Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ติวเข้ม O-Net วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรร ม.ปลาย

ติวเข้ม O-Net วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรร ม.ปลาย

Published by phrapradisth, 2019-12-02 07:04:23

Description: ติวเข้ม O-Net วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรร ม.ปลาย

Search

Read the Text Version

www.trueplookpanya.com | คลงั ความรูคคู ุณธรรมที่ใหญท ส่ี ดุ ในประเทศไทย วมตวิ เขชิ.ม ปOา-NลสETงาัGeยtค100มศกึ ษา

ช่องทรูปลูกปัญญา โทรทศั นค์ วามรดู้ สู นกุ ทางทรวู ชิ นั่ ส์ 6 ทกุ รายการสาระความรู้ สาระบนั เทิง และการปลูกฝังคณุ ธรรมจรยิ ธรรมตลอด 24 ช่วั โมง พบกับเร่ืองราวสร้างแรงบนั ดาลใจ • รายการสอนศาสตร์ รายการสอนเสรมิ แนวใหม่ครบ 8 วชิ า ม.3 ม.6 ติวสดทุกวันโดยติวเตอรช์ ่อื ดัง • รายการ I AM แนะนำ� อาชพี นา่ สนใจโดยรนุ่ พ่ีในวงการ • รายการสารสังเคราะห์ นำ� ข่าวสารมาสังเคราะห์อพั เดทกัน ทรปู ลูกปญั ญา แบบไม่ตกเทรนด์ หน่วยงานเพื่อการศึกษา ภายใต้กลุ่มบริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จ�ำกดั (มหาชน) ที่บรู ณาการเทคโนโลยแี ละความ เชีย่ วชาญดา้ นคอนเทนต์ พฒั นาเป็นสอ่ื ไลฟ์สไตล์เพอ่ื สง่ เสริม นิตยสารปลูก plook การศึกษาและคุณธรรม สามารถเชอื่ มโยงทกุ มิตกิ ารเรียนร้ไู ด้ อย่างครบวงจร นิตยสารส่งเสริมความรู้คู่คุณธรรมส�ำหรับเยาวชนฉบับแรก ในประเทศไทย วางแผงทกุ สัปดาหแ์ รกของเดือน หยบิ ฟรีไดท้ ่ี True Coffee TrueMove Shop สถานศกึ ษา แหลง่ การเรยี นรู้ ห้องสมดุ และโรงพยาบาล ทวั่ ประเทศ หรืออ่านออนไลน์ใน www.trueplookpanya.com www.trueplookpanya.com ทรูปลูกปญั ญาดอทคอม คลังความรูค้ ู่คณุ ธรรมท่ีใหญ่ ทส่ี ดุ ในประเทศไทย อดั แนน่ ดว้ ยสาระความรใู้ นรปู แบบมลั ตมิ เี ดยี สนกุ กับการเรยี นรู้ดว้ ยตวั เอง ทงั้ ยงั เปิดโอกาสใหท้ กุ คนสร้าง แอพพลิเคช่นั Trueplookpanya.com เนอื้ หา แบง่ ปนั ความรรู้ ว่ มกนั โดยไมม่ ีค่าใชจ้ า่ ย ตอบโจทยไ์ ลฟส์ ไตลก์ ารเรยี นรขู้ องคนรนุ่ ใหม่ ดว้ ยฟรแี อพพลเิ คชน่ั “Trueplookpanya.com” ใหค้ ณุ พรอ้ มสำ� หรับการเรยี นรู้ในทุก ที่ทกุ เวลา รองรับการใชง้ านบน iOS (iPhone, iPod, iPad) และ พบกบั ความเป็นท่ีสุดทงั้ 4 ดา้ นแหง่ การเรยี นรู้ Android • คลงั ความรู้ รวบรวมเนื้อหาการเรียนทุกระดบั ชัน้ ครบ 8 กล่มุ สาระการเรียน • คลงั ข้อสอบ ข้อสอบออนไลนพ์ ร้อมเฉลยทใ่ี หญท่ ส่ี ุดใน : www.trueplookpanya.com ประเทศไทย พร้อมการประเมินผลสอบทางสถติ ิ : TruePlookpanya • แนะแนว ข้อมลู การศึกษาตอ่ พร้อมเจาะลกึ ประสบการณ์ การเรียนและการท�ำงาน • ศนู ย์ขา่ วสอบตรง/Admissions ขา่ วการสอบทุกสนาม ทกุ สถาบนั พร้อมระบบแจง้ เตอื นเรยี ลไทม์

หนงั สือชดุ “ติวเข้ม O-NET Get 100” สรา้ งสรรค์โดย ทรูปลกู ปัญญา มเี ดยี โครงการเพ่ือสังคมของบรษิ ัท ทรู คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 46/8 อาคารรุ่งโรจน์ธนกลุ ตึก B ชน้ั 9 ถนนรัชดาภิเษก แขวงหว้ ยขวาง เขตห้วยขวาง กรงุ เทพฯ 10310 โทร : 02-647-4511, 02-647- 4555 โทรสาร : 02-647-4501 อเี มล : [email protected] : www.trueplookpanya.com : TruePlookpanya หนงั สือชดุ “ตวิ เข้ม O-NET Get 100” ใช้สัญลักษณ์อนุญาตของครเี อทฟี คอมมอนส์ แบบ แสดงทม่ี า-ไมใ่ ชเ้ พ่ือการค้า-อนญุ าตแบบเดียวกนั 3.0 ประเทศไทย

คำนำ การสอบ O-NET หรอื ช่อื อย่างเปน็ ทางการว่า การจดั การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพืน้ ฐาน (Ordinary National Educational Test) โดย สทศ. ถือเป็นอีกสนามสอบที่สำ� คัญส�ำหรบั นอ้ งๆ ในระดับ ป.6, ม.3, ม.6 เพอื่ เป็นการประเมนิ ผลการเรยี นรูข้ องนอ้ งๆ ในระดบั ชาตเิ ลยทีเดยี ว และยังเปน็ ตัวชว้ี ดั คณุ ภาพการเรยี น การสอนของแต่ละโรงเรยี นอีกด้วย คะแนน O-NET กย็ งั เปน็ สว่ นสำ� คญั ในการคดิ คะแนนในระบบ Admissions เพอ่ื สมัครเข้าคณะท่ีใจปรารถนา ไดค้ ะแนนดีก็มชี ัยไปกว่าครึ่ง และเพ่ือเป็นอีกตวั ช่วยหนึง่ ในการเตรียมความพร้อมให้นอ้ งๆ ก่อนการลงสนามสอบ O-NET ทางทรู ปลกู ปัญญาจึงได้จัดท�ำหนงั สอื ชดุ “ติวเข้ม O-NET Get 100” สดุ ยอดคมู่ ือเตรยี มตัวสอบ O-NET ส�ำหรบั นอ้ งๆ ในระดับ ม.3 และ ม.6 ทเี่ จาะลึกเนอ้ื หาท่มี กั ออกสอบบ่อยๆ โดยเหลา่ รุน่ พเี่ ซียนสนามในวงการตวิ รวบรวมแนว ขอ้ สอบตงั้ แต่อดีตจนถงึ ปจั จุบัน พรอ้ มเฉลยอยา่ งละเอยี ด และค�ำอธิบายท่เี ขา้ ใจง่าย จ�ำไดแ้ ม่นย�ำ น�ำนอ้ งๆ Get 100 ท�ำคะแนนสเู่ ปา้ หมายในอนาคต หนังสือชุด “ติวเข้ม O-NET Get 100” โดยทรูปลูกปัญญา ประกอบด้วยวิชาคณิตศาสตร์ ภาษาไทย สงั คมศึกษา ภาษาอังกฤษ ทร่ี วบรวมเนอื้ หาระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศกึ ษาตอนปลาย และวิชา ฟสิ กิ ส์ เคมี ชวี วทิ ยา ของระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย รวมท้ังหมด 11 เล่ม โดยสามารถศึกษาเนอ้ื หาหรอื ท�ำข้อสอบ ออนไลน์เพิม่ เติมได้จาก www.trueplookpanya.com ท่ีมี link ให้ในทา้ ยบท สามารถดาวน์โหลดหนงั สือได้ฟรี ผ่านเว็บไซตท์ รูปลกู ปญั ญา ท่ี www.trueplookpanya.com/onet ทมี งานทรปู ลกู ปญั ญา

สารบัญ เรอ่ื ง หนา้ คุยก่อนอา่ น 5 บทที่ 1 6 สาระ : ศาสนา ศลี ธรรมและจรยิ ธรรม 7 • ศาสนาสากล 29 • แนวข้อสอบ บทท่ี 2 สาระ : หนา้ ท่ีพลเมือง วฒั นธรรมและการดำ� เนินชวี ติ 33 • สงั คมวิทยา 33 • รฐั ศาสตร์ 40 • กฎหมาย 46 • แนวข้อสอบ 52 บทที่ 3 สาระ : เศรษฐศาสตร ์ 57 • แนวข้อสอบ 77 บทที่ 4 สาระ : ประวัติศาสตร ์ 83 • ประวัติศาสตร์สากล 85 • ประวตั ิศาสตร์ไทย 95 • แนวขอ้ สอบ 115 บทท่ี 5 120 สาระ : ภมู ศิ าสตร์ 139 • แนวข้อสอบ

คุยกอนอาน หนงั สือเล่มนี้ จดั ทำ�ขึน้ สำ�หรบั นอ้ งๆ ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.4-ม.6) ทต่ี ้องการจะเตรยี มความพร้อม ในการสอบ O-NET วชิ าสงั คมศกึ ษา ซึง่ ไดร้ วบรวมเน้อื หาวิชาทอ่ี อกสอบ O-NET และขอ้ สอบใหฝ้ กึ ทำ� โดยในสว่ น เนื้อหาจะประกอบไปด้วย 5 สาระยอ่ ย ดงั น้ี 1. สาระ : ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม จะเน้นเร่ืองศาสนาสากลและศาสนาพุทธ หลักธรรมของศาสนาพทุ ธ ตา่ งๆ ท่ตี ้องจดจำ� ใครจำ�เก่งกน็ า่ จะไดเ้ ปรียบ 2. สาระ : หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง วฒั นธรรมและการดำ�เนนิ ชวี ติ – บทนจ้ี ะเปน็ เรอื่ งการปกครองกฎหมายในชวี ติ ประจำ�วนั ระบบการเมืองการปกครอง 3. สาระ : เศรษฐศาสตร์ เปน็ เร่ืองเกีย่ วกบั เศรษฐกิจ กลไกราคา วกิ ฤตเศรษฐกจิ ต่างๆ ปัญหาเงินเฟ้อ เงินฝืด จะ ออกเป็นแนววเิ คราะหเ์ ศรษฐกิจ 4. สาระ : ประวตั ศิ าสตร์ – ตวั ข้อสอบอาจจะมีการเปรยี บเทียบประวัตศิ าสตร์ หรอื ยุคสมัย 5. สาระ : ภูมิศาสตร์ เป็นเร่ืองของแผนที่ ลักษณะทางกายภาพ จะเน้นหนักไปทางภูมิศาสตร์ประเทศไทย ภูมปิ ระเทศทเี่ ปล่ยี นแปลงไป รวมถึงการนำ�ข่าวสารตา่ งๆมาถามนอ้ งๆ ในแตล่ ะบทจะมสี อดแทรกเทคนคิ และเนือ้ หาทีต่ อ้ งเน้นยำ้� ตา่ งๆ ท่สี ามารถเปน็ แนวทางให้น้องๆ ไดอ้ า่ นหนงั สอื ไดต้ รงจดุ โดนใจ พีข่ อฝากเทคนิคเล็กๆ นอ้ ยๆ ว่า ในการทำ�ขอ้ สอบ ถนัดบทไหนก็ใหท้ ำ�ข้อสอบในบทน้ันก่อนเพอ่ื ความมน่ั ใจ ลอง สำ�รวจตัวเองว่าเราถนัดแนวไหน ถ้าถนัดท่องจำ�ก็น่าจะทำ�ส่วนศาสนา หน้าที่พลเมืองหรือประวัติศาสตร์ได้ดี แต่ถ้า ถนดั คดิ วิเคราะห์กน็ า่ จะทำ�เศรษฐศาสตร์ได้ดี แต่ถ้าขอ้ ไหนทำ�ไม่ได้ก็เดาไปเลย ดีกวา่ เวน้ วา่ งไวเ้ ปน็ ศนู ย์คะแนนนะจ๊ะ พี่ๆ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มน้ี จะช่วยให้น้องๆ มีความเข้าใจ และสามารถทำ�ข้อสอบ O-NET วิชา สงั คมศกึ ษาไดด้ ้วยความม่นั ใจเกนิ ร้อย สิง่ ทส่ี ำ�คญั ทสี่ ดุ คือ นอ้ งๆ จะตอ้ งพกั ผอ่ นให้เพยี งพอกอ่ นวันสอบด้วยนะจ๊ะ สู้ ๆ เป็นกำ�ลงั ใจให้นะ ทีมงานทรูปลกู ปญั ญา

บทท่ี 1 สาระ: ศาสนา ศีลธรรมและจรยิ ธรรม ศาสนา ​ สังคมในปัจจุบันเรามักพบปัญหาต่างๆ รมุ เรา้ มากมาย เวลาทเี่ กิดความทกุ ข์ใจ เรามกั จะหาท่ีพง่ึ ทางใจ ซง่ึ คนสว่ นใหญ่กจ็ ะ นกึ ถึงศาสนา นนั่ แสดงใหเ้ ห็นวา่ ศาสนาเป็นที่พึง่ ทางจิตใจของมนษุ ย์ ศาสนา ​ ศาสนาเกดิ จากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เชน่ ฟ้าผา่ นำ�้ ทว่ ม ภูเขาไฟระเบิด ฯลฯ เมือ่ มนุษยเ์ กิดความกลัวในปรากฏการณ์ นนั้ แลว้ ไมร่ ไู้ มเ่ ขา้ ใจถงึ สาเหตุ เลยคดิ วา่ เปน็ การดลบนั ดาลโดยสง่ิ ทเี่ หนอื ธรรมชาตจิ นกลายเปน็ ความเชอื่ สมยั ตอ่ มามกี ารเกดิ ศาสดาทาง ศาสนาขนึ้ มากมาย ไดเ้ ผยแผค่ ำ� สอนตา่ งๆ อนั จะนำ� พาไปสคู่ วามรแู้ จง้ ของแตล่ ะศาสนา แลว้ มนษุ ยก์ ย็ ดึ ศาสนาเปน็ ทพ่ี ง่ึ ทางใจ เพอื่ ปฏบิ ตั ิ ตามหลกั ค�ำสอนให้พ้นจากความทกุ ข์ ดงั นน้ั ศาสนาจึงเป็นลัทธคิ วามเชอื่ ท่ีนำ�ไปสู่การปฏบิ ตั ิ การแสวงหาวธิ ีการเพือ่ ให้พน้ จากความทกุ ข์ และพบสุขนิรนั ดร์ องค์ประกอบของศาสนา ​ ศาสดา คอื ผ้ทู ีน่ ำ�หลักคำ�สอนมาเผยแผ่ แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ ศาสดาธรรมดา คอื ศาสดาทีค่ ิดหลกั ธรรมนั้นข้ึน มาเอง เชน่ พระพทุ ธเจ้า และศาสดาพยากรณ์ คือ ศาสดาท่นี ำ�คำ�สอนของพระเจ้ามาเผยแผ่ เชน่ พระเยซู นบมี ูฮัมหมดั หลักธรรม คอื คำ�สอนที่ศาสดารวบรวมไว้ในคัมภีร์ทางศาสนา ซึ่งเป็นสิ่งทสี่ ำ�คัญทส่ี ุด และทกุ ศาสนาต้องมี แบง่ ได้เปน็ 2 ระดับ คอื ระดับศลี ธรรม จะสอนเร่อื งความดี ความชวั่ และเร่ืองทัว่ ไป เพอ่ื ความสงบสขุ ของคนในสงั คม  และระดับปรมัตถ์สจั จะ จะสอนเรอ่ื งความสขุ นิรนั ดร์หรอื กค็ อื จุดมุ่งหมายสงู สุดของแตล่ ะศาสนา เชน่ นิพพาน โมกษะ ศาสนิกชน คอื ผทู้ ี่นับถือศาสนาน้ันๆ เชน่ พทุ ธศาสนิกชน ครสิ ต์ศาสนิกชน มุสลิม ศาสนพธิ ี คือ ระเบยี บพธิ ปี ฏิบตั ิในการประกอบกจิ การทางศาสนา เช่น พิธมี สิ ซา ศาสนสถาน คือ สถานท่ที ่ีใช้ในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เช่น วัด โบสถ์ มัสยดิ นกั บวช คือ ผู้ท่ที ำ�หนา้ ทเ่ี ผยแผห่ ลกั คำ�สอน และนำ�ประกอบพิธีกรรม เชน่ พระสงฆ์ ประเภทของศาสนา จ�ำแนกตามความเช่อื เร่ืองพระเจ้า แบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ ศาสนาเทวนยิ ม คอื ศาสนาทเี่ ชอื่ วา่ พระเจา้ เปน็ ผสู้ รา้ งสรรพสง่ิ และกำ� หนดชะตาชวี ติ มนษุ ย์ เชน่ ศาสนาพราหมณ-์ ฮนิ ดู ศาสนายูดาย ศาสนาคริสต์ ศาสนาอสิ ลาม ศาสนาอเทวนยิ ม คอื ศาสนาท่ียอมรับในการมอี ยจู่ รงิ ของพระเจา้ แต่ไมเ่ ชื่อว่าพระเจา้ เป็นผกู้ �ำหนด แต่เชือ่ ในเรือ่ งของ กรรม คือ การกระทำ� ท่ีมนษุ ย์ไดก้ อ่ ไว้ เชน่ พุทธศาสนา 6 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

ศาสนาสากล ศาสนาสากล คอื ศาสนาทม่ี ผี ู้นับถอื เปน็ จ�ำนวนมากและกระจายอยู่ท่ัวทุกภูมภิ าคของโลก ศาสนาสากลมี 3 ศาสนา ไดแ้ ก่ ศาสนาครสิ ต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาพทุ ธ แต่ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ก็มีความสำ� คัญ ถึงแมจ้ ะมผี ู้นับถือเฉพาะในอนิ เดียเป็นส่วน ใหญ่ แต่เปน็ ศาสนาที่มีผนู้ ับถอื มากเปน็ อนั ดับ 3 ของโลก จึงจัดรวมให้อยู่ในศาสนาสากล  ตารางเปรยี บเทียบศาสนาสากล คริสต์ อิสลาม พุทธ ผไู้ ดร้ บั การเจิม สันติ การนอบนอ้ ม พราหมณ์-ฮินดู อสิ ราเอล ซาอุดอิ าระเบีย กฎที่เป็นนริ ันดร์ ความหมายของชื่อ ผรู้ ู้ ผู้ตืน่ ผเู้ บิกบาน อินเดยี ไม่ปรากฏ ถนิ่ กำ� เนิด อนิ เดีย ศาสดา พระพุทธเจา้ พระเยซ ู นบมี ฮู ัมหมัด ความเชอ่ื อเทวนิยม เอกเทวนิยม เอกเทวนิยม พหุเทวนยิ ม พระเจ้า ไม่ม ี พระยะโฮวา พระอัลเลาะห ์ พระตรีมูรติ จดุ มงุ่ หมายสูงสุด นพิ พาน เขา้ ส่อู าณาจักรพระเจา้ เข้าถงึ พระอลั เลาะห ์ โมกษะ คมั ภรี ์ พระไตรปิฎก ไบเบิ้ล อลั กุรอาน พระเวท เป้าหมายสูงสดุ ของทกุ ศาสนา คือ ความสขุ นิรันดร์ บางศาสนากไ็ ม่ปรากฏนามศาสดา เชน่ ศาสนาพราหมณ-์ ฮนิ ดู บางศาสนาก็ไม่มนี ักบวช เชน่ ศาสนาอสิ ลาม และศาสนาอิสลามยงั เปน็ ศาสนาท่ีไม่มรี ปู เคารพอกี ดว้ ย แต่ละศาสนาก็มีความแตกต่างกันตามแหลง่ วัฒนธรรมทเี่ กดิ ศาสนาจึงถูกน�ำมาเปน็ บรรทดั ฐานของสงั คม เปน็ กลไกทชี่ ่วย ในการควบคมุ พฤติกรรมของมนุษยใ์ นสงั คม และยังเปน็ ท่ยี ึดเหน่ยี วจิตใจของสมาชกิ ในแต่ละสงั คม สัญลกั ษณข์ องศาสนาตา่ ง ๆ ที่มาของภาพ amvip031.blogspot.com ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 7

ศาสนาพราหมณ์ – ฮนิ ดู ศาสนาพราหมณ-์ ฮนิ ดู เป็นศาสนาทเ่ี ก่าแกท่ ี่สุด เกดิ ข้ึนเมอ่ื ชาวอารยนั จากเอเชียกลางเขา้ ยดึ ครองบ้านเมอื งของชาว ดราวเิ ดียนบรเิ วณอารยธรรมลมุ่ แม่นำ�้ สนิ ธุ แล้วเกดิ การผสมผสานความเช่ือและการแบ่งวรรณะ เกิดเปน็ ศาสนาพราหมณ์ หลัง จากนั้นจึงมีววิ ฒั นาการเป็นศาสนาฮนิ ดู ยุคสมัย รายละเอยี ด พระเวท พระเวทตอนต้น (2000 B.C. - พหุเทวนิยม (นับถือเทพเจา้ หลายองค)์ -600 B.C.) - เกดิ คมั ภีร์ พระเวท (ฤคเวท ยชรุ เวท สามเวท) พระเวทตอนปลาย มหากาพย์ - เอกเทวนิยม นบั ถือ พระพรหม (พรหมัน หรือ ปชาบดี) (600 B.C. - เกดิ ระบบ วรรณะ (พราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ ศทู ร) -1243 A.D.) - เกิดคมั ภีร์ อุปนษิ ัท (เร่อื งปรมาตมัน พรหมัน กฎแหง่ กรรม) - เกิดทรรศนะ 6 (มมี างสา เวทานตะ นยายะ ไวเศษกิ ะ สางขยะ โยคะ) - เชอื่ เรือ่ งการ อวตาร ของพระนารายณ์ 10 ปาง - วรรณคดี รามายณะ เป็นเรอ่ื งของการต่อสู้ระหว่างชนช้ันในสงั คม โดยฝา่ ย พระรามแทนคนผิวขาว คือ อารายัน ฝ่ายทศกัณฑ์แทนคนผิวดำ� คือ ดราวเิ ดยี น - วรรณคดี มหาภารตะ เป็นเรื่องตอ่ สขู้ องพีน่ ้องสองตระกูล ซง่ึ สอดแทรก ขอ้ คิด วิธบี ชู าเทพเจา้ จุดสำ�คญั คือการสนทนาระหวา่ งอรชุนกบั พระกฤษณะ ซ่ึงคำ�สนทนานี้พัฒนามาเปน็ ภควทั คตี า ฮินดู - คัมภีร์ มนูธรรมศาสตร์ ซ่ึงสอนเรื่อง อาศรม 4 (พรหมจารีย์ คฤหัสถ์ (1243 A.D. วานปรัสถ์ สันยาส)ี เป็นต้นไป) - เอกเทวนิยม โดยนบั ถือ ทา้ วตรีมูรติ - เกดิ นิกายอืน่ ๆ ตามมาภายหลัง หลักความเชื่อ พระตรมี รู ติ คือ พระเจา้ สงู สดุ ของศาสนาฮนิ ดู ซ่งึ ประกอบดว้ ย พระพรหม พระวิษณุ พระอศิ วร 1) พระพรหม เป็นผสู้ ร้างโลกและสรรพสง่ิ มี 4 พกั ตร์ มเหสี คอื พระนางสุรสั วดี 2) พระวิษณุ (พระนารายณ)์ เป็นผรู้ ักษาคมุ้ ครองโลก ถือจักร สงั ข์ คทา และตรี มเหสี คือ พระนางลักษณมี 3) พระอิศวร (พระศิวะ) เปน็ ผู้ท�ำลายโลก จะท�ำลายกต็ อ่ เมื่อเห็นวา่ ควรท�ำลาย มี 3 พระเนตร พระศอด�ำ มเหสี คือ พระนางอมุ าเทวี 8 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya

การสรา้ งและท�ำลายโลก โลกทีพ่ ระเจา้ สรา้ งมานจ้ี ะมกี ารสรา้ ง ตัง้ อยู่ และพนิ าศ ซ่งึ กนิ ระยะเวลา 1 กัลป์ กัลปห์ น่ึงมี 4 ยคุ คอื กฤตยคุ (ดี 4 สว่ น) ไตรดายคุ (ดี 3 สว่ น) ทวาปรยคุ (ดี 2 ส่วน) กลียุค (ดี 1 ส่วน) เมอ่ื โลกเข้าสู่กลียคุ พระนารายณ์ จะอวตารลงมาปราบทกุ ขเ์ ข็ญ ปรมาตมันและอาตมัน ปรมาตมนั คอื วิญญาณสากล อาตมนั คอื วิญญาณสว่ นบคุ คล แท้จริงแลว้ ปรมาตมันและอาตมนั คือ สิง่ เดยี วกนั อาตมันจะหลดุ จากปรมาตมนั มาเขา้ รา่ งกายเกิดเปน็ มนษุ ย์ เม่อื มนุษย์เสยี ชีวิต อาตมนั จะหลดุ จากร่างกาย เดิม เพอื่ ไปหารา่ งกายใหม่เป็นการเวยี นวา่ ยตายเกดิ แตถ่ า้ บรรลโุ มกษะแล้ว เมอื่ เสยี ชวี ติ ไป อาตมันจะกลับไปรวม อย่กู บั ปรมาตมนั และไมก่ ลับมาเกดิ อกี กรรม ท�ำให้เกิดการเวยี นว่ายตายเกิด (สงั สารวฏั ) และก�ำหนดความแตกต่างของชีวิต ปรมาตมนั คือ อาตมนั สากล ( พรหมนั ปุรษุ ะ ปฐมวญิ ญาณ ) ชวี าตมัน คือ อาตมนั สว่ นบุคคล + ร่างกาย = ชวี ติ + รา่ งกาย = ชวี ิต + รา่ งกาย = ชวี ติ หลักโมกษะ 1) โมกษะ คอื ภาวะทวี่ ิญญาณหลดุ พน้ จากการเวยี นวา่ ยตายเกดิ (สงั สารวฏั ) 2) วธิ กี ารเขา้ สูโ่ มกษะ - กรรมโยคะ : ทำ� ตามหนา้ ท่ีให้ดที ี่สดุ การกระทำ� โดยไม่หวังผลตอบแทน - ชญาณโยคะ : การใชป้ ัญญาระดบั สูงสดุ เพอื่ สละกิเลสตณั หาความเหน็ แก่ตวั - ภักตโิ ยคะ : ความภกั ดีตอ่ พระเจ้า โดยการบูชาสรรเสริญ สวดอ้อนวอน และปฏิบัตติ ามค�ำสอน - ราชมรรค คือ การหลุดพน้ จากสงั สารวฏั โดยการฝกึ จติ อย่างเคร่งครัด ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 9

วรรณะ วรรณะ คือ ระบบชนชน้ั ในสังคม โดยตดิ ตัวมาแตก่ �ำเนดิ เปล่ียนแปลงไม่ได้ วรรณะ เกิดจากอวัยวะใด ท�ำหนา้ ท่ี เชน่ พราหมณ์ ของพระพรหม ติดต่อกับพระเจ้า พราหมณ์ กษัตรยิ ์ บริหารปกครองประเทศ กษตั รยิ ์ ทหาร ข้าราชการ แพศย์ ปาก ผลิตอาหารเลย้ี งพลเมอื ง พ่อค้า เกษตรกร ศทู ร แขน สะโพกหรือทอ้ ง รับใช้วรรณะทงั้ 3 คนใชแ้ รงงาน เทา้ ก ารแบ่งวรรณะทำ� เพอื่ ไม่ให้ อารยันโดนดราวิเดียนกลนื ชาติแล้วยกฐานะของวรรณะพราหมณ์ โดยผู้ท่ี แตง่ งานข้ามวรรณะจะเป็น “จัณฑาล” คัมภีร์ในศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู 1) คมั ภีร์ศรตุ ิ (แปลวา่ ได้ยินมา) คอื คัมภีรท์ ่ีไดร้ บั การประทานจากพระเจา้ โดยตรง - คมั ภีรศ์ รุตทิ ่สี ำ�คญั คอื คัมภรี ์พระเวท 1.1) ฤคเวช คือ คำ�ออ้ นวอน + สรรเสรญิ เทพเจ้า (เกา่ แก่ทสี่ ุดและเป็น พ้นื ฐานของคมั ภรี เ์ ล่มอ่นื ๆ) ไตรเวท 1.2) ยชุรเวท คอื คู่มอื พราหมณ์ในการประกอบพิธีกรรม 1.3) สามเวท คอื บทสวดถวายน้�ำโสมแด่พระอนิ ทร์ และขับกล่อมเทพเจา้ 1.4) อาถรรพเวท คอื บทขอความเจริญและสาปแชง่ (แต่งขึน้ ภายหลังบางคนไม่ยอมรบั เป็นสว่ นหนึ่ง ของพระเวท) - คมั ภรี ์พระเวท แตล่ ะเลม่ มี 4 ตอน ไดแ้ ก่ มนตระ พราหมณะ อารัณยกะ อุปนษิ ัท 2) คัมภรี ส์ มฤติ (แปลวา่ สง่ิ ทจ่ี ำ�ได้) คือ คัมภีรท์ ่มี นุษย์แต่งขน้ึ เอง 2.1) คัมภรี ์ธรรมศาสตร์ : กลา่ วเกี่ยวกบั หลักกฎหมาย 2.2) คัมภีร์อติ ิหาสะ (แปลวา่ เป็นเชน่ นั้นจริงๆ) มี 2 เรื่องเด่นๆ คอื 2.2.1) มหากาพย์รามายณะ :: กลา่ วถงึ การเดินทางของพระรามเพ่ือตามหานางสีดา 2.2.2) มหากาพยม์ หาภารตะ :: กล่าวถงึ การทำ�สงครามของกษตั รยิ ต์ ระกลู เการพกบั ปาณฑพ - ท�ำให้เกิดเรื่อง ‘ภควัทคีตา’ (บทเพลงแห่งพระผู้เป็นเจ้า) หนทางไปสู่การหลุดพ้นจาก ความทกุ ข์ โดยการปฏบิ ตั ิ ตามโยคะ 4 10 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya

หลกั ธรรมค�ำสอน 1) จดุ มงุ่ หมายของชวี ิต (หลักปุรุษารถะ) 2.1) จุดมงุ่ หมายทางโลก 1) อรรถ ได้แก่ ทรพั ย์สนิ เกียรตยิ ศ 2) กาม ไดแ้ ก่ แสวงหาความสขุ ในครอบครวั ตามแนวทางของศาสนา 2.2) จดุ มุ่งหมายทางธรรม 1) ธรรม คอื การละช่ัว ทำ� ความด ี 2) โมกษะ คอื การหลุดพน้ จากสงั สารวัฏ 2) หลักธรรม10 ประการ 2.1) ธฤติ = เพยี ร กล้า สันโดษ 2.2) กษมา = อดกล้นั อดทน 2.3) ทมะ = ขม่ จิตใจ คมุ สติ 2.4) อโกธะ = ไมโ่ กรธ 2.5) อินทรียครหะ = ระงบั อนิ ทรียท์ ัง้ 10 2.6) เศาจะ = บริสุทธท์ิ ้งั กายและใจ 2.7) อสั เตยะ = ความไม่ลกั ขโมย 2.8) ธี = ปัญญา ความรู้ 2.9) วทิ ยา = ความรู้เก่ยี วกบั พรหม 2.10) สัตยะ = ความซ่ือสตั ย์ 3) หลักอาศรม 4 หมายถงึ การปฏิบตั ิตามขน้ั ตอนของชวี ติ 4 ช่วง 1) พรหมจารี คอื วยั เล่าเรียน 2) คฤหัสถ์ คือ วัยครองเรอื น (หลัก ปรุ ษุ ารถะ : อรรถ (ทรพั ย)์ + กาม) 3) วานปรสั ถ์ คอื วยั สูงอายุ มงุ่ หาความสงบ (หลักปรุ ษุ ารถะ : ธรรม) 4) สนั ยาสี คอื วัยชรา สละชวี ติ ทางโลก (หลกั ปุรุษารถะ : โมกษะ/นิรวาณ) 4) พธิ ีกรรม 1) สงั สการ (แปลว่า การทำ� ให้บริสุทธิ์) : ท�ำเฉพาะวรรณะของชาวอารยัน เชน่ โกนจุก 2) ศิวาราตรี : บวงสรวงพระศิวะ (ตรงกับวนั มาฆบูชา) 3) สวมสายยัญโญปวตี : ทำ� กบั เดก็ ในวรรณะพราหมณ์ 4) ศราทธ์ : ทำ� บญุ ให้ญาตทิ ่ีตายไปแลว้ *** ข้อปฏบิ ัตเิ ก่ียวกับวรรณะ : การแตง่ งาน การแตง่ กาย การปรุงอาหาร ห้ามวรรณะต�ำ่ ปรุงอาหารให้วรรณะสูงกนิ 5) นกิ ายทส่ี �ำคญั 1) นิกายพรหม : นับถือพระพรหมเปน็ เทพเจา้ สงู สุด 2) นกิ ายไวษณพ : นบั ถอื พระวษิ ณุเป็นเทพเจ้าสูงสดุ และเชอ่ื ในลัทธิอวตาร 3) นิกายไศวะ : นับถอื พระอศิ วรเปน็ เทพเจ้าสงู สุด โดยเนน้ การนับถือศวิ ลึงค์ 4) นิกายศักต ิ : นับถอื มเหสีของพระพรหม พระวษิ ณุ และ พระอศิ วร 6) สัญลกั ษณข์ องศาสนาพราหมณ์ คำ� ว่า “โอม” มาจากสามค�ำรวมกนั คอื “อะ” แทน พระอศิ วร “อุ” แทน พระวิษณุ “มะ” แทน พระพรหม จะกลา่ วตอนสวดมนต์ เพ่อื ระลึกถงึ พระเจา้ ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 11

ศาสนาคริสต์ ศาสนาคริสตเ์ ปน็ ศาสนาท่มี คี นนับถือมากทส่ี ดุ ในโลก ค�ำวา่ ‘คริสต’์ เปน็ ภาษากรกี แปลว่า ผูไ้ ด้รบั การเจิม หรอื ผู้ได้ รบั เลือกใหท้ �ำหน้าที่ เช่นเดียวกบั คำ� ว่า ‘เมสสิอาร์’ ในภาษาฮิบรู ความเช่ือเก่ียวกบั พระเจา้ และพนั ธสัญญาก่อนครสิ ตกาล เชื่อว่าพระยะโฮวาหเ์ ป็นผสู้ ร้างสรรพสิง่ และมนุษยท์ �ำผดิ จึงถูกขับออกจาสวนเอเดน ต่อมามนุษย์ท�ำบาปมากขนึ้ พระเจา้ ต้องการใหโ้ อกาสมนษุ ยข์ ึ้นสวรรคจ์ งึ ทรงสง่ ศาสดาลงมาพรอ้ มกับคำ� สอน พร้อมทัง้ ย้ำ� พันธสญั ญาไวด้ ้วยว่า จะมผี ู้ ลงมาไถบ่ าปใหแ้ กม่ วลมนษุ ยใ์ นนามของ ‘พระเมสสิอาห์ (Messiah)’ ถา้ มนษุ ย์ทำ� ดจี ะได้ข้ึนสวรรคเ์ ป็นการตอบแทน เรยี ก พนั ธสญั ญานว้ี า่ “พันธสัญญาเดมิ (The Old Testament)” ศาสนายูดาย หรอื ศาสนายิว ชาวยิวเป็นชนเผ่าเร่รอ่ นที่อาศัยอยู่บรเิ วณดินแดนเมโสโปเตเมีย บรรพบุรุษของคนยวิ คอื อบั ราฮมั ได้รับโองการ จากพระเจ้าใหอ้ พยพคนยวิ ไปอยู่ ณ ดนิ แดน คานาอัน (อิสราเอลในปัจจบุ ัน) โดยใหห้ ันมานับถือพระเจ้าองคเ์ ดยี ว แล้ว พระเจา้ จะทำ� ใหช้ นชาตยิ วิ ยิ่งใหญ่ได้ ตอ่ มาดนิ แดนคานาอันเกดิ ความแหง้ แลง้ คนยิวจึงอพยพไปอยอู่ ียปิ ต์ และเปน็ ทาส ของชาวอยี ิปต์ ต่อมาโมเสสกลายเป็นเป็นผู้น�ำพาชาวยิวกลับดินแดนคานาอันตามค�ำส่ังของพระเจ้า อียิปต์ส่งกองทหารไล่ล่า ชาวยิว เมอ่ื ถงึ ทะเลแดง โมเสสใช้อำ� นาจพระเจา้ แยกน้�ำออกพาชาวยิวหนขี า้ มไปได้อย่างปลอดภยั (เหตุการณน์ ี้สง่ ผลให้ เกดิ เทศกาล “ปาสกา” ของชาวยิว) หลังจากนัน้ พระเจา้ ได้มอบ บัญญตั ิ 10 ประการแกโ่ มเสส เพื่อให้ชาวยวิ ยึดถอื ปฏบิ ัติ บัญญัติ 10 ประการ 1) จงนมสั การพระเจ้าแตเ่ พียงองคเ์ ดยี ว 2) อยา่ ออกนามพระเจา้ โดยไม่สมเหต ุ 3) จงนับถอื วันพระเจา้ เป็นวนั ศักดส์ิ ทิ ธ์ิ (วันสะบาโต) 4) จงนับถือบิดามารดา 5) อย่าฆา่ คน 6) อย่าผิดประเวณี 7) อย่าลักทรัพย์ 8) อย่านินทาว่ารา้ ยผอู้ ื่น (อย่าพูดเทจ็ ) 9) อย่าคิดมชิ อบ 10) อยา่ โลภในส่ิงของผู้อนื่ 12 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

ประวตั พิ ระเยซู พระเยซูเปน็ พระบุตรของพระเจา้ ทีม่ าเกิดในร่างมนษุ ยเ์ พ่ือไถ่บาป โดยประสูตใิ นวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1 ทรงรบั ศลี จมุ่ (ศีลบัพติสมา) จากยอห์นท่แี มน่ ้ำ� จอรแ์ ดนตอนอายุ 12 ปี พระองค์เร่มิ เผยแพรศ่ าสนาครั้งแรกเมอ่ื อายุ 30 ปี และ เสดจ็ ไปประทบั ในปา่ เพื่อบ�ำเพ็ญพรต 40 วนั จากนั้นจึงทรงประกาศศาสนา แตค่ ำ� สอนของพระองค์ขัดกบั ความเชอ่ื เดมิ ของศาสนายิวหรือยูดาย เพราะ ชาวยวิ ไม่เชือ่ ว่าพระองค์เปน็ พระบตุ รของพระเจา้ พระองคถ์ กู ตดั สนิ ประหารชีวิต โดยการ ตรึงไม้กางเขน ท่ีเมืองโคลกอต ในวนั ศกุ รท์ ี่ 13 หลงั จากประกาศค�ำสอนได้เพียง 3 ปี หลังจากส้นิ พระชนม์ 3 วนั พระองค์ ฟื้นคืนพระชนม์ชีพ และอยู่รว่ มกับสาวกอกี 40 คน และเลือกปีเตอรเ์ ปน็ พระสันตะปาปา แลว้ จึงเสดจ็ ขน้ึ ส่สู วรรค์ วิวฒั นาการของศาสนาครสิ ต์ ศาสนาครสิ ตต์ ่างกับศาสนายวิ ตรงท่ี ศาสนาครสิ ตเ์ ชื่อวา่ พระเมสสอิ าหเ์ กดิ แล้ว คือ พระเยซู ช่วงแรกศาสนาครสิ ต์ เปน็ เหมอื นนกิ ายหน่ึงของศาสนายวิ ศาสนาคริสตเ์ ร่มิ แพร่หลายอย่างมากคร้งั แรกที่กรงุ เยรูซาเล็ม มีการเผยแพรศ่ าสนา ครสิ ตเ์ ขา้ สูก่ รงุ โรม และถกู ตอ่ ตา้ นอยา่ งหนัก จนกระท่ังศตวรรษที่ 4 จกั รพรรดคิ อนสแตนติน ทรงประกาศให้เสรีภาพใน การนับถือศาสนาแกช่ าวคริสต์ เมื่อ ค.ศ. 313 ตอ่ มามีการประกาศศาสนาคริสต์เป็นศาสนาประจ�ำชาตโิ รมนั ศาสนาครสิ ตจ์ ึง เผยแพรส่ ่ยู โุ รป ศตวรรษท่ี 15 ยุโรปออกลา่ อาณานิคม และนำ� ศาสนาครสิ ต์ไปเผยแพรต่ ามพ้ืนทอี่ าณานคิ มทั่วโลก นกิ ายในคริสต์ศาสนา 1) นกิ ายโรมันคาทอลกิ (Roman Catholic) เป็นนิกายท่มี ีคนนบั ถือมากในโรมัน เป็นสายตรงจากยุคแรก มีบาทหลวง เปน็ ผูส้ อนศาสนา มพี ระสนั ตะปาปาเป็นประมุข นบั ถอื แม่พระและนักบุญ รับศีลศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ท้งั 7 ศีล ในโบสถจ์ ะมีไมก้ างเขน ที่มพี ระเยซูถกู ตรึงเปน็ สัญลกั ษณ์ โบสถ์ท่ีส�ำคัญ คอื มหาวิหารเซนตป์ ีเตอร์ เปน็ นกิ ายท่มี คี นนับถอื มากท่สี ุดในโลก คนไทย เรียกกนั วา่ ‘คริสตงั ’ ลำ� ดบั สงฆใ์ นนกิ ายคาทอลกิ นกั พรต บาทหลวง เจ้าอาวาส สังฆราช คารด์ ินัล สันตะปาปา 2) นกิ ายออร์โธดอกซ์ (Orthodox) แยกจากคาทอลกิ ดว้ ยเรอื่ งการแย่งชงิ อ�ำนาจทางการเมอื งระหว่างสงั ฆราชของ กรุงโรมกับกรงุ คอนสแตนตโิ นเปิล รับศีลศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ทงั้ 7 ศลี มพี ระช้นั ผู้นอ้ ยสามารถแตง่ งานไดแ้ ตเ่ ม่ือเปน็ พระช้นั ผูใ้ หญ่ จนถึงพระสังฆราชจะแตง่ งานไม่ได้ ไม่นับถอื พระสันตะปาปา ในโบสถจ์ ะมรี ปู ภาพ 2 มิตเิ ปน็ สญั ลกั ษณ์ ไมเ่ ชื่อในเรือ่ งของ ไฟช�ำระ รอพรอ้ มกันในวนั พพิ ากษา ผ้นู ับถือนิกายน้อี ยแู่ ถบยุโรปตะวันออก ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 13

3) นิกายโปรแตสแตนท์ (Protestant) เกิดขึ้นเนือ่ งจากมาร์ตนิ ลูเธอร์ ไม่พอใจที่พระสนั ตะปาปา ขายใบไถบ่ าป นกิ ายโปรแตสแตนท์หา้ มไม่ให้มีการแปลคมั ภีร์ หา้ มพระสงฆ์แต่งงาน นกิ ายนีจ้ ึงไม่มีบาทหลวง มีแต่ ‘ศาสนาจารย์ (มิช ชันนารี)’ ท�ำหน้าท่ีสอนศาสนาใหท้ ุกคนตดิ ต่อกบั พระเจา้ ดว้ ยตนเอง รับศีลศกั ดิ์สทิ ธิ์เพยี ง 2 ศลี คือ ศลี ล้างบาปและ ศีลมหาสนิท เพราะเชอื่ วา่ พระเยซูรับเพยี งแค่ 2 ศีลนเี้ ท่าน้ัน โบสถ์ของนกิ ายนี้จะมไี ม้กางเขนที่ไมม่ ีพระเยซถู ูกตรงึ คนไทย เรยี กกันว่า คริสเตียน ปัจจบุ ันโปรแตสแตนท์มถี ึง 220 กลุ่มยอ่ ย กล่มุ แรกสดุ คือ ลูเธอรัน กล่มุ อ่นื ๆ เช่น แองกลคิ ัน คาลวนิ เพรสไบทเี รยี น มอร์มอน ฯลฯ คัมภรี ์ไบเบ้ลิ (The Holy Bible) คัมภรี ไ์ บเบล้ิ แบง่ ออกเป็น 2 ส่วน คือ 1) พันธสัญญาเดมิ (The Old Testament) พูดถึงเหตกุ ารณก์ อ่ นพระเยซปู ระสตู ิ มักเปน็ ค�ำสอนของประกาศก (ศาสดาพยากรณ)์ เชน่ ประวัติความเป็นมาและวิวัฒนาการของโลก มนุษย์ และชาวยวิ ค�ำสอนของประกาศก บทสดดุ ี บท สวด เพลง สุภาษติ ถอื ได้วา่ พันธสญั ญาเดิมเป็นคมั ภีรข์ องศาสนายิวหรอื ยดู าย โดยแท้ 2) พนั ธสัญญาใหม่ (The New Testament) พูดถึงเหตุการณเ์ มอ่ื พระเยซูประสูติแล้ว เช่น ค�ำสอนของพระเยซู กิจกรรมศาสนาและจดหมายของอคั รสาวก เช่น เซนต์ปอล เซนต์จอห์น เซนต์ปีเตอร์ ฯลฯ คำ� พยากรณเ์ รอื่ งราวอนาคต ของโลกในยคุ อวสาน บาปก�ำเนิด บาปกำ� เนดิ เป็นบาปทีต่ ดิ ตัวมนุษยม์ าต้งั แต่บรรพบรุ ุษคู่แรกของโลก คือ อาดมั และอีฟ ที่ละเมดิ กฎพระเจา้ ก่อนเขา้ เปน็ ศาสนกิ ชน ชาวคริสต์จะลา้ งบาปกำ� เนดิ ให้เบาลงโดยพธิ ลี ้างบาป หลักตรเี อกานภุ าพ (Trinity) ตรีเอกานุภาพ หมายถงึ พระเจ้าสงู สุดองคเ์ ดียวแต่อธบิ ายไดเ้ ปน็ 3 สภาวะ พระยะโฮวาห์ พระบดิ า พระบุตร พระเยซู ผสู้ ร้าง - รูใ้ นสรรพสิ่ง พระผเู้ สดจ็ ลงมาไถ่บาปแก่มนุษย์ พระวิญญาณบรสิ ุทธ์ิ พระจติ ความรกั (AGAPE) ความรกั ในศาสนาคริสต์ หมายถึง การให้ การเสยี สละ การให้อภยั “ผ้ใู ดตบแกม้ ขวาของท่าน ให้หนั แกม้ ซ้ายให้เขาตบดว้ ย” “คนเราทกุ คนควรรักกัน เพราะทุกคนล้วนเป็นบตุ รของพระเจ้า” 14 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya

อาณาจกั รพระเจา้ (Kingdom of God) มีหลกั ความเช่ือทก่ี ลา่ วกันวา่ “ใครเชอ่ื ในพระเยซจู ะไดร้ บั การอภัยโทษในวันพิพากษาโลก (ไมต่ กนรก)” ชาวยิว ตีความวา่ เป็น ดินแดนคานาอัน ดนิ แดนที่ชาวยิวจะรุ่งโรจน์ ชาวคาทอลิก ตคี วามว่าเป็น ครสิ ตจักรที่มคี วามศรัทธาเป็นอนั หนึ่งอันเดยี วกนั พิธีกรรม 1) ศีลลา้ งบาป (Baptism) เป็นพิธกี รรมแรกสดุ ทค่ี รสิ ตศ์ าสนิกชนตอ้ งรบั เพื่อล้างบาปกำ� เนดิ และเขา้ เป็นศาสนิกชน ของศาสนาไดโ้ ดยสมบูรณ์ การรบั ศีลจะใช้น้ำ� เทบนศีรษะ หรอื จุ่มตวั เดก็ ลงไปในน้�ำเจิมจนมดิ ศรี ษะ การท�ำลา้ งบาปครงั้ แรก จะกระทำ� เมือ่ เดก็ เกิดใหม่ หรอื เมอ่ื เขา้ เปน็ ครสิ ตศ์ าสนิกชน 2) ศลี ก�ำลัง (Confirmation) ท�ำเพอ่ื ยนื ยนั ตวั เองว่าต้องการเป็นครสิ ต์และยดึ ม่ันความเปน็ ครสิ ต์ 3) ศลี มหาสนิท (Eucharistic; Communion) บาทหลวงจะภาวนา อ่านคัมภีร์ แลว้ แจกขนมปังและเหล้าองนุ่ ให้ผู้รว่ ม พธิ กี นิ ซงึ่ ขนมปงั เปรยี บเสมอื นพระมงั สาของพระเยซู และเหลา้ องนุ่ เปรยี บเสมอื นพระโลหติ ของพระเยซู พธิ นี ที้ ำ� เพอื่ ระลกึ ถึงชวี ิตและคำ� สอนของพระเยซู 4) ศีลสมรส (Matrimony) ท�ำเม่อื ชายหญงิ สัญญากันตอ่ หนา้ พระเจ้า ว่าจะเป็นสามภี รรยากันโดยรกั ซอ่ื สัตย์ และให้ เกียรติจนตลอดชีวิต ผ้ทู ี่เขา้ พิธศี ลี สมรสจะหย่าเองไม่ได้ 5) ศีลแก้บาป หรอื ศลี อภัยบาป (Penance) ทำ� เมื่อศาสนิกชนทำ� ผิดและส�ำนึกผิด จงึ เขา้ พบบาทหลวงเพ่ือสารภาพ ผดิ โทษของบาปจะหมดส้นิ ไปเมอ่ื สารภาพบาป 6) ศลี อนุกรม หรอื ศีลบรรพชา หรอื ศลี บวช (Holy Orders) ผ้ทู ีจ่ ะบวชตอ้ งมคี ณุ สมบตั ิ คือ อายุอย่างน้อย 24 ปี ถอื โสดและสมคั รใจท่จี ะอุทิศชวี ติ เพอ่ื ศาสนาตลอดชีวติ มคี วามรู้ ความประพฤติเหมาะสม สมประกอบทกุ อย่าง 7) ศีลเจมิ คนไข้ (Anointing of the Sick) ทำ� เพอ่ื ให้ สติ กำ� ลังใจ และลดบาป ศาสนาอิสลาม อสิ ลาม เปน็ ศาสนาทม่ี ผี นู้ บั ถอื มากทสี่ ดุ ในเอเชยี และมากเปน็ อนั ดบั สองของโลก คำ� วา่ อสิ ลาม แปลวา่ สนั ตหิ รอื การ สวามภิ กั ดิ์ ผทู้ นี่ บั ถอื ศาสนาอสิ ลามจะเรยี กวา่ มสุ ลมิ แปลวา่ ผศู้ โิ รราบ ซง่ึ กค็ อื ผภู้ กั ดตี อ่ พระเจา้ นน่ั เอง ศาสนาอสิ ลามมพี น้ื ฐานความเชอื่ มาจากศาสนายวิ และศาสนาครสิ ต์ โดยเฉพาะเรอ่ื งพระเจา้ การสรา้ งโลก ศาสนทตู พระคมั ภรี ์ วนั พพิ ากษาโลก แตแ่ ตกตา่ งกนั ตรงทอี่ สิ ลามเชอ่ื วา่ พระเจา้ มเี พยี งภาคเดยี ว ไมม่ กี ารแบง่ ภาคมาเกดิ พระเยซเู ปน็ เพยี งศาสนทตู เทา่ นน้ั อสิ ลามเปน็ ศาสนาเดยี วทค่ี ำ� สอนครอบคลมุ ทงั้ จรยิ ธรรมและการดำ� เนนิ ชวี ติ ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 15

หลักศรทั ธา 6 ประการ 1. ศรทั ธาตอ่ อลั เลาะห์ เปน็ พระเจา้ สูงสุดองค์เดยี ว หา้ มสกั การบูชาหรือกราบส่ิงอ่ืน แต่อาจไหว้บุคคลทีเ่ คารพได้ 2. ศรัทธาต่อพระลิขิต พระอัลเลาะห์ทรงเปน็ ผู้ลขิ ติ ชวี ิตมนุษยแ์ ละโลก 3. ศรัทธาตอ่ วนั พพิ ากษาโลก เปน็ วันที่โลกสลายกยี ะมะห์ทุกชวี ติ จะบังเกดิ ข้ึนอกี ครงั้ เพอ่ื รอรบั ค�ำพิพากษาจากพระเจา้ และจะเกิดโลกใหม่ คอื โลกนิรนั ดร์ ทเ่ี รียกวา่ อารีคตั 4. ศรัทธาต่อมลาอกี ะห์ เป็นวิญญาณ ทำ� หนา้ ที่ตา่ งๆ เช่น เทวทูตญบิ รออิล 5. ศรัทธาต่อศาสนทูต เปน็ มนษุ ย์ทพ่ี ระเจา้ เลอื กสรรมาท�ำหน้าท่ศี าสดา มสุ ลิมตอ้ งศรัทธาศาสนทตู ทัง้ 25 องค์ โดยเทา่ เทียมกัน หากเป็นมนษุ ย์ธรรมดาที่พระเจา้ มอบใหป้ ฏิบตั งิ านใดๆ โดยไมไ่ ดท้ �ำหน้าท่เี ป็นศาสดาจะเรียก ‘นบ’ี 6. ศรัทธาตอ่ บรรดาคมั ภรี ์ เป็นคำ� สอนทพ่ี ระเจา้ ประทานแก่มนุษย์ ดังนนั้ มนุษย์จะเปลยี่ นแปลงไมไ่ ด้ คมั ภีร์ในศาสนา อิสลามมีทงั้ หมด 104 เลม่ แตท่ ่ีส�ำคัญมี 4 เลม่ คอื 1) เตารอด เป็นคัมภรี ์ท่พี ระเจ้ามอบแก่มนษุ ยโ์ ดยผา่ น นบมี ซู า ซง่ึ กค็ ือ โมเสส 2) อนิ ญีล เปน็ คัมภรี ์ท่ีพระเจา้ มอบแก่มนษุ ยโ์ ดยผ่าน นบอี ซี า ซึ่งกค็ ือ เยซู 3) ซาบูล เป็นคัมภรี ท์ พ่ี ระเจา้ มอบแก่มนษุ ย์โดยผา่ น นบดี าวูด ซงึ่ ก็คือ เดวดิ 4) อลั กุรอาน เปน็ คมั ภรี ์ทพ่ี ระเจ้ามอบแก่มนุษย์โดยผา่ น นบีมฮู ัมหมัด คมั ภีร์อลั กรุ อาน เปน็ คมั ภีรเ์ ล่มสดุ ทา้ ยและสมบูรณ์ที่สุดทีพ่ ระเจ้ามอบใหแ้ กม่ นษุ ย์ หลกั ปฏบิ ตั ิ 5 ประการ 1. ปฏิญาณตน ทำ� โดยกล่าววา่ “ไมม่ พี ระเจ้าองคอ์ นื่ นอกจากอัลเลาะห์ และมฮู มั หมัดเป็นศาสนทูตของพระองค์” การปฏิญาณต้องท�ำเสมอทุกคร้ังที่มีการละหมาด ถือเป็นหัวใจส�ำคัญของมุสลิม เพราะท�ำให้มุสลิมยึดมั่นในพระเจ้า และ ปฏิบัตติ ามกฎเกณฑข์ องพระองค์ และไม่จำ� เป็นตอ้ งแสวงหาท่ีพง่ึ อ่ืน จึงไม่มีรปู เคารพ 2. การละหมาด เป็นการนมสั การ เพอ่ื แสดงความสมั พันธร์ ะหว่างมนษุ ย์กบั พระเจ้า ชำ� ระจติ ใจให้สะอาด ใหม้ สี มาธิ หนกั แนน่ มุสลิมตอ้ งชำ� ระร่างกายใหส้ ะอาดก่อนด้วยนำ้� หรอื ดิน และสวมเสื้อผา้ ใหเ้ รียบร้อย ผู้ทำ� ละหมาดต้องบรรลุภาวะ ทางรา่ งกายแลว้ ตอ้ งทำ� ละหมาดวันละ 5 เวลา โดยหันหนา้ ไปทางทศิ ท่ีวหิ ารกาบาห์ตงั้ อยู่ เพ่อื ใหเ้ กิดเอกภาพ ปกติจะท�ำที่ ใดกไ็ ด้ แต่ในวันศุกรน์ ยิ มทำ� ในมสั ยิด 3. ศีลอด มุสลิมจะต้องงดเว้นจากการกินอาหาร เคร่อื งดมื่ ร่วมสงั วาส และความช่วั ทกุ ชนิด ระหว่างพระอาทติ ย์ ขน้ึ ถงึ พระอาทติ ย์ตก โดยจะท�ำในเดอื นรอมฎอน (เดือน 9 ทางจันทรคต)ิ ผูใ้ หญ่ตอ้ งถือศลี อดทุกคน ยกเวน้ คนชรา คนป่วย คนท�ำงานหนัก คนเดนิ ทางไกล หญิงมรี อบเดือน มคี รรภ์ หลงั คลอด และแมล่ ูกอ่อน เมื่อบคุ คลเหลา่ นี้พ้นภาวะความจำ� เป็น แลว้ ต้องถอื ศลี อดหรือบรจิ าคอาหารแกค่ นจนเปน็ การชดเชย ศีลอดท�ำเพ่อื ให้เห็นใจ และช่วยเหลอื คนจน 4. ซะกาต คอื การทำ� ทาน เพอื่ ชำ� ระจติ ใจ ไมใ่ หต้ ระหนี่ ชว่ ยเหลอื เพอ่ื นมนษุ ยท์ ไ่ี ดร้ บั ความลำ� บาก ลดชอ่ งวา่ งระหวา่ ง ชนชนั้ บคุ คลท่คี วรได้รับซะกาต คอื คนอนาถา คนขัดสน เจา้ หน้าทีข่ องศาสนา ผคู้ วรแก่การปลอบใจ ทาสเชลย ผูม้ ีหนส้ี นิ จากสมั มาอาชวี ะ ผเู้ ดนิ ทางทขี่ าดปจั จยั กจิ การสาธารณะกศุ ล การบรจิ าคซะกาตถอื เปน็ หนา้ ทข่ี องมสุ ลมิ ทกุ คนทม่ี ฐี านะพอท่ี จะบริจาคได้ โดยบงั คับ 2.5% ของเงินเดอื น 5. ฮจั ญ์ คอื การเดนิ ทางไปประกอบศาสนกจิ ณ ศาสนสถานบนั ยาตลุ เลาะห์ เพอื่ แสดงความศรทั ธาอยา่ งเปน็ เอกภาพ ของมสุ ลมิ ต่อพระเจา้ จะทำ� ในเดือนซลุ ฮิจญะฮ์ (เดอื น 12 ทางปฏิทนิ อิสลาม) ผเู้ ขา้ พธิ ตี อ้ งแต่งกายใหถ้ ูกต้อง พิธีกรรมท่ี ส�ำคญั คือ การค้างแรมท่ที ุง่ อารอฟะห์ เดินทางไปทุ่งมีนา เวยี นรอบวิหารกาบาห์ ผู้เขา้ พธิ มี กั จะจบู หรือสมั ผสั หนิ ซึ่งไม่ได้ แสดงถึงความเคารพหนิ แตเ่ ป็นสัญลกั ษณ์แสดงจุดเรม่ิ ต้นของการเวียนรอบวหิ าร ฮัจญเ์ ปน็ หลกั ปฏบิ ัตขิ ้อเดยี วทีไ่ มบ่ ังคับ แก่มสุ ลมิ ทกุ คน เฉพาะผู้ทพ่ี ร้อมท้งั ร่างกาย จิตใจ ทรัพยส์ ิน และสังคมเท่าน้นั ผู้ประกอบพิธีมกั ได้เกียรติให้ใชค้ ำ� น�ำหน้าวา่ ฮัจญี ส�ำหรบั ผู้ชาย และ ฮจั ญะ สำ� หรบั ผหู้ ญงิ 16 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

นิกายท่สี �ำคญั ของศาสนาอสิ ลาม 1. นกิ ายซนุ น่ี แปลวา่ จารีต ปฏิบัตติ ามจารีตดง้ั เดิม เคร่งครดั ต่อคมั ภีรอ์ ลั กรุ อาน ยอมรับในคอลฟี ะห์ นยิ มสวมหมวกขาว เป็นนิกายทม่ี ผี ้นู บั ถอื มากทส่ี ดุ 2. นิกายชีอะห์ แปลวา่ พรรคพวก ยอมรับในอาลี บตุ รเขยของนบมี ูฮมั หมดั นยิ มสวมหมวกสแี ดง คนไทยมักเรียกว่า แขก เจา้ เซน็ 3. นกิ ายคอวารจิ ญ์ แปลวา่ ตอ่ ตา้ น เนน้ วา่ คอลีฟะห์ต้องมาจากการเลือกต้ัง 4. นกิ ายวาฮาบี เนน้ เฉพาะคัมภีร์อัลกุรอาน หรือนบีมฮู มั หมัด พระพุทธศาสนา 1. ลักษณะสำ� คัญของพระพทุ ธศาสนา 1.1 ลักษณะของพระพุทธศาสนา ทฤษฎีหรือแนวคิด รวมทั้งค�ำสอนของพระพุทธเจ้าน้ันถือว่า ‘เป็นสากล’ เราจะเห็นว่า พระพุทธศาสนาสอนใหเ้ ราแก้ปญั หา (สงั เกตจากอริยสัจ 4) โดยสอนให้เรามองเหน็ ว่า ปัญหามสี าเหตุ มนษุ ย์สามารถแก้ไข ปัญหานน้ั โดยใช้ปัญญา อีกท้งั ค�ำสอนของพระพุทธเจ้ายงั เนน้ การพัฒนา “ศรทั ธา” ไปพร้อมกบั “ปัญญา” คอื ศรทั ธาอยา่ ง มีเหตุผล เราจะมองเหน็ แลว้ วา่ พระพทุ ธศาสนานน้ั เนน้ การฝกึ อบรมตวั เองและพง่ึ พาตวั เอง ตามทก่ี ลา่ วไปเรอ่ื งการแกป้ ญั หา การหาสาเหตุ รวมทง้ั ศรทั ธาและปญั ญาของแต่ละคน ซงึ่ การพฒั นาตวั เองนั้นได้ยดึ ทางสายกลางเปน็ ส�ำคญั ทไ่ี ม่ตงึ ไปหรือ หยอ่ นไป ซงึ่ เปา้ หมายของการฝกึ ฝนตนเอง เพื่อทีจ่ ะพึ่งพาตวั เองได้ และมีความสุข รวมทงั้ ยงั มุง่ สู่ “อสิ รภาพ” ในทางพทุ ธ ศาสนา หมายถึง การหลดุ พน้ จากกเิ ลสนัน่ เอง 1.2 ประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา หากเทียบเคียงระหว่างพระพุทธศาสนากับประชาธิปไตยนั้น เราจะเห็นว่า ถ้ารัฐมี รัฐธรรมนญู เปน็ กฎหมายสงู สดุ พระธรรมวนิ ัยก็เปน็ กฎหมายสูงสุดในการปกครองคณะสงฆ์ เมอื่ พิจารณาในหลกั การของประชาธปิ ไตยทีม่ ุง่ เนน้ สทิ ธิ เสรภี าพ เสมอภาคตา่ งๆ พระพุทธศาสนาก็มีเชน่ เดียวกนั กล่าวคอื ในด้านสิทธมิ นษุ ยชน พระพทุ ธศาสนาได้มองคนเปน็ คนเช่นเดียวกัน จึงมขี อ้ บญั ญัติต่างๆ เชน่ หา้ มพระมีทาสไว้รบั ใช้ ทาส ทเ่ี ขา้ มาบวชมสี ิทธเิ ทา่ พระรูปอน่ื ๆ รวมท้ังยงั ให้เคารพสทิ ธผิ อู้ นื่ ดว้ ย ฯลฯ ในดา้ นเสรีภาพ พระพทุ ธศาสนาไดเ้ ปิดเสรีภาพ ในการเชือ่ แตต่ อ้ งมีปญั ญา ไม่ใช่งมงาย รวมทั้งให้เสรีภาพในการคิด แตต่ ้องมีความคดิ อยา่ งสมั มาทิฐิ หรอื คิดถูกครรลอง คลองธรรม เปน็ ต้น สว่ นในด้านของความเสมอภาค เราจะเหน็ ว่าพระพทุ ธศาสนาไม่มวี รรณะ เมอื่ ทกุ คนบวชเขา้ มาจะเสมอ ภาคกนั อกี ทง้ั คำ� สอนของพระพทุ ธเจา้ เรอื่ งการเวยี นวา่ ยตายเกดิ ทำ� ใหเ้ รามองเหน็ คนอนื่ เปน็ เพอ่ื นรว่ มเวยี นวา่ ยในสงั สารวฏั นี้ จึงควรทีจ่ ะเมตตา เกอ้ื กูลกัน ซงึ่ สอดคลอ้ งกับหลกั ภราดรภาพ การปกครองสงฆ์ของพระพุทธศาสนาก็มสี ่วนทแี่ สดงถึงความเปน็ ประชาธปิ ไตย กลา่ วคือ พระพทุ ธเจา้ ทรงมอบให้ พระสงฆเ์ ปน็ ใหญแ่ ละเคารพมตพิ ระสงฆ์ ทเี่ หน็ ไดช้ ดั คอื การบวช ทพ่ี ระสงฆจ์ ะตอ้ งประชมุ และลงมตผิ มู้ าขอบวช รวมทง้ั จะ มีการประชมุ คณะสงฆ์ ท่พี ระสงฆท์ กุ รูปต้องเขา้ ประชุมท�ำอโุ บสถ ท้งั น ้ี หลกั การในการปกครองคณะสงฆ์น้ัน คอื พระสงฆ์ ทกุ รปู มสี ิทธิออกความเหน็ ตัดสินโดยยึดหลกั เสียงข้างมาก โดยยึดประโยชนส์ ว่ นรวมเปน็ ทีต่ ้งั บนพื้นฐานของความถกู ตอ้ ง และคุณธรรม 1.3 พระพทุ ธศาสนากับวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์มคี วามคิดทสี่ ำ� คญั อนั สัมพนั ธ์กบั พระพุทธศาสนา คอื ปรากฏการณ์ต่างๆ นนั้ มีกฎเกณฑ์ มีระเบียบอยใู่ นตวั เอง มขี ้อเท็จจรงิ ทส่ี ามารถพิสจู นไ์ ด้ ทฤษฎตี า่ งๆ ที่ใช้อธบิ ายสามารถล้มลา้ งได้ ถ้าพบหลกั ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 17

ฐานใหม่ โดยถา้ น�ำความคิดดงั กล่าวมาพจิ ารณาแนวคดิ ในพระพุทธศาสนากจ็ ะเหน็ ทั้งความสอดคลอ้ งและแตกตา่ ง ดงั นี้ ความสอดคล้องระหว่างพระพทุ ธศาสนากบั วิทยาศาสตร์ • ด้านความเช่ือ : ท้ังพระพุทธศาสนาและวิทยาศาสตร์ต่างเช่ือในหลัก “เหตุผล” และ “การทดลอง” โดยพุทธ ศาสนาสอนใหเ้ ช่อื ในหลักกาลามสตู ร ให้มีศรทั ธาโดยใช้ปัญญาไมใ่ ชง่ มงาย • การใหเ้ สรภี าพทางความคดิ • สจั ธรรมที่ค้นพบ ตา่ งพบว่า วัตถุหรือสิ่งทั้งปวงลว้ นแล้วไมม่ ีตวั ตน “อนัตตา” ความแตกต่างระหวา่ งพระพทุ ธศาสนากบั วิทยาศาสตร์ เชน่ • พระพทุ ธศาสนาสนใจกบั เรอื่ ง “ภายใน” หรือ “จติ ใจ” ในขณะที่วทิ ยาศาสตร์มุง่ เรื่อง “ภายนอก” หรือวตั ถุ • พระพทุ ธศาสนามเี ป้าหมายแนน่ อน คอื การม่งุ สูน่ พิ พาน ขณะที่วิทยาศาสตร์เปลี่ยนแปลงไปตามข้อเสนอท่ีคน้ พบขึน้ มาใหม่ • พระพทุ ธศาสนาเนน้ ที่ “ความด”ี วิทยาศาสตร์มงุ่ เน้นท่ีเหตผุ ลและความจรงิ เปน็ หลัก 1.4 พระพุทธศาสนาในฐานะศาสตร์แห่งการศึกษา พระพุทธศาสนามุ่งเน้นให้มนุษย์เป็นคนเก่งและคนดี โดยข้ันตอนการ ศึกษาตามหลักพทุ ธศาสนา คอื “ไตรสิกขา” แบ่งเปน็ 3 สว่ น คือ 1) สีลสกิ ขา = การรักษาศีลตา่ งๆ 2) จติ สกิ ขา = การฝกึ จติ ใหม้ คี ณุ ภาพ สมรรถภาพ และมีสขุ ภาพดี และ 3) ปญั ญาสกิ ขา 1.5 พระพุทธศาสนาเน้นความสัมพันธ์ของเหตุและปัจจัยค�ำสอนในศาสนาพุทธนั้นช้ีให้เห็น “เหตุ” และ “ปัจจัย” ที่ท�ำให้ เกิดสิ่งต่างๆ ไม่ได้เกิดขึ้นมาอย่างลอยๆ เราจะเห็นได้จากค�ำสอนเร่ือง “กฏปฏิจจสมุปบาท” หรือ “กฏอิทัปปจยตา” ท่ีสาเหต/ุ ปัจจัยตา่ งๆ เกี่ยวเน่ืองกนั เปน็ วงจร โดยเร่มิ จาก อวิชชา หรอื ความไม่รู้ เป็นจดุ เรม่ิ แรก 1.6 พระพทุ ธศาสนาฝกึ คนใหไ้ ม่ประมาท คอื สอนให้มี “สติ” อยู่ตลอดเวลา 1.7 การแก้ปัญหาตามแนวพทุ ธศาสนาใชห้ ลักการของอริยสจั 4 เป็นหลกั 1.8 พระพุทธศาสนากับเศรษฐกิจพอเพียง แนวคิดเบ้ืองต้นของเศรษฐกิจพอเพียง คือ การมีชีวิตที่มีปัจจัย 4 อย่าง พอเพยี งทจี่ ะอยู่ได้ ซงึ่ ถา้ เรามาพิจารณาหลักธรรมในพทุ ธศาสนา จะเห็นวา่ มหี ลายขอ้ ดว้ ยกันท่เี ข้าขา่ ยเศรษฐกจิ พอเพยี ง เช่น ทิฏฐธมั มิกตั ถะ โภควิภาค 4 และรวมถึง โภคอารยิ ะ 5 เปน็ ต้น 2. พุทธประวัติ พุทธสาวก พทุ ธสาวกิ า และชาวพทุ ธตัวอยา่ ง 2.1 สงั คมชมพทู วปี กอ่ นพทุ ธกาล ในดนิ แดนชมพทู วปี กอ่ นสมยั พระพทุ ธศาสนานน้ั มชี าวพนื้ เมอื งเดมิ เรยี กวา่ “ดราวเิ ดยี น” หรือมิลักขะ เป็นชาวผิวด�ำที่อาศัยอยู่เดิม ก่อนจะถูกชาวผิวขาวที่เรียกว่า “อารยัน” อพยพมาขับไล่ ดราวิเดียนไปอยู่ทางตอนใต้และตะวันออก โดยสังคมชมพูทวีปน้ันมีการจัดแบ่งช้ันวรรณะ 4 วรรณะ ตามความเช่ือของ พราหมณ-์ ฮนิ ดู ทีก่ �ำหนดไว้ตายตัวเปล่ยี นแปลงไมไ่ ดต้ ง้ั แตเ่ กิดจนตาย ได้แก่ พราหมณ์ = นักบวช กษตั ริย์ = นกั ปกครอง แพศย์ = พ่อคา้ และชนชนั้ กลางตา่ งๆ และศทู ร = ทาส ความเชอื่ ในสงั คมชว่ งเวลานนั้ ศาสนาพราหมณเ์ ปน็ ความเชอื่ หลกั ทค่ี รอบคลมุ แทบทกุ ดา้ นของชวี ติ การแบง่ วรรณะ กเ็ ปน็ สว่ นหนง่ึ รวมทงั้ พธิ กี รรมตา่ งๆ ทส่ี ำ� คญั มกั เกย่ี วขอ้ งกบั แมน่ ำ้� คงคาและการบชู าเทพเจา้ ตา่ งๆ หากแตก่ ม็ ศี าสนา/ลทั ธิ อื่นๆ อีก เชน่ ศาสนาเชน เป็นตน้ 2.2 พทุ ธประวตั ิ พระพทุ ธเจ้ามพี ระนามเดมิ ว่า เจา้ ชายสิทธัตถะ ประสตู ิเมือ่ วนั ขึน้ 15 ค�ำ่ เดือน 6 ณ สวนลุมพนิ ี ปัจจบุ นั อยู่ในประเทศเนปาล เม่ือพระองค์ประสูตินั้นมีโหรท�ำนายไปสองทางว่า ถ้าเป็นกษัตริย์จะเป็นกษัตริย์ที่ย่ิงใหญ่ หากทรง ผนวชก็จะเปน็ ศาสดาที่ยิง่ ใหญ่ของโลกเชน่ กัน ซ่งึ พระบดิ า คอื พระเจา้ สุทโธทนะทรงไม่โปรดให้ทรงผนวช เพ่อื เจ้าชายจะ ไดส้ บื ทอดราชบลั ลงั กต์ อ่ จงึ ทรงพยายามใหเ้ จา้ ชายพบแตค่ วามสขุ ทางโลกตา่ งๆ หากแตก่ ระทงั่ เจา้ ชายทรงทอดพระเนตร 18 ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya

เห็น “สมณะ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย” ซ่ึงเป็นส่ิงท่ีไม่เคยพบมาก่อน จึงเริ่มคิดตั้งค�ำถามกับสิ่งท่ีพบเห็น และพยายามหา วิถีทางในการพ้นทุกข์ดังกลา่ ว ในคนื ทพี่ ระนางพมิ พา พระชายาของเจา้ ชายทรงมพี ระสตู กิ าลพระราหลุ ทรงตดั สนิ พระทยั ออกผนวชเพอ่ื หาทางพน้ ทกุ ขเ์ รยี ก วา่ “การเสดจ็ ออกมหาอภิเนกษกรมณ์” หรอื การเสด็จออกผนวชเพ่ือคณุ อนั ย่ิงใหญ่ ในการเสด็จออกผนวชครั้งนน้ั ทรงเขา้ เป็น ศษิ ยก์ บั เจา้ สำ� นกั ทมี่ ชี อื่ และทดลองวธิ ตี า่ งๆ เพอื่ หาคำ� ตอบแหง่ การพน้ ทกุ ข์ เชน่ บำ� เพญ็ ตบะ บำ� เพญ็ ทกุ รกริ ยิ าทงั้ กดั ฟนั กลน้ั ลมหายใจ อดอาหาร เป็นต้น หากแต่ก็ยังไม่ไดค้ �ำตอบ กระท่งั ทรงมพี ระชนมายุ 35 พรรษา ทรงตง้ั ปณธิ านแนว่ แนท่ ีจ่ ะบรรลุ เป้าหมาย จนในทีส่ ุดทรงตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง ในวันข้ึน 15 ค�่ำ เดอื น 6 โดยธรรมที่ทรงตรัสรู้คอื “อรยิ สัจ 4” วา่ ดว้ ยเรอ่ื งเหตุ และผลของความทกุ ข์ และ “ปฏจิ จสมปุ บาท” วา่ ดว้ ยเรื่องเหตุปจั จยั หลงั การตรสั รแู้ ลว้ พระองคท์ รงลงั เลวา่ จะสงั่ สอนธรรมหรอื ไม่ แตท่ า้ ยทสี่ ดุ กท็ รงตดั สนิ ใจออกสง่ั สอนโดยพจิ ารณาวา่ สตปิ ัญญาของบคุ คลแตกต่างกนั เหมือนระดับดอกบวั ในนำ้� โดยทพี่ ระองค์ไดต้ ง้ั ใจแสดงปฐมเทศนาแก่ปญั จวัคคียท์ ้งั 5 เรียก ธรรมนนั้ วา่ “ธมั มจกั กปั วตั นสตู ร” มสี าระสำ� คญั คอื มรรคมอี งค์ 8 ทน่ี ำ� ไปสทู่ างอนั พน้ ทกุ ข์ และกลา่ วถงึ การเดนิ ทางสายกลาง ที่เรียกวา่ มชั ฌมิ าปฏิปทา ในวนั ขึ้น 15 ค่�ำ เดอื น 8 การแสดงธรรมคร้งั น้ที �ำให้พระโกณทัญญะเกดิ ดวงตาเห็นธรรม และขอ บวชจากพระพุทธเจ้าเป็นคนแรกของกลุ่ม เรียกการบวชแบบน้ีว่า เอหิภิกขุอุปสัมปทา และถือว่าเป็นวันท่ีมีพระรัตนตรัยครบ สามองค์ ตอ่ มาถอื เอาวันน้เี ป็น วันอาสาฬหบชู า พระพทุ ธเจา้ ทรงออกเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปในดนิ แดนชมพูทวีปตา่ งๆ เป็นเวลากว่า 45 ปี และมผี ูเ้ ลอ่ื มใสขอบวช จ�ำนวนมาก และมีเหตกุ ารณ์ทีส่ ำ� คัญต่างๆ เกดิ ขนึ้ มากมาย เชน่ พระเจ้าพมิ พสิ ารแห่งแควน้ มคธ สร้างวัดถวายช่อื วา่ ‘เวฬุ วนาราม’ ส่วนอนาถบณิ ฑิกเศรษฐสี ร้าง ‘วัดเชตวนั มหาวหิ าร’ ถวาย ทรงมีอคั รสาวกเบ้ืองขวา คอื พระสารบี ตุ ร และอคั รสาวก เบื้องซา้ ย คอื พระโมคคัลลานะ เป็นตน้ โดยวธิ กี ารสอนของพระพทุ ธเจา้ ทที่ รงใชม้ หี ลายวิธี ทงั้ บรรยาย สนทนา ตอบปัญหา และทีส่ ำ� คญั คือ “อพั ยกตปัญหา” ตัดประเด็นเรือ่ งที่ไมจ่ ำ� เปน็ ต้องตอบ ทรงใช้คำ� พูดเปรียบเทยี บได้คมคาย ส่วนหัวข้อธรรมท่ี ทรงแสดงมากที่สุด คือ เรอ่ื งอรยิ สัจ 4 และเรื่องอนุปพุ พกิ ถา หรือเร่ืองนรก-สวรรค์ พระองคท์ รงส่ังสอนพระธรรมจนพระชนมายุ 80 พรรษา และทรงดับขนั ธป์ รนิ ิพพาน ในวนั ขน้ึ 15 ค่�ำ เดือน 6 ในคราว นนั้ ทรงแสดงปจั ฉมิ โอวาทเรอ่ื ง “อปั ปมาทธรรม” หรอื ความไมป่ ระมาท และมอบใหพ้ ระธรรมวนิ ยั เปน็ ศาสดาแทนพระองคต์ อ่ ไป 2.3 พทุ ธสาวกและพุทธสาวิกา 1. พระอัสสชิ พระอัสสชินัน้ มคี วามส�ำคญั ในการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา เพราะทา่ นแสดงธรรมโดยย่อที่ครอบคลุมความของอริยสัจ 4 คือ “ธรรมเหลา่ ใด เกดิ แตเ่ หตุ พระตถาคต กลา่ วเหตแุ ห่งธรรมเหล่าน้ัน และความดับของธรรมเหล่านน้ั พระมหาสมณะมี วาทะอย่างนี”้ ซง่ึ ธรรมของทา่ นท�ำให้ “อปุ ตสิ สะ” เกิดดวงตาเหน็ ธรรม และนำ� ธรรมนี้บอกต่อแกเ่ พื่อนคือ “โกลิตะ” ซึง่ ตอ่ มา อปุ ติสสะ คอื พระสารบี ุตร และโกลิตะ คือ พระโมคคลั ลานะ 2. พระกีสาโคตรมีเถรี เดมิ ชอื่ วา่ “โคตรม”ี เธอใหก้ ำ� เนดิ ลกู ชายแลว้ ลกู ชายเสยี ชวี ติ เธอทำ� ใจยอมรบั เหตนุ ไี้ มไ่ ด้ หากแตไ่ ดพ้ บกบั พระพทุ ธเจา้ และได้รับฟังค�ำเทศนาจนเธอดวงตาเห็นธรรมและขอบวชเป็นภิกษุณีได้ชื่อว่า พระกีสาโคตรมีเถรี และได้รับยกย่องว่าเป็น เอตทัคคะในทางทรงจีวรเศร้าหมอง มีคุณธรรมเด่นในเร่อื งที่คดิ ไตรต่ รองได้ เป็นครทู ี่ดีของผหู้ ญิง 3. พระนางมัลลิกา พระนางแตง่ งานและมลี กู ชาย 32 คน หากแตใ่ นวนั ทพ่ี ระนางกำ� ลงั ถวายภตั ตาหารใหพ้ ระสารบี ตุ ร และพระโมคคลั ลานะ สามแี ละลูกท้งั หมดเสียชวี ติ หากแต่เธอสามารถครองสติได้ และไมถ่ ือโทษพยาบาทผใู้ ด พระนางจึงโดดเด่นในดา้ นเปน็ สาวกิ า ที่ดี เขา้ ถงึ ชีวติ และโลก มคี วามอดทนและใจกว้าง ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 19

4. หมอชวี กโกมารภจั จ์ หมอชีวกโกมารภจั จ์ถอื เปน็ บรมครูแหง่ การแพทย์แผนโบราณ เปน็ หมอประจ�ำตัวที่รกั ษาพระพทุ ธเจา้ มคี วามโดดเดน่ ด้านการเป็นเอตทัคคะดา้ นเป็นท่รี กั ของปวงชน มคี ุณธรรมเดน่ ด้านเป็นคนตงั้ ใจสูง มีความพากเพียรและเสยี สละ 5. พระอนรุ ุทธเถระ พระพทุ ธเจา้ ทรงตรสั ยกยอ่ งวา่ เปน็ ผทู้ เ่ี ลศิ กวา่ ผอู้ น่ื ในทางทพิ พจกั ขุ ในชว่ งทพี่ ระพทุ ธเจา้ กำ� ลงั ดบั ขนั ธป์ รนิ พิ พาน ทา่ น เข้าฌานและบอกว่า “ทรงดับสนิท” 6. พระองคลุ มิ าลเถระ พระองคุลิมาลเถระ เดิมชอื่ อหิงสกะ (ผู้ไมเ่ บียดเบยี น) หากแต่ถูกยยุ งใหไ้ ปฆา่ คนและเอานวิ้ มือมา 1,000 นิ้ว เพอื่ เป็น ค่าบูชาอาจารยใ์ นส�ำนกั ท่ีศึกษาอยู่ จนพบพระพุทธเจา้ เดินมาเพอื่ ใหไ้ ด้นว้ิ สุดทา้ ย หากแตพ่ ยายามวงิ่ ตามเท่าไหรก่ ไ็ ล่ไมท่ ัน จน พระพทุ ธเจา้ ทรงตรสั วา่ “เราหยดุ แลว้ แตเ่ ธอยงั ไมห่ ยดุ ” ทา่ นจงึ เกดิ สำ� นกึ ไดแ้ ละฟงั ธรรมของพระเจา้ จนขอบวชเปน็ พระภกิ ษุ หากแตใ่ นระยะแรกโดนผคู้ นทำ� รา้ ยบา้ ง แตก่ ย็ อมทนเพราะเปน็ กรรมทที่ ำ� ไว้ ถอื ไดว้ า่ เปน็ ผมู้ ขี นั ตธิ รรม ถงึ แมว้ า่ ชวี ติ ทา่ นเปน็ ตน้ คดปลายตรง 7. พระธมั มทินนาเถรี เดมิ เปน็ ภรรยาของเศรษฐวี สิ าขะ ตอ่ มาเศรษฐขี อบวช จงึ บวชตามสามจี นบรรลอุ รหนั ต์ และไดร้ บั ยกยอ่ งวา่ เปน็ เอตทคั คะ ในการแสดงธรรมหรอื ธรรมกถกึ 8. จติ ตคหบดี เป็นผู้เลอื่ มใสในพระมหานามะ สรา้ งอมั พาฏการามถวาย และท่านกบ็ รรลุธรรมขัน้ อนาคามี ซึง่ ต่อมามพี ระสุธมั มเถรี มาพำ� นกั ที่วดั นจี้ นเป็นเจา้ อาวาส หากแต่จิตตคหบดีเป็นผู้เคารพพระสงฆแ์ ม้พระสุธัมมเถรีจะมิได้บรรลธุ รรมขน้ั สูง สะท้อนว่า เป็นผเู้ คารพพระสงฆ์ และทา่ นยงั เป็นผมู้ คี วามสามารถในการสง่ั สอนธรรมจนไดช้ ื่อว่าเป็นเอตทตั คะดา้ นการแสดงธรรม 9. พระอานนท์ เป็นพระอปุ ัฏฐากของพระพุทธเจา้ (เหมอื นเลขานุการสว่ นตัว) ท�ำหน้าทีได้ดเี ย่ยี มและได้รบั การยกย่องว่าเป็นเลศิ หรือ เอตทคั คะหลายดา้ น เชน่ พหูสูต (ไดย้ ินได้ฟังมาก) เปน็ ผู้ทมี่ คี วามเพียรยิง่ เปน็ ตน้ โดยพระอานนทไ์ ด้ออกปกป้องพระพทุ ธเจา้ จากชา้ งนาฬาครี ที ต่ี กมนั แสดงถงึ ความจงรกั ภกั ดี อกี ทง้ั ยงั เปน็ ผทู้ ลู ขออนญุ าตจากพระพทุ ธเจา้ ใหผ้ หู้ ญงิ สามารถออกบวชเปน็ ภกิ ษณุ ไี ด้ รวมทงั้ พระอานนทย์ งั เปน็ กำ� ลงั สำ� คญั ในการสงั คายนาพระธรรมวนิ ยั ภายหลงั ทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ปรนิ พิ พานดว้ ย ซงึ่ พระ อานนทบ์ รรลอุ รหนั ตก์ อ่ นสงั คายนาเพยี งเลก็ นอ้ ย โดยทา่ นสำ� เรจ็ เปน็ พะอรหนั ต์ ในระหวา่ งอริ ยิ าบถทง้ั ๔ คอื ไมไ่ ดอ้ ยใู่ นอริ ยิ าบถ อย่างใดอยา่ งหน่งึ ทง้ั ๔ อย่าง คือ อริ ยิ าบถยืน เดนิ น่ัง หรอื นอน นับว่าทา่ นบรรลเุ ปน็ พระอรหันต์แปลกกวา่ พระเถระรปู อ่ืนๆ 10. พระมหากสั สปะ ไดร้ ับยกยอ่ งวา่ เปน็ เลิศดา้ นธุดงค์ ชอบสันโดษ และได้รับมอบหมายให้เปน็ ประธานในการสงั คายนาครั้งแรก 11. พระปฏาจาราเถรี เดิมเป็นลกู เศรษฐแี ต่หนีตามคนรับใช้ไปอยู่ในชนบท จนมีลกู สองคน แตเ่ ธอกส็ ูญเสยี ลกู และสามไี ปพร้อมกนั จนเสยี สติ หากแต่พบพระพุทธเจา้ จงึ ไดค้ นื สตแิ ละขอบวชเป็นภิกษุณี ท่านไดร้ บั ยกยอ่ งวา่ เปน็ เลิศด้านการจำ� พระวินยั ได้แมน่ ย�ำ 12. นางจฬู สภุ ัททา เป็นบุตรสาวของอนาถบิณฑิกเศรษฐี นับถือพุทธตามบิดา หากแต่เมื่อต้องแต่งงานกับสามีที่เป็นศาสนาเชน นางไม่ นับถือตามครอบครัวสามี พอ่ สามจี งึ ใหน้ างเชิญพระพุทธเจา้ มาทบ่ี ้านและพระองค์ไดแ้ สดงธรรมจนครอบครัวสามดี วงตาเหน็ ธรรมหันมานับถอื พทุ ธศาสนา 13. สมู นมาลาการ มหี นา้ ทน่ี ำ� ดอกมะลไิ ปถวายพระเจา้ พมิ พสิ ารทกุ วนั เชา้ วนั หนงึ่ ไดพ้ บพระพทุ ธเจา้ จงึ เกดิ ความเลอ่ื มใส และนำ� เอาดอก มะลิท่ีจะต้องถวายพระเจ้าพิมพิสารมาถวายพระพุทธเจ้าแทน และเกิดปรากฏการณ์มหัศจรรย์ คือ ดอกมะลิที่ถวายน้ันลอย 20 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

เปน็ เหมอื นซมุ้ ตดิ ตามพระพทุ ธเจา้ ไปทกุ หนแหง่ การกระทำ� ของเขาขดั ตอ่ หนา้ ทท่ี ต่ี อ้ งทำ� ถวายพระเจา้ พมิ พสิ าร หากแตพ่ ระองค์ ไมถ่ ือโทษ กลบั ยกย่องว่าเขามใี จศรทั ธาในพระพทุ ธศาสนาอยา่ งยง่ิ 2.4 ชาวพุทธตวั อยา่ ง 1. พระนาคเสน ได้โต้ตอบความรู้กับพระยามิลินท์ท่ีชื่อว่า มิลินทปัญหาได้ส�ำเร็จ ถือว่าเป็นผู้ที่มีปฏิภาณเป็นยอดและมีเทคนิคในการ ถ่ายทอดธรรมเปน็ เยย่ี ม 2. สมเดจ็ พระวนั รตั (เฮง เขมจารี) เป็นพระสงฆผ์ ู้แตกฉาน เจ้าอาวาส วัดมหาธาตุ ยวุ ราชรงั สฤษด์ิ รวมทั้งเปน็ ประธานสงั ฆสภาองคแ์ รกดว้ ย 3. หลวงปมู่ นั่ ภรู ิทัตโต เป็นผ้มู วี ตั รปฏบิ ัตินา่ เล่อื มใส เชน่ ฉันอาหารมือ้ เดยี ว นำ� ผ้าบังสุกุลมาเป็นจวี ร ใชบ้ าตรเพียงอย่างเดยี วในการฉนั ฯลฯ แสดงถึงวนิ ัยท่เี ครง่ ครดั นา่ เล่ือมใส 4. อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ เปน็ ภกิ ษไุ ทยรปู แรกทแ่ี สดงธรรมเปน็ ภาษาองั กฤษ มบี ทบาทในการพฒั นามหาวทิ ยาลยั สงฆ์ กอ่ ตง้ั โรงเรยี นพทุ ธศาสนา วนั อาทติ ย์ แต่งหนังสือพระไตรปฎิ กฉบับประชาชน 5. พระธรรมโกษาจารย์ (พุทธทาสภิกข)ุ ทา่ นด�ำรงตนโดยถอื วา่ ตนเป็นทาสของพระพทุ ธศาสนา ใชช้ วี ติ เรยี บงา่ ยตามแบบสงฆ์ในสมัยพทุ ธกาล คือ สวนโมกข์ แนวคดิ ทส่ี �ำคัญ เชน่ นิพพานพบไดใ้ นชาตนิ ้ี คอื การพน้ จากกิเลส แก่นแท้ของพระศาสนา คือ การกระทำ� อนั เกิดความพ้นทุกข์ การท�ำให้จติ ว่าง (ว่างจากกเิ ลส) หรอื หลักสุญญตา เปน็ ต้น ความสำ� คัญของทา่ น คือ เป็นนักการศึกษาท่ีแท้จริง เป็นนกั คิดที่ ยิง่ ใหญ่ และเปน็ พระนักปฏิรปู ที่กลา้ มาเปลยี่ นแนวทางท่ีไม่ถกู ตอ้ งในพระพุทธศาสนา จนถือได้ว่าเป็น “เสนาบดีแห่งกองทัพ ธรรม” 6. พระพรหมมังคลาจารย์ (หลวงพอ่ ปัญญานนั ทภกิ ข)ุ เป็นสหายกับท่านพุทธทาสและพระราชญาณกวีท่ีถือว่าเป็น “สามสหายธรรมร่วมมือกันเผยแผ่พระพุทธศาสนา” ซ่ึง หลวงพ่อปัญญาได้ชื่อว่าเป็นแม่ทัพโลก ท่านได้เป็นเจ้าอาวาสวัดชลประทานรังสฤษฎ์ จังหวัดนนทบุรี อีกทั้งยังได้เดินทางไป เผยแผพ่ ทุ ธศาสนาทท่ี วปี ยโุ รป หลกั การสำ� คญั ของทา่ น คอื ประกาศความจรงิ ทพ่ี ระพทุ ธองคป์ ระกาศไว้ และทำ� ลายความเหน็ การกระทำ� ผดิ ๆ ทา่ นถือว่าเปน็ ธรรมกถกึ และเปน็ นกั ปฏริ ปู การศาสนาด้วย 7. ดร.เอ็มเบดการ์ เดิมช่ือ พิมพา สักปาล เกิดในวรรณะศูทร ซึ่งต่อมาได้ดีเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย หากแต่ยังโดนรังเกียจเพราะเป็น วรรณะศูทร ท่านจงึ พยายามหาวิธลี บล้างความคิดเรอื่ งวรรณะ โดยได้เลอื กใช้พระพทุ ธศาสนาเปน็ สำ� คัญ โดยประกาศใหค้ น ศูทรและจัณฑาลทิ้งศาสนาฮินดูและหนั มานบั ถอื พุทธ ซงึ่ พวกศทู รและจณั ฑาลนับถอื ท่านอย่างมาก 8. พระโพธิญาณเถระ (ชา สภุ ทฺโท) เปน็ พระชาวอบุ ลราชธานที อ่ี อกธดุ งคต์ ามทต่ี า่ งๆ ไดพ้ บกบั หลวงปมู่ นั่ ภรู ทิ ตั โต และไดป้ ฏบิ ตั ติ นอยา่ งเครง่ ครดั ในพระ ธรรมวนิ ยั ชอื่ เสยี งขจรไปไกล และตงั้ วดั หนองปา่ พง สอนเรอ่ื ง สตแิ ละทฐิ มิ านะเปน็ หลกั สองประการ มสี ำ� นกั สาขาทวั่ ประเทศ รวมทงั้ ในต่างประเทศด้วย 9. พระพรหมคณุ าภรณ์ (ประยุทธ์ ปยตุ ฺโต) ไดบ้ วชต้งั แต่ยังเดก็ จนจบเปรียญธรรม 9 ประโยค ขณะท่เี ป็นสามเณรและสำ� เร็จการศกึ ษาจากมหาวิทยาลยั มหาจุฬา ลงกรณราชวทิ ยาลยั ไดส้ รา้ งผลงานไวม้ ากมาย เชน่ พฒั นาหลกั สตู รของพระสงฆใ์ หเ้ ขา้ กบั สงั คม ปรบั ปรงุ โรงเรยี นพทุ ธศาสนา วันอาทิตย์ จัดท�ำพระไตรปิฎกฉบับคอมพิวเตอร์ พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฯลฯ ท่านได้รับรางวัลมากมายท่ีสูงสุดคือ รางวัล ทางการศกึ ษาเพือ่ สนั ติภาพจาก UNESCO ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 21

10. อนาคาริก ธรรมปาละ เปน็ ชาวศรลี งั กา เกดิ ในตระกลู มง่ั คง่ั ไดฟ้ งั ปาฐกถาเกยี่ วกบั พทุ ธศาสนาเกดิ ความประทบั ใจตอ้ งการชว่ ยเผยแผพ่ ระพทุ ธ ศาสนา โดยทา่ นถือว่าเปน็ “อนาคารกิ ” คือ ผไู้ ม่ครองเรือน เพื่อให้สะดวกคล่องตวั ตอ่ การทำ� งานดา้ นน้ี ทา่ นได้จดั ตั้งสมาคม มหาโพธิ์ ทเ่ี มอื งโคลมั โบ ประเทศศรลี ังกา ท่านมีบทบาทส�ำคญั ตอ่ การปฏสิ ังขรณ์เจดยี พ์ ทุ ธคยา 3. พระไตรปิฎก พุทธศาสนสุภาษิต และศัพทท์ างพระพุทธศาสนา 3.1 พระไตรปฎิ ก ในสมัยพทุ ธกาลยงั ไม่มีการเรยี บเรียงคำ� สอนของพระพุทธเจ้าเป็นลายลกั ษณอ์ ักษร เรียกกนั วา่ พระ ธรรมวนิ ยั จนภายหลงั พระพุทธเจา้ ปรินิพพาน เกดิ การสังคายนาพระไตรปฎิ กข้นึ การสังคายนานห้ี มายถงึ การประชุมเพ่อื สอบทานช�ำระพระไตรปิฎก ในครั้งแรกท�ำโดยการทอ่ งจ�ำเป็นหมูค่ ณะ ซึง่ ในการสงั คายนาครงั้ ที่ 3 หลงั จากทีพ่ ระพุทธเจา้ ปรนิ พิ พานไปประมาณรอ้ ยปี ก็ไดม้ กี ารจดั หมวดหม่แู ละเปน็ พระไตรปิฎกอยา่ งสมบูรณ์ จนในการสงั คายนาครั้งท่ี 5 ที่ประเทศ ศรีลงั กาก็มีการบันทึกเปน็ ลายลักษณ์อกั ษร ซ่งึ ผมู้ บี ทบาทส�ำคญั ในการเผยแพร่พระไตรปิฎกและพระพุทธศาสนา คือ พระเจา้ อโศกมหาราช ทสี่ ง่ คณะธรรมทูตไปยงั ดินแดนต่างๆ ส�ำหรับในดินแดนประเทศไทย การสังคายนาพระไตรปิฎกเกิดขึ้นทเ่ี ชียงใหมเ่ ปน็ ครงั้ แรก สมัยพระเจ้าติโลกราช กอ่ น จะเกิดข้ึนในรชั กาลที่ 1 แห่งกรงุ รัตนโกสินทร์อกี คร้งั หน่ึง ปัจจบุ ันพระไตรปฎิ กมีการเผยแพร่ลงในระบบคอมพวิ เตอรด์ ว้ ย พระไตรปิฎกแยกได้เป็น 3 หมวดหมู่ คือ 1) พระวินยั ปฎิ ก = เกย่ี วกบั วนิ ัยของภิกษุและภิกษุณี 2) พระสุตตนั ตปิฎก (พระสตู ร) = เรื่องเลา่ เกย่ี วกบั บคุ คล เหตกุ ารณ์ และสถานทต่ี ่างๆ และ 3) พระอภิธรรมปฎิ ก = หลักธรรมตา่ งๆ นอกจากพระไตรปฎิ กจะเปน็ คัมภรี ห์ ลักสำ� คัญของศาสนาแล้วยังมีคัมภรี ท์ ่มี ลี �ำดบั ลดล่นั กนั ลงมา ดังน้ี พระไตรปิฎก (บาลพี ระพทุ ธ) อรรถกถา = อธิบายความพระไตรปฎิ ก ฎกี า = อธิบายอรรถกถา อนุฎีกา = อธิบายฎีกา สัททาวเิ สส = อธิบายไวยากรณบ์ าลแี ละศัพท์ 22 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya

3.2 พทุ ธศาสนสภุ าษิต จติ ตฺ  ทนฺต สุขาวห : จิตทฝี่ กึ ดแี ล้วนำ� ความสขุ มาให้ น อจุ ฺจาวจ ปณฑฺ ิตา ทสฺสยนตฺ ิ : บณั ฑติ ยอ่ มไมแ่ สดงอาการขนึ้ ๆ ลงๆ นตฺถิ โลเก อนนิ ทฺ ิโต : คนไม่ถูกนนิ ทา ไม่มีในโลก โกธ ฆตวา สขุ  เสติ : ฆา่ ความโกรธได้ย่อมเป็นสุข ปฏิรปู การี ธุรวา อฏฐาตา วนิ ทฺ เต ธน : คนขยนั เอาการเอางาน กระท�ำเหมาะสมยอ่ มหาทรัพยไ์ ด้ วายเมเถว ปรุ ิโส ยาว อตถฺ สฺส นปิ ฺปทา : เกดิ เปน็ คน ควรจะพยายามจนกว่าจะประสบความสำ� เรจ็ สนตฺ ฏุ ฐี ปรม ธน : ความสันโดษเปน็ ทรพั ยอ์ ยา่ งยงิ่ อิณาทาน ทุกข โลเก : การเปน็ หนีเ้ ปน็ ทุกขใ์ นโลก ราชา มุข มนสุ ฺสาน : พระราชาเปน็ ประมุขของประชาชน สติ โลกสมฺ ิ ชาคโร : สตเิ ปน็ เคร่ืองต่ืนในโลก นตถฺ ิ สนฺตปิ ร สขุ  : สุขอ่ืนย่งิ กวา่ สนั ติไม่มี 3.3 ศพั ทท์ างพระพทุ ธศาสนานา่ รู้ กรรม ในภาษาไทย = การกระท�ำหรือผลทไี่ มด่ ี แตใ่ นพระพทุ ธศาสนาหมายถึง การกระท�ำที่เจตนา บารมี ในภาษาไทย = คณุ สมบตั ทิ ท่ี ำ� ใหย้ งิ่ ใหญ่ แตใ่ นทางพทุ ธศาสนาหมายถงึ คณุ ความดที พ่ี ระโพธสิ ตั วบ์ ำ� เพญ็ มาแต ่ อดตี ชาติ วาสนา ในภาษาไทย = บญุ บารมที ่ีไดร้ บั ลาภยศ แต่ในทางพุทธศาสนาหมายถงึ ความเคยชินจากการกระท�ำ ภพ หมายถงึ สถานทย่ี งั มกี ารเวยี นว่ายตายเกิด แบง่ เปน็ กามภพ รปู ภพและอรูปภพ ภูมิ หมายถึง สถานท่ีหลดุ พ้นจากการเวยี นว่ายตายเกิดจากภพไปแล้ว โพธิปักขิยธรรม หมายถงึ ธรรมท่เี กือ้ กูลการตรสั รู้ 37 ประการ สมาบัติ หมายถงึ ภาวะสงบทีพ่ งึ เขา้ ถงึ เชน่ ฌานสมาบตั ิ = การเขา้ ถึงฌาน สมั มตั ตะ-มจิ ฉัตตะ หมายถึง ความถูกต้อง และ ความผิด 4. หลักธรรมในพระพทุ ธศาสนา หลักธรรมในพระพุทธศาสนาถือว่าเป็นหัวใจส�ำคัญ ซึ่งมีในระดับที่เป็นโลกธรรม คือ ธรรมะเพ่ือด�ำรงตนบนโลก และระดับ โลกตุ รธรรม คือ ธรรมะท่มี ุ่งสู่การบรรลุนิพพาน ซ่ึงหลกั ธรรมหมวดใหญ่ในพระพุทธศาสนา คอื อริยสัจ 4 อันประกอบดว้ ย ทกุ ข์ = ความไม่สบายกายไม่สบายใจ สมุทัย = สาเหตขุ องทกุ ข์ นโิ รธ = ความดับทกุ ข์ มรรค = หนทางในการดบั ทกุ ข์ โดยทัง้ น้ีสามารถแยกหลักธรรมย่อยๆ เขา้ หมวดหมู่ ไดด้ งั น้ี 4.1 ทกุ ข์ : ธรรมที่ควรรู้ = รู้สาเหตุแหง่ ทุกข์ 1. ขันธ์ 5 คือ องคป์ ระกอบท่ีท�ำใหเ้ กดิ เปน็ ชวี ติ หน่งึ ประกอบด้วย 5 สว่ น คือ รปู วิญญาณ (การรบั ร้ตู า่ งๆ) เวทนา (ความร้สู กึ ) สัญญา (ความจำ� ได)้ และสงั ขาร (ความคดิ หรอื จติ ทปี่ รุงแตง่ ) ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 23

2. โลกธรรม 8 คอื เรอื่ งราวธรรมดาทเี่ กดิ ขน้ึ ในโลกมงุ่ เนน้ ใหเ้ รายอมรบั สรรพสง่ิ วา่ อยบู่ นความไมเ่ ทย่ี งไดแ้ ก่สขุ - ทุกข์ มีลาภ-เสอื่ มลาภ มยี ศ-เสอ่ื มยศ สรรเสริญ-นินทา 4.2 สมุทยั : ธรรมทคี่ วรละ = ละสาเหตไุ ม่ให้เกิดทกุ ข์ สาเหตุส�ำคัญของการเกิดทกุ ข์ คือ ตณั หา ในท่นี หี้ มายถงึ ความอยาก 3 ประการ ได้แก่ 1) กามตณั หา = ความอยาก ได้อยากมใี นวัตถุ 2) ภวตัณหา = ความอยากในนามธรรม/อยากให้คงอยู่ และ 3) วภิ วตัณหา = ความไม่อยาก โดยมีหลกั ธรรม ทส่ี ามารถจัดหมวดหมใู่ นสมุทยั ได้ดังนี้ 1. กรรม คอื การกระทำ� ทมี่ เี จตนา ซงึ่ มที งั้ ทเี่ ปน็ กศุ ลกรรม และอกศุ ลกรรม หรอื อาจแบง่ เปน็ กายกรรม วจกี รรม หรือมโนกรรม ก็ได้ ซงึ่ จะสังเกตตามลกั ษณะการกระท�ำนน้ั ๆ เปน็ สำ� คญั คือ กฎแห่งกรรม = ทำ� ดีได้ดี ทำ� ช่วั ได้ชว่ั หว่านพชื เชน่ ไรได้ผลเช่นน้นั 2. มจิ ฉาวณชิ ชา 5 คอื การคา้ ทไ่ี มช่ อบ 5 ประการ ไดแ้ ก่ การคา้ มนษุ ย์ การคา้ สตั วน์ ำ� ไปเปน็ อาหาร การคา้ อาวธุ การคา้ ยาพษิ และการค้ายาเสพติด 3. นวิ รณ์ 5 คอื เคร่ืองท่ีทำ� ให้ใจเศร้าหมอง 5 ประการ ได้แก่ กามฉันทะ (ความพอใจในกามคณุ ไดแ้ ก่ รูป รส กลิ่น เสียง สัมผสั ) พยาบาท (ความอาฆาต) ถีนมทิ ธะ (ความง่วงนอน) อทุ ธจั จกกุ กุจจะ (ความฟงุ้ ซ่าน) วจิ กิ จิ ฉา (ความ สงสัย) 4. อุปาทาน 4 คือ การยึดมั่นถือมั่นในกิเลส 4 ประการ ได้แก่ กามุปทาน (ยึดม่ันในกาม) ทิฏฐุปาทาน (ยึดมัน่ ในมิจฉาทฐิ ิ) สีลัพพตุปาทาน (ยดึ มั่นในศีลที่ตนประพฤติ) อัตตสาทุปาทาน (ยดึ มน่ั ในตวั ตน) 4.3 นิโรธ : ธรรมทคี่ วรบรรลุ = บรรลกุ ารดับทุกข์ 1. ภาวนา 4 คือ การพัฒนา /การเจริญ /การฝึกฝน 4 ประการให้พ้นทุกข์ ได้แก่ กายภาวนา ศีลภาวนา จติ ภาวนาและปัญญาภาวนา 2. วิมุตติ 5 คือ ความหลุดพ้นจากกิเลส 5 ประการ ได้แก่ สมถะ (หลุดพ้นด้วยสมาธิ) วิปัสสนา (หลุดพ้นด้วยปญั ญา) มรรค ผล และนพิ พาน 3. นิพพาน คือ ภาวะที่ดับกิเลสโดยสิ้นเชิง โดยการดับกิเลสท้ัง 3 ได้แก่ โลภะ โทสะ โมหะ ผู้ท่ีสามารถ บรรลุนิพพานได้น้นั จะเรยี กว่า อรหันต์ 4.4 มรรค : ธรรมทคี่ วรเจรญิ = หนทางในการไปสกู่ ารพ้นทุกข์ มรรคหรอื ทางในการพน้ ทุกขน์ ้ัน ประกอบด้วย 8 หนทาง หรือทเี่ รยี กว่า “มรรคมีองค์ 8” ไดแ้ ก่ 1) สมั มาทฐิ ิ - ความ เห็นชอบ 2) สัมมาสงั กัปปะ - ความด�ำริชอบ 3) สมั มาวาจา - เจรจาชอบ 4) สมั มากมั มนั ตะ - ท�ำการงานชอบ 5) สัมมาอาชีวะ – เลยี้ งชพี ชอบ 6) สมั มาวายามะ - พยายามชอบ 7) สมั มาสติ - ระลกึ ชอบ และ 8) สมั มาสมาธิ - ต้ังใจชอบ ซง่ึ รวมเรียกอีก ชอื่ หนง่ึ ไดว้ ่า “มัชฌิมาปฏปิ ทา” หรอื ทางสายกลาง มรรคมอี งค์ 8 นี้สรปุ ลงใน “ไตรสิกขา” หรอื ขอ้ ปฏิบตั ใิ นการศึกษา 3 ประการ ไดด้ งั นี้ 1) อธสิ ีลสิกขา (ศลี ) ประกอบ ด้วย สัมมาวาจา สมั มากมั มันตะ และสัมมาอาชีวะ 2) อธิจติ สกิ ขา (สมาธิ) ประกอบดว้ ย สมั มาวายามะ สมั มาสติ และสมั มา สมาธิ และ 3) อธิปญั ญาสิกขา (ปัญญา) ประกอบดว้ ย สมั มาทิฏฐิ และสัมมาสงั กปั ปะ 24 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

มรรค 8 ไตรสกิ ขา สมั มาวาจา ศีล สมั มากัมมนั ตะ สมั มาอาชีวะ สมาธิ มชั ฌมิ าปฏิปทา ปัญญา ทางสายกลาง สัมมาวายามะ สมั มาสติ สมั มาสมาธิ สมั มาทฐิ ิ สมั มาสงั กัปปะ 1. พละ 5 คอื พละก�ำลงั 5 ประการในการพ้นทกุ ข์ ประกอบด้วย ก�ำลัง ศรทั ธา วิริยะ (พยายาม) สติ สมาธแิ ละปญั ญา 2. วุฒิธรรม 4 คอื ธรรมท่ีทำ� ให้เกิดความงอกงาม 4 ประการ ได้แก่ การคบหาบณั ฑิต / สตบุรษุ การฟงั ธรรม การใช้ สติตรติ รอง และปฏิบัติตนตามครรลองคลองธรรม 3. อุบาสกธรรม 5 คือ ธรรมสำ� หรับอุบาสกและอบุ าสกิ าทดี่ ีของพระพุทธศาสนา ประกอบดว้ ยมศี รัทธา อยูใ่ นศลี ธรรม เช่อื เรอื่ งกรรมและเหตผุ ล ไมท่ �ำบญุ นอกหลกั ศาสนา และบ�ำรุงศาสนาอย่เู ปน็ นติ ย์ 4. สันโดษ คือ การพึงพอใจในสง่ิ ทตี่ วั เองมี ประกอบดว้ ย 1) ยถาลาภ = พอใจในลาภยศทมี่ ี 2) ยถาพล = พอใจในกำ� ลงั ที่มี 3) ยถาสารปุ ป = พอใจในความเป็นอยู่ 5. ฆราวาสธรรม 4 คอื ธรรมะส�ำหรบั ผู้ครองเรอื น ให้มอี ย่อู ยา่ งเปน็ สขุ ประกอบด้วย 1) สัจจะ = มีความสตั ย์ 2) จาคะ = เสียสละ 3) ทมะ = ร้จู ักข่มใจ และ 4) ขันติ = มคี วามอดทน 6. อริยวัฑฒิ 5 คอื หลกั ส�ำคัญของอายชนหรอื ผูเ้ จรญิ งอกงาม 5 ประการ ประกอบดว้ ย 1) ศรทั ธา 2) ศีล 3) สุตะ (งอกงามด้วยการแสวงหาความรู)้ 4) จาคะ (งอกงามด้วยการเสยี สละ) 5) ปัญญา 7. ทฏิ ฐธิ มั มกิ ตั ถประโยชน์ 4 คอื ธรรมมะทท่ี ำ� ใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นปจั จบุ นั 4 ประการ คอื สมาชวี ติ า = ดำ� รงชวี ติ เหมาะสม กัลยาณมติ ตตา = คบคนดี อฏุ ฐานสัมปทา = ขยันทำ� การงาน และอารกั ขสัมปทา = รู้จักเกบ็ ออม 8. โภคอาทยิ ะ 5 คือ หลักการในการครองชีพและการใชจ้ า่ ยที่เหมาะสม 5 ประการ คือ 1) ใช้เลี้ยงตวั เอง ครอบครัว บิดามารดา 2) บำ� รงุ เลย้ี งมิตรสหายและผรู้ ว่ มงาน 3) เก็บไว้ใชเ้ ม่ือยามจำ� เป็น 4) ท�ำพลี (บริจาค) และ 5) บำ� รุงพระสงฆ ์ 9. ปาปณิกธรรม 3 คือ หลกั ส�ำคญั 3 ประการสำ� หรับพอ่ ค้า ไดแ้ ก่ 1) ตาดี/รู้จักสังเกต 2) จัดเจนดา้ นธุรกิจ และ 3) มี แหลง่ เงินทุนดี/เครดิตดี ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 25

10. อปรยิ หานิยธรรม 7 คอื หลกั ธรรมสำ� หรบั ใชใ้ นการปกครอง เพอื่ ป้องกนั มใิ หก้ ารบริหารหมคู่ ณะเสื่อมถอย แตก่ ลับ เสริมให้เจริญ ได้แก่ หมั่นประชุมกันสม�่ำเสมอ พร้อมเพรียงกันประชุม ไม่บัญญัติส่ิงใดตามใจชอบ เช่ือฟัง/เคารพผู้ใหญ่ ไม่ ข่มเหงสตรี เคารพบูชาศาสนสถาน และอารกั ขาพระภกิ ษสุ งฆ์ 11. มงคล 38 คอื สาเหตขุ องความเจริญทีเ่ กิดจากตวั เราเอง มี 38 ประการ แต่ท่ีนำ� มาเรยี นในชน้ั มัธยมปลายนีม้ ดี ้วย กัน 4 ข้อสุดท้ายคอื ขอ้ (35) ไมห่ ว่นั ไหวเมอ่ื ต้องโลกธรรม (36) จิตไม่โศกเศรา้ (37) จติ ไมม่ ัวหมอง และ (38) จิตเกษม 12. สาราณยี ธรรม 6 คือ ธรรมที่ทำ� ให้ระลึกถึงกัน 6 ประการ ไดแ้ ก่ 1) ทำ� 2) พูด 3) คิด (ทงั้ 3 ขอ้ นี้ ใหท้ ำ� ดว้ ยความ เมตตาต่อกัน) 4) แบ่งปัน 5) ทำ� ดีต่อกนั 6) ปรบั ตัวให้เข้ากัน 13. กาลามสตู ร คือ การเชอ่ื อย่างมีเหตุผล และไมเ่ ชื่อในสง่ิ 10 ประการ ดังตอ่ ไปนี้ 1) อยา่ ปลงใจเชอื่ ดว้ ยการฟงั ตาม กนั มา 2) อยา่ ปลงใจเชอ่ื ดว้ ยการถอื สบื กันมา 3) อย่าปลงใจเชือ่ ด้วยการเลา่ ลอื 4) อย่าปลงใจเชือ่ ดว้ ยการอา้ งต�ำราหรือ คัมภีร์ 5) อย่าปลงใจเชอ่ื เพราะตรรกะ 6) อย่าปลงใจเชอื่ เพราะการอนุมาน 7) อย่าปลงใจเช่ือ ดว้ ยการคดิ ตรองตามแนว เหตุผล 8) อย่าปลงใจเชื่อ เพราะเข้ากับทฤษฎีท่ีพินิจไว้แล้ว 9) อย่าปลงใจเช่ือ เพราะมองเห็นรูปลักษณะน่าจะเป็นไปได้ 10) อยา่ ปลงใจเชอื่ เพราะนบั ถือว่าทา่ นสมณะนเ้ี ปน็ ครูของเรา 14. อธิปไตย 3 คอื การถือความเปน็ ใหญ่มี 3 ประเภท ไดแ้ ก่ การถือตวั เองเปน็ ใหญ่ การถือโลกเปน็ ใหญ่ และการถอื ธรรมเปน็ ใหญ่ (ทางที่ดที ่สี ุด) 5. วันส�ำคญั ทางพระพุทธศาสนาและพทุ ธพธิ ี 5.1 วนั ส�ำคญั ในพระพทุ ธศาสนา 1. วิสาขบชู า : วนั ข้นึ 15 คำ่� เดือน 6 ตรงกับวนั ที่พระพทุ ธเจา้ ประสูติ ตรัสรู้ และปรนิ ิพพาน (วันพระพุทธ) 2. อาสาฬหบชู า : วนั ข้นึ 15 ค่�ำ เดอื น 8 ตรงกับวนั ท่ีพระพทุ ธศาสนามีพระรัตนตรัยครบสามองค์ (วันพระสงฆ)์ 3. มาฆบูชา : วนั ขนึ้ 15 ค่�ำ เดือน 3 เป็นวนั ท่ีเกดิ จาตรุ งคสันนิบาต (วนั พระธรรม) ประกอบดว้ ย 3.1 พระอรหันต์สาวก 1,250 รูป ที่พระพุทธองค์ได้ส่งไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาตามแว่นแคว้นต่างๆ ไดก้ ลับมาเฝ้าพระพทุ ธเจา้ ณ เวฬุวันมหาวหิ าร กรุงราชคฤห์ แคว้นมคธ 3.2 พระอรหันต์สาวกหรอื พระสงฆท์ ง้ั 1,250 รูป พระพุทธเจา้ ทรงบวชให้ด้วยพระองค์เองทั้งสน้ิ เรียกวา่ วิธี เอหภิกขอุ ปุ สมั ปทา 3.3 พระอรหันตส์ าวกท้งั 1,250 รปู ตา่ งได้มาประชุมพร้อมเพรียงกนั โดยมิไดน้ ัดหมาย 3.4 วนั ทพ่ี ระสงฆ์ 1,250 รปู มาชมุ นมุ กนั โดยมไิ ดน้ ดั หมายนี้ ตรงกบั วนั เพญ็ เดอื นมาฆะ (วนั เพญ็ กลางเดอื นสาม) สมเดจ็ พระสมั มาสัมพทุ ธเจ้าทรงแสดงพระธรรมเทศนาที่เรยี กว่า “โอวาทปาฏิโมกข์” 4. อฏั ฐมีบชู า : วันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ หลังจากวันปรินิพพาน 7 วนั 5. เขา้ พรรษา : วันแรม 1 คำ�่ เดอื น 8 เปน็ เวลา 3 เดือน พระสงฆจ์ ะไมอ่ อกเผยแพร ่ศาสนา จำ� พรรษาอยู่กับวดั 6. ออกพรรษา : วันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 11 พระสงฆ์จะท�ำการปวารณาตัวต่อกัน (พิธีสงฆ์โดยเฉพาะ) และมี การตกั บาตรเทโวหลังจากวันออกพรรษาหน่ึงวนั 5.2 ศาสนพธิ ี ศาสนพิธหี รือพธิ ีทางศาสนา เปน็ การท�ำให้คำ� สอนหรือความเชอื่ ตา่ งๆ แสดงออกมาอยา่ งเป็นรูปธรรม ท�ำให้เกิดความ สามัคคีในหมู่คณะที่เข้าร่วม ซ่ึงหลักส�ำคัญ คือ การจัดให้ถูกต้องตามหลักศาสนา ประหยัด ค�ำนึงถึงประโยชน์ที่จะได้รับ 26 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

ซึ่งรูปแบบของศาสนพิธอี าจแบ่งเปน็ 4 ประเภท คือ 1. กศุ ลพิธี เช่น พิธีแสดงตนเปน็ พุทธมามกะ (ยอมรบั พระรัตนตรัยเป็นทพี่ ง่ึ สูงสุด) 2. บญุ พิธี เช่น การทำ� บุญเลีย้ งพระในงานมงคลและงานอวมงคล งานมงคล เชน่ งานแตง่ งาน งานทำ� บญุ บา้ นใหม่ ฯลฯ งานประเภทนี้ตอ้ งนิมนต์พระสงฆม์ าเปน็ จำ� นวนคี่ ไมน่ ้อยกวา่ 5 รปู มีการตั้งโต๊ะหม่บู ูชา บาตรนำ�้ มนต์ และสายสญิ จน์ ยกเวน้ งานแตง่ งาน นิยมนมิ นตพ์ ระมาเป็นจ�ำนวนคู่ งานอวมงคล เชน่ งานศพ ฯลฯ ต้องนมิ นต์พระมาเปน็ จ�ำนวนคู่ ไม่ตัง้ บาตรน�้ำมนต์ และสายสญิ จน์ หากแต่จะมกี าร ท�ำบงั สกุ ุลตอนทา้ ยพิธี 3. ทานพิธี คือ พิธใี นการถวายเป็นกุศลให้แดศ่ าสนา เชน่ สงั ฆทาน ทอดผ้าปา่ การทอดกฐิน มีจดุ ประสงคเ์ พื่อให้พระสงฆห์ ลังจากท่ีออกจากการจำ� พรรษาได้เปล่ยี นผา้ ครองใหม่ จะดำ� เนนิ ภายใน 1 เดือน หลังออกพรรษา วัดท่ีจะรับกฐินไดต้ อ้ งมพี ระสงฆ์ 5 รูปขน้ึ ไป โดยมีกฐนิ หลวง = กฐินพระราชทานจากพระเจ้าอยู่หัว และพระบรมวงศานุวงศ์ กับกฐินราษฎร์ = กฐนิ ของชาวบา้ น 4. ปกณิ ณกพธิ ี เช่น วิธกี ารแสดงความเคารพพระ วธิ ีการกรวดน้ำ� 5.3 การบรรพาและอุปสมบท การบรรพชา = บวชเณร ผู้ท่ีจะขอบรรพชาตอ้ งมอี ายุ 7 ปี ขน้ึ ไป มีร่างกายและจิตใจสมบูรณ์ โดยได้รบั การอนุญาตจาก บดิ ามารดาเสยี ก่อน ในการบรรพชานั้นมีขัน้ ตอนเพียงแคก่ ลา่ วปฏญิ าณตนถงึ พระรตั นตรัย ทเี่ รยี กวา่ “ติสรณคมณปู สัมปทา” กส็ ามารถส�ำเรจ็ เป็นสามเณรได้ โดยตอ้ งถือศลี 10 ขอ้ การอปุ สมบท = บวชพระ ผูจ้ ะขออุปสมบทตอ้ งเป็นผูช้ าย มีอายุ 20 ปีบริบรู ณ์ และตอ้ งบวชเณรมาก่อน (ซงึ่ ถา้ ไม่เคย บวชเณรมาก่อน จะต้องบวชเณรก่อนที่จะบวชพระซึ่งสามารถกระท�ำในวันเดียวกันได้ เรียกรวมว่า การบรรพชาอุปสมบท) สำ� หรบั ขั้นตอนการบวชจะมีมากกว่าบรรพชา คอื ตอ้ งทำ� พิธใี นพระอโุ บสถ โดยมีพระสงฆ์อยา่ งนอ้ ย 5 รูป เปน็ พยาน เพ่ือจะได้ เสนอและขอญตั ตจิ ากหมสู่ งฆว์ า่ ผขู้ อบวช สามารถบวชไดจ้ รงิ เรยี กวธิ นี ว้ี า่ “ญตั ตจิ ตตุ ถกรรม” เมอื่ บวชสำ� เรจ็ เปน็ พระสงฆแ์ ลว้ จะตอ้ งมเี ครอื่ งใช้จ�ำเป็น 8 ประการ เรียกวา่ “อฏั ฐบริขาร” คอื สบง จวี ร สงั ฆาฏิ (ประคดเอว) บาตร มดี โกน เข็มเยบ็ ผา้ และ ธมกรก (เครอื่ งกรองน้ำ� ) และถอื ศลี 227 ขอ้ 6. หนา้ ที่และมารยาทชาวพุทธ 6.1 หน้าที่ชาวพทุ ธ หนา้ ท่ีชาวพุทธน้ันมีดว้ ยกันหลายดา้ น ไมว่ า่ จะเป็นการแสดงตนเปน็ พุทธมามกะ หรือการแสดงตนวา่ จะถอื พระรัตนตรัยเปน็ สรณะ การรักษาศลี (ศีล 5) การ ท�ำบุญ ท�ำทานตามโอกาส ผู้ชายควรบวชเป็นสามเณรและพระสงฆ์เมื่อถึงวัย ผู้หญิงอาจจะบวชเป็นแม่ชี หรือธรรมจาริณี (ชพี ราหมณ)์ ถอื ศีล 8 นอกจากทก่ี ลา่ วไปขา้ งตน้ การเปน็ ชาวพทุ ธทด่ี ยี งั ตอ้ งใหเ้ กยี รตกิ บั คนตา่ งศาสนา และไมพ่ ดู จา หรอื แสดงทา่ ทางลบหลู่ ศาสนาอื่น หากมีใครเข้าใจศาสนาผดิ ใหช้ ้แี จงดว้ ยเหตผุ ล 6.2 มารยาทชาวพุทธ การแสดงความเคารพด้วยวิธีการท่ีต่างกันไปก็เป็นมารยาทอย่างหนึ่งท่ีชาวพุทธควรรู้ ไม่ว่าจะเป็นการแสดงความ เคารพตอ่ พระรตั นตรยั ควรใชก้ ารแสดงความเคารพแบบ เบญจางคประดษิ ฐ์ กราบ 3 ครงั้ แบมอื ขณะทกี่ ารแสดงความเคารพ ปชู นยี สถานต่างๆ ให้ยกมือไหว้ สว่ นการเคารพบุคคลนนั้ ให้ใชก้ ารไหว้ หากกราบไมต่ อ้ งแบมอื ส�ำหรับการไหว้น้ัน เป็นการแสดงความเคารพอีกอย่างหนึ่งที่แตกต่างกันไปตามแต่ละระดับบุคคล กล่าวคือ ถ้าไหว้ พระสงฆ์ ใหน้ ้วิ หัวแม่มอื จรดระหวา่ งค้วิ ไหวพ้ อ่ แมค่ รอู าจารย์หรอื ผอู้ าวุโสกวา่ ใหน้ ้วิ หวั แมม่ ืออยู่ระดบั จมกู สว่ นไหวผ้ ทู้ เ่ี สมอ กนั ให้ประนมมอื ระหวา่ งอก ไม่ต้องกม้ หัว ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 27

7. การบริหารจิตและเจรญิ ปัญญา 7.1 การบรหิ ารจติ การบริหารจิตหรอื การฝกึ สมาธนิ ัน้ เปน็ การฝึกจิตใหส้ งบจากกเิ ลส นน่ั คือ นิวรณ์ 5 รายละเอียดตามท่กี ล่าวไปแล้วกอ่ น หน้า ด้วยวิธที ี่เรยี นกวา่ สตปิ ฏั ฐานการ แบ่งเป็น กายานปุ ัสสนา ฝกึ ลมหายใจหรอื ฝกึ รา่ งกาย จติ ตานุปสั สนา ฝกึ จติ เวทนานปุ ัสสนา ฝึกความรู้สกึ ธัมมานุปสั สนา ฝึกธรรม 7.2 การเจริญปญั ญา วธิ กี ารสำ� คญั ของการเจรญิ ปญั ญาในพระพทุ ธศาสนา คอื การคดิ ไตรต่ รองอยา่ งมสี ตหิ รอื คดิ ใหเ้ หน็ ความเปน็ จรงิ อยา่ ง ถอ่ งแท้ เรียกว่า “โยนิโสมนสิการ” มีดว้ ยกนั หลายวธิ ี เช่น คิดแบบแยกแยะส่วนประกอบ (วเิ คราะห์) คิดสืบสาวหาเหตุและ ปัจจยั (ปฏจิ จสมปุ บาท) คดิ แบบรู้เทา่ ทันธรรมดา (ไตรลกั ษณ์) คดิ แบบแยกแยะประเดน็ ทุกแงม่ ุม (วิภชั ชวาท) คดิ แบบแก้ปญั หา (อรยิ สจั 4) เปน็ ตน้ บนั ทกึ ช่วยจำ� 28 ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya

แนวขอ้ สอบ 1. ขอ้ ใดคือความเชื่อในศาสนาครสิ ตท์ ่ตี ่างจากศาสนาพราหมณ์ ก. มนษุ ยเ์ กดิ เพยี งชาตเิ ดยี ว ข. มนุษยเ์ กดิ จากการสร้างของพระเจ้า ค. ผู้เคารพพระเจ้าคอื ผู้ท�ำความด ี ง. ผทู้ �ำความดพี ระเจา้ ยอ่ มมองเหน็ 2. ขอ้ ใดคือหลกั ปฏบิ ตั ิในศาสนาอิสลามทไี่ มป่ รากฏในศาสนาอืน่ ๆ ก. การบูชาพระเจ้าด้วยการสวดภาวนา ข. การสอนให้ศาสนิกสามัคคีปรองดองกัน ค. การไม่นยิ มสรา้ งรปู เคารพของพระ ศาสดา ง. การสำ� รวมระวงั ไมใ่ หจ้ ิตใจตกเป็นทาสของความอยาก 3. การสอนเร่อื งทกุ ข์ในพทุ ธศาสนามจี ุดประสงค์สดุ ทา้ ยอยา่ งไร ก. ใหร้ ู้ว่าชวี ติ คือความทกุ ข์ ข. ใหต้ ระหนกั วา่ เราเอาชนะทุกขไ์ ด้ ค. ให้เขา้ ใจวา่ ทกุ ขม์ าจากกิเลสในใจเรา ง. ใหร้ วู้ ่าความทกุ ข์เป็นกรรม 4. หลกั ค�ำสอน “กรรมโยคะ” ในศาสนา พราหมณ์ – ฮินดู ตรงกบั คำ� ไทยขอ้ ใด ก. หนกั เอาเบาส้ ู ข. อาบเหงอื่ ต่างน�้ำ ค. ปิดทองหลงั พระ ง. เกบ็ เบยี้ ใต้ถุนรา้ น 5. ข้อใดคอื วัตถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษาศาสนาท่ี เก่ียวข้องในสังคมไทย ก. เพอื่ หาข้อเด่นและขอ้ ดอ้ ยของแตล่ ะศาสนา ข. เพื่อขนั ตธิ รรมในการอย่รู ่วมกนั ในสังคม ค. เพือ่ ความภาคภูมใิ จในศาสนาของตน ง. เพื่อประยุกต์ค�ำสอนของแตล่ ะศาสนามาเปน็ หลัก ในการด�ำเนินชวี ิต 6. ศาสนาพทุ ธ จัดอยู่ในศาสนาประเภทใด ข. เอกเทวนิยม ก. พหุเทวนยิ ม ง. เทวนิยม ค. อเทวนิยม 7. ข้อใดเปน็ เอกลักษณ์ของศาสนาพทุ ธ ข. ภาวนา ก. กรรม ง. อนตั ตา ค. นรก – สวรรค์ ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 29

8. ค�ำสอนเร่ือง ชีวิตเปน็ ทกุ ข์ของพระพุทธศาสนา หมายถึงข้อใด ก. ชีวติ มปี ัญหาอยู่ตลอดเวลา ข. ร่างกายต้องเปลี่ยนแปลงเจ็บไข้อยู่เสมอ ค. ความทุกขเ์ ป็นขอ้ เท็จจรงิ ของชีวติ ง. จิตใจต้องพบความเศร้าและเสียใจอยู่เร่อื ยๆ 9. คำ� สอนเร่ืองกรรมในพทุ ธศาสนาส�ำคัญอยา่ งไร ก. ท�ำให้คนเปน็ คนด ี ข. ท�ำให้เชอื่ วา่ กรรมพิสูจน์ได้ ค. ท�ำใหค้ นกลวั นรกไมก่ ล้าทำ� ชั่ว ง. ท�ำใหเ้ ราเข้าใจว่าเราคือผู้ลิขติ ชวี ติ เรา 10. ขอ้ ใดแสดงวา่ ผกู้ ระท�ำเปน็ คนมีศลี ธรรม ก. โบท้ ไม่ดม่ื สุราและไม่ชอบเลน่ การพนัน ข. เบน็ ซ์ ไมพ่ ดู เท็จและยังชอบพูดจาสุภาพตอ่ คนทัว่ ไป ค. แฮม ไม่ตกปลา และยังชอบซื้อปลามาเล้ยี งไว้ในตโู้ ชวท์ บ่ี า้ น ง. ต้า ไมช่ อบหยิบฉวยของของใคร และยังอาสาเปน็ สายสืบชว่ ยต�ำรวจจับขโมย เฉลยแนวข้อสอบ 1. ตอบ ก. เพราะศาสนาคริสต์เช่ือว่า คนเราเกดิ มาชาตเิ ดยี ว แล้วหลงั จากตายไปรอวันพิพากษาโลกเลย ส่วนศาสนา พราหมณ์เชอ่ื เรอื่ งการเวยี นวา่ ยตายเกิด ส่วนขอ้ อ่ืนๆ เป็นคำ� สอนที่ตรงกันท้งั ศาสนาครสิ ต์และศาสนาพราหมณ์ 2. ตอบ ค. เพราะศาสนาอสิ ลามไม่มรี ปู เคารพใดๆ ท้ังสนิ้ 3. ตอบ ข. เพราะพระพทุ ธเจา้ สอนเรอื่ งทุกขเ์ พอื่ ให้เราพน้ ทุกข ์ (เอาชนะความทุกขไ์ ด้) 4. ตอบ ค. เพราะกรรมโยคะ ในศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู หมายถึง “การกระท�ำท่ีไม่หวังผลตอบแทน” จึงตรงกับ “ปิดทองหลังพระ” 5. ตอบ ง. เพราะขอ้ ก. ผิดท่ี “หาข้อดอ้ ยของแต่ละศาสนา” ขอ้ ข. ทถ่ี กู คือ เพือ่ “สนั ตธิ รรม” ไม่ใช่ “ขนั ตธิ รรม” (อดกลนั้ ) ขอ้ ค. เปน็ การศกึ ษาเฉพาะศาสนาที่ตนนับถอื 6. ตอบ ค. เพราะว่า ศาสนาพทุ ธเป็นศาสนาที่ไม่เช่ือเร่อื งพระเจ้าสร้างโลก แต่เช่ือวา่ พระเจา้ มีอยู่จริง ขอ้ ก. พหเุ ทวนิยม เช่น ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู ข้อ ข. เอกเทวนยิ ม เช่น ศาสนาอิสลาม ครสิ ต์ และยูดาย ข้อ ง. เทวนิยม เช่อื ในเร่อื งพระเจ้าสรา้ งโลก และบันดาลทกุ สิ่ง 7. ตอบ ง. เพราะว่า เอกลักษณข์ องพระพุทธศาสนา แสดงวา่ ศาสนาอ่นื ตอ้ งไม่มี ก็คือ อนตั ตา ซง่ึ ตรงกันขา้ มกับเรื่อง อาตมนั (อตั ตา – ความมีตัวตน) ของศาสนาฮนิ ดู ข้อ ก. เรื่อง กรรม ศาสนาพราหมณ์ – ฮนิ ดู ก็มเี หมอื นกัน ขอ้ ข. เร่ือง ภาวนา ศาสนาอืน่ ก็มีเยอะแยะไป ข้อ ค. เร่ือง นรก – สวรรค์ ทุกศาสนากส็ อนเหมอื นกนั 30 ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya

8. ตอบ ค. เพราะว่า ชีวิตเป็นทกุ ข์ในศาสนาพทุ ธ คอื ทุกข์ชีวติ ต่างก็ต้องประสบความทุกขด์ ้วยกนั ดังน้ันความทุกข์จงึ เป็น สัจธรรมของชวี ติ 9. ตอบ ง. เพราะว่า ในศาสนาพทุ ธ เช่ือวา่ สงิ่ ทีล่ ขิ ิตชีวิตเรา คอื กรรม ซึง่ ตา่ งจาก ศาสนาอืน่ ๆ เช่น ศาสนาพราหมณ์ – ฮนิ ดู สอนวา่ พรหมลขิ ิต เปน็ ตน้ 10. ตอบ ข. เพราะว่า ศีลธรรม = ศลี (ไม่ท�ำช่วั ) + ธรรม (ทำ� ดี) ดังนั้นข้อทีเ่ ปน็ ค�ำตอบต้องไม่ท�ำชวั่ + ทำ� ดี นอ้ งๆ สามารถศึกษาเพม่ิ เติมได้ที่ Tag : สอนศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ศาสนา พทุ ธศาสนา ศาสนาอ่นื ๆ ธรรมะ พทุ ธประวตั ิ หลักธรรม หลักคำ� สอน พทุ ธสาวก ชาว พุทธตัวอยา่ ง ศาสนพิธี พิธกี รรม • 21 : ธรรมะสวัสดี http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch1-1 • สอนศาสตร์ สังคมศึกษา ม.ปลาย : ศาสนาพาคนรใู้ จ http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch1-2 • 14 : ปลอกข้อสอบศาสนา http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch1-3 • สังคมศึกษา ม.ปลาย : ศาสนา ตอนท่ี 1 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch1-4 • สงั คมศึกษา ม.ปลาย : ศาสนา ตอนที่ 2 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch1-5 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 31

• พทุ ธประวตั ิ ด้านการบริหารพระพุทธศาสนา http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch1-6 • มรรคมีองค์ 8 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch1-7 • วันอาสาฬหบูชา http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch1-8 • ประวตั ิพุทธสาวก พทุ ธสาวกิ า-พระปฎาจาราเถรี http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch1-9 • ชาวพุทธตัวอยา่ ง (1) http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch1-10 • ชาวพทุ ธตัวอย่าง - อนาคารกิ ธรรมปาละ http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch1-11 • ศาสนพิธเี กย่ี วกบั บญุ พธิ ี ทานพธิ ี และกศุ ลพิธี (1) http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch1-12 32 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya

บทท่ี 2 สาระ: หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง วฒั นธรรมและการดำ� เนนิ ชวี ติ สงั คมวทิ ยา สงั คมวิทยา เรยี นเกย่ี วกับพฤติกรรมของคนในสงั คม รวมถึงกฎเกณฑ์ตา่ งๆ ที่ท�ำใหม้ นษุ ยส์ ามารถใช้ชีวติ ในสงั คมได้ เพราะมนุษยไ์ มส่ ามารถอยอู่ ย่างโดดเดี่ยวคนเดยี วไดต้ ลอดไป มนุษยก์ ับสังคม เรือ่ งแรกทจ่ี ะนำ� มาเลา่ สูก่ ันฟังก็คือ “มนุษยก์ ับสังคม” ในเม่อื มนุษยไ์ ม่สามารถอยไู่ ดด้ ว้ ยตัวคนเดยี ว ท�ำให้เกดิ ค�ำถาม ข้ึนว่า “แลว้ ท�ำไมมนษุ ยต์ อ้ งอยู่เปน็ สังคม” ธรรมชาตขิ องมนษุ ย์ อรสิ โตเติล บอกว่า “มนษุ ย์เปน็ สตั วส์ งั คม” เพราะปกตแิ ล้วมนษุ ย์อยคู่ นเดยี วไม่ได้ ต้องพง่ึ พาอาศยั กัน ติดต่อสัมพันธ์ กนั อยใู่ ต้กฎเกณฑ์เดยี วกัน แลว้ กช็ ว่ ยกันสร้างวฒั นธรรมขึน้ มา เพือ่ ทำ� ใหต้ วั เองแตกต่างจากสัตว์ มนุษยก์ เ็ ลยตอ้ งเรยี นรอู้ ยู่ ตลอดเวลา เพราะวัฒนธรรมเกิดขึ้นเองไม่ได้ และมนุษย์ไม่สามารถใช้สัญชาติญาณเพื่อการดำ� รงอยู่ได้ หากแต่ใช้การเรียนรู้ เพือ่ ด�ำรงชีวติ ให้อยรู่ อดภายในสังคม มนุษย์ต่างจากสัตว์ตรงท่ี มีร่างกายตั้งตรง ตามองเห็นได้ไกล มีสมองขนาดใหญ่เม่ือเทียบกับน้�ำหนักของร่างกาย มีระบบสัญลักษณใ์ นขณะท่สี ตั ว์มีเพียงแคส่ ัญลักษณ์ สามารถทจ่ี ะสร้างวัฒนธรรมของตวั เองได้ มคี วามต้องการทางเพศทไ่ี ม่ จำ� กดั เวลาและฤดกู าล สงั คมมนุษย์ พอรูแ้ ลว้ วา่ มนษุ ยช์ อบอยูก่ นั เป็นสังคม ทีนสี้ ังคมของมนษุ ยก์ ็ คือ การรวมกันของประชากรจำ� นวนหนึง่ ที่ดินแดนหน่งึ ในเวลานานพอสมควร โดยมีวัฒนธรรมเปน็ ของตวั เอง แบบนเ้ี ขาถงึ เรยี กวา่ สังคมมนุษย์ มนษุ ยอ์ ยรู่ วมกนั เปน็ สงั คม เพอื่ ตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการขน้ั พนื้ ฐาน เชน่ ความตอ้ งการดา้ นชวี ภาพ กายภาพ จติ วทิ ยา และสังคม เพือ่ ทำ� ใหเ้ ปน็ มนุษย์ทส่ี มบรู ณ์ โดยการเรียนรู้วัฒนธรรมท่บี รรพบรุ ุษส่ังสมเอาไว้ และเพ่ือสร้างความเจริญกา้ วหน้า ใหก้ บั ตนเองและกลมุ่ การท่ีมนษุ ยอ์ ยรู่ วมกนั เปน็ สงั คม หนา้ ท่ีของสงั คมมนษุ ย์ คอื การผลติ สมาชกิ ใหม่ การผลติ สนิ คา้ และบริการ การอบรม สัง่ สอนสมาชิกใหม่ และจดั ระเบียบรักษาความเรียบรอ้ ยของสงั คม ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 33

ท่มี า : อคั รายชญ์ เพ็ชรอ์ �ำไพ, สำ� นักงานสง่ เสรมิ สังคมแหง่ การเรียนรู้และ คุณภาพเยาวชน (สสค.) วฒั นธรรม เม่อื มนษุ ย์อยรู่ วมกันเป็นสังคม เกิดการเรียนรู้ และรว่ มกนั สร้างสรรค์วฒั นธรรมข้นึ มา วัฒนธรรมจึงเป็นวิถีการด�ำรง ชวี ิตของมนุษยท์ ี่เกดิ จากการเรยี นรู้ ถา่ ยทอดกนั ไปทางสังคมของมนุษย์ โดยอาศัยระบบสญั ลักษณ์ วฒั นธรรมเป็นสิ่งท่ีมนุษย์เท่าน้ันท่สี รา้ งขึน้ ได้ แตล่ ะทอ้ งถน่ิ กม็ ีวฒั นธรรมเป็นของตวั เอง วัฒนธรรมจึงเป็นเอกลกั ษณ์ ของแตล่ ะสงั คม วฒั นธรรมเกดิ จากการเรยี นรหู้ รอื การสบื ทอดทเี่ รยี กวา่ การขดั เกลาทางสงั คม ทำ� ใหว้ ฒั นธรรมเปน็ มรดกของ สงั คม วฒั นธรรมอาจจะเปน็ ส่งิ ดหี รอื ไมด่ ีกไ็ ด้ แต่สามารถปรับปรุงหรือเปลยี่ นแปลงได้ วัฒนธรรมในสงั คมทพ่ี บเห็น สามารถแบง่ ไดเ้ ป็น 4 ประเภท 1. คตธิ รรม คอื วัฒนธรรมที่เก่ียวข้องกบั หลักการดำ� เนินชีวติ มกั จะอิงดา้ นศาสนา 2. เนตธิ รรม คอื วัฒนธรรมท่เี ก่ยี วข้องกบั กฎเกณฑท์ างสังคม มักจะอิงด้านกฎหมาย 3. สหธรรม คอื วัฒนธรรมทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับการอยู่รว่ มกนั ในสงั คม เช่น มารยาท 4. วตั ถุธรรม คอื วัฒนธรรมที่เก่ียวข้องกับสงิ่ ทม่ี นษุ ย์คิดคน้ ประดษิ ฐ์ขึ้น วฒั นธรรม ทง้ั ทเี่ ราพบเหน็ หรอื ปฏบิ ตั จิ งึ อยใู่ นขอบเขตของวฒั นธรรมสป่ี ระเภทขา้ งตน้ แตบ่ างทเี ราอาจสงสยั วา่ ทำ� ไม วัฒนธรรมของคนบางกลุ่มจึงไม่เหมอื นเรา น่นั ก็เพราะ วฒั นธรรมเปน็ เอกลักษณ์ของแตล่ ะพน้ื ที่ ซ่ึงมคี วามแตกตา่ งกัน ทง้ั ใน ดา้ นภมู ศิ าสตร์ ศาสนา วิถกี ารดำ� เนนิ ชีวิต ทำ� ให้บางพ้นื ทีม่ รี ปู แบบของวัฒนธรรมไม่เหมือนทว่ั ไป สามารถแบ่งออกเปน็ 2 รปู แบบ คือ 1. วัฒนธรรมหลกั คอื วฒั นธรรมของคนสว่ นใหญ่ เช่น การกินข้าวเป็นอาหารหลกั 2. วฒั นธรรมยอ่ ย คอื วัฒนธรรมของคนส่วนนอ้ ย เชน่ การกนิ มังสวิรตั ิ วฒั นธรรมมคี วามสำ� คญั อยา่ งมากกบั มนษุ ย์ เพราะชว่ ยใหม้ นษุ ยส์ ามารถปรบั ตวั เขา้ กบั สง่ิ แวดลอ้ มในสงั คม เปน็ เสมอื น เครื่องมือในการจัดระเบียบสังคมให้กับมนุษย์ ท�ำให้เกิดความเจริญในสังคม สร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ช่วยพัฒนา บคุ ลิกภาพ ช่วยแกป้ ญั หาและสนองความตอ้ งการของมนษุ ยใ์ นด้านต่างๆ และแสดงถึงเอกลักษณท์ างสังคม 34 ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya

สงั คมและวัฒนธรรม “สงั คม” กบั “วฒั นธรรม” มีความหมายตา่ งกัน เพราะสงั คมคือกลุ่มคน แตว่ ฒั นธรรมคอื วิถีชวี ิต สังคมและ วัฒนธรรมเปน็ ของค่กู นั เกิดขึน้ และววิ ฒั นาการไปดว้ ยกัน สงั คมจะอยู่ไมไ่ ด้ ถา้ ไมม่ วี ฒั นธรรม โครงสรา้ งทางสงั คม เมื่อมนุษย์อยู่รวมกันเป็นสังคมแล้ว ก็จ�ำเป็นท่ีจะต้องมีโครงสร้างทางสังคมเพ่ือช่วยให้สังคมน้ันด�ำรงอยู่ได้ เพราะ โครงสรา้ งทางสังคม คอื การท่ีกลมุ่ คนทีม่ ีส่งิ ยดึ เหนยี่ ว มีแบบแผน มกี ฎเกณฑ์ และระเบียบท่ีเป็นแนวปฏิบัติร่วมกัน จนเกดิ ความผกู พันเปน็ อนั หนง่ึ อนั เดยี วกนั ดงั นนั้ โครงสร้างทางสงั คม คอื ระบบความสมั พันธ์ของคนในสังคม น่ันเอง โครงสรา้ งทางสงั คมตอ้ งมคี นจำ� นวนหนง่ึ ทต่ี ดิ ตอ่ ระหวา่ งกนั หรอื ทเ่ี รยี กวา่ การกระทำ� ระหวา่ งกนั ทางสงั คม มรี ะเบยี บ แบบแผนทที่ ุกคนยดึ ปฏบิ ัติร่วมกนั มเี ป้าหมายหรือวัตถุประสงคเ์ หมอื นกนั และทีก่ ลา่ วมาทั้งหมดนนั้ สามารถเปลีย่ นแปลงได้ องค์ประกอบของโครงสร้างทางสงั คม 1. กลุม่ คน คือ กล่มุ ของคนตั้งแต่ 2 คนข้นึ ไปทม่ี ลี กั ษณะบางอย่างรว่ มกนั มีความร้สู กึ เป็นพวกเดียวกนั โดยกลุ่มคน จะต้องมีการกระท�ำระหว่างกัน ไม่ว่าจะเห็นด้วยหรือขัดแย้งก็ตาม มีบรรทัดฐานร่วมกันในการควบคุมพฤติกรรม และมี วัตถุประสงคเ์ ดยี วกนั รปู แบบของกลมุ่ คนในสงั คม แบ่งออกเปน็ 2 รปู แบบ คือ 1.1 กลุ่มคนแบบปฐมภูมิ มีลักษณะเป็นกลุ่มคนขนาดเล็ก แต่มีความใกล้ชิดสนิทสนมกัน เช่น ครอบครัว เพอื่ นสนิท กลมุ่ คนแบบนี้จะมกี ารช่วยเหลอื เกือ้ กลู กนั อยา่ งมาก ทงั้ ในทางทด่ี ีและไม่ดี 1.2 กลุ่มคนแบบทุติยภูมิ มีลักษณะเป็นกลุ่มคนขนาดใหญ่ เป็นทางการ และไม่ค่อยมีความสัมพันธ์กันเป็น ส่วนตัว แต่มคี วามยุติธรรมและประสทิ ธภิ าพการทำ� งาน เชน่ พนกั งานบรษิ ทั เปน็ ต้น 2. สถาบนั ทางสังคม คอื แบบแผนการปฏบิ ตั อิ ยา่ งเปน็ ระบบ เพือ่ ช่วยในการด�ำเนินกจิ กรรมของมนุษย์ มลี ักษณะเป็น กลุม่ คนท่ีมหี นา้ ทีห่ รอื เปน็ สิ่งท่จี ะต้องท�ำใหไ้ ด้ จงึ จัดเปน็ สถาบันทางสังคม เพ่ือใหม้ แี นวทางในการปฏิบตั ริ ่วมกนั รวมถงึ การมี สญั ลกั ษณ์และค่านิยมในการศรัทธา เช่น สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบนั ศาสนา สถาบันการเมอื งการปกครอง สถาบนั เศรษฐกิจ สถาบนั นันทนาการ และสถาบันสือ่ สารมวลชน เปน็ ต้น สถาบันครอบครวั เปน็ สถาบนั ของกลมุ่ คนท่ปี ระกอบดว้ ย บิดา มารดา บุตร ญาตพิ น่ี อ้ ง คู่สมรส หรือบุตรบุญธรรม มหี น้าท่ีในการผลิตสมาชิกใหม่ให้กบั สงั คม เล้ยี งดใู ห้มีชวี ิตรอด และถ่ายทอดวฒั นธรรมให้สมาชิกใหม่ สถาบนั ครอบครัวเปน็ สถาบนั ทเ่ี กา่ แกท่ สี่ ดุ และเปน็ พนื้ ฐานของสถาบันอ่ืน เนอ่ื งจากปรากฏใหเ้ ห็นได้ในทุกสงั คม ท�ำใหส้ ถาบนั ครอบครวั เป็นสถาบนั สากล ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 35

การจัดระเบยี บทางสังคม เมอ่ื มนษุ ยอ์ ยรู่ วมกนั เปน็ กลมุ่ ใหญ่ มกี ารตดิ ตอ่ สมั พนั ธร์ ะหวา่ งกนั ตลอดเวลา และมคี วามตอ้ งการทไี่ มส่ น้ิ สดุ ทำ� ใหต้ อ้ ง มกี ารจดั ระเบียบทางสงั คม การจดั ระเบียบทางสังคม คอื กระบวนการควบคมุ ใหส้ มาชกิ ในสงั คม ท�ำตามระเบยี บขอ้ ตกลงรว่ มกนั เพือ่ ใหส้ ังคม สงบสุข เชน่ บรรทัดฐานทางสังคม สถานภาพ บทบาท เป็นต้น บรรทัดฐานทางสังคม บรรทดั ฐานทางสงั คม คอื ระเบยี บแบบแผนทส่ี งั คมวางไว้ เพอ่ื ใหส้ มาชกิ ยดึ ถอื ปฏบิ ตั ิ ซง่ึ สมาชกิ มกั เหน็ ดว้ ยและปฏบิ ตั ิ ตาม อาจมกี ารชกั จงู ใหป้ ฏบิ ตั ดิ ว้ ยรางวลั หรอื ผใู้ ดฝา่ ฝนื จะไดร้ บั บทลงโทษ บรรทดั ฐานทางสงั คมในแตล่ ะพน้ื ทอี่ าจไมเ่ หมอื นกนั บรรทัดฐานทางสังคมประกอบด้วย 3 ลกั ษณะ 1. วถิ ปี ระชา เก่ยี วกบั เรือ่ งของขนบธรรมเนียม และมารยาท เช่น ใครมาถึงเรอื นชานตอ้ งตอ้ นรับ ผ้ไู มป่ ฏิบัตติ ามอาจ จะถูกนินทาหรอื ดูถกู เนอ่ื งจากเป็นการกระทำ� ทีไ่ มร่ นุ แรงมากนกั 2. จารตี เกยี่ วกบั เร่อื งของศลี ธรรม จรรยาบรรณ เชน่ ผชู้ ายไปฉดุ ผูห้ ญงิ ผู้ไมป่ ฏิบัตติ ามจะถูกประชาทัณฑ์หรอื ขบั ไล่ เน่อื งจากเป็นการกระทำ� ทีร่ นุ แรงและขัดตอ่ หลกั ของศาสนา 3. กฎหมาย เก่ียวกบั เรอ่ื งระเบียบขอ้ บังคับท่กี ฎหมายได้บญั ญตั ิไว้ เชน่ หา้ มตดั ไม้ท�ำลายป่า ผฝู้ า่ ฝืนจะถูกด�ำเนนิ คดี ตามกฎหมาย บทลงโทษจะเป็นไปตามท่ีกฎหมายบญั ญัติไว้ วิถีประชาและจารีตเป็นบรรทัดฐานทางสังคมท่ีเปล่ียนแปลงได้ช้า ต่างกับกฎหมายซ่ึงเป็นบรรทัดฐานทางสังคมที่ เปลยี่ นแปลงได้เร็ว สถานภาพทางสงั คมและบทบาททางสงั คม สถานภาพทางสงั คม คอื ฐานะหรอื ต�ำแหนง่ ทีบ่ ุคคลไดร้ บั จากการเปน็ สมาชิกในสงั คม แบง่ ไดเ้ ป็น 2 ลกั ษณะ 1. สถานภาพโดยก�ำเนิด เชน่ เพศ เชอ้ื ชาติ ถน่ิ ก�ำเนดิ บุตร หลาน นอ้ งชาย เป็นต้น 2. สถานภาพโดยการกระท�ำของบุคคล เช่น อาชพี การศึกษา บิดา สามี เปน็ ตน้ บทบาททางสงั คม คือ การปฏิบัตติ นตามสทิ ธิ หน้าที่ ตามสถานภาพของตน โดยบทบาทจะช่วยให้ทราบว่าเราควรทำ� อะไรในสังคม บทบาทอาจแตกต่างกันไปตามสังคมหนึ่งๆ บทบาทจะแสดงฝ่ายเดียวไม่ได้ บทบาททางสังคมบางอย่างมักมี ปญั หาท่ีตามมา เชน่ บคุ ลกิ ภาพไม่เหมาะสมกบั บทบาท การละเมิดบทบาท การกระท�ำทีแ่ ตกตา่ งจากบทบาทตามปกติ การมี แต่สถานภาพแต่ไม่มีบทบาท บุคคลหนึ่งจะต้องมีอย่างน้อยหนึ่งสถานภาพ และบุคคลหน่ึงอาจมีมากกว่าหน่ึงสถานภาพก็ได้ แต่บุคคลคนเดียวอยู่ คนเดยี วมสี ถานภาพทางสงั คมไมไ่ ด้ และสถานภาพอยา่ งอายเุ ปน็ สถานภาพทตี่ อ่ เนอ่ื ง ซง่ึ สถานภาพจะบง่ บอกถงึ บทบาทเสมอ แตบ่ างสถานการณอ์ าจมบี ทบาทแตไ่ มม่ สี ถานภาพกไ็ ด้ การมหี ลายสถานภาพกอ่ ใหเ้ กดิ หลายบทบาท และอาจกอ่ ใหเ้ กดิ บทบาท ทข่ี ดั แย้งกนั ได้ สถานภาพทางสงั คมและบทบาททางสงั คม ชว่ ยทำ� ใหส้ มาชกิ ในสงั คมปฏบิ ตั ติ วั ไดเ้ หมาะสม เมอื่ ตอ้ งตดิ ตอ่ สมั พนั ธก์ บั ผอู้ นื่ ก�ำหนดหน้าทีค่ วามรบั ผดิ ชอบผา่ นสถานภาพของตน ทำ� ใหส้ งั คมเกดิ ความเป็นระเบียบ 36 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

ค่านิยม คา่ นยิ ม คือ สงิ่ ทกี่ ลุ่มบุคคลยดึ ถอื เปน็ แนวทางในการตัดสินใจและกำ� หนดการกระท�ำของตน โดยค่านยิ มมกั เป็นความ คิดที่กอ่ ใหเ้ กิดการกระท�ำตามมา จะเปน็ สิ่งทด่ี หี รือไมด่ กี ็ได้ แต่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ คา่ นิยมมกั จะเป็นตัวก�ำหนดพฤตกิ รรม ในสงั คม และเปน็ เครือ่ งมอื หรือวธิ ีการในการพจิ ารณาตัดสนิ ใจ การขัดเกลาทางสงั คม คอื การถ่ายทอดวัฒนธรรมจากรุน่ ส่รู ุ่น โดยแบ่งออกเปน็ 2 ลกั ษณะ 1. การขัดเกลาทางตรง จะเปน็ การบอกหรือสอน เช่น พ่อแม่สอนลกู เรอ่ื งมารยาท 2. การขดั เกลาทางออ้ ม จะเปน็ การรบั รดู้ ว้ ยตนเองหรือผ่านการละเล่น เชน่ เล่นกบั เพ่ือน สังคมไทย สงั คมไทยมลี กั ษณะเปน็ พหสุ งั คม คอื การมวี ฒั นธรรมทผ่ี สมผสานหลากหลาย สงั คมไทยสมยั โบราณไดร้ บั อทิ ธพิ ลจาก ธรรมชาติและศาสนาเป็นส่วนใหญ่ นับถือพระพุทธศาสนา และยดึ ม่ันในสถาบนั พระมหากษตั ริย์ แต่ในปัจจุบนั น้ี สังคมไทยได้ รับอทิ ธพิ ลจากต่างชาติเปน็ อยา่ งมาก ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศประกอบอาชพี เกษตรกรรม การศึกษาค่อนข้างต�ำ่ และ อาศยั อยู่ในชนบท มกี ารรวมความเจรญิ และอำ� นาจไว้ทีศ่ ูนย์กลาง สังคมไทยเปน็ สงั คมระบบอปุ ถมั ภ์ มีโครงสรา้ งแบบหลวมๆ เปลย่ี นแปลงรวดเร็วเพราะอทิ ธพิ ลของทุนนิยมและกระแสของโลกาภวิ ัตน์ สังคมไทยมคี า่ นยิ มทร่ี กั สงบ รักอิสระเสรี มีความกตัญญู ขีเ้ กรงใจ มักนอ้ ย รู้จักเคารพผอู้ าวโุ ส มคี วามประนปี ระนอม เอ้อื เฟอ้ื เผือ่ แผ่ ชอบความสนุกสนาน และใหญโ่ ตโอ่อา่ สงั คมเมอื งจะมลี กั ษณะเปน็ ครอบครัวเดยี่ ว มเี พียงพอ่ แม่ และลกู มกี ารประกอบอาชีพทหี่ ลากหลาย มคี วามสมั พันธ์ แบบเปน็ รปู นยั เปน็ ทางการ มลี กั ษณะชมุ ชนขนาดใหญ่ ประชากรหนาแนน่ และหลากหลาย มคี วามแตกตา่ งทางรายไดค้ อ่ นขา้ งสงู มวี ัฒนธรรมหลากหลาย พรอ้ มรบั การเปล่ียนแปลงทางวฒั นธรรม สงั คมชนบทจะมลี กั ษณะเปน็ ครอบครวั ขยายอยรู่ วมกบั ญาตพิ นี่ อ้ ง สว่ นใหญป่ ระกอบอาชพี เกษตรกรรม มคี วามสมั พนั ธ์ แบบเป็นอรูปนยั ไมเ่ ปน็ ทางการ ใกลช้ ดิ สนิทสนมกัน มีลักษณะเปน็ ชุมชนขนาดเล็ก ประชากรเบาบางและไมห่ ลากหลายมากมี รายได้ใกล้เคยี งกนั และยึดมั่นในวัฒนธรรมเดมิ การเปลย่ี นแปลงของสังคมไทย การเปลย่ี นแปลงทางสงั คม คอื การเปลยี่ นแปลงระบบความสมั พนั ธข์ องคนในสงั คมทสี่ ง่ ผลตอ่ โครงสรา้ งและสถาบนั ทางสงั คม สว่ นการเปล่ียนแปลงทางวฒั นธรรม คอื การเปลย่ี นแปลงทางด้านความคดิ ครอบครวั จะมีขนาดเลก็ ลง ความสมั พันธ์จะเปน็ ทางการมากข้ึนและเริ่มหา่ งเหินกนั ครอบครวั มักจะขาดความอบอุ่น ผู้หญิงจะเข้ามามสี ิทธิในครอบครัวเพมิ่ ขึ้น เศรษฐกจิ เปน็ ธรุ กจิ มากขน้ึ มกี ารหนั มาใชภ้ มู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ เพมิ่ ขนึ้ เนน้ โรงงานอตุ สาหกรรมขนาดกลางและขนาดเลก็ (SME) ใชเ้ ครอื่ งจกั รและคอมพวิ เตอรม์ ากขนึ้ เนน้ การทำ� อาชพี อสิ ระ ความเปน็ อยดู่ ขี นึ้ เพราะการผลติ และเศรษฐกจิ ทก่ี า้ วหนา้ สง่ ผลใหเ้ กดิ มลพิษและชุมชนแออดั มากขน้ึ ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 37

ปญั หาสงั คม ปญั หาสงั คม คอื ภาวะทเ่ี กดิ ขน้ึ ในสงั คม โดยสมาชกิ สว่ นใหญเ่ หน็ วา่ เปน็ ปญั หาทจ่ี ะตอ้ งแกไ้ ข เกยี่ วขอ้ งกบั ความตอ้ งการ ข้นั มลู ฐานของประชาชน กระทบกับคนส่วนใหญ่ สาเหตุของปัญหาสังคม เช่น เกิดจากการเปล่ียนแปลงทางสังคมจากสังคมชนบทเป็นสังคมเมือง ระเบียบแบบแผน เก่าๆ ไม่สอดคล้องกับความคิดทเ่ี ปลย่ี นไปของคนในสงั คมปัจจุบนั บคุ ลิกภาพสว่ นบคุ คลทช่ี อบความรุนแรงหรือวกิ ลจริต ปญั หาสงั คมทส่ี ำ� คญั ของไทย คอื ความยากจน ความไมเ่ ทา่ เทยี มกนั ของการกระจายรายได้ จนนำ� ไปสปู่ ญั หายาเสพตดิ การกอ่ อาชญากรรม ไปจนถึง การคอร์รัปชน่ั และปัญหาต่างๆ น้องๆ สามารถศกึ ษาเพ่มิ เติมไดท้ ่ี Tag : สอนศาสตร์ สงั คมศกึ ษา สังคม หน้าทีพ่ ลเมอื ง วัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญา มารยาททางสังคม โครงสร้างทางสังคม การ ขดั เกลาทางสังคม สถาบนั ทางสังคม • สอนศาสตร์ สงั คมศึกษา ม.ปลาย : สงั คมกลมดิก๊ http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch2-1 • 15 : งดั ข้อสอบหนา้ ท่พี ลเมือง http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch2-2 • สอนศาสตร์ สังคมศึกษา ม.ปลาย : งดั ขอ้ สอบหนา้ ท่ีพลเมอื ง http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch2-3 • สังคม วฒั นธรรม และภูมปิ ญั ญา ตอน 1 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch2-4 • สงั คม วฒั นธรรม และภูมิปัญญา ตอน 2 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch2-5 38 ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

• สังคม วฒั นธรรม และภมู ปิ ัญญา ตอน 3 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch2-6 • สังคม วัฒนธรรม และภมู ปิ ัญญา ตอน 4 http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch2-7 • วฒั นธรรมไทยแลการอนุรกั ษ์วัฒนธรรมไทย http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch2-8 • การสบื ทอดและเปลยี่ นแปลงของวฒั นธรรมไทย http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch2-9 • เร่ืองนา่ รเู้ กยี่ วกับมารยาททางสังคม http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch2-10 • การขัดเกลาทางสังคม http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch2-11 • การจดั ระเบียบทางสงั คม http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch2-12 • สถาบนั ทางสังคม http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch2-13 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 39

รฐั ศาสตร์ รฐั คือ ชมุ ชนทางการเมือง เปน็ ประเทศซงึ่ มีเอกราช และมอี งค์ประกอบของรฐั ครบถว้ น องค์ประกอบของรฐั 1. ดินแดน คอื อาณาเขตของรัฐ อนั ประกอบไปด้วย แผน่ ดิน ผนื น้�ำ และนา่ นฟ้า 2. ประชากร คือ พลเรือนทมี่ สี ัญชาตเิ ดยี วกบั รฐั มีสทิ ธิและหนา้ ท่ีตามกฎหมาย 3. รฐั บาล คือ ผู้ใช้อ�ำนาจในการบริหารประเทศ 4. อำ� นาจอธปิ ไตย คอื อำ� นาจสงู สดุ ในการปกครอง ถอื เปน็ สง่ิ ทส่ี �ำคญั ทีส่ ดุ และแสดงถึงความเป็นเอกราช รูปแบบของรัฐ 1. รฐั เด่ียว คือ รฐั ทม่ี รี ฐั บาลชดุ เดยี วในการบริหารปกครองประเทศทั้งประเทศ ไดแ้ ก่ ไทย องั กฤษ ญีป่ ุ่น สงิ คโปร์ ฝรัง่ เศส เปน็ ตน้ 2. รัฐรวม คือ รัฐที่ประกอบดว้ ย รฐั บาลกลาง และรฐั บาลท้องถ่ินบรหิ ารปกครองในมลรฐั ได้แก่ สหรฐั อเมริกา บราซิล มาเลเซยี สวิตเซอรแ์ ลนด์ แคนาดา เป็นตน้ หลกั การปกครอง 1. หลักการรวมอ�ำนาจ คอื หลักการที่นำ� มาใชก้ บั การปกครองสว่ นกลาง ทำ� หนา้ ทบี่ รหิ ารการปกครองทั้งหมดของประเทศ ท�ำใหเ้ กดิ ความเป็นเอกภาพ เสยี ค่าใช้จ่ายนอ้ ย และวางแผนจัดการทรัพยากรและภาษีทำ� ได้ง่าย 2. หลักการแบง่ อ�ำนาจ คอื หลกั การท่นี ำ� มาใชก้ ับการปกครองสว่ นภูมภิ าค โดยการปกครองสว่ นกลางจะแบง่ อำ� นาจมาที่ ส่วนภูมภิ าคในพนื้ ทีต่ ่างๆ เพอ่ื ช่วยในการบริหารประเทศ และได้รับบรกิ ารของรัฐท่ีเรว็ ขน้ึ 3. หลักการกระจายอ�ำนาจ คอื หลักการทีน่ ำ� มาใชก้ ับการปกครองสว่ นภมู ิภาค โดยทีก่ ารปกครองส่วนกลางจะกระจายอ�ำนาจ มาใหท้ อ้ งถนิ่ มอี �ำนาจในการบรหิ ารปกครองท้องถิ่นของตนไดอ้ ยา่ งท่ัวถึง ประเภทของการปกครอง 1. ปกครองโดยคนคนเดียว เช่น สมบรู ณาญาสิทธิราชย์ เผด็จการ ฟาสซสิ ต์ 2. ปกครองโดยคนกลุ่มนอ้ ย เชน่ อภชิ นาธปิ ไตย คณาธิปไตย คอมมวิ นสิ ต์ 3. ปกครองโดยคนกลุ่มมาก เชน่ ประชาธปิ ไตย 40 ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya

ระบอบประชาธปิ ไตย ระบอบประชาธปิ ไตย คอื การปกครองของประชาชน โดยประชาชน และเพ่ือประชาชน ตามค�ำกลา่ วของ อบั ราฮมั ลินคอร์น อดีตประธานาธบิ ดสี หรฐั อเมริกา ระบอบประชาธปิ ไตยเชอ่ื ว่า 1. เชื่อว่ามนษุ ย์มีสติปัญญา และเหตผุ ล 2. เชอ่ื ในหลกั เสมอภาค คือ ทุกคนมีศกั ดศ์ิ รคี วามเปน็ มนุษยเ์ ทา่ เทยี มกัน 3. เชอื่ ในหลกั เสรีภาพ คือ อิสระทีจ่ ะทำ� อะไรกไ็ ด้ แต่ต้องถกู กฎหมายและศีลธรรม 4. เชอ่ื ในหลกั นติ ิธรรม คือ กฎหมายเป็นหลักในการปกครอง เพื่อคุ้มครองประชาชน 5. หวั ใจของประชาธปิ ไตย คอื การปกครองโดยประชาชน 6. ทำ� ตามเสียงข้างมาก แตไ่ มล่ ะเมิดเสียงขา้ งน้อย 7. ประชาธปิ ไตยมกั จะมีรฐั ธรรมนญู พรรคการเมือง การเลอื กต้งั 8. ประชาธิปไตยจะไดผ้ ล ถา้ คนมีการศึกษาและค่านยิ มที่ดี 9. ประชาธิปไตยมขี ้อดีทใี่ หเ้ สรีภาพมาก และใชเ้ หตุผล 10. แตม่ ขี ้อเสยี ทค่ี ่าใชจ้ ่ายสูง และตอ้ งใช้เวลาในการตดั สนิ ใจนาน การแบง่ ประชาธิปไตยจากประมุข 1. พระมหากษัตรยิ ์เปน็ ประมขุ เช่น ไทย ญ่ปี นุ่ องั กฤษ สเปน มาเลเซีย สวเี ดน 2. ประธานาธบิ ดีเป็นประมุข เชน่ สหรัฐอเมรกิ า รัสเซยี ฝรง่ั เศส พมา่ ลาว การแบ่งประชาธปิ ไตยจากการมสี ่วนร่วม 1. ประชาธปิ ไตยทางตรง คือ การที่ประชาชนออกเสยี งเรื่องนั้นโดยตรง เช่น ลงช่ือเสนอรา่ งกฎหมาย ลงชอ่ื ถอดถอนบคุ คล ลงชื่อแกไ้ ขรัฐธรรมนูญ หรือ ทำ� ประชามติ 2. ประชาธิปไตยทางอ้อม คอื การท่ปี ระชาชนเลือกผูแ้ ทนขนึ้ มา เพ่ือไปออกเสียงแทน เช่น การเป็นสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร ท่ปี ระชาชนเลือก ท�ำหนา้ ท่ีแทนประชาชนในการเลือกบคุ คลขน้ึ ดำ� รงต�ำแหน่งนายกรฐั มนตรี รูปแบบการปกครองประชาธิปไตย ระบบรัฐสภา 1. ฝ่ายนิติบัญญัติ มีหน้าท่อี อกกฎหมาย และควบคุมรฐั บาล การควบคมุ รัฐบาลอาจท�ำได้โดยใหร้ ฐั บาลแถลงนโยบาย ก่อนดำ� รงต�ำแหน่ง การตงั้ กระทถู้ าม การขอเปิดอภปิ รายทว่ั ไป เพอ่ื ลงมติไม่ไว้วางใจ 2. ฝ่ายบริหาร บริหารงานภายใต้ความไว้วางใจจากรัฐสภา และสามารถยุบสภาได้ เพ่ือเลือกต้ังใหม่ ระบบนี้จึงเป็น ระบบทอ่ี �ำนาจอธปิ ไตยถ่วงดลุ กนั ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 41

ระบบประธานาธบิ ดี ระบบนใี้ หป้ ระชาชนเลอื กประธานาธบิ ดี และสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร ระบบนจ้ี งึ ไมม่ กี ารอภปิ รายเพอ่ื ลงมตไิ มไ่ วว้ างใจ หรอื ยุบสภา ฝ่ายนิตบิ ัญญัติและฝ่ายบรหิ ารของระบบจึงเป็นอิสระจากกัน ระบบกง่ึ รัฐสภาก่งึ ประธานาธบิ ดี ระบบนมี้ ที งั้ ประธานาธบิ ดี และนายกรฐั มนตรี ประธานาธบิ ดเี ปน็ หวั หนา้ รฐั บาล เลอื กคณะรฐั มนตรี และมสี ทิ ธยิ บุ สภา ได้ แต่มนี ายกรัฐมนตรคี อยรบั ผิดชอบตอ่ รฐั สภาแทน ระบอบเผดจ็ การ เป็นระบอบท่เี น้นการใช้อ�ำนาจ โดยกลุ่มผนู้ �ำ ประชาชนตอ้ งเช่อื ฟังและปฏิบัตติ ามคำ� สง่ั ของรัฐ เผด็จการอ�ำนาจนยิ ม จะควบคุมเฉพาะกจิ การด้านการเมืองเทา่ นน้ั เผด็จการเบ็ดเสร็จนยิ ม จะควบคุมประชาชนทกุ ดา้ น และเน้นทำ� ลายระบบนายทนุ เศรษฐกิจกบั การเมอื ง ระบบทนุ นยิ ม เป็นระบบทีร่ ัฐจะไม่เขา้ มายุ่งกับระบบ ให้ระบบเปน็ ไปได้อย่างเสรี ระบบสงั คมนยิ ม เปน็ ระบบทีร่ ฐั จะเข้ามาจดั การกจิ การทั้งหมด การเมอื งการปกครองของไทยในปจั จบุ นั รปู แบบรฐั เป็นรฐั เดยี่ ว เพราะมีรฐั บาลเดยี วในการบรหิ ารปกครองประเทศ ประมขุ รฐั เปน็ พระมหากษตั รยิ ์ คอื พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช ทรงเปน็ ผใู้ ชอ้ ำ� นาจอธปิ ไตย ทรงเปน็ จอมทพั ไทย ทรงเป็นที่เคารพสักการะ ผูใ้ ดจะละเมิดไมไ่ ด้ ทรงอยูเ่ หนอื การเมือง โดยมีการก�ำหนดตำ� แหน่งผู้รบั สนอง พระบรมราชโองการ เพอ่ื รบั ผดิ ชอบแทน ทรงเปน็ กลางทางการเมอื ง ทรงแตง่ ตงั้ ผสู้ ำ� เรจ็ ราชการแผน่ ดนิ และแกก้ ฎมณเฑยี รบาล วา่ ด้วยการสบื ราชสนั ตตวิ งศ์ ทรงยบั ยัง้ กฎหมายได้ ทรงแตง่ ต้ังคณะองคมนตรี และขา้ ในพระองค์ตามพระราชอธั ยาศัย ทรง เป็นองค์อปุ ถมั ภท์ กุ ศาสนา ทรงเป็นพุทธมามกะ และทรงเปน็ ศูนย์รวมจิตใจของประชาชน รฐั สภา ประกอบดว้ ยสภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา สภาผแู้ ทนราษฎร จำ� นวน 500 คน มาจากการเลือกตง้ั แบบแบ่งเขต 375 คน แบบบัญชีรายชอื่ 125 คน มีสญั ชาตไิ ทยโดยการเกิด อายุ อย่างนอ้ ย 25 ปี ต้องสงั กัดพรรคเดยี วตดิ ต่อกันอยา่ งน้อย 90 วัน มีวาระการดำ� รงตำ� แหน่ง 4 ปี การศกึ ษาขัน้ ต่�ำไมก่ ำ� หนด มีหนา้ ท่ี เสนอและพจิ ารณากฎหมาย คัดเลือกนายกรัฐมนตรี และรับรองรัฐบาล ควบคมุ รฐั บาล โดยมีสิทธเิ ปิดอภิปรายและ ลงมติ ไม่ไว้วางใจ ประธานสภาผแู้ ทนราษฎร เป็นประธานรฐั สภา โดยตำ� แหนง่ 42 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya

วฒุ ิสภา จ�ำนวน 150 คน มาจากการเลือกตงั้ จงั หวดั ละ 1 คน ส่วนทเ่ี หลอื มาจากการสรรหาใหค้ รบตามจำ� นวน มีสัญชาตไิ ทย โดยการเกิด อายุอย่างน้อย 40 ปี ไม่ต้องสังกัดพรรคการเมือง มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่ง 6 ปี และห้ามเป็นติดต่อกันเกิน 1 วาระ การศกึ ษาขนั้ ตำ�่ ปริญญาตรี มีหนา้ ท่ีกล่นั กรองกฎหมาย แต่งตั้งบุคคลดำ� รงต�ำแหน่งส�ำคญั ๆ เชน่ ศาล กกต. ปปช. มีหนา้ ทีถ่ อดถอนผู้ด�ำรงต�ำแหนง่ ทางการเมอื งระดับสงู เช่น นายกรฐั มนตรี รัฐมนตรี สมาชกิ สภา กกต. ปปช. สมาชิกวฒุ สิ ภา สามารถขอเปดิ อภปิ รายทวั่ ไปเพอื่ ใหร้ ฐั มนตรชี แี้ จงขอ้ เทจ็ จรงิ โดยไมม่ กี ารลงมตไิ มไ่ วว้ างใจ ประธานวฒุ สิ ภา เปน็ รองประธาน รฐั สภา โดยตำ� แหน่ง สมาชกิ รฐั สภาเป็นผมู้ ีเอกสิทธิ์ ไม่สามารถดำ� เนนิ คดีไดใ้ นระหวา่ งสมยั ประชมุ สภา เรอ่ื งที่รัฐสภาตอ้ งประชมุ ร่วมกนั การสืบราชสมบัติ การแต่งตั้งผู้ส�ำเร็จราชการแทนพระองค์ การแก้ไขกฎมณเฑียรบาล การแก้ไขรัฐธรรมนูญ การ เปิด – ปดิ สมัยการประชมุ สภา การประกาศสงคราม และการทำ� สนธิสัญญากบั ต่างประเทศ คณะรัฐมนตรี ประกอบดว้ ยนายกรัฐมนตรี 1 คน และรฐั มนตรีไมเ่ กิน 35 คน นายกรัฐมนตรีตอ้ งมาจากสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร และหา้ มดำ� รงตำ� แหนง่ ตดิ ต่อกันเกนิ 8 ปี มีอำ� นาจหน้าที่ บริหาร งานแผน่ ดนิ โดย เสนอรา่ งพระราชบญั ญตั ิ ตราพระราชกำ� หนด พระราชกฤษฎกี า กฎกระทรวง แตง่ ตง้ั หรอื ถอดถอนขา้ ราชการ ฝา่ ยทหาร และฝา่ ยพลเรือน ประกาศกฎอยั การศึก ประกาศสงคราม ทำ� หนังสอื สัญญากบั ตา่ งประเทศ ระเบียบการบรหิ ารราชการแผ่นดิน การปกครองส่วนกลาง ได้แก่ กระทรวง ทบวง กรม การปกครองสว่ นภูมภิ าค ได้แก่ จงั หวดั อำ� เภอ ต�ำบล หม่บู า้ น การปกครองสว่ นท้องถนิ่ ได้แก่ องคก์ ารบริหารสว่ นจังหวดั เทศบาล องค์การบรหิ ารส่วนตำ� บล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา ศาล การจดั ต้ังศาลต้องตราเป็นพระราชบัญญตั ิ หา้ มจดั ตั้งศาลมาเพ่ือพิจารณาคดีใด คดหี น่ึงโดยเฉพาะ ประเภทของศาล ศาลยุตธิ รรม มี 3 ลำ� ดับ คอื ศาลชน้ั ตน้ ศาลอุทธรณ์ และศาลฎกี า ทำ� หนา้ ท่ีตัดสินคดีทว่ั ไป ท้งั ทางแพง่ และอาญา ศาลปกครอง แบง่ ออกเปน็ ศาลปกครองชน้ั ตน้ กบั ศาลปกครองสงู สดุ พจิ ารณาคดรี ะหวา่ งประชาชน กบั เจา้ หนา้ ทร่ี ฐั ศาลรัฐธรรมนูญ ทำ� หนา้ ท่ีตัดสินว่า รา่ งกฎหมายใดๆ ขดั ต่อรฐั ธรรมนญู หรอื ไม่ ศาลทหาร ทำ� หนา้ ทีต่ ัดสินข้อพิพาทระหวา่ งทหาร ผู้ทีท่ ำ� หนา้ ที่แต่งตง้ั โยกยา้ ย เลือ่ นต�ำแหนง่ เงินเดอื น รวมทงั้ ลงโทษผู้พิพากษา คอื คณะกรรมการตุลาการ ศาลฎกี าแผนกคดีอาญาของผูด้ ำ� รงตำ� แหนง่ ทางการเมือง ตง้ั ข้ึนมาเพอื่ ตดั สินข้าราชการการเมอื งทที่ ุจริต ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 43

องค์กรอิสระ ท�ำหน้าที่คอยตรวจสอบอ�ำนาจรฐั มี 4 องคก์ ร ไดแ้ ก่ 1. คณะกรรมการการเลอื กตั้ง 2. คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 3. คณะกรรมการตรวจเงินแผน่ ดิน 4. ผตู้ รวจการแผ่นดนิ องคก์ รอื่นตามรัฐธรรมนูญ ทำ� หน้าท่คี อยให้คำ� ปรึกษารฐั บาลในเรอื่ งเฉพาะด้าน มี 3 องค์กร ไดแ้ ก่ 1. คณะกรรมการสทิ ธิมนุษยชนแห่งชาติ 2. สภาท่ปี รกึ ษาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ 3. องค์กรอัยการ น้องๆ สามารถศึกษาเพ่ิมเติมไดท้ ่ี Tag : สอนศาสตร์ สังคมศึกษา รัฐศาสตร์ การเมอื ง ระบบประชาธปิ ไตย เผด็จการ การเมอื ง • 05 : สังคมกลมดก๊ิ http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch3-1 • 07 :โอบกอดการเมอื ง http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch3-2 • 08 : โปรดฟงั อกี คร้งั ...ประชาธปิ ไตย http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch3-3 • สอนศาสตร์ สังคมศกึ ษา ม.ปลาย : โอบกอดการเมือง http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch3-4 • ระบอบประชาธิปไตย http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch3-5 44 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

• ความหมายความส�ำคญั ของกฎหมายและการมีส่วนรว่ มของ ประชาชน http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch3-6 • ระบอบเผด็จการ http://www.trueplookpanya.com/book/m6/onet-social/ch3-7 บันทกึ ชว่ ยจ�ำ ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 45

กฎหมาย (Law) กฎหมาย คือ ข้อบังคับหรือกฎเกณฑ์ ท่ีประเทศ (รัฐ) หรือสังคมน้ันๆ ตั้งขึ้นมาเพ่ือคอยควบคุมดูแลพฤติกรรมของ ประชาชน หรอื คนในสังคมให้ปฏิบตั ิตาม เพ่อื ใหส้ งั คมมีความเป็นระเบียบเรียบรอ้ ย หากเรากระทำ� ผดิ กฎหมายก็จะตอ้ งไดร้ ับ การลงโทษตามท่กี ำ� หนดไว้ มีค�ำกล่าวว่า “ที่ใดคือสังคม ที่นั่นต้องมีกฎหมาย” เม่ือผู้คนมาอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม จึงต้องมีการต้ังกฎเกณฑ์ หรือ บรรทัดฐานของสังคมนน้ั ขนึ้ มาเพอ่ื ใหส้ ังคมมีความสงบเรียบรอ้ ย ดงั น้นั กฎหมายจึงเป็นสิ่งที่ท�ำให้สงั คมสงบสขุ และสงั คมจะ มีความสงบสุขไดก้ ต็ ่อเมอื่ กฎหมายนั้นมคี วาม “เปน็ ธรรม” กฎหมายสามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ สองประเภทใหญ่ๆ คอื 1. จารีตประเพณี คอื สง่ิ ท่เี ราไดป้ ฏิบตั หิ รอื ท�ำมาเปน็ เวลานาน จนเหมือนเปน็ กฎของสงั คม โดยไมข่ ัดหรือทำ� ลายความ สงบเรยี บรอ้ ยในสงั คมนน้ั เชน่ ประเพณตี า่ งๆ 2. ตัวบทกฎหมาย คอื กฎหมายทีเ่ ป็นลายลักษณอ์ กั ษร หรอื เปน็ ตวั หนงั สือทถี่ ูกออกโดยผ้มู อี �ำนาจสูงสุดในสงั คมนนั้ ๆ เชน่ กฎหมายรฐั ธรรมนญู ระบบกฎหมาย นกั กฎหมายได้แบง่ กฎหมายออกเป็นสองระบบ คอื 1. ระบบจารตี ประเพณี คอื กฎหมายทไี่ มเ่ ปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร หรอื ไมม่ บี นั ทกึ เปน็ ตวั หนงั สอื วธิ กี ารตดั สนิ จะขน้ึ อยกู่ บั การใชเ้ หตผุ ลของนักกฎหมาย และจารตี ประเพณี รวมไปถงึ คำ� ตดั สนิ ของศาลเป็นหลกั เช่น ถา้ ในอดีตเคยมคี ดลี กั ทรพั ยแ์ ละ ติดคุกเป็นเวลาสองเดอื น เม่อื มคี ดีเกิดข้ึนอกี ก็จะตัดสินคล้ายๆ กนั ซ่งึ จะพบการใช้ระบบกฎหมายลกั ษณะนใี้ นประเทศองั กฤษ และเครือจักรภพอังกฤษ 2. ระบบลายลกั ษณ์อักษร คอื กฎหมายท่ีเป็นลายลักษณอ์ กั ษร หรือมกี ารบนั ทกึ เปน็ ตวั หนงั สือ จัดเปน็ หมวดหม่อู ยา่ ง เรียบรอ้ ย ซง่ึ เปน็ แบบที่นยิ มใชก้ ันท่วั โลก กฎหมายประเภทท่เี รามกั เหน็ กนั ตามร้านหนงั สอื คือกฎหมายประเภทน้ี ลกั ษณะของกฎหมาย กฎเกณฑ์บางอย่างเท่าน้ันถึงจะเป็นกฎหมายได้ ซ่ึงนักกฎหมายได้ตั้งกฎเกณฑ์เล็ก น้อยขึ้นเพ่ือให้กฎหมายเป็นกฎที่ พเิ ศษกวา่ กฎอนื่ ๆ กฎหมายจะต้องมลี ักษณะดงั น้จี งึ จะเปน็ กฎหมายได้ 1. เปน็ กฎหรอื ขอ้ บงั คบั ท่ใี ชไ้ ดท้ ั่วไปในสงั คม คอื สามารถใชไ้ ด้กับทกุ คนไม่มกี ารเลอื กปฏบิ ตั ิ เพราะฉะนน้ั จะไมส่ ามารถ อ้างวา่ กฎหมายนี้ใช้กับเราไม่ไดแ้ ตใ่ ชก้ บั คนอ่ืนไดเ้ วลาทำ� ผิด 2. ตอ้ งบงั คบั ใชต้ ลอดไปจนกวา่ จะมกี ฎหมายอนื่ มายกเลกิ คอื กฎหมายจะไมม่ กี ารหยดุ การใชก้ ลางคนั เดด็ ขาด นอกจาก จะมีการออกกฎหมายอื่นมายกเลกิ แทน 3. ต้องตราขึ้นโดยอ�ำนาจสงู สุดในรฐั ซ่ึงกค็ อื ผู้ทม่ี ีอำ� นาจนติ ิบญั ญัติ 4. ตอ้ งมสี ภาพบังคับ 5. ตอ้ งไมม่ กี ารบงั คบั ยอ้ นหลงั คอื เหตกุ ารณต์ า่ งๆ ทเ่ี กดิ ขนึ้ กอ่ นจะมกี ฎหมายนข้ี น้ึ มาจะไมส่ ามารถถกู นำ� กฎหมายใหม่ นี้มาบังคับใช้ยอ้ นหลงั ได้ หากกฎหมายไม่มีคุณสมบัติเหล่านี้ก็จะไม่สามารถเป็นกฎหมายได้ อาจจะมีฐานะเป็นได้เพียงจารีตประเพณี หรือ บรรทัดฐานในสงั คมแทน 46 ตวิ เขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya

ประเภทของกฎหมาย กฎหมายมมี ากมายหลายขอ้ ดว้ ยกนั เพอื่ ใหง้ า่ ยตอ่ การทำ� ความเขา้ ใจและการนำ� มาใช้ นกั กฎหมายคนเกง่ กไ็ ดจ้ ดั ประเภท ของกฎหมายใหเ้ ป็น 4 ประเภทใหญๆ่ ดังน้ี 1. กฎหมายเอกชน (แพง่ พาณชิ ย)์ – ใช้บังคบั ระหว่างเอกชนกับเอกชน เชน่ บริษัท ก กบั บรษิ ัท ข มีปัญหากนั กต็ อ้ ง ใช้กฎหมายเอกชนในการตัดสนิ 2. กฎหมายอาญา – ใชบ้ งั คบั กบั ผกู้ ระทำ� ความผดิ ทางอาญา เชน่ ถา้ เราไปทำ� รา้ ยรา่ งกายผอู้ นื่ เรากต็ อ้ งถกู ตดั สนิ ดว้ ย กฎหมายอาญา 3. กฎหมายมหาชน – ใช้บังคับกรณีเอกชนกับหน่วยงานของรัฐ เช่น เราไม่พอใจโรงเรียนและฟ้องโรงเรียนซ่ึงเป็น หน่วยงานของรัฐ หรือเรากระทำ� ความผดิ แลว้ โรงเรียนฟอ้ งเรากจ็ ะเปน็ คดีทต่ี ้องใช้กฎหมายมหาชน 4. กฎหมายระหว่างประเทศ – ใช้บังคบั ระหวา่ งประเทศ เชน่ กรณเี ขาพระวหิ าร หรอื เร่อื งดินแดน ผลประโยชน์ตา่ งๆ ของแต่ละประเทศ ล�ำดับชน้ั ของกฎหมาย ถงึ แมว้ ่าเราจะร้วู า่ กฎหมายนนั้ เป็นบรรทดั ฐานของสังคม แต่ก็ไดม้ กี ารแบ่งกฎหมายออกเปน็ ชั้นๆ โดยกฎหมายทอ่ี ยู่ ล�ำดบั ต่ำ� กว่าจะตอ้ งห้ามขดั กบั กฎหมายท่อี ย่ลู ำ� ดบั สูงกวา่ ล�ำดับชั้นของกฎหมาย 1 รัฐธรรมนญู 2 พ.ร.บ. / พ.ร.ก. 3 พ.ร.ฎ. / กฎกระทรวง / ประกาศกระทรวง / ข้อบญั ญัติท้องถิน่ 4 ระเบียบ / ขอ้ บังคบั / มติครม. / ค�ำส่ังทางปกครอง 1. กฎหมายรัฐธรรมนูญ คือ กฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ เป็นเหมือนแม่ของกฎหมายท้ังหมด กฎหมาย ทง้ั หมดจะขดั แย้งกบั รฐั ธรรมนูญไม่ได้ ไมว่ า่ จะในกรณีใดๆ โดยส่วนใหญ่แลว้ กฎหมายรัฐธรรมนูญจะระบถุ งึ • รปู แบบการปกครองของประเทศและอำ� นาจอธปิ ไตยตา่ งๆ เชน่ ประเทศนจ้ี ะใชร้ ะบบใด อำ� นาจอธปิ ไตยอยู่ ทใ่ี คร ใครเป็นผู้มีอำ� นาจในฝ่ายใด • ก�ำหนดความสัมพนั ธ์ระหว่างองคก์ รทางการเมอื ง ว่าแตล่ ะองค์กรมีความสัมพนั ธ์กนั อย่างไร ทำ� หน้าที่ อยา่ งไร ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya 47

• ก�ำหนดสิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ของประชาชนในสงั คมนัน้ ๆ วา่ จะตอ้ งท�ำตวั อย่างไร ทำ� อะไรได้มากน้อย แค่ไหน 2. พระราชบญั ญัติ (พ.ร.บ.) คอื กฎหมายที่พระมหากษัตรยิ ต์ ราขน้ึ โดยคำ� แนะน�ำและยนิ ยอมของรฐั สภา การท่ีจะออก กฎหมายนไ้ี ด้ตอ้ งอาศยั คนสามกลมุ่ • ขัน้ แรก ผู้เสนอ – ได้แก่ คณะรฐั มนตรี หรือ ส.ส. หรือ ประชาชนหน่งึ หมื่นคนเป็นอยา่ งน้อย เป็นผู้ยน่ื เสนอ ว่าต้องการมกี ฎหมายนี้ • ข้ันท่ีสอง ผู้พิจารณา – สภาผู้แทนราษฎร และวฒุ สิ ภา จะทำ� หนา้ ทต่ี รวจสอบและพจิ ารณาขอ้ เสนอท่ถี ูก ย่นื เข้ามา • ข้นั ที่สาม ผู้ตรา – พระมหากษัตริยจ์ ะเป็นผู้ลงนามประกาศใช้กฎหมายนี้ เม่ือมที ัง้ ผเู้ สนอ ผูพ้ ิจารณา และผู้ตรา จงึ จะสามารถออกกฎหมายพระราชบัญญัติข้นึ มาได้ 3. พระราชก�ำหนด (พ.ร.ก.) คือ กฎหมายท่ีพระมหากษตั รยิ ์ตราข้นึ ตามค�ำแนะน�ำของคณะรัฐมนตรี โดยสว่ นใหญจ่ ะ เปน็ กฎหมายท่เี รง่ ดว่ น หรือเกี่ยวกบั ภัยพิบตั ิ และมกั เปน็ กฎหมายทใ่ี ช้กนั ชั่วคราวในเวลาสั้นๆ เท่านัน้ และเหมอื นกับ พ.ร.บ. ท่ี จะตอ้ งมีบุคคลสามกลุม่ ท�ำหนา้ ทอี่ ยู่ในกระบวนการออกกฎหมายน้ี • ผเู้ สนอ – รฐั มนตรี • ผู้พิจารณา – คณะรฐั มนตรี • ผู้ตรา – พระมหากษตั ริยจ์ ะเป็นผ้ลู งนามประกาศใช้ 4. พระราชกฤษฎีกา คือ กฎหมายที่พระมหากษัตริย์ตราข้ึนตามค�ำแนะน�ำของคณะรัฐมนตรี มักจะศักด์ิต่�ำกว่า พระราชกำ� หนด 5. กฎกระทรวง คอื กฎหมายท่อี อกโดยรัฐมนตรี ตามความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีว่าในแตล่ ะกระทรวงจะมกี ฎขอ้ ปฏิบตั อิ ย่างไร ศาล เมอื่ ในสงั คมมกี ฎหมายแลว้ เกดิ วนั หนงึ่ มผี กู้ ระทำ� ผดิ ขน้ึ มาเราจะตดั สนิ ความผดิ นนั้ อยา่ งไร คงจะไมย่ ตุ ธิ รรมเลยถา้ เรา จะตัดสินกฎหมายนั้นเองหรือให้ใครที่ไหนก็ไม่รู้มาท�ำหน้าที่น้ัน ในสังคมจึงต้องมีการตั้งสิ่งที่เรียกว่า ศาล ขึ้น เพ่ือท�ำหน้าที่ พิพากษาตดั สนิ คดคี วามตามกฎหมาย บคุ คลทท่ี ำ� หนา้ ทพ่ี ิจารณาน้นั เราจะเรยี กวา่ ผู้พิพากษา ซึง่ เปน็ ผู้มีความรดู้ า้ นกฎหมาย ขั้นสงู ในปัจจุบนั ประเทศไทยเรามีศาลอยทู่ ัง้ หมด 4 ประเภท คือ • ศาลรัฐธรรมนญู จะประกอบไปดว้ ย ประธาน 1 คน และตุลาการอีก 14 คน ซ่งึ คนทง้ั 15 คนนจ้ี ะท�ำหน้าท่คี วบคมุ ไม่ให้กฎหมายต่างๆ ขัดแยง้ ตอ่ รัฐธรรมนญู เพราะอย่าลมื ว่า รัฐธรรมนูญ คอื กฎหมายสงู สุด ถา้ มกี ฎหมายไหนแยง้ กบั รฐั ธรรมนญู จะทำ� ลายความ เปน็ กฎหมายสงู สดุ และอาจหมายถงึ การทำ� ลายอำ� นาจรัฐดว้ ย จงึ ตอ้ งมหี นา้ ทค่ี อยตรวจสอบดแู ล และยงั ตดั สนิ คดคี วามชขี้ าด เกี่ยวกับอ�ำนาจหน้าที่ต่างๆ รวมถึงตัดสินผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองท่ีกระท�ำการทุจริต และวินิจฉัยสภาพของ ส.ส. หรือ ส.ว. ว่านกั การเมอื งคนน้ันยงั มคี วามเหมาะสมจะเป็น สมาชกิ สภา ตอ่ ไปหรือไม่ นับได้วา่ ศาลรฐั ธรรมนญู เป็นศาลสูงสดุ ของ ประเทศ 48 ติวเขม้ O-NET Get 100 by TruePlookpanya

• ศาลยุติธรรม คอื ศาลทใ่ี ชต้ ดั สนิ คดคี วามทวั่ ๆ ไป ยกเวน้ คดที กี่ ฎหมายระบวุ า่ อยใู่ นอำ� นาจของศาลอนื่ ๆ ศาลประเภทนมี้ กี ารแบง่ เปน็ สามชั้น คอื ศาลชน้ั ต้น ศาลอุทธรณ์ และ ศาลฎกี า ซงึ่ หากเรารูส้ ึกวา่ คำ� ตดั สินของศาลน้นั ไมเ่ ป็นธรรมก็จะสามารถยืนให้ศาล ในชั้นต่อไปตัดสินได้ แตจ่ ะถือว่าคำ� ตดั สินของศาลฎีกาเปน็ ค�ำชข้ี าด ไมส่ ามารถเรียกร้องอะไรไดอ้ กี แลว้ แมว้ ่าโทษจะหนกั กวา่ ตอนแรกกต็ าม เชน่ นาย A กระท�ำความผดิ ศาลชั้นตน้ ตดั สนิ ให้จ�ำคุก 5 ปี ศาลอุทธรณ์ใหจ้ �ำคุก 3 ปี แต่ศาลฏกี าใหจ้ ำ� คุกถงึ 16 ปี นาย A กจ็ ะตอ้ งยอมรับค�ำตัดสนิ นี้ • ศาลปกครอง คอื ศาลทมี่ อี ำ� นาจพพิ ากษาคดรี ะหวา่ งราชการกบั เอกชน หรอื ระหวา่ งราชการดว้ ยกนั เชน่ นกั ศกึ ษาฟอ้ งมหาวทิ ยาลยั เพราะมหาวิทยาลยั มีกฎหรอื ข้อปฏิบัติทไี่ มเ่ ปน็ ธรรม • ศาลทหาร คือ ศาลทต่ี ัดสนิ คดคี วามของทหาร ในกรณที ีท่ หารมีขอ้ พิพาทหรอื กระทำ� ความผดิ สภาพบุคคล หมายถึง เด็กทารกท่ีคลอดออกมาแล้วมีชีวิตอยู่รอดเท่านั้นกฎหมายจึงให้การรับรองว่าเป็นมนุษย์ นั่นหมายความว่า เดก็ ทารกท่อี ยู่ในทอ้ งแม่หรอื ครรภม์ ารดายงั ไมไ่ ดถ้ ือเปน็ สภาพบคุ คลตามกฎหมาย นิติบคุ คล คือ บุคคลท่ีกฎหมายสมมติขึ้น เพอื่ ใหม้ ฐี านะเป็นนติ ิบคุ คล ไดแ้ ก่ กระทรวง ทบวง กรม วัด หา้ งหุ่นสว่ นจำ� กดั บรษิ ัท สมาคม และมลู นธิ ติ า่ งๆ เมอื่ เปน็ นติ บิ คุ คลแลว้ กจ็ ะสามารถดำ� เนนิ การตา่ งๆ ตามทกี่ ฎหมายกำ� หนดไวไ้ ดเ้ หมอื นเปน็ บคุ คลคนหนงึ่ กฎหมายเลือกต้งั กฎหมายเลือกตั้ง คือ กฎหมายท่ีกลา่ วถงึ อำ� นาจทป่ี ระชาชนเลือกบคุ คลเขา้ ไปท�ำหน้าที่บริหารบ้านเมอื งแทนตน เชน่ เราเลอื กนาย A เขา้ ไปเปน็ ส.ส.เพอื่ บรหิ ารบา้ นเมอื งแทนเรา ผา่ นระบบการเลอื กตง้ั แบบประชาธปิ ไตย โดยมผี จู้ ดั ใหม้ กี ารเลอื ก ตง้ั คอื คณะกรรมการการเลอื กตง้ั (กกต.) ทต่ี อ้ งทำ� เชน่ นเ้ี พราะในระบอบประชาธปิ ไตย มนั เปน็ ไปไมไ่ ดเ้ ลยทเี่ ราทกุ คนจะเขา้ ไป มีสว่ นร่วมทางการเมอื งโดยตรง โดยกฎหมายทเี่ กีย่ วกับการเลอื กผู้แทนนี้เราเรยี กวา่ กฎหมายเลือกตั้ง คณุ สมบตั ิของผู้มีสิทธเิ ลอื กต้ัง การทเ่ี ราจะสามารถไปเลือกตัง้ ผ้แู ทนได้ จะตอ้ งมีคณุ สมบตั ติ ามทก่ี ำ� หนด และไม่มคี ุณสมบตั ิทเี่ ปน็ ขอ้ หา้ มท่ีกฎหมาย เลอื กตัง้ ได้กำ� หนดไว้ • สัญชาตไิ ทย • อายุไม่ต่ำ� กวา่ 18 ปีบรบิ รู ณ์ • มชี อื่ อยูใ่ นทะเบยี นบา้ นเขตเลอื กตั้งมาแลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ 90 วนั • ไมม่ ีลักษณะต้องหา้ ม เชน่ วิกลจริต เป็นพระภกิ ษสุ ามเณร หรือถูกคมุ ขังโดยศาล ตวิ เข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook