี ขอ ง เห ลว บร ร จุอ ยู หลอดเลอื ด นาํ้ นม ทศิ เล็กนอย ทําหนาที่หลอลื่น ทางการไหลของ ระหวางถุงหุมหัวใจและ เลอื ดผานหัวใจ หัวใจเพ่ือปองกันการเสียดสี ของ ขณะหัวใจบีบตวั มนษุ ยและเขียน หลอ ดเลือด (Blood แผนผงั สรปุ การ vessel) ทําหนาท่ีลําเลียง หมนุ เวียนเลือด เลือดไปยังอวัยวะตาง ๆ ใน ของมนุษย รางกาย ซึ่งจําแนกได 3 ประเภท ไดแก หลอดเลือด แดง หลอดเลือดดํา และ หลอดเลอื ดฝอย ทาํ อะไร 1. อธิบายโครงสรา งและ การทาํ งานของหวั ใจได 2. อธิบายทิศทางการ ไหลของเลอื ดผานหวั ใจของ มนษุ ยได 3. เขยี นแผนผังสรุปการ หมนุ เวยี นเลือดของมนุษยไ ด 4. วดั อตั ราการเตน ของ หวั ใจหรือชีพจรไดอ ยา ง ถูกตอ ง 5. ใชเคร่ืองมือผาตัดใน กจิ กรรมไดอยางถูกตองและ ปลอดภยั

ผลการเรียนรู รอู ะไร ทําอะไร ภาระงาน/ช้นิ งาน สมรรถนะสําคญั คณุ ลักษณะ คุณลกั ษณะ ของวิชา อนั พึง 14. สืบคน รูอะไร ชิน้ งานท่ี 5 1. ความสามารถใน 1. ความ ประสงค ขอ มูล ระบุความ หลอดเลือดที่มีอยูใน ใบกิจกรรม เรอ่ื ง การคิด กระตือรือรน แตกตางของ 2. ความสามารถใน 2. ความ 1. ความมวี นิ ัย เซลลเ มด็ เลือด รางกายมีเลือดอยูประมาณ เลอื ด การสื่อสาร รอบคอบ 2. ใฝเ รียนรู แดง เซลลเ ม็ด 5 ลิตร หรอื ประมาณรอยละ 3. ความสามารถใน 3. กระบวน 3. มุงม่ัน เลือดขาวเพลต 7 -8 ข อ ง นํ้ า ห นั ก ตั ว ชน้ิ งานท่ี 6 การใชทักษะชวี ิต การกลุม ในการทํางาน เลต และ ประกอบดวย 2 สวน คือ ใบกจิ กรรม เรื่อง พลาสมา สว นท่ีเปนของเหลว เรียกวา เซลลเ ม็ดเลอื ดขาว 15. อธบิ ายหมู น้ํา เ ลือ ด หรื อ พ ลา ส ม า เลอื ดและ (Plasma) ซงึ่ มีประมาณรอย หลกั การใหและ ละ 55 ของปริมาณเลือด รบั เลือดในระบบ ทั้งหมด และสว นท่เี ปนเซลล ABO และระบบ เม็ดเลือด ไดแก เซลลเม็ด Rh เลือดแดง เซลลเม็ดเลือด ขาว และเกล็ดเลือด ซ่ึงมี ปริมาณรอยละ 45 ของ ปริมาณเลอื ดทง้ั หมด ทาํ อะไร 1. อธิบายลกั ษณะหละ หนา ทขี่ องเซลลเ ม็ดเลือด แดง เซลลเม็ดเลือดขาว เพลตเลต และพลาสมาได 2. อธิบายหมูเ ลอื ดและ หลักการใหเ ลือดในระบบ ABO และ Rh ได 3. ระบคุ วามแตกตา งของ เซลลเ มด็ เลือดแดง เซลล เมด็ เลอื ดขาว เพลตเลต และพลาสมาได 4. ใชกลองจุลทรรศน ตรวจสอบลกั ษณะเซลลเม็ด เลอื ดในสไลดถ าวรได

ผลการเรียนรู รูอะไร ทําอะไร ภาระงาน/ชิ้นงาน สมรรถนะสาํ คัญ คณุ ลกั ษณะ คณุ ลักษณะ 1. ความสามารถใน ของวชิ า อันพงึ 16. อธิบาย รอู ะไร ชนิ้ งานท่ี 7 การคดิ 2. 1. ความ ประสงค และสรุปเก่ยี วกบั ระบบนํ้าเหลือง เปน ใบกิจกรรม เรื่อง ความสามารถในการ กระตือรือรน สวน ประกอบ ร ะ บ บ ไ ห ล เ วี ย น ข อ ง ระบบน้ําเหลือง สอ่ื สาร 2. ความ 1. ความมวี ินัย และหนา ทขี่ อง น้ําเหลืองซึ่งเก่ียวของกับ 3. ความสามารถใน รอบคอบ 2. ใฝเ รยี นรู นา้ํ เหลอื ง รวมท้ัง การ สราง ภูมิคุมกัน ของ การใชท กั ษะชวี ติ 3. กระบวน 3. มุงมน่ั การกลมุ ในการทาํ งาน โครงสรา งและ รางกาย โครงสรางของ หนาท่ขี อง หลอด ร ะ บ บ นํ้ า เ ห ลื อ ง นํา้ เหลอื ง และ ประกอบดวยนํ้าเหลือง ทอ ตอ มน้ําเหลือง น้ําเหลือง หรือหลอดนํ้า เหลือง และอวยั วะน้าํ เหลือง ร ะ บ บ นํ้ า เ ห ลื อ ง ต า ง จ า ก ระบบหมุนเวียนเลือด คือ ไมมีอวัยวะสูบฉีดตาง ๆ แต นาํ้ เหลืองสามารถลําเลียงไป ยังสวนตาง ๆ ของรางกาย ไ ด โ ด ย ก า ร ห ด ตั ว ข อ ง กลามเน้อื เรียบบริเวณหลอด นาํ้ เหลือง ทาํ อะไร 1. อธบิ ายลกั ษณะและ หนาทีข่ องนํา้ เหลอื ง หลอด นํ้าเหลือง และตอ ม น้าํ เหลืองได 2. อธบิ ายความสัมพนั ธ ของระบบนํ้าเหลอื งและ ระบบหมนุ เวียนเลอื ดได 3. เขยี นทศิ ทางแสดงการ ไหลเวียนของน้ําเหลืองใน รา งกายไดถกู ตอง

ผลการเรยี นรู รูอะไร ทาํ อะไร ภาระงาน/ชนิ้ งาน สมรรถนะสาํ คญั คณุ ลกั ษณะ คณุ ลกั ษณะ ของวิชา อันพึง 17. สบื คน รอู ะไร ชิน้ งานที่ 8 1. ความสามารถใน 1. ความ ประสงค ขอมูล อธิบาย ร ะ บ บ ภู มิ คุ ม กั น ทํ า ใบกิจกรรม เร่ือง การคิด กระตือรือรน และเปรียบ เทยี บ หนาท่ีปองกันและทําลาย ระบบภูมิคมุ กัน 2. ความสามารถใน 2. ความ 1. ความมวี ินัย กลไกการตอ ตาน เ ชื้ อ โ ร ค ต า ง ๆ ไ ด แ ก การสอ่ื สาร รอบคอบ 2. ใฝเ รียนรู หรือทาํ ลายสงิ่ แบคทีเรีย เช้ือรา ไวรัส 3. ความสามารถใน 3. กระบวน 3. มุงมัน่ การใชท กั ษะชวี ิต การกลุม ในการทาํ งาน แปลกปลอมแบบ พยาธิ หรือสิ่งแปลกปลอม ไมจ าํ เพาะ และ เชน ฝนุ ละออง เกสรดอกไม แบบจาํ เพาะ ควันพิษ ละอองสารเคมี ที่ 18. สืบคน เขาสูรางกายซึ่งเรียกเชื้อโรค ขอ มูล อธิบาย และสิ่งแปลกปลอมเหลาน้ี และเปรยี บ เทียบ วาแอนติเจน โดยระบบ การสราง ภูมิคุมกันจะทําหนาที่สราง ภมู คิ ุม กนั กอ เอง สารท่ีเรียกวา แอนติบอดี และภูมคิ ุม กัน เขาทําลายแอนติเจนที่ไดรับ รบั มา นอกจากนั้นระบบภูมิคุมกัน ยั ง ทํ า ห น า ท่ี กํ า จั ด เ ซ ล ล ท่ี เส่ือมสภาพ เชน เซลลเม็ด เลือดแดงที่อายุมาก เปนตน และเซลลท่ีทํางานผิดปกติ เชน เซลลเนื้องอก เพื่อ ป อ ง กั น ก า ร ก ล า ย เ ป น เซลลม ะเร็ง โดยรา งกายจะมี กลไกตอตา นหรอื ทําลายเชื้อ โรคและสิ่งแปลกปลอมแต ละชนดิ ทแ่ี ตกตางกนั ทําอะไร 1. อธิบายกลไกการ ตอ ตานหรือทาํ ลายส่ิง แปลกปลอมแบบจําเพาะ และแบบไมจาํ เพาะได 2. อธิบายการสรา ง ภูมคิ มุ กันกอเองหรือ ภมู คิ มุ กนั แบบรับมาได 3. อธบิ ายความผิดปกติ ของระบบภมู คิ มุ กันได

4. เปรยี บเทยี บกลไกการ ตอ ตานหรือทาํ ลายส่งิ แปลกปลอมแบบจําเพาะ และแบบไมจําเพาะได 5. เปรียบเทยี บการสรา ง ภูมคิ ุมกันขนึ้ เองและ ภูมิคุมกันแบบรบั มาได 6. เขยี นแผนผังแสดงการ ทาํ งานของระบบภูมคิ ุมกัน แบบจําเพาะไดถ กู ตอ ง ผลการเรียนรู รูอะไร ทาํ อะไร ภาระงาน/ช้นิ งาน สมรรถนะสาํ คัญ คณุ ลกั ษณะ คณุ ลักษณะ ของวชิ า อันพึง 19. สืบคน รอู ะไร 1. ความสามารถใน 1. ความ ประสงค ขอ มลู และ ร ะ บ บ ภู มิ คุ ม กั น มี การคิด กระตือรือรน อธิบายเก่ียวกบั ความสาํ คัญตอ การดาํ รงชีวิต 2. ความสามารถใน 2. ความ 1. ความมวี นิ ัย ความผิดปกตขิ อง ของมนษุ ย แตบางครัง้ ระบบ การส่ือสาร รอบคอบ 2. ใฝเ รยี นรู ระบบภูมิคมุ กนั ท่ี ภู ม คุ ม กั น อ า จ มี ก า ร 3. ความสามารถใน 3. กระบวน 3. มงุ มน่ั การใชท ักษะชวี ิต การกลมุ ในการทาํ งาน ทําใหเ กิดเอดส ตอบสนองที่ผิดปกติ จน ภูมแิ พ การสราง ก อ ใ ห เ กิ ด โ ร ค ใ น ร ะ บ บ ภูมติ า น ทานตอ ภูมิคุมกัน เชน โรคภูมิแพ เน้ือเยอ่ื ตนเอง โรคแพภูมิคุมกันตัวเอง โรค เอ ดส หรือ ก ลุมอาการ ภมู คิ ุมกันบกพรอง เปนตน ทาํ อะไร 1. อธิบายลักษณะของ โรคท่ีเกดิ จากความผิดปกติ ของระบบภมู ิคมุ กนั ได 2. อธิบายแนวทาง ปองกันการตดิ ติดเชอ้ื HIV ได 3. ปฏบิ ตั ิตนตามแนวทาง ปองกนั การตดิ เช้ือ HIV ได อยางถกู ตอง 4. ตระหนักถึง ความสาํ คัญและวธิ กี ารดแู ล รกั ษาโรคทเี่ กดิ จากความ ผิดปกติของระบบภมู คิ ุมกัน ได

การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู รายวิชา ชวี วิทยา4 รหสั วชิ า ว32206 ชือ่ หนวยการเรยี นรทู ี่ 3 ระบบหมนุ เวียนเลอื ด ระบบนํา้ เหลอื ง และระบบภมู ิคุมกนั ช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 5/1 ภาคเรยี นที่ 2 ปก ารศึกษา 2564 เปาหมายการเรยี นรู ภาระงาน/ชนิ้ งาน วธิ วี ัด เคร่ืองมอื วดั ประเดน็ / คะแนน เกณฑการให รูอะไร ชิน้ งานที่1 1. ตรวจ คะแนน ระบบหมุนเวียนเลือด แบบทดสอบกอนเรียน แบบทดสอบกอน เรียน เรอ่ื ง ระบบ 1. แบบตรวจ รอ ยละ 65 30 (Circulatory system) ทํา เรอื่ ง หมุนเวยี นเลอื ด แบบทดสอบกอ น ของคะแนนที่ หนาท่ีลําเลียงสารอาหาร ระบบหมนุ เวยี นเลอื ด ระบบนํ้าเหลือง เรยี น เร่ือง ระบบ ไดโ ดยดคู วาม และแกสออกซิเจนไปสู ระบบน้ําเหลือง และระบบ หมุนเวยี นเลือด ถูกตองของ เซลลตาง ๆ และลําเลียง และระบบภมู ิคุมกัน ภูมคิ มุ กัน ระบบนํ้าเหลอื ง เนื้อหาที่ แกสคารบอนไดออกไซด (แบบออนไลน) 2. ตรวจใบ และระบบภูมิคมุ กัน ผเู รียนบนั ทึก และของเสียตาง ๆ ออก กจิ กรรม เร่อื ง จากเซลล รวมทง้ั ชวยรักษา ชิ้นงานท่ี 2 ระบบหมนุ เวียน และความ ส ม ดุ ล ใ น ร า ง ก า ย ข อ ง ใบกิจกรรม เร่ือง เลือดของสัตว ตงั้ ใจในการ สิ่ ง มี ชี วิ ต ซึ่ ง ร ะ บ บ ระบบหมนุ เวยี น 2. แบบตรวจใบ ทํากิจกรรม ห มุ น เ วี ย น เ ลื อ ด แ บ ง เลอื ดของสัตว กจิ กรรม เรือ่ ง ออ ก เป น 2 ร ะ บบ คือ ระบบหมุนเวยี น ระบบหมุนเวียนเลือดแบบ เลอื ดของสตั ว เปดและระบบหมุนเวียน เลือดแบบปด

เปาหมายการเรยี นรู ภาระงาน/ชนิ้ งาน วธิ ีวัด เครื่องมอื วัด ประเดน็ / คะแนน เกณฑก าร ใหคะแนน รอู ะไร ช้นิ งานท่ี 3 3. ตรวจใบ 3. แบบตรวจใบ รอยละ 65 หัวใจ (Heart) เปน ใบกิจกรรม เรอ่ื ง กิจกรรม เรอื่ ง กจิ กรรม เร่ือง ของคะแนน อ วั ย ว ะ ท่ี ป ร ะ ก อ บ ด ว ย หวั ใจและการหมุนเวียนเลื หวั ใจและการ หัวใจและการ ท่ไี ดโ ดยดู กลามเนื้อหัวใจ (Cardiac อดผานหวั ใจ หมุนเวยี นเลอื ด หมุนเวยี นเลอื ดผาน ความถูกตอ ง muscle) อยูบริเวณชองอก ผา นหวั ใจ หวั ใจ ของเนื้อหาที่ คอนไปทางดานซาย ถูก ผูเ รียน หอหุมดวยถุงเยื่อหุมหัวใจ ชน้ิ งานที่ 4 4. ตรวจใบ 4. แบบตรวจใบ บนั ทกึ และ (Pericardium) ซ่ึงภายใน ใบกิจกรรม เรอื่ ง กจิ กรรม เรื่อง กจิ กรรม เรอ่ื ง ความตงั้ ใจ ถุงจะมีของเหลวบรรจุอยู ความแตกตางของ ความแตกตา ง ความแตกตางของ ในการทํา เล็กนอย ทําหนาที่หลอล่ืน หลอดเลอื ด ของ หลอดเลือด กจิ กรรม ร ะ ห ว า ง ถุ ง หุ ม หั ว ใ จ แ ล ะ หลอดเลอื ด หัวใจเพอื่ ปองกันการเสียดสี ขณะหัวใจบบี ตวั หลอดเลือด (Blood vessel) ทําหนาที่ลําเลียง เลือดไปยังอวัยวะตาง ๆ ใน รางกาย ซึ่งจําแนกได 3 ประเภท ไดแก หลอดเลือด แดง หลอดเลือดดํา และ หลอดเลือดฝอย เปา หมายการเรียนรู ภาระงาน/ชนิ้ งาน วธิ ีวัด เครื่องมือวดั ประเดน็ / คะแนน เกณฑก าร 5. ตรวจใบ 5. แบบตรวจใบ ใหคะแนน รูอะไร ช้นิ งานท่ี 5 กจิ กรรม กจิ กรรม รอ ยละ 65 30 หลอดเลอื ดที่มีอยูใ น ใบกิจกรรม เร่ือง เลอื ด เร่ือง เลอื ด เรอื่ ง เลือด ของคะแนน 6. ตรวจใบ 6. แบบตรวจใบ ทีไ่ ดโ ดยดู รางกายมเี ลือดอยปู ระมาณ กจิ กรรม เร่ือง กจิ กรรม เร่ือง ความถกู ตอง 5 ลติ ร หรือประมาณรอ ย เซลลเ ม็ดเลือด เซลลเ มด็ เลือดขาว ของเนอื้ หาที่ ละ 7-8 ของนา้ํ หนักตวั ชน้ิ งานท่ี 6 ขาว ผเู รยี น ประกอบดว ย 2 สว น คอื ใบกจิ กรรม เรอ่ื ง บนั ทกึ และ สว นที่เปน ของเหลว เรยี กวา เซลลเม็ดเลอื ดขาว ความต้งั ใจ นาํ้ เลือด หรือพลาสมา ในการทาํ (Plasma) ซ่ึงมีประมาณ กจิ กรรม รอ ยละ 55 ของปรมิ าณ เลือดทั้งหมด และสว นที่ เปนเซลลเม็ดเลอื ด ไดแ ก เซลลเ ม็ดเลอื ดแดง เซลล เม็ดเลือดขาว และเกล็ด เลือด มปี ริมาณรอ ยละ 45

เปาหมายการเรยี นรู ภาระงาน/ช้ินงาน วธิ วี ัด เคร่อื งมือวัด ประเดน็ / คะแนน เกณฑการ รูอะไร ช้นิ งานท่ี 7 7. ตรวจใบ 7. แบบตรวจใบ ใหค ะแนน ระบบน้ําเหลือง เปน ใบกิจกรรม เร่อื ง กจิ กรรม เร่ือง กิจกรรม เรื่อง รอ ยละ 65 30 ระบบน้ําเหลอื ง ระบบนํา้ เหลอื ง ของคะแนน ร ะ บ บ ไ ห ล เ วี ย น ข อ ง ระบบนาํ้ เหลอื ง ทไ่ี ดโดยดู นํ้าเหลืองซึ่งเกี่ยวของกับ ความถูกตอง การ สรางภูมิคุมกั นขอ ง ของเน้อื หาท่ี รางกาย โครงสรางของ ผเู รียน ร ะ บ บ น้ํ า เ ห ลื อ ง บนั ทึกและ ประกอบดวยน้ําเหลือง ทอ ความตง้ั ใจ น้ําเหลือง หรือหลอดน้ํา ในการทาํ เ ห ลื อ ง แ ล ะ อ วั ย ว ะ กจิ กรรม นํ้าเหลือง ระบบนํ้าเหลือง ต า ง จ า ก ร ะ บ บ ห มุ น เ วี ย น เลือด คือ ไมมีอวัยวะสูบฉีด ตา ง ๆ แตน้ําเหลอื งสามารถ ลําเลียงไปยังสวนตาง ๆ ของรางกายได โดยการหด ตั ว ขอ ง ก ลา มเ นื้อ เรี ย บ บริเวณหลอดนา้ํ เหลอื ง

เปา หมายการเรียนรู ภาระงาน/ช้นิ งาน วิธวี ดั เคร่อื งมือวดั ประเด็น/ คะแนน เกณฑการ รูอะไร ชิ้นงานท่ี 8 8. ตรวจใบ 8. แบบตรวจใบ ใหคะแนน ร ะ บ บ ภู มิ คุ ม กั น ทํ า ใบกิจกรรม เรือ่ ง กิจกรรม เร่อื ง กิจกรรม เรือ่ ง รอ ยละ 65 ระบบภมู คิ ุมกนั ระบบภมู ิคมุ กัน ของคะแนน หนาที่ปองกันและทําลาย ระบบภูมิคมุ กัน ท่ีไดโดยดู เ ช้ื อ โ ร ค ต า ง ๆ ไ ด แ ก ความถกู ตอ ง แบคทีเรีย เช้ือรา ไวรัส ของเนื้อหาท่ี พยาธิ หรือส่ิงแปลกปลอม ผเู รยี น เชน ฝนุ ละออง เกสรดอกไม บันทกึ และ ควันพิษ ละอองสารเคมี ท่ี ความตงั้ ใจ เขาสรู า งกายซึ่งเรยี กเชอ้ื โรค ในการทาํ และส่ิงแปลกปลอมเหลานี้ กิจกรรม วาแอนติเจน โดยระบบ ภูมิคุมกันจะทําหนาที่สราง สารท่ีเรียกวา แอนติบอดี เขา ทําลายแอนติเจนท่ีไดรับ นอกจากนั้นระบบภูมิคุมกัน ยังทําหนาที่กําจัดเซลลที่ เส่ือมสภาพ เชน เซลลเม็ด เลอื ดแดงที่อายมุ าก เปนตน และเซลลที่ทํางานผิดปกติ เชน เซลลเน้ืองอก เพื่อ ป อ ง กั น ก า ร ก ล า ย เ ป น เซลลมะเร็ง โดยรางกายจะ มีกลไกตอตานหรือทําลาย เช้ือโรคและส่ิงแปลกปลอม แตล ะชนดิ ท่แี ตกตางกัน

การวิเคราะหผลการเรียนรู รายวิชา ชีววิทยา4 รหัสวชิ า ว32206 ชอ่ื หนว ยการเรียนรูที่ 4 ระบบขบั ถา ย ชั้น มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 5/1 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2564 ผลการเรียนรู รูอ ะไร ทําอะไร ภาระงาน/ชนิ้ งาน สมรรถนะสําคญั คณุ ลักษณะ คุณลกั ษณะ ของวิชา อันพึง 20. สืบคนขอ มูล รูอ ะไร ชน้ิ งานที่ 1 1. ความสามารถใน 1. การสังเกต ประสงค อธบิ าย และ การขับถา ย หมายถึง แบบทดสอบกอ นเรีย การคิด 2. การลง เปรียบเทยี บ การกําจัดของเสียท่ีเกิด น เร่อื ง ระบบขบั ถา ย 2. ความสามารถใน ความเหน็ จาก 1. ความมีวินัย โครงสรา งและ จ า ก ก ร ะ บ ว น ก า ร เ ม (แบบออนไลน) การสอื่ สาร ขอ มูล 2. ใฝเรียนรู หนา ที่ในการกําจดั แ ท บ อ ลิ ซึ ม อ อ ก จ า ก 3. ความสามารถใน 3. มุงมั่น ของเสีย ออกจาก ในการทํางาน รางกาย ของ ฟองนาํ้ ไฮดรา รางกาย โดยของเสีย ช้ินงานท่ี 2 การใชทักษะชีวติ พลานาเรยี ดังกลาวอาจเปนแกส ใบกจิ กรรม เรอ่ื ง ไสเ ดือนดนิ แมลง คารบอนไดออกไซด ไอ การขบั ถา ยของส่ิงมชี ี และสตั วมกี ระดกู น้ํ า ห รื อ ส า ร ที่ มี วติ เซลลเดยี วและขอ สนั หลงั ไ น โ ต ร เ จ น เ ป น งสัตว อ ง ค ปร ะ ก อ บ ไ ด แ ก แอมโมเนีย ยูเรีย และ กรดยูริก ซึ่งส่ิงมีชีวิตแต ละชนิดจะมีวิธีการและ อวัยวะที่ทําหนาท่ีกําจัด ของเสียทแี ตกตางกัน ทาํ อะไร 1. อธิบายการกําจัด ข อ ง เ สี ย ข อ ง สั ต ว แ ล ะ ส่งิ มชี วี ิตเซลลเดยี วได 2. เปรียบเทียบ ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง เ สี ย ข อ ง สิ่งมีชีวิตเซลลเดียวและ ของสตั วไ ด

ผลการเรียนรู รอู ะไร ทําอะไร ภาระงาน/ช้ินงาน สมรรถนะสําคญั คุณลักษณะ คุณลกั ษณะ ของวชิ า อันพึง ประสงค 21. อธิบาย รูอะไร ชน้ิ งานท่ี 3 1. ความสามารถใน 1. การสังเกต 1. ความมีวินัย โครงสรางและ มนุษยมีการขับถาย ใบกิจกรรม เร่อื ง การคดิ 2. ความ 2. ใฝเ รียนรู หนาทข่ี องไต และ ข อ ง เ สี ย ที่ เ กิ ด จ า ก อวยั วะในการขับถา ย 2. ความสามารถใน รอบคอบ 3. มงุ มน่ั โครงสรา งที่ใช กระบวนการเมแทบอลิ ปส สาวะ การสอื่ สาร 3. กระบวนการ ในการทาํ งาน ลําเลยี งปสสาวะ ซึมของรางกายท่ัวในรูป 3. ความสามารถใน กลมุ ออกจากรา งกาย ของปสสาวะ อุจจาระ ชน้ิ งานท่ี 4 การใชท กั ษะชวี ิต 22. อธิบายกลไก เ ห งื่ อ แ ล ะ แ ก ส ใบกิจกรรม เรอื่ ง การทาํ งานของ คารบอนไดออกไซด ซึ่ง โครงสรางและการทาํ หนวยไต ในการ ของเสียแตละชนิดจะถูก งานของหนว ยไต กาํ จดั ของเสียออก ขบั ถา ยผานทางอวัยวะท่ี รมิ าณสารในนํา้ เลอื ด จากรา งกาย และ แตกตางกัน โดยไตเปน ชิ้นงานที่ 5 เขยี นแผนผงั สรปุ อ วั ย ว ะ ห ลั ก ใ น ก า ร ใบกจิ กรรม เร่ือง ข้ันตอนการกําจดั ขับถายของเสียในรูป ของเหลวท่กี รองผา น ของเสยี ออกจาก ป ส ส า ว ะ แ ล ะ ยั ง ทํ า โกลเมอรูลสั รา งกายโดยหนวย หนาทีร่ กั ษาสมดลุ ของนํ้า และนํา้ ปสสาวะ ไต และแรธ าตุในรางกายอีก ดว ย ชน้ิ งานท่ี 6 การขับถายเปนการ ใบกิจกรรม เร่อื ง กําจัดของเสียท่ีเกิดจาก การรักษาดลุ ยภาพข กระบวนการเมแทบอลิ องรางกาย ซมึ ออกจากรางกาย โดย ข อ ง เ สี ย อ า จ เ ป น แอมโมเนีย ยูเรีย หรือ กรดยูริก ซึ่งการกําจัด ข อ ง เ สี ย เ ห ล า นี้ มั ก จ ะ สู ญ เ สี ย น้ํ า อ อ ก จ า ก รางกาย ดังนั้น รางกาย จึงตองมีการรักษาดุลย ภ า พ ข อ ง นํ้ า ภ า ย ใ น รา งกายเพื่อไมใหสูญเสีย น้ําออกจากรางกายมาก เกนิ ไป และตองไดรับนํ้า เ ข า ม า ท ด แ ท น นํ้ า ท่ี สญู เสยี ไปดว ย

ทําอะไร 1. อธิบายโครงสรา ง และการทํางานของไต และอวัยวะในระบบ ขับถา ยได 2. อธิบายการทํางาน ของหนว ยไตในการกําจดั ของเสียออกจากรา งกาย ได 3. เปรยี บเทยี บปริมาณ สารในน้าํ เลือด สารที่ ผา นการกรองของโกล เมอรูลัส และสารในน้ํา ปสสาวะได 4. คํานวณปรมิ าณสาร ทถี่ กู ดดู กลับท่ีทอ หนว ย ไตได

ผลการเรียนรู รูอะไร ทาํ อะไร ภาระงาน/ช้นิ งาน สมรรถนะสําคัญ คณุ ลักษณะ คณุ ลักษณะ ของวชิ า อนั พึง ประสงค 23. สืบคน ขอ มูล รอู ะไร 1. ความสามารถใน 1. ความ 1. ความมีวนิ ัย อธิบาย และ โรคที่เกี่ยวของกับไต การคดิ กระตอื รือรน 2. ใฝเ รยี นรู ยกตัวอยา งเกยี่ วกบั หมายถึง โรค หรือภาวะ 2. ความสามารถใน 2. ความ 3. มงุ ม่ัน ความผิดปกตขิ อง ที่เกิดความเสียหาย หรือ การส่อื สาร รอบคอบ ในการทํางาน ไตอนั เนอื่ งมาจาก ไตทํางานผิดปกติในการ 3. ความสามารถใน 3. กระบวนการ โรคตาง ๆ กําจัดของเสีย การรักษา การใชท ักษะชีวิต กลมุ ดุลยภาพของนํ้า และ กรด-เบสในรางกาย ซึ่ง โรคทีเ่ กยี่ วขอ งกับไต เชน โรคน่ิว โรคไตวาย เปน ตน ทาํ อะไร 1. อ ธิ บ า ย แ ล ะ ยกตวั อยางโรคท่ีเกี่ยวกับ ความผิดปกติของไตอัน เน่ืองมาจากโรคตาง ๆ ได 2 . ป ฏิ บั ติ ต น เ พ่ื อ ปองกันหรือดูแลรักษา โ ร ค เ ก่ี ย ว กั บ ค ว า ม ผดิ ปกตขิ องไต

การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู รายวชิ า ชวี วิทยา4 รหสั วิชา ว32206 ชื่อหนวยการเรียนรูท ี่ 4 ระบบขบั ถาย ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 5/1 ภาคเรียนท่ี 2 ปก ารศึกษา 2564 เปาหมายการเรยี นรู ภาระงาน/ช้ินงาน วธิ ีวดั เคร่ืองมอื วดั ประเดน็ / คะแนน เกณฑการให รูอะไร ช้ินงานที่ 1 1. ตรวจ 1. แบบทดสอบกอ น การขบั ถา ย หมายถึง การ แบบทดสอบกอ นเรยี น แบบทดสอบกอน เรยี น เร่ือง ระบบ คะแนน เรยี น เร่ือง ระบบ ขับถา ย รอยละ 65 20 กํ า จั ด ขอ ง เ สี ย ท่ี เกิ ดจ า ก เรือ่ ง ระบบขับถา ย ขับถาย (แบบออนไลน) ของคะแนนท่ี กระบวนการเมแทบอลิซึม (แบบออนไลน) (แบบออนไลน) ไดโ ดยดูความ ออกจากรา งกาย โดยของเสีย ถูกตอ งของ ดั ง ก ล า ว อ า จ เ ป น แ ก ส 2. ตรวจใบกจิ กรรม 2. ใบกิจกรรม เรือ่ ง เนอ้ื หาท่ี คารบอนไดออกไซด ไอนํ้า ชน้ิ งานที่ 2 เรอ่ื ง การขบั ถา ย การขบั ถายของ ผเู รียนบันทึก หรือสารท่ีมีไนโตรเจนเปน ใบกิจกรรม เรอ่ื ง ของสง่ิ มีชีวิตเซลล สง่ิ มีชวี ิตเซลลเดยี ว และความ อ ง ค ป ร ะ ก อ บ ไ ด แ ก การขบั ถา ยของส่งิ มีชีวิ เดียวและของสัตว และของสัตว ตั้งใจในการทํา แอมโมเนีย ยูเรีย และกรด ตเซลลเดียวและของสั กจิ กรรม ยรู ิก ซง่ึ สิ่งมชี วี ิตแตละชนิดจะ ตว มีวิธีก ารและอ วัยว ะที่ทํา ห น า ท่ี กํ า จั ด ข อ ง เ สี ย ที แตกตา งกนั

เปาหมายการเรียนรู ภาระงาน/ช้นิ งาน วิธวี ัด เครือ่ งมอื วดั ประเด็น/ คะแนน เกณฑการให คะแนน รูอะไร ชิน้ งานที่ 3 3. ตรวจใบกจิ กรรม 3. แบบตรวจใบ รอ ยละ 65 มนุษยมีการขับถายของ ใบกิจกรรม เรอื่ ง เร่ือง กิจกรรม เรือ่ ง ของคะแนนที่ เสียท่ีเกิดจากกระบวนการเม อวัยวะในการขบั ถา ย อวยั วะในการ อวัยวะในการขบั ถา ย ไดโ ดยดคู วาม แทบอลิซึมของรางกายท่ัวใน ปสสาวะ ขบั ถายปสสาวะ ปส สาวะ ถูกตอ งของ รูปของปสสาวะ อุจจาระ เน้อื หาที่ เ ห ง่ื อ แ ล ะ แ ก ส ชนิ้ งานท่ี 4 4. ตรวจใบกจิ กรรม 4. แบบตรวจใบ ผูเ รียนบนั ทึก คารบอนไดออกไซด ซ่ึงของ ใบกจิ กรรม เรอ่ื ง เรอื่ งโครงสรางและ กิจกรรม เรื่อง และความ เสียแตละชนิดจะถูกขับถาย โครงสรา งและการทําง การทํางานของ โครงสรางและการ ต้ังใจในการทํา ผานทางอวัยวะท่ีแตกตางกัน านของ หนวยไต ทาํ งานของหนวยไต กิจกรรม โดยไตเปนอวัยวะหลักในการ หนว ยไต ขับถา ยของเสียในรูปปสสาวะ และยังทําหนาที่รักษาสมดุล ชิน้ งานท่ี 5 5. ตรวจใบกจิ กรรม 5. แบบตรวจใบ ของนํ้าและแรธาตุในรางกาย ใบกิจกรรม เรอ่ื ง เร่อื ง ของเหลวท่ี กจิ กรรม เรื่อง อีกดวย ของเหลวที่กรองผาน กรองผา น ของเหลวทกี่ รองผา น การขับถายเปนการกําจัด โกลเมอรลู สั โกลเมอรลู สั และ โกลเมอรูลัส และนา้ํ ข อ ง เ สี ย ท่ี เ กิ ด จ า ก และน้าํ ปสสาวะ นํา้ ปสสาวะ ปสสาวะ กระบวนการเมแทบอลิซึม ออกจากรางกาย โดยของเสีย อาจเปนแอมโมเนีย ยูเรีย ชนิ้ งานท่ี 6 6. ตรวจใบกจิ กรรม 6. แบบตรวจใบ หรือกรดยูริก ซ่ึงการกําจัด ใบกิจกรรม เรือ่ ง เรื่อง กจิ กรรม เร่ือง การ ของเสียเหลาน้ีมักจะสูญเสีย การรกั ษาดลุ ยภาพของ การรกั ษาดลุ ยภาพ รักษาดลุ ยภาพของ นํ้าออกจากรางกาย ดังนั้น รางกาย ของรางกาย รา งกาย รางกายจึงตองมีการรักษา ดุ ล ย ภ า พ ข อ ง น้ํ า ภ า ย ใ น รางกายเพ่ือไมใหสูญเสียนํ้า ออกจากรางกายมากเกินไป แล ะ ต อ ง ไ ด รั บ นํ้ า เ ขา ม า ทดแทนนาํ้ ท่สี ญู เสยี ไปดว ย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook