Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการนิเทศภายในโรงเรียน

คู่มือการนิเทศภายในโรงเรียน

Published by phrapradisth, 2019-12-03 04:48:11

Description: คู่มือการนิเทศภายในโรงเรียน

Search

Read the Text Version

คมู ือการนเิ ทศภายในโรงเรยี น กลมุ งานนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลระบบบรหิ ารและการจดั การศกึ ษา กลุมนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 SBNSESAO 1155009

คาํ นาํ คูมือการนิเทศภายในโรงเรียน ฉบับน้ีจัดทําข้ึนเพื่อใหโรงเรียนในสังกัดเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มัธยมศึกษา เขต 11 ไดนําไปใชเปนแนวทางในการนิเทศภายในโรงเรียน เพ่ือสรางรูปแบบและ กระบวนการนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลภายในโรงเรียน ตามบริบทของแตล ะโรงเรียน ใหดาํ เนินการได อยา งเปน ระบบและมคี วามเขมแขง็ และเกิดการเปล่ียนแปลงในทางท่ดี ขี ึน้ เพอ่ื พฒั นาครูใหม คี วามรทู นั ตอ การเปลีย่ นแปลงตางๆ ใชทักษะในการปฏิบัติการ และมีเจตคติที่ดีตอการปฏิบัติงาน อกี ทั้งยังเปนการ สรางขวัญกําลังใจ สรางความมั่นใจในการปฏิบัติงานใหครู ซึ่งจะสงผลโดยตรงตอการพัฒนาการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนของครู ใหมปี ระสทิ ธิภาพสง ผลใหน กั เรยี นมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรียนสูงขึ้น และ คุณภาพของนักเรยี นไดต ามมาตรฐานทโ่ี รงเรยี นกาํ หนด คมู อื การนิเทศภายในสถานศกึ ษา ประกอบดวยสว นสําคญั ไดแก บทที่ 1 บทนาํ บทที่ 2 การนเิ ทศภายในโรงเรยี น บทท่ี 3 แนวทางการดาํ เนินการนิเทศภายในโรงเรียน บทท่ี 4 แนวทางการประเมนิ ผลการนิเทศ บทที่ 5 การรายงานผลการนิเทศ บทท่ี 6 บทสรุป ทง้ั 6 บท ทก่ี ลา วขางตน ลวนมีความสําคญั ในการดําเนินการนิเทศภายในโรงเรียนเปนอยางยิ่ง โรงเรียนทุกโรงสามารถนําไปปรบั ใช โดยการสรางรูปแบบ กระบวนการ และกจิ กรรมการนิเทศของตนเอง ได หวังเปน อยา งยิง่ วา “คมู ือการนเิ ทศภายในโรงเรยี น” จะชวยเตมิ เต็มความรูความเขาใจที่จะเปน ประโยชนสําหรับการนิเทศภายในโรงเรียนไดเปนอยางดี และขอขอบคุณทานผูอํานวยการ รอง ผอู าํ นวยการ ผเู ชยี่ วชาญ และคณะทาํ งานทกุ ทา น ที่ไดใหกรอบแนวคิด ทฤษฎี ในการจัดทาํ คูมือการนเิ ทศ ภายในโรงเรยี นฉบบั นส้ี าํ เรจ็ เรยี บรอ ยดวยดี ตลอดจนขอขอบคณุ เจาของเอกสาร ส่ือตางๆ ท่ีนํามาใชใน การประกอบคน ควา อางอิง หรือใชเปนสวนหนง่ึ ของเนอ้ื หาสาระในคมู ือฉบับนี้ กลมุ งานนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลระบบบริหารและการจัดการศึกษา กลุม นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษา

สารบญั หนา ก คาํ นํา ข สารบญั 1 บทที่ 1 บทนาํ 1 4 ความเปนมาและความสาํ คัญของปญ หา 4 หลกั การและแนวคิดในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 4 วตั ถุประสงค 4 เปา หมาย 5 ประโยชนท ีไ่ ดรับ 5 บทที่ 2 การนิเทศภายในโรงเรียน 6 ความหมายของการนิเทศ 7 การนิเทศภายในโรงเรยี น 8 จดุ มุงหมายของการนิเทศภายในโรงเรยี น 10 หลักการนิเทศภายในโรงเรยี น 12 ยุทธศาสตรก ารนิเทศ 14 ขอบขายของการนเิ ทศภายในโรงเรยี น 14 บทบาทของบคุ ลากรในการนิเทศ 16 บทบาทของผูรับการนิเทศ 16 บทที่ 3 แนวทางการดําเนินการนเิ ทศภายในโรงเรยี น 25 กระบวนการนิเทศภายในโรงเรยี น 34 เทคนิควิธกี ารนเิ ทศภายในโรงเรยี น 73 กิจกรรมการนิเทศภายในโรงเรยี น 78 มาตรฐานการนิเทศภายในโรงเรยี น 79 บทท่ี 4 แนวทางการประเมนิ ผลการนิเทศ 96 การประเมนิ ผลการนิเทศภายในโรงเรยี น 100 การประเมินผลการนเิ ทศตามมาตรฐานการนเิ ทศภายในโรงเรยี น 100 บทที่ 5 การรายงานผลการนเิ ทศ 104 การรายงานการนเิ ทศ 108 การรายงานการประเมนิ ผลโครงการ บทที่ 6 บทสรุป 111 บรรณานุกรม 114 ภาคผนวก 128 คณะผจู ดั ทาํ

บทที่ 1 บทนาํ ความเปน มาและความสาํ คัญของปญ หา พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และทแี่ กไขเพิม่ เตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 47 กําหนดใหมีระบบการประกันคุณภาพ เพอ่ื พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ แ น ว ท า ง ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า จํ า เ ป น ต อ ง อ า ศั ย ก ร ะ บ ว น ก า ร ป ฏิ บั ติ อ ย า ง ห ล า ก ห ล า ย ซ่ึงประกอบดวย กระบวนการที่สําคัญ คือ กระบวนการบริหารจัดการ กระบวนการจัดการเรียนรู และกระบวนการนเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผล และการนิเทศภายในมีกาํ หนดไวในกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา พ.ศ. 2542 ซ่ึงกําหนดการกํากับ ติดตาม การจัดการศึกษาของผูบริหารไวอยางชัดเจน นอกจากนี้ เกณฑการประเมินคุณภาพภายนอก ของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ไดกําหนดใหการนิเทศภายใน เปนสว นหน่ึงของเกณฑการประเมนิ เพอื่ ใหผ ูบริหารสถานศึกษาไดตระหนักถึงความสําคญั และนําไปปฏิบัติ ในโรงเรียนใหมปี ระสทิ ธภิ าพและไดผ ลอยางเปน รูปธรรม การนเิ ทศการศกึ ษา เปนสง่ิ จําเปนสาํ หรบั หนว ยงานทุกระดบั ดังน้นั ภารกิจที่สําคัญประการหนึ่ง ของผบู ริหารกค็ อื การนิเทศ โดยเฉพาะการนิเทศการสอนของครใู หมกี ารพฒั นาและสง เสริมการจัดการเรียนรู ใหบรรลวุ ัตถปุ ระสงค การนิเทศมคี วามสําคัญตอการเรียนการสอนเปนอยางย่ิงในบางคร้งั แมครูจะไดใ ชค วามสามารถ ในการจัดกิจกรรมตามที่วางแผนไวแ ลว กต็ ามอาจจะมบี างส่งิ บางอยา งขาดตกบกพรอ งทาํ ใหก ารสอนขาดความสมบรู ณ ดังนน้ั หากมีบคุ คลอื่นไดช ีแ้ นะ แนะนาํ ใหค วามชวยเหลือ ก็ยอ มเกิดผลดี การนิเทศจึงเปรียบเหมือนกระจกเงา ทีค่ อยสองใหเ ห็นภาพการสอนของครูและเปน กระบวนการที่เสริมสรางการสอนของครูใหมีประสิทธิภาพ เพ่อื เปน ขอมลู ในการวางแผนในการพัฒนาการศึกษา การสรางส่ือและนวัตกรรมการเรียนรใู หเหมาะสม ในการจัดการเรียนรูใหกับผูเรยี นไดถ ูกตอ งตามจดุ มงุ หมายของหลกั สตู รสถานศึกษา โดยเนน ผเู รยี นเปน สาํ คญั และยังเปนการสรา งความตระหนักใหก บั ครถู ึงปญ หาเก่ียวกับการจัดประสบการณเรียนรูใหสามารถแกไขปญหาได และสรางขวัญกาํ ลงั ใจใหกับครูผสู อนอกี ดวย นอกจากนี้ ยงั มุง ใหเ กิดความรวมมอื และประสานงานกนั เปนอยางดี ภายใตร ะบบการบริหารงานของโรงเรียน เพ่ือควบคุมมาตรฐานและพัฒนางานดานการสอนใหมีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการกาวสูระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษารอบท่ี 3 กลาวโดยรวมก็คือ การจัดการนิเทศ การศึกษา ก็เพื่อหาแนวทางปรับปรุงพัฒนาการปฏิบัติงานดานการสอนของครู การทํางานเปนทีม การสรา งเจตคติทด่ี ใี นการทํางาน ความรวมมือในการแกป ญ หา (สรุ ศกั ดิ์ ปาเฮ. 2545: 25 – 27) การนเิ ทศการศึกษา นับวามีบทบาทสาํ คญั ตอ การพฒั นาครูใหสามารถจัดกิจกรรมและกระบวนการเรียนรู ใหบรรลุผลตามจุดหมายของหลักสูตรได แตในสภาพปจจุบนั มีขอจํากัดหลายประการที่ทําใหไมสามารถปฏิบัติ การนิเทศการศึกษาไดค รบถวน จงึ ทาํ ใหไ มส ะดวกในการปฏิบตั ิงานนเิ ทศ และบุคลากรศกึ ษานเิ ทศกม นี อ ย นอกจากน้ี ในสภาพปจจุบนั สถานศึกษาบางแหง มบี คุ ลากรสว นหนงึ่ ที่มีความรูค วามสามารถในการจัดการเรียนรู ไดเ ปน อยางดี รวมท้งั เปน ผรู แู ละเขา ใจสภาพปจ จุบัน ปญหาและความตอ งการของสถานศกึ ษาและชุมชน และมคี วามใกลชดิ ครู รจู ดุ เดนจุดดอ ยไดดีกวา ดังน้นั ระบบการนิเทศการศกึ ษาท่เี หมาะสมกค็ ือ การนเิ ทศ ภายในโรงเรียน และสามารถดําเนินการไดอยางตอเน่ือง ซ่ึงสงัด อุทรานันท (2530: 116) กลาวถึง ความจําเปนของการนิเทศภายในโรงเรียนวา เดิมการนิเทศการศึกษาเปนหนาที่ของศึกษานิเทศก และผูบริหารการศึกษา ครูเปนผูไดรับการนิเทศ แตปจจุบันงานนิเทศการศึกษามีความสําคัญมากข้ึน บุคลากรในโรงเรียนตองชวยเหลือซ่ึงกันและกันเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการเรียนการสอนใหสูงขึ้น

2 อันเน่ืองมาจากศกึ ษานิเทศกม ีจํานวนจาํ กดั จึงไมสามารถตอบสนองความตองการทางการนิเทศการศกึ ษา ของโรงเรียนตางๆ ไดอยางท่ัวถึง อีกทั้งยังไมรูสภาพปญหาและความตองการท่ีแทจริงของโรงเรียน การสนองตอบความตอ งการจึงเปน ไปไดยาก และจากสภาพปจ จบุ ัน บุคลากรในโรงเรยี นสว นใหญม คี วามรู ความสามารถ มีความชํานาญเฉพาะสาขา จึงควรใชท รพั ยากรเหลาน้ีใหตรงความสามารถและเกิดประโยชน สูงสุด อีกท้ังยังเปนการสรางการยอมรับซ่ึงกันและกัน สว นศึกษานิเทศกจะเปนเพียงผูนิเทศติดตาม การดําเนนิ งานของผบู รหิ าร และคณะกรรมการนิเทศของโรงเรยี น โดยใหความชวยเหลอื ทางดา นวชิ าการ ตามที่โรงเรียนขอความรว มมอื จากผลการทดสอบของสถาบันทดสอบทางการศกึ ษาแหงชาติ (O-Net) ประจําปก ารศึกษา 2554 ในระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 พบวา สาํ นกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 11 มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน รวมทุกกลุมสาระการเรียนรู มีคะแนนเฉลี่ยรอยละสูงกวาระดับประเทศ (ระดับเขตพื้นท่ี ̅ = 40.92 ระดบั ประเทศ ̅ = 40.91) เมอื่ จาํ แนกเปนรายกลุมสาระการเรยี นรู พบวามีจาํ นวน 3 กลุม ท่ีมีคะแนนเฉลี่ยรอยละ สูงกวาระดับประเทศ คือ กลุมสาระการเรยี นรกู ารงานอาชพี และเทคโนโลยี (ระดับเขตพ้ืนที่ ̅ = 48.21 ระดับประเทศ ̅ = 47.29) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย (ระดับเขตพ้นื ท่ี ̅ = 48.89 ระดับประเทศ ̅ = 48.11) และกลมุ สาระการเรยี นรศู ลิ ปะ (ระดับเขตพนื้ ท่ี ̅ = 44.06 ระดบั ประเทศ ̅ = 43.50) สวนกลุมสาระการเรียนรูที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละต่ํากวาระดับประเทศ มีจํานวน 5 กลุม คือ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) (ระดับเขตพื้นท่ี ̅ = 29.26 ระดับประเทศ ̅ = 30.49) กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ระดับเขตพ้ืนที่ ̅ = 42.22 ระดับประเทศ ̅ = 42.73) กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร (ระดบั เขตพน้ื ที่ ̅ = 31.75 ระดับประเทศ ̅ = 32.08) กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร (ระดับเขตพ้ืนท่ี ̅ = 32.12 ระดับประเทศ ̅ = 32.19) และกลุม สาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา (ระดับเขตพืน้ ท่ี ̅ = 50.86 ระดบั ประเทศ ̅ = 50.87) สําหรบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 6 พบวาสาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 11 มีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนรวมทุกกลุมสาระการเรียนรู มีคะแนนเฉลี่ยรอยละตํ่ากวาระดับประเทศ (ระดับเขตพื้นที่ ̅ = 34.91 ระดับประเทศ ̅ = 34.95) เม่อื จาํ แนกเปนรายกลุมสาระการเรียนรู พบวามีจํานวน 5 กลุม ท่ีมีคะแนนเฉลี่ยรอยละสูงกวาระดับประเทศ คือ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี (ระดับเขตพื้นที่ ̅ = 50.08 ระดับประเทศ ̅ = 48.72) กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ (ระดับเขตพ้ืนท่ี ̅ = 29.02 ระดับประเทศ ̅ = 28.54) กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา (ระดับเขตพื้นที่ ̅ = 54.93 ระดับประเทศ ̅ = 54.61) กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ระดับเขตพ้ืนที่ ̅ = 33.54 ระดับประเทศ ̅ = 33.39) และกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย (ระดับเขตพ้ืนท่ี ̅ = 41.93 ระดบั ประเทศ ̅ = 41.88) สวนกลุมสาระการเรียนรูท่ีมีคะแนนเฉลี่ยรอยละต่ํากวาระดับประเทศ มีจํานวน 3 กลุม คือ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) (ระดับเขตพื้นที่ ̅ = 20.35 ระดับประเทศ ̅ = 21.80) กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร (ระดับเขตพ้ืนที่ ̅ = 21.93 ระดับประเทศ ̅ = 22.73) และกลุม สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตร (ระดบั เขตพื้นท่ี ̅ = 27.49 ระดบั ประเทศ ̅ = 27.90) (สํานักงาน เขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 11, 2555: 10 – 13) ซึ่งจะเห็นไดวาโดยภาพรวมแลวผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนท้ังระดับเขตพ้ืนที่ และระดับประเทศ มีคะแนนเฉล่ยี ต่ํากวารอยละ 50 จากการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) รอบทีส่ อง รวมถึงผลการประเมนิ ทบทวนระบบการประกันคุณภาพ ภายในของโรงเรียนในสงั กัดเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 11 พบวามีโรงเรยี นจาํ นวนหน่งึ ท่ีมีระบบ

3 การนิเทศภายในโรงเรียนที่ไมชัดเจน ทําใหการขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในภาพรวม ไมประสบความสําเร็จเทาท่ีควร การนเิ ทศภายในโรงเรยี น เปนวิธีการสําคัญอยางหนงึ่ ในการบริหารการศกึ ษาทีม่ ผี ลตอ การพฒั นา คุณภาพนักเรียนใหสูงขึ้น เพราะเปนกิจกรรมท่ีชวยใหผูปฏิบัติงานภายในโรงเรียนสามารถปฏิบัติงาน ในขอบเขตท่ีตนเองรับผิดชอบประสบผลสําเร็จเปนไปตามมาตรฐานและสอดคลองกับระเบียบ วิธีการดําเนินงานท่ีกําหนดไว การนิเทศภายในโรงเรียนจึงเปนยุทธวิธีที่ผูเก่ียวของควรหาแนวทาง ดําเนินการใหเ ปน ไปอยางมีประสทิ ธิภาพ ดงั น้นั การนเิ ทศภายในโรงเรียนจึงจําเปนตองพัฒนากระบวนการทํางานของผูบริหารโรงเรียน หรือผูที่ไดรับมอบหมายในฐานะผูนิเทศ ในการพัฒนาคุณภาพและเปลี่ยนแปลงการทํางานของครู และบุคลากรภายในโรงเรียน เพ่ือใหไดมาซึ่งสัมฤทธิ์ผลสูงสุดในดานการเรียนของผูเรียน หากโรงเรียน มีระบบการนิเทศภายใน ทเ่ี ขมแข็ง มีการดําเนินการอยางเปนรูปธรรม อยางตอเน่ือง และสมํ่าเสมอ จนกลายเปนวัฒนธรรมองคกรอันจะสงผลใหคุณภาพของโรงเรียน ผลการเรียนรูของผูเรียนพัฒนา เปล่ียนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น จึงเปนหนาท่ีของผูบริหารโรงเรียน และบุคลากรทุกฝายในโรงเรียน ท่ีจะตองรวมมือรวมใจกันดําเนินการพัฒนางานทุกดานในโรงเรียน โดยเฉพาะอยางยิ่งในดานวิชาการ ซง่ึ เปน งานที่เกีย่ วกบั การจดั กิจกรรมการเรียนรู การนําหลักสตู รไปใชใ หบ รรลุตามจดุ ประสงคข องหลกั สตู ร ตลอดจนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค และมีสมรรถนะสําคัญตามท่ีกําหนดไวในหลักสูตร ดังนั้น เพอื่ ใหก ารพัฒนาสถานศกึ ษาใหไดม าตรฐานและคณุ ภาพ ผูบริหารจะตองมีความตระหนัก ในความเปนผูนํา ทันเหตุการณ ปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมไดต ลอดเวลา มกี ารปรับเปลีย่ นแนวคิดวิธกี ารทาํ งานทเ่ี นนกระบวนการกลุม มกี ารบรหิ ารงานแบบเปน ทมี มศี กั ยภาพ ครูจะเปนผูสงเสริมและใหโอกาสผูเรียนในการแสวงหาความรู คอยใหความชวยเหลือ แนะนํา แกไขปญหา และใหกําลังใจ รวมถึงการจัดบรรยากาศแหงการเรียนรู แกผ เู รียน เพ่ือใหผ ูเรยี นสามารถพัฒนาตนเองไดอ ยา งเตม็ ศักยภาพ สํานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 ตระหนักถึงความสําคัญของการนิเทศภายใน จึงไดดําเนินการพัฒนารูปแบบและระบบการนิเทศภายในโรงเรียน เพ่ือสรางความรูใหแกผูบริหาร และผูนิเทศของโรงเรียน โดยไดระดมความคิดจากศึกษานิเทศก ผูบริหารโรงเรยี น ผูบริหารการศึกษา จัดทําเอกสารคูมือการนิเทศภายในโรงเรียน ฉบับนี้ขึ้นเพือ่ ใหโรงเรียนนําไปประยุกตใชเปนแนวทาง ในการดําเนินการนิเทศภายในโรงเรียน อันจะทําใหโรงเรียนมีรูปแบบและกระบวนการนิเทศภายใน ที่เปนระบบ ชัดเจน เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งในดานประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน ครูสามารถจดั การเรยี นการสอนไดอ ยา งมีประสิทธิภาพ และผูเรียนมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นเพิ่มข้ึน

4 หลักการและแนวคิดในการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา กระบวนการนเิ ทศเปน กระบวนการหนึง่ ที่สงผลตอ การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ดงั นี้ กระบวนการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา กระบวนการบรหิ าร สภาพปจจุบัน กระบวนการจัดกจิ กรรม คณุ ภาพผเู รียน ปญหา การเรียนรู และความตอ งการ กระบวนการนเิ ทศ วตั ถปุ ระสงค 1. เพื่อใหโรงเรียนมีรูปแบบและกระบวนการนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลภายในโรงเรียน อยา งเปนระบบ มีความเขมแข็งและเกดิ การเปลี่ยนแปลงในทางทีด่ ขี ึ้น 2. เพอื่ ปรับปรงุ และพฒั นาการจดั การเรียนการสอนของครใู หมีคุณภาพ 3. เพือ่ ยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นใหสงู ขึ้น เปาหมาย 1. โรงเรียนในสังกัดเขตพื้นทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 11 จํานวน 66 โรง 2. ครทู กุ คนในโรงเรยี นไดรบั การนเิ ทศภายใน 3. ปการศึกษา 2555 ผูเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขึ้นทุกกลุมสาระการเรียนรู อยางนอยรอ ยละ 5 ประโยชนท ่ไี ดรับ 1. โรงเรยี นมรี ะบบการนิเทศภายในอยางเขม แขง็ 2. โรงเรียนมคี วามพรอ มที่จะพฒั นาไปสกู ารเปนประชาคมอาเซย่ี น 3. ครูไดร บั การพัฒนาการจดั การเรยี นการสอนอยางมีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ล 4. นักเรียนมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนสูงขนึ้

บทท่ี 2 การนิเทศภายในโรงเรยี น ความหมายของการนิเทศ การนิเทศ (Supervision) คือ การชวยเหลือ แนะนาํ ปรับปรุง บริการ การใหความรวมมือ และการประสานงานใหบคุ คลที่ปฏบิ ัตงิ านของแตล ะหนวยงานทํางานไดด ขี ึ้น การนิเทศสามารถนําไปใชกับงานท่ีตองอาศัยผูดูแล ตรวจตรา ใหคําแนะนํา คอยชวยเหลือ บริการและบริหารงานเพ่ือใหงานสําเร็จลุลวงไปตามวัตถุประสงคท่ีวางไว หากมองตามรูปศัพท SUPERVISION ชารี มณศี รี (2538, 14 – 15) สรุปจากศพั ทภาษาองั กฤษไวนาสนใจวา Support การสนับสนนุ S Share การมีสวนรวม การบรกิ าร Service Unity ความสามัคคี U Understanding ความเขา ใจ Upgrade การยกฐานะ Planning การวางแผน P Promotion การเล่อื นขัน้ Problem-Solving การแกปญ หา Education การศึกษาหาความรู E Experiment การทดลอง Evaluation การวัดผล Research การวิจัย R Report การรายงาน Record การบันทึก Visiting การเยยี่ มเยยี น V Value การรูคุณคา การมคี ณุ ธรรม Virtue Improvement การปรบั ปรุง I Information การใหขาวสาร Inservice-trainning การฝกอบรม

6 Objective จุดประสงค O Observation การสงั เกต Organization การจัดรูปงาน Needs ความตองการ N Negotiation การประนีประนอม Necessity ความจําเปน จากความหมายท่ีใชคําภาษาอังกฤษเรียบเรียงคําศัพทที่มีความหมายคลายคลึงใกลเคียงกัน ลักษณะงานการนิเทศทีใ่ ชท่วั ๆ ไป ผทู ําหนาทีน่ เิ ทศจะตอ งมคี วามรู ประสบการณแ ละเขาใจงานของงานดี จึงจะทําหนาที่นิเทศผูอื่นได คําศัพทดังกลาวขางตนจึงบอกถึงลักษณะงานของการนิเทศไดอยางดี ชารี มณีศรี (2538, 15) ไดสรุปความหมายตามท่ี Plundelt ไดใหไ ว ดงั น้ี Supervise แนะนาํ การใชทรพั ยากรมนุษยใ หเกดิ ประโยชนส งู สดุ Utilize ใชม วลทรพั ยากรท้งั ท่มี ชี วี ติ และไมมชี ีวติ โดยประหยดั Plan วางแผนการทํางานโดยตงั้ วตั ถุประสงคแ ละการส่อื ความหมายทมี่ ีประสิทธภิ าพ Enforce ควบคมุ นโยบาย กฎระเบยี บ และมาตรฐานการทาํ งาน Relate สรางความสมั พันธก บั เพอื่ นรวมงานทง้ั กลมุ และบุคคล Validate ดแู ลใหค วามเปน ธรรมตอ ผใู ตบ ังคบั บญั ชา Instruct สอนกลวิธแี ละทกั ษะประสบการณ Show แสดงลกั ษณะความเปน ผนู าํ Organize จัดระบบงานและประสานการทาํ งาน Regulate วางหลกั ปฏิบตั ิในการทาํ งาน การนเิ ทศภายในโรงเรยี น ในอดีตท่ผี า นมา การดาํ เนนิ การนิเทศการศกึ ษาเปนหนาที่ของบุคลากรภายนอกโรงเรียน ไดแ ก ศึกษานิเทศก ทเี่ ขา มาดําเนนิ การในโรงเรียนแตเพยี งฝา ยเดยี ว แตในปจจุบันสภาพสังคมเปล่ียนแปลงไป จํานวนโรงเรียนมีมากขึ้น ครู และนักเรียนมีมากข้ึน ทําใหศึกษานิเทศก ไมเพียงพอในการปฏิบัติงาน ไดอยางท่ัวถึง และไมสามารถใหบริการการนิเทศการศึกษาไดอยางครอบคลุมในภายหลังจึงตองมี การนิเทศการศกึ ษาอีกรูปแบบเกดิ ข้นึ คอื การนิเทศภายในโรงเรยี น นกั การศกึ ษาและผทู รงคุณวฒุ ิหลายทานไดใ หความหมายของการนิเทศการศึกษาไวหลายลักษณะ แตกตางกันไปตามวิวัฒนาการดานการศึกษา จุดมุงหมายและแนวทางการจัดการศึกษาในสมัยนั้นๆ ซ่งึ จะนําเสนอพอเปน สังเขป ดังตอ ไปน้ี ดสุ ติ ทวิ ถนอม (2540: 4) กลาวไวในหนังสือประกอบดวยกิจกรรมการบริหารและวิธีการตางๆ ท่มี กี ารจดั การอยา งเปน ระบบของผเู กี่ยวขอ งกบั การจัดการศกึ ษา โดยมวี ัตถุประสงคเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน และการทํางานของครูใหม ีประสิทธภิ าพ สุเทพ เมฆ (2540: 47) ไดก ลา ววา การนเิ ทศการศกึ ษา หมายถึง การชว ยเหลือแนะนํา ใหการสนับสนุน ใหความรวมมือในการดําเนินการนิเทศ และสนับสนุนภาคปฏิบัติ ท้ังน้ี เพ่ือใหการจัดการศึกษา ดําเนินไปอยางมีคุณภาพ

7 กิติมา ปรีดิลก (2541: 262) ซึ่งกลาววา การนิเทศการศึกษาเปนกระบวนการช้ีแนะ แนะนํา และใหความรวมมือตอกิจกรรมของครูในการปรับปรุงการเรียนการสอน เพ่ือใหบรรลุผลตามจุดหมาย ทวี่ างไว สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ (2541: 51) ไดใหความหมายของการนิเทศ ภายในโรงเรยี น หมายถึง การสง เสรมิ สนับสนุน หรอื ใหค วามชว ยเหลอื ครูในโรงเรียนใหประสบความสําเร็จ ในการปฏิบัติงานตามภารกิจ คือ การสอน หรือการสรางเสรมิ พัฒนาการของนักเรียนทุกดาน ทั้งทางรางกาย สติปญญา จิตใจ อารมณ และสังคม ใหเต็มตามวัยและตามศักยภาพ โดยความรวมมือของบุคลากร ในโรงเรยี น ชารี มณีศรี (2542: 22) ไดก ลา วไววา การนเิ ทศการศึกษาเปน กระบวนการพัฒนาการเรียนการสอน ใหด ีข้ึน และเปนการรว มมอื กนั ระหวางผูนิเทศและผรู ับการนิเทศ นรศิ รา อปุ กรณศ ิริการ (2542: 16) กลา ววา การนิเทศการศึกษาเปนความรวมมือและประสานงาน ของบคุ ลากรทางการศกึ ษาในการพัฒนาเพ่อื ปรบั ปรุงคุณภาพการจดั การเรียนการสอนของครู อนั จะทําให ผูเรยี นเกดิ การเรยี นรูอยางมปี ระสทิ ธิภาพ เยาวพา เดชะคปุ ต (2542: 86) กลา ววา การนเิ ทศการศึกษาเปน กระบวนการ เปนการปฏบิ ตั งิ าน รวมกันระหวางผนู ิเทศและผรู บั การนเิ ทศ โดยมจี ดุ มุง หมายใหผูร ับการนิเทศเกิดการพฒั นา มีผลใหผูเรยี น เกดิ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนสงู ข้นึ วัชรา เลาเรียนดี (2550: 120) กลาวถึง การนิเทศภายในโรงเรียนวาเปนกระบวนการนิเทศ การศึกษา และกิจกรรมตางๆ ท่ีมุงพัฒนาการเรียนการสอนที่จัดดําเนินการในโรงเรียนโดยบุคลากร ในโรงเรยี นเปน หลกั ซึ่งประกอบดว ย ผบู รหิ ารโรงเรยี น คณะครู และบุคลากรอืน่ ทเ่ี ก่ียวของกบั การศึกษา ในโรงเรียน โดยมวี ัตถปุ ระสงคเพ่อื พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาในโรงเรียนโดยตรง ฉวีวรรณ พนั วัน (2552: 9) สรปุ ไววาการนิเทศการศกึ ษา หมายถึง กระบวนการรว มกนั ทางการศกึ ษา ของผูบริหารโรงเรียน และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนใหมีคุณภาพ และเกิดผลสัมฤทธิส์ งู สดุ แกผ เู รียน ทําใหผเู รียนไดพ ัฒนาเตม็ ตามศักยภาพตามจดุ หมายของหลกั สตู ร จากความหมายของการนิเทศภายในโรงเรียนดังกลาว สรุปไดวา การนิเทศภายในโรงเรียน หมายถึง กระบวนการดําเนินงานรวมกัน ระหวางบุคลากรทุกคนในโรงเรียน เพื่อการแกไข ปรับปรุง และพัฒนางานในวิชาชีพครูใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สงผลใหนักเรียนไดรับการพัฒนา ใหม คี ณุ ภาพตามเปาหมายการศึกษาที่กําหนดและมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นสูงขึ้น จดุ มุงหมายของการนิเทศภายในโรงเรียน ในการดําเนินงานนิเทศภาย ในโรงเรีย นจําเปนตองมีจุดมุงหมายในการดําเนินงาน เพราะจดุ มุง หมายจะชวยใหผูปฏิบัติงานสามารถมองเห็นแนวทางในการทํางาน ซ่ึงจะชวยใหการนิเทศ บรรลผุ ล มีนกั การศึกษาไดกาํ หนดจดุ มุง หมายของการนิเทศภายในโรงเรยี นไว ดงั น้ี จํารัส นองมาก (2532: 8) กลาววา การนเิ ทศภายในโรงเรยี นมีความมงุ หมายเพื่อใหประสิทธภิ าพ การสอนของครูเพิม่ ขึ้น ผลสัมฤทธ์ิของนักเรียนซ่ึงเปนผลจากการสง่ั สอนของครูในโรงเรียนก็สูงข้ึนดวย ครมู ที ัศนคตทิ ่ีดตี อ หนว ยงาน มีความพึงพอใจท่จี ะกระทําหนาทีข่ องตนใหดียงิ่ ๆ ขน้ึ ไป สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ (2534: 9) ไดกําหนดจุดมุงหมายของ การนเิ ทศภายในโรงเรยี นไว ดังน้ี 1. เปนการชวยใหครูผูสอนสามารถปรบั ปรงุ ตนเองและกิจกรรมการเรยี นการสอน 2. สามารถพฒั นาพฤติกรรม บคุ ลิกภาพการสอนของครูใหดขี น้ึ

8 3. สนับสนนุ ความรูค วามสามารถของครใู นการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน 4. กาํ กบั ควบคุม ตดิ ตามผลการปฏิบัติงานของครูในการปฏบิ ัตงิ านอยา งตอเนอื่ ง 5. สงเสริมความคิดสรางสรรคและการทาํ งานรว มกนั เปน คณะ ปรียาพร วงศอนุตรโรจน (2535: 264 – 265) กลาวถึงจุดมุงหมายของการนิเทศการศึกษาไว ดังน้ี 1. เพอ่ื พฒั นาและสง เสริมการบรหิ ารและงานวชิ าการของสถานศกึ ษา 2. เพื่อการบรหิ ารงานวิชาการในสถานศกึ ษาใหม ปี ระสทิ ธภิ าพยิง่ ขึน้ 3. เพื่อสํารวจ วิเคราะห วิจัย และประเมินผล เพื่อปรับปรุงคุณภาพและมาตรฐาน การศกึ ษา 4. เพื่อพัฒนาหลักการและสื่อการเรียนการสอนใหไดมาตรฐาน และเอกสาร ทางวชิ าการใหมปี ระสทิ ธภิ าพสอดคลองกบั ความตองการและจําเปนของสถานศึกษาและครู 5. เพ่ือพัฒนาบุคลากรโดยเฉพาะครูใหมีความรู ทักษะ และประสบการณอันจําเปน ที่นาํ ไปใชใ นการเรยี นการสอน การจดั การศกึ ษา อกี ทงั้ ใหค รูสามารถแกป ญ หาได วไลรตั น บญุ สวสั ดิ์ (2538: 64) ไดก าํ หนดความมงุ หมายของการนเิ ทศภายในโรงเรยี นไว ดังนี้ 1. เพ่อื ชวยเหลือครูในการพัฒนาและปรับปรุงตนเอง 2. เพอื่ สงเสริมใหม ีการปรบั ปรุงหลักสูตร 3. เพื่อชวยเหลือครใู นการปรับปรงุ การสอนของตนใหด ขี ้ึน 4. เพื่อเปด โอกาสใหผ เู ช่ียวชาญในสาขาทีม่ ีอยใู นโรงเรยี นไดช ว ยเหลอื เพือ่ นครู 5. เพอ่ื สง เสริมใหค ณะครูมีความสนใจในวสั ดอุ ปุ กรณก ารสอน 6. เพ่ือสง เสรมิ ใหค ณะครูมีความเขา ใจเกีย่ วกับเดก็ นักเรยี นใหด ขี ้นึ 7. เพอ่ื ชวยเหลอื ครูในการประเมินผลนักเรียน 8. เพ่อื สง เสรมิ ย่ัวยุใหครูรูจักประเมินผลโครงการการปฏิบัติงาน และความกาวหนา ในวชิ าชพี ของตน 9. เพือ่ ชว ยใหค รปู ระสบความสําเร็จและรูส กึ ม่ันคง สรุปไดวา การนิเทศภายในโรงเรียนมีจุดมุงหมาย ที่จะชวยเหลือ ประสานงานใหบุคลากร ในโรงเรยี นไดป รับปรงุ ตนเอง ทัง้ ดา นการสอน บคุ ลกิ ภาพ สรางขวญั และกาํ ลงั ใจ ความพงึ พอใจในการทาํ งาน ซ่ึงจะสงผลตอการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน และการรักษาคุณภาพการศึกษา ของโรงเรยี น ตลอดจนการพฒั นาวชิ าชีพครใู หม ีความกาวหนา มากยง่ิ ขึ้น หลักการนิเทศภายในโรงเรียน หลักการและแนวคิดท่ีสําคัญของการนิเทศภายในโรงเรียน มีนักวิชาการและนักการศึกษา หลายทา นไดท าํ การศึกษา ไวด งั น้ี สงัด อุทรานนั ท (2538: 23 – 24) ไดกลา วถึง หลกั การนิเทศภายในโรงเรียน วาการนิเทศการศึกษา เปน งานในความรับผิดชอบของผูบรหิ ารโดยตรง ท้งั น้ี ผูบรหิ ารอาจดําเนินการดวยตนเอง หรอื มอบหมาย ใหผูอื่นดําเนินการแทน ซ่ึงการนิเทศภายในโรงเรียนจะสําเร็จลงไดจําเปนตองอาศัยความรวมมือ จาก 3 ฝาย คือ ฝายบริหาร ฝายนิเทศ และผูรับการนิเทศ หากขาดความรวมมือจากฝายใดฝายหนึ่ง การนิเทศจะไมม ีโอกาสประสบความสําเรจ็ ซึง่ บคุ ลากรในโรงเรียนจะตอ งตระหนักและเขาใจวาการนิเทศ ภ า ย ใ น โ ร ง เ รี ย น เ ป น ก า ร ทํ า ง าน ร วม กั น เ พ่ื อ ช ว ย พั ฒ น า เ พ่ื อ น ร วม ง า น ให มี ค วา ม รู ค วา ม ส า ม า ร ถ ในการปฏิบัตงิ านสูงขึ้น ท้ังน้ี ตองมีการยอมรับและใหเกียรติซึ่งกันและกัน ในสภาพความเปนจริงแลว

9 ไมมีใครที่จะมีความเช่ียวชาญในทุกๆ ดาน ดังน้ัน จึงควรจะไดแลกเปลี่ยนและถายเทความเชี่ยวชาญ ใหแ กผ รู ว มงานใหมีความรูสูงขึ้น จะตองเกิดจากความจําเปนในการแกปญหา หรือสนองความตองการ ในการยกระดับคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรียน รวมทงั้ การสรางขวญั กาํ ลังใจของผูบริหารจะมีผลโดยตรง ตอ การเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมของผปู ฏิบัตงิ าน สํานักงานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแหงชาติ (2541: 52 – 53) กลา วถึงหลักการนเิ ทศไวคลายกัน แตเพ่ิมเติมก็คือ การนิเทศภายในโรงเรียน ผูนิเทศประกอบดวย ผูบริหารโรงเรียน ผูชวยผูบริหาร หัวหนาหมวดวิชา ครูผูรวมนิเทศ ครูแกนนาํ ดาํ เนินการโดยใชภาวะผนู าํ ทําใหเกิดความรวมมอื ผูถ กู นเิ ทศ ใหความไววางใจ เต็มใจในการพัฒนาหรือการเปลี่ยนแปลง ลงมือปฏิบัติจริง ทดลองใชเครื่องมือ และวิธีการที่รวมกันคิด ทั้งนี้ การดําเนินการตองเปนไปอยางมีระบบ คือ ตองกําหนดเปาหมาย จุดมุงหมาย การวางแผน การลงมือปฏิบัติตามแผน และประเมินผล กระบวนการนิเทศตองยืดหยุน ใหเหมาะสมกับสถานการณและใชหลักการปฏิบัติ เนนการปฏิบัติงานตามบทบาทหนาท่ีรับผิดชอบ มกี ารควบคุม กํากบั ตดิ ตามผลการดาํ เนนิ งานอยางใกลชิด เยาวภา เดชะคุปต (2542: 134 – 135) ไดก ลา วถงึ หลักการนิเทศภายในโรงเรียนท่ีผูเก่ียวของ นา จะตองยดึ เปน แนวปฏบิ ตั ิ ซง่ึ สรปุ ไดเ ปนขอๆ ดังนี้ 1. การนิเทศภายในโรงเรียน เปนภารกิจท่ีผูบริหารโรงเรียนจะตองรับผิดชอบ และมีสวนรวมรบั รตู อความกาวหนาของครใู นโรงเรียนทมี่ ผี ลสบื เนือ่ งมาจากโรงเรียน 2. โรงเรยี นตองทาํ งานรว มกันและใชว ธิ กี ารประชาธปิ ไตยกบั การดําเนนิ งาน กลาวคือ มคี วามเคารพในเหตผุ ลซึง่ กันและกัน เปนความรว มมอื รวมใจและใชว ธิ กี ารแกปญหาแบบวทิ ยาศาสตร 3. โรงเรียนตองเริ่มตนดวยการรูสภาพปญหาที่แทจริงเสียกอน แลวจึงกําหนดแผน หรอื แนวทางในการแกปญ หานนั้ ๆ 4. โรงเรยี นมงุ เพ่ือปรบั ปรงุ คณุ ภาพการเรียนการสอนไมใ ชการจับผิด จงึ ตองพยายาม ใหบุคลากรทุกฝายเขาใจและดาํ เนินงานใหเ ปนไปตามอดุ มการณ 5. บุคลากรในโรงเรียนตองยอมรับความจริงในแงท่ีวาไมมีใครจะมีความสามารถ หรือเชี่ยวชาญไปทกุ เร่ือง 6. โรงเรียนมุง เนน การสรางบรรยากาศท่ีเปนกันเอง เพ่ือใหเกดิ ความเขาใจที่ดีตอกัน ทําใหงานบรรลวุ ตั ถุประสงค มงคล สุภกรรม (2546: 13) ไดส รุปหลักการนิเทศภายในโรงเรียนไววา ตองมีวิธีการดําเนินการ ทช่ี ัดเจนและเปนขั้นตอน โดยวธิ กี ารดาํ เนนิ การนัน้ ตอ งสามารถสรา งความเขา ใจใหเ กดิ ขนึ้ รวมกันทุกฝาย เพ่ือจะไดพัฒนาความกาวหนาและเปนการสงเสริมความคิดริเร่ิมสรางสรรค ตลอดจนความเปน ประชาธปิ ไตย เพ่อื ใหโรงเรยี นมคี ุณภาพอยา งชัดเจน ธรี ศกั ด์ิ เล่ือยไธสง (2550: 2) ไดน าํ เสนอหลักการของการนเิ ทศภายใน ดังน้ี 1. ดําเนนิ การตามกระบวนการอยา งเปนระบบและตอ เน่อื ง 2. สงเสริมใหครูทุกคนมสี ว นรว มและรับผดิ ชอบ 3. กิจกรรมการนเิ ทศตรงกับความตองการจาํ เปน ในการพฒั นาครู 4. จดั สภาพแวดลอ มและแหลง วิทยาการใหเอ้อื ตอการดําเนินงาน 5. สรา งมนุษยสมั พันธท ่ดี ี และเสรมิ สรางขวญั กําลังใจแกครู สรุปไดว า หลักการของการนิเทศภายในโรงเรียนกค็ อื ผูนเิ ทศตอ งมคี วามรคู วามเขา ใจในหลักการ นิเทศอยางถูกตอง ตรงประเดน็ มีระบบและข้ันตอนที่ชัดเจนในกระบวนการนิเทศ กระบวนการนิเทศ ที่เกิดขึ้นตองเกิดจากความรวมมือของคณะครูทุกคนที่ปฏิบัติหนาที่อยูในโรงเรียน และการนิเทศ

10 ตองเปนไปเพ่ือการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนของครู และการนิเทศการศึกษาควรมีการบริหาร เปน กระบวนการเชิงระบบ มกี ารวางแผนการดาํ เนินงาน มขี ั้นตอนในการปฏบิ ัติงาน ถอื หลกั การมสี ว นรว ม ในการทํางานมีความเปนประชาธิปไตย มีการดําเนินงานอยางสรางสรรค มีการแกปญหาที่เกิดข้ึนจาก การเรียนการสอน สรางสภาพแวดลอมในการทํางานใหดีขึ้น สรางความผูกพันและความมั่นคงตอ งานอาชีพ รวมทง้ั พัฒนาและสง เสรมิ วชิ าชีพครูใหม ีความรูสกึ ภาคภมู ิใจในวิชาชีพของตนเองพรอ มทีจ่ ะรับ การพฒั นาอยา งตอ เนอ่ื ง ยทุ ธศาสตรก ารนิเทศ การจัดการศึกษาในสถานศึกษามุงพัฒนานักเรียนใหเปนคนดี เกง มีความสุข ทําประโยชน ใหสวนรวม มีคุณภาพตามเปาหมายการจัดการศึกษาของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ความสําเร็จในการพัฒนาคุณภาพและบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษา และสาํ นักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา จําเปนตองมีการนิเทศซึ่งเปนปจจัยท่ีสําคัญอยางหนึ่งในกระบวนการ ดําเนินงานโดยมียุทธศาสตรท่ีสําคัญเปนหลักการในการดําเนินงานการนิเทศ คือ การมีสวนรวม และทาํ งานอยางเปน ระบบ รายละเอียดดงั ตอไปนี้ ยุทธศาสตรก ารนิเทศ ยุทธศาสตรการนเิ ทศ การมสี ว นรวม การทาํ งานอยา งเปนระบบ 1. การมีสว นรว ม การนิเทศเปนการทํางานรวมกันระหวางผูนิเทศกับผูรับการนิเทศที่มีทั้งผูรวมคิด รวมทํา การชวยเหลือพงึ่ พากนั ดว ยปฏิสมั พนั ธอ นั ดตี อกนั ใหเกยี รติและจรงิ ใจตอกัน ซึ่งการทํางานดวยหลักการ มีสวนรวม มีคุณลักษณะสําคญั 5 ประการ ทส่ี ามารถนาํ ไปประยกุ ตใ ชในการนเิ ทศการศกึ ษา ซง่ึ มีแนวทาง ดังตอ ไปน้ี แนวทางการนเิ ทศแบบมสี วนรว ม การมีสว นรว ม ลักษณะการนเิ ทศแบบมสี ว นรว ม 1. การสรา งความสมั พนั ธอ ันดตี อ กัน  การสรางความสัมพันธที่ดีระหวาง 2. การสรา งภาพพจนการทํางานทีด่ เี ลศิ ผนู ิเทศกับผูรับการนเิ ทศ 3. กา ร สร า งปจ จั ยแหง ควา ม สํ า เ ร็ จ  การสรางเจตคตทิ ี่ดีตอการนิเทศ ในการทาํ งาน  การกําหนดเปา หมาย/ผลสาํ เรจ็ รวมกัน 4. การสรางศูนยรวมการปองกัน การแกไข  การพิจารณาบุคลากร/คณะบุคลากร และการพฒั นางาน รว มรับผิดชอบ  การพิจารณา/หารวิธีการดําเนินงาน 5. การสรางเครือขายการรวมคิด รวมทํา รบั ผลประโยชน และรวมเผยแพรง าน การกําหนดแนวทางการทํางานรวมกัน เพอ่ื สูเปาหมายทีต่ องการ  การหารวิธีการเสริมแรงจูงใจใหรางวัล แกผทู ํางาน  การกําหนดแนวทางการนิเทศภายใน ตดิ ตามประเมนิ ผลการทํางานรว มกนั

11 2. การทาํ งานอยางเปนระบบ มขี ัน้ ตอนการทํางานทส่ี าํ คญั 5 ขั้นตอน คอื 2.1 วเิ คราะหป ญ หาตามตอ งการจาํ เปน 2.2 วิเคราะหทางเลือกในการแกป ญหา/พฒั นา 2.3 เลอื กทางเลอื กทเี่ หมาะสมและวางแผน 2.4 ดําเนนิ การตามแผน 2.5 ประเมินผลการดําเนินงาน แนวทางการนิเทศภายในอยางเปนระบบ ขนั้ ตอนการทาํ งานเชงิ ระบบ การนเิ ทศภายในเชิงมีระบบ (1) การสรางความเขา ใจระหวา งผูนเิ ทศและผูร บั การนเิ ทศ (1) วิเคราะหป ญหา (2) การหาความตอ งการจําเปนของการนิเทศภายใน ความตองการจาํ เปน (3) การวางแผนการนิเทศ (2) วิเคราะหทางเลือก (4) การเตรยี มการนิเทศ ในการแกป ญ หาพฒั นา (3) เลือกทางเลอื ก ทเี่ หมาะสมและวางแผน (4) ดาํ เนนิ การตามแผน (5) การปฏิบตั กิ ารนเิ ทศ (5) ประเมินผล (6) การประเมินและปรบั ปรุงการนิเทศ การดําเนนิ งาน (7) การรายงานการนิเทศ

12 ยทุ ธศาสตรก ารนเิ ทศภายในโรงเรยี น การนเิ ทศภายในโรงเรยี น มยี ุทธศาสตรในการดําเนินงาน ดังน้ี 1. สรางภาพปลายทางใหช ดั เจน ภาพปลายทาง หมายถึง สภาพความสําเร็จท่ีตองการใหเกิดขึ้นในสถานศึกษา ซึ่งตองกําหนดใหชัดเจน และใหครูทุกคนมองเห็นสภาพความสําเร็จนี้ใหตรงกัน มคี วามเขาใจตรงกัน เพอ่ื ท่จี ะไดร วมมอื กันพฒั นาใหม งุ ไปสูสภาพความสําเร็จทีก่ าํ หนดนัน้ 2. สรา งภาพงานที่ชัดเจนตลอดแนว ภาพงาน หมายถึง การกําหนดภาระงานที่จะตองวางแผนการดําเนินการใหมุงสูสภาพ ความสําเร็จท่ีกําหนดไววาจะตองพัฒนาใคร ในเรื่องใด และพัฒนาอยา งไร ขอบขายของการนิเทศภายในโรงเรยี น การนิเทศภายในโรงเรียน เปนการนิเทศการปฏิบัติงานของครูและบุคลากรทางการศึกษา ตามขอบขายและภารกิจการบริหารโรงเรียนสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ที่เปนนิติบุคคล ซึ่งอยูในความรับผิดชอบของผูบริหารโรงเรียน เพื่อใหบรรลุภารกิจของโรงเรียน อยางมปี ระสทิ ธิภาพ ประกอบดว ยงาน 4 ดาน ไดแ ก 1. ดานวิชาการ งานดานวชิ าการ เปน งานที่เกย่ี วกับการนาํ หลกั สูตรไปใชใ หบรรลตุ ามจดุ หมายของหลกั สูตร สถานศึกษา ตลอดจนคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคตามทก่ี าํ หนดไวในหลักสูตร ไดแก 1.1 การพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา 1.2 การนําหลักสตู รสถานศึกษาไปใชแ ละการออกแบบการจัดการเรยี นรู 1.3 การสง เสริมและสนับสนนุ ใหครจู ัดทําและใชแ ผนการจดั การเรยี นรู 1.4 การจดั การเรยี นการสอนตามแนวปฏิรูปการเรียนรแู บบบูรณาการ และเนน ทักษะการคดิ 1.5 การจดั หาพฒั นาส่อื และเทคโนโลยที างการศกึ ษา 1.6 การสนับสนุนใหครูผลติ และใชสื่อการเรยี นรู 1.7 การจดั กจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตร 1.8 การจัดมมุ หนังสือ หอ งสมุด และแหลง เรยี นรูในสถานศึกษา 1.9 การวัดและประเมนิ ผลตามสภาพจริง 1.10 การสอนซอมเสริม 1.11 การวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาการศึกษา 1.12 การประกนั คุณภาพการศกึ ษา 1.13 การสง เสรมิ และสนับสนุนใหค รจู ัดทาํ แฟม ขอ มูลนกั เรียนเปน รายบุคคล 1.14 การประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา 1.15 การจดั ศูนยโ สตทศั นปู กรณ 1.16 การจดั บริการแนะแนว 2. ดา นบรหิ ารบุคคล งานดา นบริหารบุคคล เปนการจัดดาํ เนินการ เพื่อใหบ ุคลากรในสถานศกึ ษาไดรแู ละเขา ใจหนา ท่ี และความรบั ผิดชอบของตน การติดตามดแู ลชว ยเหลอื ใหป ฏบิ ัติงานท่ไี ดร บั มอบหมายใหป ระสบความสําเร็จ อยางมีประสิทธิภาพ สรางบรรยากาศในการทํางานใหผูรวมงานทุกคนเกิดความสาํ นึกในหนาที่ที่รับผิดชอบ

13 สรา งความรว มมือรว มใจในการปฏิบตั งิ าน สงเสริมใหบคุ ลากรในสถานศึกษาพัฒนาตนเองใหมีความสามารถ ในการปฏิบตั งิ านสงู ข้ึน ไดแก 2.1 การวางแผนอตั รากาํ ลังและกาํ หนดตําแหนง 2.2 การกําหนดความตอ งการ หนา ที่และความรับผดิ ชอบของบุคลากร 2.3 การมอบหมายหนาทีแ่ ละความรับผดิ ชอบ 2.4 การปฐมนเิ ทศบุคลากรใหม 2.5 การจดั สวัสดิการ 2.6 การนเิ ทศ ตดิ ตามผลการปฏิบตั ิงาน 2.7 การพฒั นาบุคลากร 2.8 การสงเสรมิ ใหนกั เรียนไดศ ึกษาตอ 2.9 การประเมนิ ผลปฏิบตั ิงาน 2.10 การพิจารณาความดคี วามชอบ 2.11 การกาํ หนดมาตรฐานการปฏบิ ัติงานของบคุ ลากร 2.12 งานวนิ ยั และนิตกิ ร 3. ดา นบรหิ ารท่วั ไป งานดานบริหารทั่วไปเปนงานท่ีเกี่ยวของกับระบบสํานักงาน ซึ่งมีขอกําหนดกฎเกณฑ และวิธกี ารท่ีแนนอน ไดแก 3.1 งานธุรการและสารบรรณ 3.2 งานทะเบยี นและรายงาน 3.3 งานขอมลู และสารสนเทศ 3.4 งานจดั ทําแผนปฏิบัติการและการจดั ระบบการศกึ ษา 3.5 งานอาคารสถานที่ สง่ิ แวดลอ ม และความปลอดภยั 3.6 งานประชาสมั พันธ 3.7 งานสวสั ดิการ 3.8 งานพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษา 3.9 งานระเบียบ กฎหมาย กฎกระทรวง และขอปฏบิ ตั ิตา งๆ 3.10 กิจกรรม 5 ส. 4. ดานงบประมาณ งานดานงบประมาณ เปน งานท่เี กย่ี วขอ งกับระบบการเงินและพสั ดุ ไดแก 4.1 งานงบประมาณ 4.2 งานจดั ทาํ แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ป 4.3 งานจัดตั้งและการของบประมาณประจาํ ป 4.4 งานเบกิ จายงบประมาณ 4.5 งานรายงานการใชจา ยเงินงบประมาณประจําป 4.6 การตรวจสอบ ตดิ ตาม และประเมินประสิทธภิ าพการบรหิ ารงบประมาณ 4.7 การบรหิ ารการเงนิ 4.8 การบริหารการบญั ชี 4.9 การบรหิ ารงานพสั ดุ 4.10 ระบบทรพั ยากรและการลงทนุ เพอ่ื การศกึ ษา

14 บทบาทของบุคลากรในการนิเทศ การสงเสริมใหก ระบวนการนิเทศภายในโรงเรียนดําเนินไปตามวัตถุประสงคและมีประสิทธิภาพ บทบาทของบุคลากรในการนิเทศนบั วามีความสําคัญในการทีใ่ ชบ ทบาททีเ่ หมาะสมกบั พฤติกรรมการนเิ ทศ แบบใด มวี ธิ ีการนเิ ทศตามข้นั ตอนของแตล ะกิจกรรมอยา งไรท่ีจะนเิ ทศ บุคลากรการนิเทศ หมายถึง ผูบริหารและคณะกรรมการนิเทศของสถานศึกษาแตละแหง มบี ทบาทและภารกิจสาํ คัญ ดงั น้ี 1. บทบาทในการสงเสริมและจัดใหมีการนิเทศภายในโรงเรียน เพ่ือใหเกิดการพัฒนา ตนเอง สามารถดําเนนิ งานตามนโยบายไดถ กู ตอง ทําหนา ทน่ี ิเทศภายในโรงเรียนไดอยางสมบูรณ 2. บทบาทในการใชนวัตกรรม เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพ่ือพัฒนาศักยภาพครู โดยเฉพาะ การจดั การเรยี นรใู หดีข้ึน สง เสริมใหมีการใชนวัตกรรม เทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพ นํามาปรับใช ใหเหมาะสมกบั ครใู นโรงเรียน 3. บทบาทในการจัดประชุมอบรม มีการจัดประชุมอบรมในรูปแบบตางๆ เชน การประชุมปฏิบัติการ การสัมมนา อภิปรายกลุม เปนตน นอกจากน้ี ยังตองสงเสริมใหครูมีโอกาส เขารบั การอบรมในการพฒั นาวิชาชีพ นําทกั ษะความรูมาปฏบิ ัตงิ านไดอ ยางมีประสทิ ธภิ าพ 4. บทบาทในการติดตามประเมินผล ซึ่งจะชวยใหครูพัฒนาศักยภาพไดดีขึ้น การประเมนิ เพ่อื นําผลท่ไี ดมาปรบั ปรงุ แกไข ใหเกดิ การพัฒนาเชิงสรา งสรรค 5. บทบาทในการใชกลุมโรงเรียน สมาคมวิชาชีพหรือเครือขายเปนแนวทางเพ่ือกอใหเกิด ประโยชนแกครูในโรงเรียน โดยใชกลุมหรือเครือขายชวยเหลือดวยวิธีการตางๆ เชน การจัดประชุม ทางวิชาการ การศกึ ษาเอกสาร การศึกษาดงู าน ฯลฯ 6. บทบาทในการสรางครูตนแบบในสาขาวิชาตางๆ ซึ่งจะกอใหเกิดผลในการพัฒนา และเปน แบบอยา งแกค รูท่วั ไปได คณะกรรมการดําเนินการนิเทศภายในโรงเรียน หมายถึง บุคลากรที่อยูในโรงเรียน เชน ผอู าํ นวยการ รองผูอาํ นวยการ ครหู วั หนากลุมงาน ครูหัวหนาระดับชั้น หรือครูหัวหนากลุมสาระการเรียนรู รวมไปถึงครูที่มีความรูความสามารถ มีความชํานาญ/เชี่ยวชาญ และประสบการณดานวิชาการ มีความรบั ผิดชอบสงู มนุษยสมั พันธท่ดี ี เปน ท่ยี อมรับของเพ่ือนครู ดังนน้ั คณะกรรมการดําเนินการนิเทศ ภายในโรงเรียนควรประกอบดวย 1. โรงเรียนขนาดใหญพ เิ ศษ ขนาดใหญ และขนาดกลาง 1.1 ผอู ํานวยการ ประธาน 1.2 รองผูอํานวยการ รองประธาน 1.3 ครหู ัวหนากลุมสาระการเรียนรู กรรมการ 1.4 ครหู ัวหนาระดบั ช้นั กรรมการ 1.5 ครทู ี่ไดรบั คัดเลอื กจากเพื่อนครู กรรมการ 2. โรงเรียนขนาดเล็ก 1.1 ผูอํานวยการ ประธาน 1.2 หวั หนางานวชิ าการ รองประธาน 1.3 ครูทไ่ี ดรบั คัดเลอื กจากเพอื่ นครู กรรมการ บทบาทของผูนิเทศ ซ่ึงประกอบดวย ผูบริหาร หรือผูท่ีไดรับมอบหมาย ตองมีบทบาทหนาที่ ท่แี ตกตา งกัน เพ่อื ใหก ารนิเทศภายในโรงเรยี นบรรลวุ ัตถุประสงค ดังนี้

15 1. กาํ หนดนโยบายของการนิเทศภายในโรงเรียน เชน สงเสริมใหใชกระบวนการกลุม ในการทํางานเพือ่ ใหเ กดิ ความสามัคคีในหมูคณะ เปน ตน 2. สงเสริมใหครูมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการนิเทศภายใน และหลักสูตรหรือ เรอ่ื งสน้ั ๆ ทคี่ รูสว นใหญ มีความตอ งการในการพฒั นา ซง่ึ จะเปน ประโยชนตอการปรับปรุงการปฏิบัติงาน ในหนาทีค่ รู ตลอดจนมีเจตคตทิ ีด่ ีตอการนเิ ทศภายในโรงเรียน 3. รวมประชุมวางแผนกับคณะครใู นโรงเรียนเพื่อพัฒนาคณุ ภาพการเรยี นการสอน 4. สนับสนุนดานงบประมาณ วัสดอุ ุปกรณ ตลอดจนขวัญและกาํ ลังใจ 5. กระตนุ ใหครเู กิดการตน่ื ตวั อยเู สมอในดานวชิ าการ 6. ปฏิบตั ิการนเิ ทศภายในโรงเรยี นตามแผนการนิเทศของสถานศึกษา 7. เปดโอกาสใหคณะครูมีสวนรวมในการดําเนินงานนิเทศภายในโรงเรียน และมี การประเมินตนเอง 8. สรางขวญั และกาํ ลังใจแกผปู ฏิบัติงานดว ยวธิ กี ารตางๆ เชน ยกยองชมเชยในท่ีประชมุ นําผลสําเร็จของการปฏิบัติงานมาแสดงใหปรากฏแกบุคคลอ่ืน แตงตั้งคณะทํางานตามความถนัด และเปดโอกาสใหแสดงความสามารถอยา งเต็มที่ 9. ตดิ ตามประเมินผล และพัฒนาการดาํ เนนิ การนิเทศภายในโรงเรียน แนวคดิ ในการปฏบิ ตั ิงานของผูน เิ ทศ ผูบริหารสถานศึกษา และคณะกรรมการนิเทศภายในโรงเรียนควรเขาใจและตระหนัก เก่ียวกับการนเิ ทศภายในโรงเรยี น ดงั น้ี 1. การเรมิ่ ตน จัดกิจกรรมการนิเทศภายในโรงเรียนในระยะแรกควรหลีกเลี่ยงกิจกรรม ท่ตี อ งเผชญิ หนากัน เชน การสังเกตการสอน เพราะเปนเร่ืองละเอียดออน และเกิดความขัดแยงไดงาย ควรเลือกกิจกรรมที่สรางความคุนเคย เชน การใหคําปรึกษาหารือ การศึกษาเอกสารทางวิชาการ หรอื การศกึ ษาดูงาน เมือ่ ครคู ุน เคยกบั การนเิ ทศภายในโรงเรยี น และมคี วามพรอ มจงึ ใชกิจกรรมสงั เกตการสอน 2. ความรัก ความสามัคคีในหมูคณะ เปนปจจัยสําคัญท่ีจะชวยใหการนิเทศภายใน โรงเรยี นประสบความสาํ เรจ็ การใชกระบวนการกลุมดาํ เนินงานจะทาํ ใหไ ดผลดีเปน อยางมาก 3. กิจกรรมท่ีใชในการนิเทศ ควรตอบสนองตอปญหา ซึ่งตองรวมกันพิจารณา อยา งรอบคอบ โดยผลทเี่ กดิ จากการแกปญหา ใหเ นน การพัฒนาบุคลากรและพัฒนางาน 4. คณะกรรมการนเิ ทศ ควรศึกษาหาความรูและประสบการณ เพอ่ื นาํ มาใชใ นการนิเทศ ครใู นสถานศกึ ษา 5. สรางศรทั ธาและความเขาใจอนั ดีกบั ผูร ับการนเิ ทศ บทบาทของผรู บั การนิเทศ การนเิ ทศภายในโรงเรียนจะประสบผลสําเร็จไดก ็ตอเมื่อผูรับการนิเทศ จะตองใหความรวมมือ ในการดาํ เนนิ การนเิ ทศ ดังน้ี 1. รวมกิจกรรมในการเก็บรวบรวมขอมลู และการจัดทาํ แผนการนิเทศภายในโรงเรียน 2. นาํ แนวทางท่ไี ดรับจากการนเิ ทศไปแกไ ขปญหาหรอื พฒั นางาน 3. เสนอปญ หาตอผนู เิ ทศ เมอื่ พบปญ หาระหวา งการปฏิบตั งิ านเพ่อื รว มกันหาแนวทางแกไข 4. ใหความรว มมอื ในการประเมินผลการนเิ ทศ

บทที่ 3 แนวทางการดําเนินการนเิ ทศภายในโรงเรยี น การนเิ ทศภายในโรงเรยี น เปนงานที่ชว ยพัฒนาครูในดา นตางๆ เพ่อื จะใชประโยชนสูงสุดจากทรัพยากร บคุ ลากรภายในโรงเรยี น รวมท้ังการสรางความรวมมือและการแกไ ขปญ หาการทํางานรวมกัน โดยเฉพาะอยางยิ่ง ดา นวชิ าการเกีย่ วกบั การเรียนการสอน เพ่อื ใหเปน ไปตามจุดมงุ หมายของการศึกษา บุคลากรภายในโรงเรยี น ที่สามารถนิเทศไดนอกจากผูบริหารแลวคือ ครทู ี่มีประสบการณ ความรู ความชํานาญ ขึ้นอยูกับจุดมุงหมาย จํานวนผรู บั การนิเทศ เวลา และทรัพยากรอ่ืนๆ ในการจัดทําโครงการนิเทศนั้น ควรจะไดศึกษาสภาพปจจุบัน ปญ หาและความตองการในการนิเทศ จัดทาํ แผนการนิเทศ แลวจึงนาํ แผนไปสกู ารปฏิบัติตามจุดมุงหมาย ทวี่ างไว ควรมกี ารประเมินผลการนเิ ทศเพ่ือนําไปปรบั ปรงุ และพฒั นาการเรยี นการสอน ในการดําเนินงานนิเทศภายในโรงเรียนเพื่อใหเกิดผลสําเร็จ ตองอาศัยกระบวนการนิเทศ และการนิเทศการศึกษา รวมถึงกจิ กรรมการนิเทศหรือเทคนคิ วิธกี ารในการนเิ ทศ ซงึ่ ไดส รุปและรวบรวมไว เพ่อื เปนประโยชนก บั ผูนิเทศ 4 เรื่อง ดังนี้ 1. กระบวนการนเิ ทศภายในโรงเรียน 2. เทคนิควิธีการนเิ ทศภายในโรงเรยี น 3. กิจกรรมการนเิ ทศ 4. มาตรฐานการนเิ ทศภายในโรงเรยี น กระบวนการนเิ ทศภายในโรงเรียน กระบวนการนิเทศ มคี วามเชื่อมโยงและเปนกระบวนการท่ีเกี่ยวพันกันกับกระบวนการนิเทศการศึกษา ซึ่งการดําเนินการในการนิเทศใหไดรับความสําเร็จ ส่ิงสําคัญในการจัดการนิเทศการศึกษาก็คือ จะดําเนินการอยางไรจึงจะทําใหประสบผลสําเร็จตามเปาหมายที่ไดวางไว ขั้นตอนในการปฏิบัติงาน ทางการนิเทศการศึกษาเรยี กไดอกี อยางหนง่ึ วา “กระบวนการนเิ ทศ” เน่ืองจากกระบวนการเปน เทคนิควิธี ในการทาํ งาน ดงั นน้ั กระบวนการทํางานของแตละบคุ คลยอ มจะมีความแตกตา งกันไปบาง นักการศกึ ษาไดกําหนดกระบวนการนิเทศการศกึ ษาไวหลายรูปแบบใหยึดเปนหลักในการปฏิบัติ เชน 1. กระบวนการนเิ ทศของแฮริส (Harris) แฮริส ไดกําหนดข้ันตอนของกระบวนการนิเทศ การศกึ ษาไว 5 ขน้ั ตอน ดงั นี้ 1.1 ข้นั วางแผน (Planning) ไดแ ก การคิด การต้ังวัตถุประสงค การคาดการณลวงหนา การกาํ หนดตารางงาน การคนหาวธิ ปี ฏิบัติงาน และการวางโปรแกรมงาน 1.2 ข้ันการจัดโครงการ (Organizing) ไดแก การต้ังเกณฑมาตรฐาน การรวบรวม ทรพั ยากรที่มีอยูท้ังคนและวัสดุอุปกรณ ความสัมพันธแตละข้ัน การมอบหมายงาน การประสานงาน การกระจายอํานาจตามหนาที่ โครงสรางขององคก าร และการพัฒนานโยบาย 1.3 ข้ันการนําเขาสูการปฏิบัติ (Leading) ไดแก การตัดสินใจ การเลือกสรรบุคคล การเรา จูงใจใหม ีกาํ ลังใจคดิ รเิ ร่มิ อะไรใหมๆ การสาธติ การจงู ใจ และใหคาํ แนะนาํ การสือ่ สาร การกระตุน สงเสรมิ กําลงั ใจ การแนะนาํ นวัตกรรมใหมๆ และใหค วามสะดวกในการทํางาน 1.4 ข้ันการควบคุม (Controlling) ไดแก การส่ังการ การใหรางวัล การลงโทษ การใหโอกาส การตาํ หนิ การไลออก และการบังคับใหกระทาํ ตาม

17 1.5 ขั้นประเมินผล (Appraising) ไดแ ก การตัดสนิ การปฏบิ ตั งิ าน การวิจัย และการวดั ผล การปฏิบตั ิงาน กิจกรรมท่ีสําคัญ คือ พิจารณาผลงานในเชิงปฏิบัติวาไดผลมากนอยเพียงใด และวัดผล ดว ยการประเมินอยางมแี บบแผน มคี วามเทีย่ งตรง ทั้งนี้ ควรจะมกี ารวิจยั ดวย ตอมาแฮริสไดพัฒนาใหมีความสมบูรณเหมะสมกับการนิเทศมากขึ้น โดยเนนการวางแผน ปฏบิ ัติงานมากกวา การควบคุมงาน ทําใหม ขี นั้ ตอนเพิม่ ขนึ้ เปน 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ประเมินสภาพการทํางาน (Assessing) เปนกระบวนการศึกษาถึงสถานภาพตางๆ รวมท้งั ขอมลู ทจี่ ําเปน เพือ่ จะนํามาเปน ตวั กาํ หนดถึงความตองการจาํ เปน เพ่ือกอ ใหเกิดความเปล่ียนแปลง ซ่งึ ประกอบดว ยงานตอไปนี้ คือ 1.1 วิเคราะหขอมูลโดยการศึกษาหรือพิจารณาธรรมชาติ และความสัมพันธ ของสงิ่ ตางๆ 1.2 สังเกตส่งิ ตา งๆ ดวยความรอบคอบถถี่ วน 1.3 ทบทวนและตรวจสอบสิ่งตา งๆ ดว ยความระมัดระวงั 1.4 วดั พฤติกรรมการทํางาน 1.5 เปรียบเทยี บพฤตกิ รรมการทํางาน 2. จัดลําดับความสําคัญของงาน (Prioritizing) เปนกระบวนการกําหนดเปาหมาย จดุ ประสงค และกจิ กรรมตางๆ ตามลําดับความสําคญั จะประกอบดวยงานตอไปนี้ คอื 2.1 กําหนดเปาหมาย 2.2 ระบจุ ุดประสงคในการทํางาน 2.3 กําหนดทางเลือก 2.4 จดั ลําดับความสาํ คญั 3. ออกแบบการทํางาน (Designing) เปน กระบวนการวางแผนหรอื กําหนดโครงการตางๆ เพื่อกอใหเกิดการเปลย่ี นแปลงโดยประกอบดว ยงานตอไปนี้ คือ 3.1 จัดสายงานใหส วนประกอบตางๆ มคี วามสัมพันธก นั 3.2 หาวธิ ีการนาํ เอาทฤษฎหี รอื แนวคดิ ไปสกู ารปฏิบัติ 3.3 เตรียมการตา งๆ ใหพรอมทจ่ี ะทํางาน 3.4 จดั ระบบการทํางาน 3.5 กําหนดแผนในการทาํ งาน 4. จดั สรรทรัพยากร (Allocating Resources) เปน กระบวนการกําหนดทรัพยากรตางๆ ใหเ กดิ ประโยชนสงู สดุ ในการทาํ งาน ซึ่งประกอบดวยงานตอไปนี้ คอื 4.1 กาํ หนดทรัพยากรทีต่ อ งใชต ามความตองการของหนวยงานตางๆ 4.2 จดั สรรทรัพยากรไปใหห นวยงานตา งๆ 4.3 กาํ หนดทรพั ยากรทจี่ าํ เปน จะตอ งใชส าํ หรบั จุดมงุ หมายบางประการ 4.4 มอบหมายบุคลากรใหทํางานในแตล ะโครงการหรอื แตละเปาหมาย 5. ประสานงาน (Coordinating) เปนกระบวนการท่ีเก่ียวของกับคน เวลา วัสดุอุปกรณ และส่ิงอํานวยความสะดวกทุกๆ อยาง เพ่ือจะใหการเปล่ียนแปลงบรรลุผลสําเร็จงานในกระบวนการ ประสานงาน ไดแ ก 5.1 ประสานการปฏบิ ัติงานในฝา ยตา งๆ ใหด ําเนินงานไปดวยกนั ดว ยความราบรน่ื 5.2 สรา งความกลมกลนื และความพรอ มเพยี งกัน 5.3 ปรบั การทํางานในสวนตางๆ ใหมีประสิทธภิ าพใหมากทส่ี ุด

18 5.4 กาํ หนดเวลาในการทํางานในแตล ะชว ง 5.5 สรา งความสัมพนั ธใหเ กิดขึ้น 6. นาํ การทํางาน (Directing) เปน กระบวนการทีมีอิทธิพลตอการปฏิบัติงาน เพ่ือใหเกิด สภาพที่เหมาะสมอันจะสามารถบรรลผุ ลแหง การเปลี่ยนแปลงใหมากทส่ี ุด ซึง่ ไดแก 6.1 การแตง ต้ังบคุ ลากร 6.2 กําหนดแนวทางหรอื กฎเกณฑใ นการทาํ งาน 6.3 กาํ หนดระเบยี บแบบแผนเกย่ี วกับเวลา ปริมาณหรอื อัตราเร็วในการทํางาน 6.4 แนะนําและปฏิบตั ิงาน 6.5 ชีแ้ จงกระบวนการทาํ งาน 6.6 ตัดสินใจเกยี่ วกับทางเลอื กในการปฏบิ ตั ิงาน (ปรียาพร วงศอนุตรโรจน, 2548: 41 – 43) 2. กระบวนการนิเทศการศึกษาของแอลเลน (Allen) (อางถึงใน สงัด อทุ รานนั ท 2530: 76 – 79) ประกอบดวยกระบวนการหลกั 5 กระบวนการ ท่เี รยี กวา “POLCA” คือ 2.1 กระบวนการวางแผน (Planning Processes) เปนกระบวนการในวางแผนโดยคิดถึง สิ่งที่จะทําวามีอะไรบาง กําหนดแผนงานวาจะทําสิ่งไหน เม่ือไหร กําหนดจุดประสงคในการทํางาน คาดคะเนผลทีจ่ ะเกดิ จากการทาํ งาน พัฒนากระบวนการทาํ งาน และวางแผนในการทาํ งาน 2.2 กระบวนการจดั สายงาน (Organizing Processes) เปน กระบวนการจัดสายงานหรือ จัดบุคลากรตางๆ เพ่อื ทาํ งานตามแผนงานทีว่ างไว โดยกาํ หนดเกณฑม าตรฐานในการทํางาน ประสานงาน กับบุคลากรตางๆ ท่ีจะปฏิบัติงาน จัดสรรทรัพยากรตางๆ สําหรับการดําเนินงาน มอบหมายงานให บคุ ลากรฝายตางๆ จัดใหม ีการประสานงานสมั พนั ธกนั ระหวา งผูท ํางาน จัดทําโครงสรางในการปฏิบัติงาน จัดทาํ ภาระหนา ทีข่ องบคุ ลากร และพัฒนานโยบายในการทาํ งาน 2.3 กระบวนการนํา (Leading Processes) เปน กระบวนการนําบุคลากรตางๆ ใหทํางานน้ัน ประกอบดว ยการตดั สนิ ใจเกย่ี วกบั สง่ิ ตา งๆ ใหคําปรึกษาแนะนํา สรางนวตั กรรมในการทํางาน ทําการส่ือสาร เพือ่ ความเขา ใจในคณะทํางาน สรางแรงจูงใจในการทาํ งาน เรา ความสนใจในการทํางาน อํานวยความสะดวก ในการทาํ งาน รเิ ร่มิ การทํางาน แนะนําการทํางาน แสดงตัวอยางในการทํางาน บอกข้ันตอนการทํางาน และสาธติ การทํางาน 2.4 กระบวนการควบคุม (Controlling Processes) เปนกระบวนการในการควบคุม ประกอบดว ย การชวยแกไ ขการทํางานที่ไมถูกตอ ง การวา กลาวตกั เตอื นในสงิ่ ทผ่ี ิดพลาด การกระตุนใหท าํ งาน การปลดคนทไ่ี มม คี ุณภาพใหออกจากงาน การสรางกฎเกณฑในการทํางาน และการลงโทษผูกระทาํ ผิด 2.5 กระบวนการประเมินผลการทาํ งาน (Assessing Processes) ประกอบดวย การพจิ ารณา ตดั สนิ เก่ยี วกบั การปฏบิ ัตงิ าน การวัดและประเมนิ พฤติกรรมในการทํางาน และการวิจัยผลการปฏิบัติงาน 3. กระบวนการนิเทศแบบ PIDRE ของสงัด อุทรานันท (อางใน วัชรา เลาเรียนดี 2550: 25 – 26) ดร. สงัด อทุ รานนั ท ไดกลาวสรุปไววากระบวนการนิเทศการศึกษา มี 5 ข้ันตอน ในการดําเนินการ คอื ขัน้ ที่ 1 วางแผนการนิเทศ (Planning-P) ขั้นท่ี 2 ใหค วามรู ความเขาใจในการทาํ งาน (Informing-I) ขนั้ ท่ี 3 ลงมือปฏิบตั งิ าน (Doing-D) ขัน้ ที่ 4 สรางเสรมิ กําลังใจ (Reinforcing-R) ข้ันท่ี 5 ประเมินการนิเทศ (Evaluating-E)

19 กระบวนการนเิ ทศการศกึ ษา ในกรณีที่ทาํ แลวไดผลดี (ขั้น 3.2) ใหก ารนิเทศ และควบคมุ คณุ ภาพ (ขั้น 1) (ข้ัน 2) (ข้ัน 3.1) (ข้นั 4) (ขั้น 5) วางแผน ใหความรใู น ดําเนินการ ทะนบุ ํารุง ประเมินผล การนเิ ทศ ส่งิ ทีจ่ ะทาํ ปฏบิ ัติงาน ขวัญ E R P I D บริการ สนบั สนนุ (ขนั้ 3.3) ในกรณที ่ีทํายังมคี ณุ ภาพไมถ งึ ข้ัน ปรบั ปรุงแกไข ในกรณที ีท่ าํ ยังไมไดผล จากรูปแบบกระบวนการนิเทศ มีรายละเอียดในการดําเนินการอยางเปนข้ันตอนและ ตอเน่ืองกนั ดงั น้ี คือ ขนั้ ท่ี 1 วางแผนการนิเทศ (Planning-P) เปนขัน้ ทีผ่ ูบรหิ ารผนู ิเทศและผรู บั การนเิ ทศจะทํา การประชุมปรึกษาหารือเพื่อใหไดมาซึ่งปญหาและความตองการจําเปนที่จะตองมีการนิเทศ รวมท้ัง วางแผนถงึ ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั งิ านเกยี่ วกับการนเิ ทศทีจ่ ะจัดขึ้นอีกดว ย ขน้ั ที่ 2 ใหค วามรใู นสงิ่ ท่ีจะทาํ (Informing-I) เปนขน้ั ตอนของการใหความรูความเขาใจถึง ส่งิ ท่ีจะดาํ เนนิ งานวาจะตอ งอาศยั ความรคู วามสามารถอยางไรบา ง จะมีข้ันตอนในการดําเนินการอยางไร และจะทาํ อยางไรจงึ จะทําใหไ ดผ ลงานออกมาอยา งมคี ณุ ภาพ ขน้ั นจี้ ําเปนทุกครง้ั สําหรับการเริ่มการนิเทศ ท่ีจัดข้ึนใหมไมวาจะเปนเร่ืองใดก็ตาม และก็มคี วามจําเปนสําหรับงานนิเทศที่ยังไมไดผล หรือไดผล ไมถ ึงขน้ั ทพ่ี อใจซ่ึงจําเปนจะตองทาํ การทบทวนใหความรใู นการปฏิบัตงิ านทถ่ี ูกตองอีกครัง้ หน่ึง ขั้นท่ี 3 การปฏบิ ัตงิ าน (Doing -D) ประกอบดวยงานใน 3 ลักษณะ คอื 3.1 การปฏิบัติงานของผูรับนิเทศเปนข้ันท่ีผูรับการนิเทศลงมือปฏิบัติงานตาม ความรูความสามารถทไ่ี ดร ับมาจากดาํ เนินการในขน้ั ที่ 2 3.2 การปฏิบัติงานของผูใหการนิเทศ ขั้นนี้ผูใหการนิเทศจะทําการนิเทศและ ควบคมุ คณุ ภาพใหง านสาํ เรจ็ ออกมาทนั ตามกาํ หนดเวลาและมีคณุ ภาพสงู 3.3 การปฏบิ ตั งิ านของผสู นบั สนุนการนิเทศ ผูบริหารก็จะใหบริการสนับสนุนใน เร่อื งวัสดุ อุปกรณ ตลอดจนเคร่อื งใชต า งๆ ท่จี ะชว ยใหการปฏบิ ตั งิ านเปนไปอยางไดผล ขั้นที่ 4 การสรางขวัญและกําลังใจ (Reinforcing-R) ข้ันน้ีเปนขั้นของการเสริมกําลังใจ ของผูบริหารเพื่อใหผูรับการนิเทศมีความมนั่ ใจและบังเกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงานขั้นน้ี อาจจะ ดาํ เนนิ การไปพรอมๆ กนั กบั ผูทร่ี บั การนเิ ทศกาํ ลังปฏิบัตงิ านหรือการปฏบิ ตั งิ านไดเสรจ็ สิ้นลงไปแลวกไ็ ด

20 ขั้นที่ 5 ประเมินผลผลติ ของการดําเนนิ งาน (Evaluating-E) เปน ขั้นทผี่ ูนิเทศทาํ การประเมนิ ผล การดาํ เนินการซ่ึงผานไปแลววาเปนอยางไร หลังจากการประเมินผลการนิเทศ หากพบวามีปญหาหรือ อุปสรรคอยางหนึ่งอยางใดท่ีทําใหการดําเนินงานไมไดผลก็สมควรจะตองทําการปรับปรุงแกไข ซึง่ การปรบั ปรงุ แกไ ขอาจจะทําไดโดยการใหความรใู นสิง่ ทที่ าํ ใหมอ กี คร้ังหนึง่ สําหรับกรณที ีผ่ ลงานออกมา ยงั ไมถงึ ข้นั ทพี่ อใจ หรือดําเนินการปรับปรุงการดําเนินงานท้ังหมด สําหรับกรณีการดําเนินงานไมไดผ ล และถาหากการประเมินผล พบวา ประสบผลสําเร็จตามท่ไี ดต งั้ ไวห ากจะไดด ําเนินการนิเทศตอไปก็สามารถ ทาํ ไปไดเลยโดยไมต องใหความรูในเรือ่ งน้นั อกี การดําเนินการนิเทศตามวฏั จกั รน้ีจะเปน ไปอยา งตอเน่ืองและไมหยุดนิ่งจนกวาจะบรรลผุ ล ตามจดุ มุงหมายทวี่ างไว หรือพฒั นาผูรับการนิเทศใหเปนไปตามตองการหากบรรลุสําเร็จตามจุดมุงหมาย แลว ตองการจะหยุดกระบวนการทํางานก็ถือวาการนิเทศไดส ้ินสุดลง หากตองการเร่ิมนิเทศในส่ิงใหม หรือตงั้ เปา หมายใหม กจ็ ะตองดาํ เนนิ การต้งั แตเ ริ่มแรกอกี ดงั แสดงใหเหน็ ความตอเนือ่ งของกระบวนการ นเิ ทศการศกึ ษาในภาพดังตอไปนี้ ความตอ เนอ่ื งของกระบวนการนิเทศการศกึ ษาในเรอื่ งตา งๆ เรอ่ื งท่ี 1 เรือ่ งท่ี 2 P I DRE เรอ่ื งที่ 3 P I DRE P 4. กระบวนการนเิ ทศแบบ PDCA กระบวนการนิเทศการศึกษาของหนวยศกึ ษานเิ ทศก กรมสามัญศึกษา (หนวยศึกษานิเทศก กรมสามัญศึกษา จังหวัดสุราษฎรธานี, 2545: 15 – 16) ไดใชกระบวนการ PDCA ในการดําเนินการ มขี ั้นตอนของการวางแผนการนิเทศทสี่ าํ คัญ ดังน้ี ข้นั ตอนที่ 1 ดําเนินการวางแผน เปนขั้นเตรียมการนิเทศโดยศึกษาขอมูลสารสนเทศ ประมวลสภาพปญ หาและความตองการในการพัฒนาการศึกษา กําหนดจุดมุงหมายการนิเทศ จัดทําแผน การนเิ ทศ กาํ หนดเนือ้ หาการนิเทศ ออกแบบการนิเทศ ส่อื นเิ ทศ จัดเตรียมเคร่อื งมอื นิเทศ กําหนดกรอบ การประเมิน วิธีการติดตามและการรายงานผลการนิเทศ และขออนุมัตโิ ครงการ งบประมาณ ข้นั ตอนท่ี 2 ดําเนนิ การตามแผนนเิ ทศ โดยประชมุ เพ่อื ทบทวนจุดมุง หมายการนิเทศ แบงหนาท่ี ภารงานในการนิเทศ ประสานงานบุคคลที่เกี่ยวของ และนิเทศตามแผนดวยรูปแบบ เทคนิค วิธีการ ที่กําหนด ขัน้ ตอนท่ี 3 ดําเนินการตรวจสอบและประเมินผล เพ่ือประเมินผลการปฏิบัติงานวาเปนไป ตามจุดมุงหมายหรอื ไม และมีสภาพการจัดการเรยี นการสอนทีค่ รูปฏิบตั ิจริง ปญ หา อุปสรรค ทีเ่ ปนขอ มูล สารสนเทศทตี่ อ งตรวจสอบดูใหม แลวปรบั ปรุงการนเิ ทศตอไป

21 ข้ันตอนที่ 4 การนาํ ผลการประเมินมาปรบั ปรุง เมือ่ ส้นิ สดุ ผลการนิเทศแตล ะครัง้ ควรรายงานผล ใหผูบังคับบัญชาทราบโดยทาํ เปนบนั ทกึ ขอความ หรือแบบรายงานทกี่ าํ หนดไวในหัวขอ ประเดน็ ตางๆ เชน ผูนิเทศ ผูรับการนิเทศ วันเดือนปที่นิเทศ กิจกรรมท่ีนิเทศ เน้ือหาสาระที่นิเทศ การประเมินผลของ ผรู บั การนิเทศ และขอควรพัฒนา กระบวนการนิเทศการศึกษา ไดใชกระบวนการ PDCA ในการดําเนินการมีขั้นตอนของ การวางแผนการนเิ ทศเปน สวนสําคญั ดังนี้ ผลการประเมินคณุ ภาพการศึกษา จัดระบบขอมลู สารสนเทศ ปญ หาการดาํ เนนิ การนิเทศ กาํ หนดจดุ พัฒนาการนิเทศ ความตองการในการพัฒนา จดั ทาํ แผนการนิเทศ นโยบายจากหนวยงานเจาสังกดั จดั ทาํ โครงการนเิ ทศ พ.ร.บ.การศึกษาแหง ชาติ การวางแผน การปฏิบตั ิงาน (Plan) ตามแผน (Do) กระบวนการนิเทศภายใน สถานศกึ ษา การนําผลการประเมนิ การตรวจสอบและ มาปรบั ปรุง (Action) ประเมนิ ผล (Check) จดั ทาํ รายงานผลการนเิ ทศ วเิ คราะหขอมลู เสนอผลการนิเทศและเผยแพร เสนอผลงาน พฒั นาตอ เนอ่ื ง จากกรอบแนวคิดการดําเนินงานในการวางแผนการนิเทศการศึกษา กําหนดเปนขั้นตอน ท่นี าํ ไปใชในการดาํ เนนิ งานนเิ ทศภายในโรงเรียน 5. กระบวนการนิเทศเชงิ ระบบ (System Approach) สาํ นักงานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (2555: 6 – 17) ไดใช กระบวนการเชิงระบบท่ีทําใหการนิเทศบรรลุผลสําเร็จอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตอผลลพั ธ ที่กําหนดอยูบนพื้นฐานหลักการความตองการเปนรูปแบบหนึ่งของการแกปญหาเชิงตรรถวิทยา ซ่ึงประกอบดวย ส่ิงท่ีปอนเขาไป (Input) กระบวนการหรือการดําเนินงาน (Process) ผลผลิตหรือการ ประเมินผล (Output) ในการดําเนนิ งานนิเทศภายใน ดงั น้ี

22 5.1 สิ่งที่ปอนเขาไป (Input) เปนขั้นตอนการเตรียมการส่ิงตางๆ ที่จําเปนตองใชใน กระบวนการนิเทศภายใน ดงั นี้ 5.1.1 กําหนดเกณฑในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน โดยวิธีวิเคราะห ตีความตามนโยบายของหนวยงานตนสังกัดตามลําดับ กําหนดเกณฑ (ระดับ) ของพฤติกรรมขั้นตํ่าท่ี บรรลุเปา หมาย 5.1.2 สภาพปจ จบุ นั อาจสรปุ จากขอมูลทมี่ อี ยู เชน ผลการเรยี น หรอื โดยการสรา ง เครื่องมือวดั ตามประเดน็ และนาํ มากาํ หนดเปน เกณฑ เกบ็ รวบรวมขอ มลู จากกลมุ ตัวอยา งตา งๆ ทีเ่ หมาะสม 5.1.3 ประเมนิ สภาพความตองการจาํ เปนของสถานศกึ ษา โดยเปรียบเทียบขอมูล สถานศึกษากบั เกณฑจ ดั ลําดบั ความสาํ คญั ของปญหาและวเิ คราะหส าเหตุของปญหา 5.1.4 กาํ หนดเปาหมายเพ่อื แกปญหาโดยศึกษาจากแหลงวิทยาการตางๆ ศึกษา ขอจาํ กดั ตางๆ เพอื่ กาํ หนดเปนเปาหมาย (นโยบายระดับสถานศกึ ษา)ทงั้ ดา นคุณภาพ/ดา นปรมิ าณ 5.1.5 วางแผนการแกปญหา (หาทางเลือก) ศึกษาสภาพปญหาและศึกษาวิธกี าร แกปญหาจากแหลง ตา งๆ เชน จากเอกสารการศึกษาดูงาน การเชิญวิทยากร การเชิญผูเช่ียวชาญ หรือ การระดมพลังสมอง เพ่ือหาทางเลือกและประเมนิ ทางเลอื กโดยพจิ ารณาจากทรัพยากรและขอ จํากดั ตางๆ และเลือกทางเลือกท่ีเหมาะสมที่สุด เชน การวิจัย ผลิตส่ือการจัดอบรมใหกําหนดกิจกรรม และ ทาํ แผนปฏบิ ตั กิ าร (เขยี นโครงการ) 5.2 กระบวนการหรอื การดาํ เนนิ งาน (Process) เปนการนําเอาส่ิงท่ีปอนเขาไปมาจัดกระทํา เพื่อใหเกิดผลบรรลุตามวัตถุประสงค ที่ตองการและดําเนินการตามแผน โดยการประชุมคณะทํางาน ดําเนินการนิเทศตามแผน ติดตาม และประเมนิ ตามแผนท่ีไดดําเนินการ 5.3 ผลผลิตหรือการประเมินผล (Output) เปนผลท่ีไดจากการกระทําในขั้นที่สอง เปนสภาพการดําเนินงานของสถานศึกษา ท้ังเชงิ ปรมิ าณ เชิงคณุ ภาพ สภาพปญ หา และแนวทางการพัฒนาปรบั ปรงุ ใหมีคณุ ภาพ การติดตามและประเมินผลไดกําหนดเครื่องมือในการติดตามและประเมินผลตาม เกณฑเคร่ืองมอื ในการติดตามและประเมินผลกระบวนการและกําหนดกระบวนการในการติดตามและ ประเมินผล นอกจากน้ี กศน. ไดแบงการนิเทศเปน 2 ลักษณะ คือ การนิเทศภายนอก (External Supervision) และการนเิ ทศภายใน (Internal Supervision) ซ่ึงเปนการนิเทศโดยบุคลากรที่อยูในหนวยงานเดียวกัน เปนการมองงานและพัฒนางานโดยผูรวมปฏิบัติงานดวยกัน ซึ่งสามารถชวยแกปญหาเฉพาะหนา ไดท ันทวงที และสามารถพัฒนางานใหด ีขน้ึ เพราะไดร บั ความชว ยเหลอื จากผูบริหาร ลดชองวางระหวาง ผบู รหิ ารและผปู ฏิบตั งิ านได กระบวนการนิเทศ มีขั้นตอนทสี่ าํ คญั ดังนี้ 1. ศึกษาสภาพปญหาหรือศึกษาหาความจาํ เปน ของการนเิ ทศ 2. วางแผนการนิเทศ 3. เตรยี มการนเิ ทศ 4. ปฏบิ ัตกิ ารนิเทศ 5. ประเมินผลและปรับปรุงการนเิ ทศ 6. รายงานผลการนเิ ทศ

23 1. การหาความตองการและความจาํ เปนของการนิเทศ ผูบ ริหารหรอื ผนู ิเทศภายในมักจะถามตนเองวา ทาํ ไมจงึ ตอ งนิเทศงานนัน้ ๆ เรามกั จะได คําตอบวา เพราะงานนั้นยังมีปญหาอุปสรรคในการดําเนินงาน หรือการจัดการเรียนการสอนยังไมมี ประสิทธิภาพ ผูนิเทศอาจศึกษาจากรายงานการปฏิบัติงาน หรือผลการเรียนของนักศึกษา หรือจาก การสํารวจ ติดตาม สมั ภาษณ ทําใหเราสามารถทราบวาจะวางแผนแกปญหาหรอื พัฒนางานไดอ ยา งไร 2. การวางแผนการนเิ ทศ ผลจากการศึกษาปญหาขางตน ทําใหเราตองวางแผนแกปญหาหรอื พัฒนางานนั้นๆ โดยการวางแผนการนิเทศรวมกับผูบ รหิ ารและผนู ิเทศภายใน โดยมจี ุดประสงคการกาํ หนดแผนการทํางาน วิธกี าร เครอื่ งมือ สอื่ การประสานงานบุคคลทเ่ี กี่ยวขอ ง การจดั สรรงบประมาณ และการประเมนิ ผล การวางแผนการนเิ ทศเปนการเตรียมการเพื่อปฏิบัติการนิเทศอยางมีระบบ แผนการ นิเทศเปนแผนพัฒนาบุคลากร โดยเฉพาะแผนนิเทศดวยการเรียนการสอน ซ่ึงจะสงผลตอการพัฒนา คณุ ภาพการจัดกจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย แผนนิเทศท่ดี ีตอ งประกอบดวย 2.1 การสาํ รวจสภาพปญหาและความตอ งการของการนเิ ทศ 2.2 การวางแผนการนเิ ทศ 2.3 สรา ง/เลอื กเครือ่ งมอื และเทคนคิ การนิเทศ 2.4 การปฏบิ ตั ติ ามแผน 2.5 การสรุปรายงานผลการนเิ ทศ 3. การเตรยี มการนิเทศ การเตรียมการนิเทศเพ่ือสามารถปฏิบัติการนิเทศใหบรรลุเปาหมายโดยเตรียมการ อนุมัติโครงการ งบประมาณ การประสานงานบุคคลที่เกี่ยวของ กําหนดเน้ือหาในการนิเทศ จัดเตรยี ม เคร่อื งมือ/ส่อื นิเทศ วธิ กี ารนเิ ทศ วธิ ีการติดตามผลและการรายงานผลการนเิ ทศ 4. การปฏบิ ตั ิการนเิ ทศ ในการนิเทศเราสามารถใชห ลายๆ วิธีตามความเหมาะสม แตเราก็ควรวางแผนวิธกี าร นเิ ทศใหส อดคลอ งกับวตั ถุประสงคที่วางไว 5. การประเมนิ ผลและปรับปรุงการนเิ ทศ เมื่อปฏิบัติการนิเทศแลวควรจะมีการประเมินผลการปฏิบัติงานวาเปนไปตาม วัตถปุ ระสงคหรอื ไมผ ลการนิเทศเปนอยา งไร หากมีปญหาคงตองตรวจสอบดูใหม แลวปรับปรุงการนิเทศ และประเมินผลอกี ครัง้ เมื่อพอใจแลว จึงถือวา การนเิ ทศนัน้ ประสบผลสําเร็จ 6. การรายงานผลการนิเทศ เมือ่ ส้ินสดุ ผลการนิเทศแตละครั้ง ควรรายงานผลใหผูบังคับบัญชาทราบ โดยทําเปน บันทกึ ขอ ความ หรอื แบบรายงาน ทก่ี าํ หนดไวใ นหัวขอ ประเดน็ ตา งๆ เชน - ผูน ิเทศ (ใครคอื ผูนิเทศ) - ผรู บั การนิเทศ - วันเดอื นปท ีน่ ิเทศ - กิจกรรมทีน่ ิเทศ - เนือ้ หาสาระทีน่ ิเทศ - การประเมนิ ผลของผูร บั การนิเทศ

24 6. กระบวนการนิเทศภายในโรงเรยี น ของ ดร.วชั รา เลาเรียนดี ดร.วชั รา เลาเรียนดี (2550: 27 – 28) ไดเสนอกระบวนการนิเทศภายในโรงเรียนในการปรับปรุง และพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนในชัน้ เรียนโดยตรง ดังน้ี 6.1 วางแผนรว มกันระหวางผนู เิ ทศและผูรบั การนเิ ทศ (ครูหรอื คณะคร)ู 6.2 เลือกประเด็นหรือเรอื่ งท่สี นใจจะปรบั ปรุงพฒั นา 6.3 นําเสนอโครงการพัฒนาและขั้นตอนการปฏิบัติใหผูบริหารโรงเรียนไดรับทราบ และขออนุมัตกิ ารดําเนนิ การ 6.4 ใหความรูหรอื แสวงหาความรูจากเอกสารตางๆ และการจัดฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ เก่ียวกับเทคนิคการสังเกตการณสอนในช้ันเรียน และความรูเก่ียวกับวิธีสอนและนวัตกรรมใหมๆ ท่นี า สนใจ 6.5 จัดทําแผนการนิเทศ กําหนด วัน เวลา ที่จะสังเกตการสอน ประชุมปรึกษาหารือ เพอื่ การแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ และประสบการณ 6.6 ดําเนินการตามแผนโดยครแู ละผนู เิ ทศ (แผนการจัดการเรยี นรแู ละแผนการนิเทศ) 6.7 สรปุ และประเมนิ ผลการปรบั ปรุงและพฒั นารายงานผลสําเร็จ สรปุ ไดว า กระบวนการนิเทศภายในตองดาํ เนินการอยางเปนระบบ มีข้ันตอนในการดําเนินการ ทีช่ ัดเจนและตอ เน่อื งสมั พันธกัน โดยมขี นั้ ตอนที่สําคัญอยู 4 ข้ันตอน ไดแก 1. การศึกษาสภาพปจ จบุ นั ปญ หา และความตองการในการนิเทศ สภาพทเ่ี ปน จริงตามตัวบงชี้ ดา นตา งๆ ของโรงเรียนขณะน้ัน มีการศกึ ษาวิเคราะหขอ มูลตวั บง ชค้ี ณุ ภาพตา งๆ ตามเกณฑมาตรฐานต่ํา ท่ีสํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติกําหนด มีการสํารวจและประเมินความตองการ ของครู จัดลําดับความสําคัญของปญหาและความตองการ ตลอดจนวิเคราะหสาเหตุของปญหาและ จัดลําดบั ความสาํ คัญของสาเหตุ กําหนดทางเลอื กในการแกปญ หา และการดําเนินการตามความตองการ 2. การวางแผนการนเิ ทศ เปนการนําขอมลู ผลการวิเคราะหสภาพปจจุบัน ปญหา สาเหตุของปญหา และความตอ งการ มากาํ หนดกิจกรรมและแนวทางการปฏบิ ัตงิ านนิเทศ การวางแผนนเิ ทศภายในโรงเรยี น เปนขน้ั ตอนทนี่ าํ เอาทางเลือกที่จะดําเนนิ การมารวมกันกําหนดรายละเอียดกจิ กรรม และจัดลาํ ดับขนั้ ตอน การปฏิบตั ิ เขียนเปน โครงการนเิ ทศภายในโรงเรียน 3. การปฏิบัตกิ ารนเิ ทศ เปน การดําเนนิ การนเิ ทศตามกจิ กรรมทก่ี ําหนดในโครงการนิเทศภายใน โรงเรยี น ในการปฏบิ ัติการนิเทศภายในโรงเรียน ผูบริหารโรงเรียนหรือผูนิเทศจะตองนําหลักการนิเทศ เทคนิค ทักษะ สื่อ กิจกรรม และเคร่ืองมือนิเทศไปใชใหเหมาะสมกับสถานการณและบุคลากรผูรบั การนิเทศ เพอ่ื ใหการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมการนเิ ทศภายในโรงเรียนดําเนินการไปดวยความเรยี บรอย ผบู รหิ าร และผนู เิ ทศ ควรเตรียมความพรอมกอนการนิเทศแลว จึงปฏิบัติการนเิ ทศเพ่ือเสริมแรงใหกําลังใจ รับทราบปญหา ความตองการของผูรบั การนเิ ทศแลวนําปญหาความตอ งการนนั้ มาพิจารณาหาทางชว ยเหลือสนบั สนนุ 4. การประเมนิ ผล เปน การตรวจสอบความสาํ เร็จของโครงการกับวัตถุประสงคและเปาหมาย ท่ีวางไว มกี ารประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ขิ องโครงการ ประเมินความคิดเพื่อทราบความพึงพอใจของผูรับการนิเทศ ประเมินกระบวนการนเิ ทศภายในโรงเรยี น สรปุ รวมผลการประเมินเพื่อใชเปนขอมูลสําหรับการปรับปรุง การปฏิบตั งิ านในโอกาสตอ ไป ดงั น้ัน กระบวนการนเิ ทศภายในโรงเรยี น จะตองประกอบดวย การวางแผนรวมกัน การจัดทําโครงการ ตามประเด็นปญหา และความสนใจท่ีจะพัฒนาการดําเนินงานตามแผน การติดตามผล หรือแนะนํา และการตรวจสอบประเมินผลการนเิ ทศ โดยไมไ ดมุงเนน การประเมนิ ผลทเี่ กิดกบั ผูเรยี นโดยตรง แตใหค วามสาํ คญั ตอ ผลการนเิ ทศทเ่ี กิดข้ึนกบั ครเู ปนสําคญั แตในการนิเทศการสอนในโรงเรยี นท่เี ปน การนิเทศท่ีมเี ปาหมาย

25 เพือ่ ปรบั ปรุงและพฒั นาการเรียนการสอนในชน้ั เรียนนน้ั มคี วามซบั ซอ นมากกวา เพราะตอ งวิเคราะหการ สอนของครูและการเรียนของนักเรียน มีการสังเกตการณสอนในช้ันเรียนเพ่ือมุงปรับปรุงพัฒนา ประสทิ ธิภาพการสอนของครแู ละผลการเรยี นของนกั เรียนเปนสาํ คัญดว ย จึงควรตอ งมีการประเมินผลการ เรียนรขู องนกั เรยี น เพราะเปนตัวบงชห้ี นึ่งของสมรรถภาพการสอนของครูทม่ี ีการพฒั นาขน้ึ เทคนิควธิ กี ารนเิ ทศภายในโรงเรยี น เทคนิคและวธิ ีการนิเทศเปน แบบแผนของการดาํ เนินงาน มีหลายรูปแบบที่สามารถนําไปปรับใช ใชในโรงเรียน ดังตวั อยา งตอไปนี้ 1. การวิจยั เชิงปฏบิ ตั กิ ารแบบมสี ว นรวม (Participatory Action Research-PAR) การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม เปนรูปแบบของการวิจัยแบบใหมท่ีประยุกตและ เปนการรวมเอาแนวความคิดของการวจิ ัยเชงิ ปฏิบัตกิ าร (Action Research) กับการวิจัยแบบมีสวนรวม (Participatory Research) มาผสมผสานเขา ดว ยกัน เพ่ือใหเกิดการพัฒนาโดยใหผูท่ีเกี่ยวของจะตองมี สวนรว มในการพฒั นาทกุ ข้ันตอน (นติ ยา เงนิ ประเสรฐิ ศร,ี 2544: 61) ทวีทอง หงสว วิ ฒั น (2527: 8) ไดสรุปรปู แบบของการมสี วนรว มตอการดําเนินกิจกรรมหรือ โครงการพฒั นา สามารถจาํ แนกออกไดเปน มิติตา งๆ ประกอบดว ย มิติแรก รวมศึกษาและวิเคราะหปญหา ซึ่งเปนการท่ีประชาชนเขามามีสวนรวมในการศึกษา ชุมชน วเิ คราะหช มุ ชน คนหาปญ หาและสาเหตุของปญหาภายในชุมชนรวมกัน และมีสวนรวมในการจัดลําดับ ความสาํ คัญของความตอ งการดวย เปน การกระตุนใหประชาชนไดเรียนรูสภาพของชุมชนวิถีชวี ิต สังคม ทรพั ยากร และสิ่งแวดลอม เพื่อใชเปนขอมูลเบื้องตนในการจัดทําและประกอบการพิจารณาวางแผน งานวิจัย มิติทส่ี อง รวมวางแผน เปนการวางแผนการพัฒนาหลังจากไดข อมลู เบ้อื งตนของชมุ ชนแลว และนําขอมลู มาวิเคราะหร ว มกันหาปญหา สาเหตขุ องปญ หาเรียบรอยแลว ก็นํามาอภิปรายแสดงความคิดเห็น รวมกัน เพื่อกําหนดนโยบายและวัตถุประสงคของโครงการ การกําหนดวิธีการ และแนะแนวการดําเนินงาน ตลอดจนกําหนดทรพั ยากรและแหลงทรพั ยากรทจี่ ะใชเพ่ือการวิจัย มิติที่สาม รวมดําเนินการเปนการมีสวนรวมของประชาชนในการดําเนินการพัฒนาหรือ เปน ข้นั ตอนปฏบิ ัตกิ ารตามแผนการวจิ ยั ที่ไดว างไว ขั้นตอนนีเ้ ปน ข้นั ตอนท่ปี ระชาชนมสี วนรวมในการสรางประโยชน ใหก ับชมุ ชน โดยการสนับสนนุ ดานเงินทุน วัสดุ อุปกรณ และแรงงาน รวมท้ังการเขารวมในการบริหารงาน การประสานขอความชว ยเหลอื จากภายนอก ในกรณที ่มี คี วามจําเปน มิติที่ส่ี รวมรับผลประโยชน โดยประชาชนตองมีสวนรวมในการกําหนดการแจกจาย ผลประโยชนจ ากกจิ กรรมการวิจยั ในชมุ ชน ในพ้ืนฐานท่เี ทา เทียมเสมอภาคกนั มติ ทิ ห่ี า เปนการมสี วนรวมติดตามประเมินผลการดําเนินงานวิจัยและผลของการพัฒนา จากการดําเนินการไปแลววา สําเร็จตามวัตถุประสงคหรือไม มีปญหาอุปสรรคและขอจํากัดอยางไร เพื่อแกไขปญหาตางๆ ท่ีเกิดขึ้นไดทันที และนําขอผิดพลาดไปเปนบทเรียนในการดําเนินการตอไป การเปดโอกาสใหประชาชนหรือชาวบานที่เกี่ยวของไดมีโอกาสเขารวมกระบวนการวิจยั นั้น นับไดวา เปนคุณคา โดยแทข องการวจิ ยั เชิงปฏบิ ัติการแบบนี้ ซึ่งกอ ใหเกดิ รากฐานแหง ความยงั่ ยนื ของการพัฒนา สุภางค จนั ทวานิช (2531: 24) กลา วไววา การวิจัยเชิงปฏบิ ัติการแบบมีสวนรวม เปนการวิจัย ทน่ี ําแนวคดิ 2 ประการ มาผสมผสานกัน คือ การปฏบิ ัติการ (Action Research) กบั การวิจัยแบบมีสวนรวม (Participation) ซึ่งหมายถึง กิจกรรมท่ีโครงการวิจัยจะตองดําเนินการและคําวาการมีสวนรวม

26 (Participation) อนั เปน การมีสว นเก่ียวของของทุกฝายที่เขารวมกิจกรรม ในการวิเคราะหสภาพปญหา หรือสถานการณอ นั ใดอันหน่ึงแลว รว มในกระบวนการตัดสินใจและการดําเนินการ จนกระท่งั ส้ินสุดการวิจัย โดยมีความหมายถึงวิธีการที่ใชถูกวิจัยหรือชาวบานเขามามีสวนรวมในการวิจัย เปนการเรียนรู จากประสบการณ โดยอาศัยการมีสวนรวมอยางแขง็ ขันจากทกุ ฝายที่เกีย่ วของกับกิจกรรมวิจัย นับตั้งแต การระบุปญหาของการดําเนินการ การชวยใหขอมูลและการวิเคราะหขอมูล ตลอดจนชวยหาวิธีแกไข ปญหาหรอื สงเสริมกิจกรรมนั้นๆ กมล สุดประเสรฐิ (2537: 36) ไดใ หค วามหมายของการวิจัยเชงิ ปฏิบัตกิ ารแบบมีสวนรวมไว วา เปน การวิจยั ท่จี ดั ทาํ โดยผูปฏบิ ัติการ เพื่อนําผลการวจิ ัยมาใชในการแกปญหาโดยทันที และตอ งทําเปน หมูค ณะรว มกนั การใชเ ทคนิคการนเิ ทศโดยการวจิ ัยแบบมีสวนรวม เปนการใหครูมีสวนรวมในการปรับปรงุ พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู โดยมีสวนรวมในการพัฒนาทุกขั้นตอนในกิจกรรมการวิจัย ต้ังแต การวิเคราะหสภาพปญหา รวมในการตัดสินใจในการดําเนินการจนกระท่ังสิ้นสุดการวิจัย จากแนวคิด เก่ียวกับการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม สามารถนํามาประยุกตใชก ับการแกปญหาและพัฒนา การจัดกจิ กรรมการเรียนรูโ ดยใหครูผสู อนมีสวนรวมในการพฒั นา ดังน้ี 1.1 รวมศึกษาและวเิ คราะหปญ หาการนิเทศ 1.2 รวมวางแผนการนิเทศ 1.3 รวมดําเนนิ การนิเทศ 1.4 รว มรบั ผลประโยชน 1.5 รว มตดิ ตามประเมนิ ผลการนเิ ทศ 2. COACHING TECHNIQUE Coaching ใหค วามหมายเปน ภาษาไทยไดห ลายคํา บางคนใชท บั ศัพทไ ปเลยกม็ แี ตคําทง่ี า ย คือ “การชี้แนะ” เพราะการชีเ้ ปน การบอกทิศทางให การแนะก็เปนการเสนอแนวทางใหเดินไปสูทิศน้ัน สวนการจะเดินไปทิศนั้นหรือจะเลือกเดินอยางใดก็ขึ้นอยูกับการตัดสินใจเลือกของผูรับการชี้แนะเปน หลกั การช้ีแนะ คือ วิธีการในการพฒั นาสมรรถภาพการทาํ งานของบุคคลโดยเนนไปที่การทํางานใหไ ดตาม เปาหมายของงานนน้ั หรือการชวยใหส ามารถนําความรคู วามเขา ใจทม่ี ีอยแู ละ/หรือไดรับการฝกอบรมมา ไปสูก ารปฏบิ ัติได 2.1 ความหมายของการชแ้ี นะ สรปุ ได 5 องคป ระกอบ ดงั นี้ 2.1.1 มีลักษณะเปนกระบวนการ คือ ประกอบดวยวิธีการหรือเทคนิคตางๆ ทวี่ างแผนไวอยา งดี ดาํ เนินการตามข้นั ตอนจนกระทง่ั บรรลุเปาหมาย 2.1.2 มีเปาหมายทต่ี องการไปใหถึง 3 ประการ คือ การแกปญหาในการทํางาน พัฒนาความรทู กั ษะหรือความสามารถในการทาํ งาน และการประยกุ ตใ ชทกั ษะหรือความรใู นการทํางาน 2.1.3 มลี ักษณะปฏสิ มั พันธ ระหวา งผชู ้แี นะกบั ผรู บั การชี้แนะ คือ เปน กลมุ เล็กหรอื รายบุคคล (one–on–one relationship and personal support) และใชเวลาในการพัฒนาอยาง ตอ เน่ือง 2.1.4 มหี ลกั การพืน้ ฐานในการทาํ งาน ไดแก 2.1.4.1 การเรียนรูรวมกัน (Co – construction) คือ ไมมีใครรูมากกวา ใคร จงึ ตองเรยี นไปพรอ มกนั 2.1.4.2 การใหค นพบวธิ ีการแกปญหาดวยตนเอง

27 2.1.4.3 การเสรมิ พลังอํานาจ (Empowerment) เปนการชวยคนหาพลัง ในตัวบคุ คล เมอ่ื คน เจอกค็ นื พลงั นน้ั ใหเขาไป 2.1.5 เปนกระบวนการที่เปนสวนหนึ่งของการพัฒนาวิชาชีพ กลาวคือ ในการพัฒนา วชิ าชีพตองมคี วามสัมพันธกับวิธีการพัฒนาอื่นๆ ลําพังการชแ้ี นะอยางเดียวไมอาจทําใหการดําเนินงาน สําเร็จได 2.2 ความสาํ คัญของการชแี้ นะ (Coaching Significant) กระบวนการ วิธีการในการพัฒนาครู/ศึกษานิเทศกผเู ขารับการฝกประจําการนั้น มีหลากหลายมาก ซ่ึงตางมีผลกระทบตอการเปล่ียนแปลงการสอนของผูเขารับการฝกแตกตางกันไป วิธีการที่ถือวามีประสิทธิภาพและชวยใหผูเขารับการฝกไดพัฒนาการสอนไดอยางย่ังยืนวิธีหนึ่ง คือ การชแี้ นะ เนื่องจากสามารถทําใหผูเขา รับการฝกเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจ มีทักษะและ สามารถนําความรไู ปใชใหเกิดผลในทางปฏิบัตไิ ดซ ง่ึ เปน เปา หมายปลายทีม่ ุงหวงั ใหเกิดจากการชี้แนะ 2.3 หลักการของการชี้แนะ (Coaching Principles) 8 ประการสาํ คญั 1 การสรางความสมั พันธแ ละความไวว างใจ (Trust and rapport) 8 Coaching 2 การทบทวนและสะทอนผล Supervision การเสริมพลังอาํ นาจ Technique (Empowerment) การทํางาน (After action review and 3 การทาํ งานอยางเปนระบบ Reflection) (Systematic Approach) 7 4 การชแ้ี นะทน่ี าํ ไปใชไดจรงิ การพัฒนาอยางตอ เนื่อง (Work on real content) (On -going development) 6 5 การชี้แนะในบรบิ ทโรงเรียน การมเี ปาหมายและจุดเนน รวมกนั (Onsite coaching) (Focusing) ทีม่ า: Coaching Principles (เฉลิมชยั พันธเุ ลิศ. 2550, มนตรี ภมู ,ี 2549, Moon. 2004)

28 ซง่ึ รายละเอยี ดการดําเนินการแตล ะขน้ั ตอนมดี งั นี้ 2.3.1 การสรา งความสัมพันธแ ละความไวว างใจ (Trust and rapport) การช้ีแนะเปนเร่ืองของปฏิสัมพันธระหวางผูช้ีแนะกับผูเขารับการฝก รายบุคคลหรือกลุมผูเขารับการฝก ความเช่ือถือและความไววางใจของผูเขา รับการฝกที่มีตอผูช้ีแนะ มีสว นสาํ คัญท่ีทําใหก ารดําเนนิ การช้แี นะเปนไปอยางราบรื่นและมปี ระสิทธภิ าพ 2.3.2 การเสรมิ พลงั อาํ นาจ (Empowerment) การชี้แนะเปน กระบวนการทีช่ ว ยใหผูเขารบั การฝกไดคน พบพลัง หรือวธิ ีการ ทํางานของตนเองเปนวิธีการที่ทําใหเกิดความย่ังยืนและผูเขารับการฝกสามารถพ่ึงพาความสามารถ ของตนเองไดเปาหมายปลายทางของการชแ้ี นะ คอื การทําใหผเู ขา รับการฝก สามารถพัฒนาการเรียนการสอน ไดดวยตนเอง สามารถกํากับตนเอง (Self – director) ได ในระยะแรกท่ีผูเ ขารับการฝกยังไมสามารถทําดวยตนเองได เพราะยงั ขาดเคร่อื งมือ ขาดวิธีการคิด และกระบวนการทํางาน ผูชี้แนะจึงเขาไปชวยเหลือในระยะแรก จนกระท่ังผูเขารับการฝกไดพบวาตนเองสามารถทําไดดวยตนเอง เปนการชวยคนหาพลังที่ซอนอยู ในตวั ผเู ขารับการฝกออกมา แลวผูชแ้ี นะก็คอื พลงั น้นั ใหแ กผเู ขา รบั การฝก ไปใหผ เู ขา รบั การฝก ไดใ ชพ ลงั นนั้ ในการพัฒนางานของตนเองตอ ไป 2.3.3 การทํางานอยางเปน ระบบ (Systematic approach) การดาํ เนินการชี้อยา งเปนระบบ มขี น้ั ตอนของกระบวนการทช่ี ดั เจน ชวยให ผเู ขา รับการฝกไดจดั ระบบการคิด การทาํ งาน สามารถเรียนรแู ละพฒั นางานไดด ียง่ิ ข้นึ เน่อื งจากการชี้แนะ เปน กระบวนการพฒั นาวิชาชพี ทีต่ อเนื่อง ในระยะแรกผเู ขารบั การฝกอาจไมคุนเคยกับวิธกี ารเหลาน้ีมาก นักทาํ ใหผ ชู ้ีแนะจําเปนตอ งออกแบบกระบวนการอยา งเปนระบบ ท่ชี ว ยใหผ ูเ ขา รบั การฝกไดเรียนรูไดด วย ตนเอง 2.3.4 การพัฒนาที่ตอ เนอื่ ง (On-going development) การชี้แนะเพ่อื ใหเกิดการเรียนรู และพฒั นาการเรียนการสอนได ใชเ วลานาน ในการทาํ ความเขาใจและฝกปฏิบัติใหเกิดเผลตามเปาหมาย การดําเนินการชี้แนะจึงเปนการพัฒนาที่มี ความตอเนือ่ งยาวนาน ตราบเทาที่มีความรูใ หมทางการสอนเกิดขึ้นมากมาย และมีประเด็นทางการสอน ท่ีตองทําความเขา ใจและนําไปใชในการจัดการเรียนการสอน การดําเนินการช้ีแนะก็ยังคงดําเนินการ คูขนานไปกับการจัดการเรียนการสอน จนดูเหมือนเปนงานที่ไมอาจเรงรอนใหเกิดผลในเวลาอันส้ันได จึงเปน งานที่ตอ งคอยเปนคอยไป 2.3.5 การชี้แนะแบบมเี ปา หมายหรือจดุ เนนรว มกนั (Focusing) ในโลกของการพัฒนาบุคลากรผูเขา รับการฝกใหส มารถจดั การเรียนการสอน ไดน้ัน มีเรอ่ื งราวท่ีตองปรับปรุงและพัฒนามากมายหลายจุด ดังนั้น หลักวิชาการพี่เลี้ยงจึงตองตกลง รวมกันกับคุณผูเขารับการฝกวาเปาหมายสุดทายที่ตองการใหเกิด คืออะไร แลวรวมกันวางแผน วางเปา หมายยอยๆ เพ่ือไปสจู ุดหมายน้ัน กลา วคอื การกําหนดประเด็นช้ีแนะรวมกันการกําหนดบทบาท ใครคอื ผูชีแ้ นะใคร 2.3.6 การช้แี นะในบริบทในโรงเรียน (Onsite coaching) การปฏิบัติการช้ีแนะมีวัตถุประสงค เพื่อชวยใหผูเขารับการฝกสามารถ นําความรู ทักษะการสอนทมี่ ีอยูไปใชในการจัดการเรียนการสอน การประยุกตใชความรูและทักษะที่ดี เกิดขึ้นในสภาพการทํางานจริง การดําเนินการช้ีแนะจึงควรเกิดข้ึนในการทํางานในบริบทของโรงเรียน การดําเนินการชี้แนะเปนการทํางานเชิงลึก เขมขน เปนการชวยใหผูเขารับการฝกเคล่ือนจากความรู ความเขาใจในการสอนแบบผิวเผิน (Surface approach) เปนการทําความเขาใจท่ีลึกซ้ึงมากข้ึน

29 (Deepapproach) (Moon, 2004) โดยอาศัยกระบวนการลงมือปฏิบัติ ลงมือทํางาน การช้ีแนะ จึงหลีกเลยี่ งไมไ ดท่ตี อ งเขาไปทาํ งานรว มกบั ผูเขา รับการฝก ในโรงเรยี น 2.3.7 การช้ีแนะทน่ี าํ ไปใชไ ดจ ริง (Work on real content) การชี้แนะในประเด็นหรือเน้ือหาสาระท่ีเปนรูปธรรม (being concrete) มีลกั ษณะเปนพฤติกรรมที่สามารถสังเกตได ปฏิบัติไดจริง ชวยใหผูเขารับการฝกสามารถปรับปรุงหรือ พัฒนาการเรียนการสอนไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น การท่ีผูช้ีแนะเปนบุคคลภายนอกโรงเรียน จึงมขี อจํากัดตรงทีไ่ มส ามารถอยูก ับผเู ขา รบั การฝกไดตลอดเวลา การพบปะผูเขารับการฝกในแตละครง้ั จึงมคี ณุ คามาก ดงั นั้น จึงควรใชเวลาที่มจี ํากัดนั้นใหเกิดประโยชนสูงสุด การช้ีแนะแตละคร้ังจึงเนนไปท่ี การนําความรูหรือทักษะไปใชไดจริง ไดแนวปฏิบัติที่เปนรูปธรรมและเปนขั้นตอน ไมเสียเวลาไปกับ การอภปิ รายหรือพดู คุยกันเชงิ ทฤษฎี (Kninght, 2004) 2.3.8 การทบทวนและสะทอนผลการดําเนนิ งาน (After action review and reflection) การสะทอ นผลการทาํ งาน (Reflection) เปน วิธีการท่ชี ว ยใหผูเขารับการฝก ไดค ดิ ทบทวนการทํางานท่ีผานมา สรุปเปนแนวปฏิบัติในการจัดการเรียนการสอนคร้ังตอไป การชี้แนะ จึงใชการสะทอนผลการทาํ งานนีเ้ ปนเครอ่ื งมือสําคญั ในการเรยี นรูจ นไดอ ีกชอ่ื หนง่ึ วา “การชแี้ นะแบบมอง ยอนสะทอนผลการทํางาน” (Reflective coaching) การช้ีแนะชวยใหบุคคลไดสะทอนความสามารถ ของตนเพื่อหาจุดที่ตองการความชวยเหลือ เปนการชวยเหลือรายบุคคลในการนาความรูไปใชใน การทํางานและพฒั นาความสามารถของตน ไมใชก ารสอนสิง่ ใหม จดุ พน้ื ฐานของการช้ีแนะอยูบนพ้นื ฐาน ของความรหู รือทักษะทีม่ อี ยแู ลว (เฉลมิ ชัย พนั ธุเ ลิศ. 2550, มนตรี ภูม,ี 2549, Moon. 2004) 2.4 กระบวนการช้ีแนะ (Coaching Process) ก ร ะบ ว น กา ร ช้ี แ น ะเ ป น ก ระบ วน ก า ร ที่ ช วย ใ ห บุ ค ค ล ไ ด รู จั ก ช ว ย เ ห ลื อ ต น เ อ ง (Coaching is a process of helping people to help themselves) มนี ักการศึกษานาํ เสนอกระบวนการชแี้ นะ ท่หี ลากหลาย เน่ืองจากการชแ้ี นะมีกระบวนการเฉพาะ ไดแก การชี้แนะทางปญญา (Cognitive coaching) การช้ีแนะการสอน (Instructional coaching) เพ่ือนช้ีแนะ (Peer coaching) ซ่ึงการช้ีแนะตางๆ มีรายละเอียดคอ นมากไมอาจนาํ เสนอในบทความน้ไี ดท้งั หมด อยา งไรก็ตามกระบวนการชี้แนะโดยทวั่ ไป มีขนั้ ตอนของกระบวนการ ดงั น้ี 2.4.1 ขน้ั กอ นการชี้แนะ (Pre – coaching) กอนดําเนินการชี้แนะ มีการตกลงรวมกันเกี่ยวกับประเด็นหรือจุดเนน ท่ีตองการชี้แนะรวมกัน เนื่องจากการดําเนินการช้ีแนะเนนไปที่การเชื่อมโยงความรูไปสูการปฏิบัติจริง เปนการทํางานเชงิ ลึก (Deep approach) ดงั นนั้ ประเด็นท่ีชแ้ี นะจึงเปนจุดเลก็ ๆ แตเ ขม ขน ชวยใหเขาใจ อยา งลึกซง้ึ แจม แจง ชวยคลีป่ มบางประการใหเกิดผลในการปฏิบตั ิไดจรงิ ในกรณกี ารสอนกระบวนการคดิ มีประเด็นมากมายท่ตี องชว ยกันขยับขับเคล่ือนไปทีละประเด็น เชน การใชค าํ ถามกระตนุ คิด การใชกิจกรรม ที่ชวยใหค ดิ ไดอยา งหลากหลาย การใชผังกราฟฟก (Graphic Organizer) การใชผังมโนทัศน (Mind Mapping) มาใชในการนาํ เสนอความคดิ การชวยใหนักเรียนอธิบายกระบวนการคิดกระบวนการทํางานของตนเอง ซง่ึ ในประเด็นเหลา นีก้ ็ยังมีประเด็นยอยๆ ที่ซอนอยูมากมาย ท้ังผูช้ีแนะและคุณผูเขารับการฝกแตละคน ก็ตองวางแผนรวมกันวาในแตละคร้ังที่ดําเนินการช้ีแนะนั้น จะช้ีแนะลงลึกเฉพาะในเร่ืองใดเรื่องหนึ่ง เปนพิเศษ 2.4.2 ขัน้ การช้ีแนะ (Coaching) ในข้ันของการช้แี นะประกอบดวยข้ันตอนยอย 3 ขั้น คือ

30 2.4.2.1 การศึกษาตนทุนเดิม เปนข้ันท่ีผูช้ีแนะพยายามทําความเขาใจ วิธคี ดิ วธิ กี ารทาํ งานและผลท่เี กิดขนึ้ จากการทาํ งานของคุณผเู ขารับการฝกวา อยใู นระดับใด เพอ่ื เปนขอ มลู ในการตอยอดประสบการณในระดบั ท่เี หมาะสมกบั ผูเ ขารับการฝกแตละคน ซ่งึ ในขน้ั นอี้ าจใชวิธีการตา งๆ กันไปตามสถานการณ ไดแก 1) การใหผ เู ขารบั การฝกบอกเลา อธบิ ายวธิ ีการทํางานและผลท่ี เกิดข้นึ 2) การพจิ ารณารอยรอยการทํางานรวมกัน เชน แผนการสอน ช้ินงานของนักเรยี น 3) การสังเกตการสอนในชน้ั เรียน 2.4.2.2 การใหคณุ ผูเขา รับการฝก ประเมินการทาํ งานของตนเอง เปนขั้นท่ี ชว ยใหผ เู ขารับการฝกไดทบทวนการทํางานที่ผานมาของตนเอง โดยใชตัวอยางที่เปนรูปธรรมท่ีผานมา ไดแกก ารสอนทเี่ พงิ่ จบไปแลว ชิ้นงานทีน่ ักเรียนเพ่ิงทําเสรจ็ เม่ือสกั ครมู าใชประกอบการประเมิน ขัน้ ตอนนี้ เปน ขัน้ หน่งึ ทีพ่ บวา ผเู ขา รับการฝก ไมไ ดตระหนกั รูใ นสิง่ ทต่ี นเองสอนหรอื กระทําลงไปนัก แตการทจ่ี ัดใหมี โอกาสได “นกึ ยอ นและสะทอ นผลการทาํ งาน” ชวยใหผ ูเขา รับการฝกไดท บทวนและไตรต รองวาตนเองได ใชความรู ความเขา ใจไปสกู ารปฏิบัติอยา งไร มอี ุปสรรคปญหาใดเกิดขึ้นบาง คําถามที่มักใชกันในขั้นน้ีมี คาํ ถามหลกั คือ อะไรท่ที าํ ไดด ี มวี ธิ ีการอ่นื อกี หรือไม/กระทําอยางเต็มที่หรือยังจะใหดีกวานี้ถามีจุดออน อะไรท่พี บเหน็ ครอบคลุมเน้อื หา และวัตถุประสงคก ารสอนหรอื ไมเพียงใด มมี ิตอิ น่ื อกี หรือไม ฯลฯ 2.4.2.3 ข้ันตอยอดประสบการณ เปนขั้นท่ีผูชี้แนะมีขอมูลจากการ สงั เกตการณท ํางานและฟง ผเู ขารบั การฝกอธบิ ายความคิดของตนเอง แลวจงึ ลงมอื ตอยอดประสบการณใ น เรื่องเฉพาะน้นั เพ่ิมเตมิ ซง่ึ ผชู ี้แนะตองอาศัยปฏภิ าณในการวินิจฉยั ใหไ ดว า คุณผเู ขารับการฝก ตองการความ ชวยเหลอื ในเรือ่ งใด หากไมแนใ จก็อาจใชวธิ ีการสอบถามขอขอ มูลเพ่มิ เติมในขัน้ ตอ ยอดประสบการณม ักมี การดาํ เนินการใน 2 ลกั ษณะ คือ 1) เมื่อพบวาคุณผูเขารับการฝกมีความเขาใจที่ผิดพลาดบาง ประการ หรือมีปญหาก็จําเปน ตองแกไข ปรับความรูความเขาใจใหถกู ตองและชวยเหลือในการแกไข ปญ หา 2) เมื่อพบวา คณุ ผเู ขา รับการฝก เขาใจหลักการสอนดีแตยังขาด ประสบการณใ นการออกแบบการเรยี นการสอน ก็จําเปนตองเพิม่ เติมความรแู บง ปน ประสบการณ 2.4.3 ขน้ั สรปุ ผลการช้ีแนะ (Post – coaching) เปนข้ันตอนท่ีผูชี้แนะเปดโอกาสใหคุณผูเขารับการฝกไดสรุปผลการชี้แนะ เพอื่ ใหไดหลักการสาํ คัญไปปรับการเรียนการสอนของตนเองตอ ไป มกี ารวางแผนทจ่ี ะกลับมาช้ีแนะรว มกนั อีกคร้งั วาความรู ความเขา ใจอันใหมทีไ่ ดรบั การชี้แนะครัง้ นี้ จะเกิดผลในทางปฏิบตั ิเพียงใด รวมไปถึงการ ตกลงรวมกันเรอ่ื งใหความชวยเหลืออ่นื ๆ เชน หาเอกสารมาใหศ ึกษาประสานงานกับบุคคลอ่ืนๆ แนะนาํ แหลงเรียนรเู พมิ่ เติม การใชเครื่องมือหรือรูปแบบการใชภาษาในการชี้แนะมี 2 มิติ คือ มิติของ การผลักดัน (Push) และมติ ิของการฉุดดึง (Pull) การมีระดับของการผลักดันอยางสุดขั้ว คือ การบอก ความรู (Telling) ไปจนถึงระดบั การฉดุ ดงึ สงู สุด คอื การรบั ฟง ( Listening) ท้ังนี้ วิธีการเหลาน้ีเปนการ ชวยใหผ เู ขา รับการฝก ไดพ ัฒนาการจัดการเรยี นการสอนของตนเองไดท งั้ สนิ้ แตหากมีจุดเดนและจุดดอย ของแตละวิธีแตกตางกันไป ศึกษานิเทศกผูมีบทบาทและภารกิจเปนผูชี้แนะจึงเลือกใชใหเหมาะสมกับ

31 สถานการณต างๆ และผเู ขา รับการฝก แตล ะคน มขี อเตอื นใจวา หากใชมิติของการผลักดันไดแก การบอก การอธบิ าย การสอน การสาธิต การแนะนา เพยี งดานเดยี ว ไมถือวา เปน การช้แี นะที่แทจรงิ เครอื่ งมอื การรับฟง ฉดุ ดงึ ครู การทา ทา ยใหท าํ งาน ผูชแ้ี นะ การถามคําถามปลายเปด ผลกั ดนั การใหข อ มูลปอ นกลับ การแนะนาํ การสอน การบอก ทมี่ า: เครอ่ื งมอื /วธิ ีการชแ้ี นะ (Costa&Garmston, 2002) 2.5 กลวิธกี ารชแ้ี นะ (Coaching Techniques) กลวิธีในการชแี้ นะเปน ความรเู ชิงปฏิบตั ิ (Practical knowledge) ท่ีผชู ี้แนะไดคนพบ ในการลงมือปฏบิ ัตกิ ารชแ้ี นะกบั ผเู ขา รบั การฝก ในสถานการณการทํางานจริง แลวเกบ็ เปนกลวธิ เี ฉพาะของ ตนไวใ ชในการดําเนินการชแ้ี นะของตนเอง หากผูช้ีแนะไดมีเวทีแลกเปล่ียนประสบการณ การใชกลวิธีใน การชแี้ นะเหลา นอี้ ยา งตอเนือ่ ง กจ็ ะชว ยขยายประสบการณก ารชแี้ นะใหก วา งขวางเพิ่มมากขึน้ ซง่ึ สามารถ สรปุ กลวิธีการชี้แนะได ดังน้ี 2.5.1 กลวธิ ีจับถกู ไมจ ับผดิ การช้ีแนะเนนไปท่ีการชวย ผูเขารับการฝกมองหาวาทําส่ิงใดไดดี ถูกตอง เหมาะสมแลว แมจ ะเปน เรื่องเล็กนอ ยก็ตาม เปน วิธกี ารที่ชว ยใหผ เู ขารับการฝกไมร ูสกึ อึดอดั เวลามผี ชู แ้ี นะ มาทาํ งานดวยการจับถูก ทาํ ใหผูเขา รับการฝกไดเหน็ คุณคา ในตนเอง และฮกึ เหมิ ที่จะพัฒนางานการเรียน การสอนของตนเองตอไป 2.5.2 กลวธิ ปี ญหาของใคร คนนน้ั ก็ตองแก ผูเ ขารับการฝกมีแนวโนมพึ่งพาผูช ้แี นะใหแกไขปญหาให ซึ่งหากผูชี้แนะตก หลุมพรางอนั น้ีกต็ อ งคอยแกปญหาใหผ ูเขา รบั การฝก อยรู ํ่าไป การช้ีแนะทด่ี ีจึงไมร บั ปญ หาของผเู ขารบั การ ฝกเขา มาแกไ ขเสียเอง แตพ ยายามชวยเหลอื ใหผเู ขา รับการฝกคนพบวธิ กี ารแกป ญหาดว ยตนเอง 2.5.3 กลวธิ ีชมสองอยาง ช้ีจุดบกพรองหน่งึ อยา ง หากจาํ เปน ตองชใ้ี หเห็นจุดบกพรองในการทํางานกต็ องใชตอ เมอ่ื ผเู ขา รับการฝก และผู ชี้แนะคนุ เคย ไววางใจกันพอสมควร ทั้งผูเขารับการฝกยินดีรับฟงขอบกพรองของตนเอง อยางไรก็ดี ผูช แ้ี นะตอ งยึดหลกั ไม “ติ” มากกวา “ชม” จงึ ตองยดึ หลกั วา ใหช มในประเดน็ ทท่ี ําไดดีอยางนอย 2 เรื่อง และชข้ี อ บกพรอ งเพื่อใหปรบั ปรุงเพียงประเดน็ เดียวเทานั้น

32 2.5.4 กลวิธีการถามไมตองหวังคําตอบ การถามคาํ ถามของผูชี้แนะ ชวยใหผูรับการฝกพิจารณาอยางรอบดานมาก ขึ้น แบบอยา งของคาํ ถามเหลา น้ชี วยใหคณุ ผูเขารับการฝกเก็บไวถามตนเองได ดังน้ันในบางคําถามตอง อาศัยเวลาในการคิดพิจารณาก็อาจเปน “คําถามฝากใหคิด” ไมจําเปนตองบังคับ ใหตองตอบใหไดใน ขณะนน้ั 2.5.5 กลวิธใี หก ารบาน ตองตามมาตรวจ หลังจากเสร็จส้ินการชแี้ นะในแตละครั้ง จําเปนท่ีจะตองวางแผนรวมกัน สําหรับการชี้แนะในคร้ังตอไป ผเู ขา รับการฝกตอ งนําบทเรียนทไ่ี ดค รงั้ นไ้ี ปปรับปรงุ การสอนของตนเองเปน เหมือนการใหการบานไว แลวก็กลับมาตรวจดูวาสามารถปรับปรุงไดดีเพียงใด เพื่อหาทางชี้แนะตอไป ไมใหก ารบานแตใหการทํางานในชั้นเรียน/โรงเรียน (Seatwork/Authentic Performance) ที่ผูเขารับ การฝกมีโอกาสไดพ บเห็นพฤติกรรมการทํางานความต้ังใจมุงม่ัน (AQ) ตามศักยภาพและการบริหาร อารมณของนกั เรยี น (EQ) 2.5.6 กลวิธถี า จะบอก ตองมีทางเลอื ก การบอกวิธกี ารแกป ญหาใหแ กผูเขารบั การฝก ใชใ นสถานการณทม่ี เี วลาจาํ กดั หรือในกรณีทผ่ี ูเขา รับการฝกมีความเขา ใจคลาดเคลื่อนบางประการ ผูช้แี นะอาจเลือกใชว ธิ กี ารบอกหรอื สง่ั ใหท ํา อยางไรก็ตามในวิธที บ่ี อกหรอื สง่ั น้นั ควรมีอยางนอย 2 ทางเลือก เพื่อใหผูเขารับการฝกสามารถด สินใจเลือกปฏบิ ตั ใิ หเ หมาะสมกบั สภาพท่เี หมาะสมกบั ตนเองมากท่สี ดุ 2.5.7 กลวธิ ีแกลงทําเปนไมรู ผูชี้แนะอาจทําบทบาทของผูท่ีไมรู ไมเขาใจ ใหผูเขารับการฝกชวยอธิบาย หรือใหค ําแนะนาํ กจ็ ะชวยพัฒนาความสามารถของผเู ขา รับการฝกไดด ที เี ดยี ว 2.5.8 กลวธิ อี ดทนฟง ใหถึงทส่ี ุด ในบางกรณีทผ่ี ูเขารบั การฝก อาจมีเรื่องมากมายท่ีอยากบอกเลาใหผูช้ีแนะ ฟงหลายเรอื่ งอาจไมเ ขา ทา หากแตผชู ้ีแนะสามารถอดทนฟง โดยไมตัดบทหรือแทรกแซง ก็จะไดเขาใจ ความคิดของผูเขารบั การฝก มากขึ้น บางทผี ูเขารับการฝกกอ็ าจไดค ดิ ทบทวนในสิ่งทีต่ นเองพดู มาไดบาง 2.5.9 กลวธิ ีเราเรยี นรูรว มกัน ผูช ้แี นะไมจ าํ เปน ตองรไู ปเสยี ทุกเร่ือง ผูช้ีแนะไมจําเปนตองเกงกวาผูเขารับ การฝกแตถอื วาท้ังผชู ้ีแนะและผูเขา รบั การฝกสามารถเรียนรูจากกนั และกันไดเสมอปญหาบางเร่ืองที่ตาง ไมเ ขาใจก็ตองมาชวยกนั หาแนวทางแกไขรว มกัน 3. เทคนิคการนเิ ทศการสอน 4 แบบ การนเิ ทศการสอนมีหลายวิธกี าร และมกี ารพัฒนาวิธีการนเิ ทศเพอ่ื ใหเ หมาะสมกบั สภาพของ โรงเรยี น ซึ่งวธิ กี าร 4 แบบมดี ังตอไปน้ี 3.1 การนิเทศแบบตรวจสอบ (Inspection Supervision) การนิเทศแบบน้ีเปนแบบ เกา แกท มี่ ีใชม านาน ผูน ิเทศจะตรวจสอบเพ่ือใหครูไดแกไข ปรับปรุงหรือพัฒนางาน เปนการตรวจสอบ เพอ่ื ใหก ารทาํ งานใหเปน ไปตามกฎเกณฑระเบยี บของหลักสตู รท่กี าํ หนดไว เชน 3.1.1 การตรวจแผนการสอน จะตรวจสอบหรือตรวจต้ังแตการวิเคราะหหลกั สูตร การวิเคราะหผูเรียน การจัดกิจกรรมการเรียนรู การใชสื่อนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู การวัดผล ประเมินผล 3.1.2 การตรวจสอบการเขา ช้ันเรยี น

33 3.1.3 การตรวจสอบการเขา รวมกจิ กรรม เมื่อตรวจสอบเสร็จแลวชี้แจงใหครูแกไข ขอบกพรอ ง 3.2 การนิเทศแบบเนน ผลผลติ (Supervision as Production) การนิเทศแบบนี้จะดู ผลงานของสถานศึกษาวา สามารถผลิตผูเรียนออกสูสังคมอยางมีประสิทธิภาพหรอื ไมมากนอยเพียงใด บางคนเรียกการนเิ ทศแบบวทิ ยาศาสตร เพราะมกี ารวางแผนการทาํ งานอยา งเปนระบบระเบียบตรวจสอบ ยอนกลับไดอ ยางเปนขั้นตอนท่ชี ัดเจน เปน การวเิ คราะหข อมูลที่เก่ียวของกับผูเรียน วจิ ัยและพัฒนาเพ่ือ ใหมีคุณภาพตามมาตรฐาน เชนการวิเคราะหผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน คะแนน NT คะแนน O-NET มาตรฐานดา นผูเรียน 3.3 การนิเทศแบบคลินิก (Clinical Supervision) การนิเทศแบบคลินิก หมายถึง กระบวนการสําหรับการสังเกตการสอนในชั้นเรียนท่ีมีการดําเนินการอยางมีระเบียบ เพื่อปรับปรุง ประสิทธิภาพ การจัดการเรียนการสอนของครู โดยครูและผูนิเทศจะรวมมือกันอยางใกลชิดในการวาง แผนการสอน การสังเกตการสอน และการประเมินการจัดการเรียนการสอน เพื่อหาทางปรับปรุงแกไข รวมกันและขณะเดียวกันก็สงเสริมใหครู สามารถนิเทศตนเองไดในท่ีสุด และในการดําเนินงานน้ันครู และผูนิเทศจะรวมกันสรางความสัมพันธ ความเชื่อมั่น ความจริงใจ และความไววางใจซ่ึงกันและกัน นอกจากนีก้ ารนเิ ทศแบบคลินกิ ยงั มีลักษณะเปนประชาธิปไตยและเปนการนิเทศท่ียึดครูเปนศูนยกลาง แตข ณะเดียวกัน กจ็ ะประสานผลประโยชนของครู และสถานศึกษาเขาดวยกัน ซ่ึงหมายความวาขณะที่ การนิเทศมุงจะพัฒนาวิชาชีพของครูเปนรายบุคคลนั้น การนิเทศจะสอดคลองกับเปาหมายและ ความตองการของสถานศึกษาดวย การนเิ ทศแบบนเี้ นนท่ีการปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนในลักษณะที่พิจารณา และแกไขตามความเหมาะสมของผูไดรับการนิเทศ จึงคลายกับการรกั ษาอาการเจ็บปวยของคนไข ใหมีการฟนฟูสภาพไดดีข้ึน แตการนิเทศการศึกษาจะมุงใหผูไดรับการนิเทศเปล่ียนแปลงพฤติกรรม การเรยี นการสอนใหม คี วามเหมาะสม เปน การนิเทศท่ีไดข อ มลู โดยตรง เปนความรว มมอื ของครูกบั ผนู ิเทศ โดยผนู ิเทศและผไู ดร บั การนิเทศจะไดพ บปะเผชิญหนากันและรับคําแนะนําไปปรบั ใชตามความเหมาะสม และความจําเปน เพ่อื ประโยชนใ นการปรบั ปรงุ การเรียนการสอน เชน การสังเกตการสอนตามสภาพจรงิ เพ่ือนาํ ไปปรับปรงุ การสอน 3.4 การนิเทศเพื่อการพัฒนา (Developmental Supervision) การนิเทศแบบน้ี เนน พัฒนาผูไดร บั การนิเทศ ใหม ีความรูความสามารถในการแกไขปญหาของตนเองได ตามสถานการณท่ี เกิดข้นึ ใน จากวิธีการการนิเทศขางตนพบวาการนิเทศจะตองเปดใจกวางและเรียนรูรวมกัน ทุกฝาย ทุกคน เพ่ือแกปญหาในหองเรียนและสถานศึกษาใหอยูในระดับมาตรฐานที่สังคมยอมรับได การมี ปฏิสัมพันธอันดีจะกอใหเกิดมิตรภาพท่ีงดงาม สานตอในการนิเทศครั้งถัดไปดว ยจึงควรใชถอยคําและ ทา ทางท่ีเปน มติ รในการแนะนาํ ชวยเหลอื การนเิ ทศภายในโรงเรยี น สามารถทําไดห ลายรปู แบบ และสามารถผสมผสานแตละรูปแบบเขา ดวยกัน ซ่ึงการจะใชร ูปแบบใดเมื่อใดนัน้ ควรคาํ นงึ ถงึ ความเหมาะสมกับ สภาพของโรงเรยี นเปน สําคัญ

34 กจิ กรรมการนิเทศภายในโรงเรียน แนวทางการจัดกจิ กรรมการนเิ ทศภายในโรงเรยี น มตี วั อยา งดงั ตอไปน้ี 1. การเยี่ยมนิเทศชั้นเรยี น การเยยี่ มนิเทศชน้ั เรียน หมายถงึ การท่ผี ูนเิ ทศไปพบและสังเกตการทาํ งานของครใู นชน้ั เรยี น เพ่อื รว มกนั พัฒนาการทาํ งานใหม คี ุณภาพ ซงึ่ มีวัตถปุ ระสงค ดงั ตอไปนี้ 1.1. เพือ่ สาํ รวจความตองการของครู 1.2. เพ่อื ศึกษาปญหาของครใู นสถานศกึ ษา 1.3. เพอ่ื ประเมินผลการสอนของครู 1.4. เพอื่ กระตุน ใหครูปรับปรุงการจัดการเรียนรู 1.5. เพ่อื ใหค าํ ปรกึ ษาแนะนําแกครู ข้ันตอนการนเิ ทศแบบเย่ยี มนเิ ทศชัน้ เรยี น มขี นั้ ตอนดังน้ี ขน้ั ท่ี 1 สรางขอ ตกลงในการเย่ียมนเิ ทศช้ันเรียน มีข้นั ตอนดังน้ี 1.1 พบปะสนทนา สรา งความคุนเคย และสรางเจตคตทิ ่ีดใี นการนเิ ทศแกครู 1.2 วางแผนการเยย่ี มนเิ ทศช้นั เรยี น รว มกบั ครูในเรอ่ื งตางๆ ดงั นี้ 1.2.1 กาํ หนดการเย่ียมนิเทศช้ันเรยี น 1.2.2 กําหนดจุดมุงหมายในการเยย่ี มนเิ ทศชนั้ เรยี น 1.2.3 กําหนดเร่ืองที่จะนิเทศตามความตองการ/จําเปน เชน การจัดทํา เอกสารและงานธรุ การประจําหอ งเรยี น การจดั หองเรยี นและบรรยากาศในหอ งเรยี น การจัดกิจกรรมการ เรยี นรู ฯลฯ 1.2.4 กําหนดวิธีการนิเทศ เชน สํารวจปญหาและความตองการของครู สอบถามการปฏบิ ัติงานของครู ใหคําปรกึ ษาแนะนํา สงั เกตการสอน ฯลฯ ขนั้ ที่ 2 ปฏบิ ัติการเยี่ยมนเิ ทศช้ันเรียน ตามขอตกลงทีก่ าํ หนดรวมกนั กับครู ดังน้ี 2.1 เขา เยยี่ มนิเทศชั้นเรยี น ตรงตามเวลาทก่ี ําหนด 2.2 ใหค วามเปนกันเอง เพอื่ สรา งเจตคตทิ ด่ี แี กค รู ข้นั ท่ี 3 วิเคราะหผ ลการเยย่ี มนเิ ทศช้นั เรียน ซงึ่ มีขน้ั ตอนดังน้ี 3.1 วิเคราะหผ ลการเยยี่ มนิเทศชั้นเรยี นรวมกบั ครู 3.2 สรปุ ผลการเยย่ี มนเิ ทศช้ันเรยี น 3.3 ใหคาํ ปรึกษาแนะนํา ขนั้ ท่ี 4 ปรับปรงุ การทํางาน ครูนาํ ผลการเยยี่ มนิเทศชนั้ เรียน มาปรับปรุงแกไ ข

35 (ตวั อยา ง) แบบบนั ทกึ การเยี่ยมนิเทศชน้ั เรยี น ชอื่ ผรู บั การนิเทศ ……………………................................................ (ครทู ป่ี รกึ ษา/ครูประจําชน้ั /หัวหนาระดบั ) วนั ที่ ….…… เดือน ………....................……….. พ.ศ. .................... คาํ ชแ้ี จง ใหก าเคร่ืองหมาย  ในชองทางขวามือตามเกณฑการประเมิน ดังน้ี รายการประเมนิ ระดบั การปฏบิ ัติ หมายเหตุ 54 3 2 1 สภาพหอ งเรียน เกณฑ 1. มีปายนิเทศเพื่อแสดงขาวสารและความรูตางๆ 5 = ดมี าก 2. มปี า ยแสดงขอมลู สถิตขิ องหอ งเรียนทีเ่ ปนปจ จบุ ัน 4 = ดี 3. มสี ญั ลักษณช าติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ  3 = ปานกลาง 4. มีการแสดงผลงานนักเรยี น 2 = นอ ย 5. บรรยากาศในหองเรยี นเออ้ื ตอ การเรียนรู 1 = แกไ ข การบรหิ ารจดั การหอ งเรยี น 6. ใชก ารเสริมแรงเชงิ บวกในการจดั การเรยี นรู (Positive Reinforcement) 7. ใชว ธิ กี ารทาํ งานเปน กลมุ (Working In Groups) 8. นักเรยี นทกุ คนมสี วนรวมในการจัดการเรียนรู (Involve Everyone) ครผู ูสอน 9. มกี ารจัดทําแผนการจดั การเรยี นรู 10. จดั กิจกรรมการเรียนรูเนนผเู รียนเปน สําคญั 11. ใชส ่ือเทคโนโลยีในการจัดการเรยี นรู 12. มขี อ มูลนกั เรยี นเปน รายบคุ คล 13. มีวจิ ยั ในช้ันเรียนเพ่อื การพัฒนาการเรียนรู 14. ดแู ลเอาใจใสน กั เรยี นอยา งท่ัวถงึ 15. แตงกายเหมาะสมกบั ความเปนครู นักเรยี น 16. ตั้งใจปฏิบตั กิ จิ กรรมการเรียนทไี่ ดรับมอบหมาย 17. นักเรยี นรา เรงิ แจมใส 18. นักเรียนกระตือรือรนและกลา ซกั ถามครู 19. นกั เรียนมรี ะเบยี บวินยั 20. นักเรยี นแตง กายสะอาดถกู ตองตามระเบยี บ รวม เฉล่ีย

36 ขอคดิ และขอ เสนอแนะของผนู เิ ทศ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ลงช่ือ..................................................................ผูนเิ ทศ (.................................................................) รบั ทราบ/ปรบั ปรุง/ดาํ เนนิ การตามคําแนะนํา ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ลงชือ่ ..................................................................ผรู ับการนิเทศ (.................................................................) (ตัวอยาง) แบบบันทกึ การเยยี่ มนเิ ทศช้ันเรียน โรงเรียน ................................................ อําเภอ ................................. จังหวดั ............................................ ช่อื ผูรบั การนิเทศ .....................…………….............. (ครทู ปี่ รกึ ษา/ครปู ระจําชัน้ /หวั หนาระดับ) ชน้ั .............. วนั เดอื น ป วิเคราะหผ ล สรปุ ผล ใหค ําปรกึ ษาแนะนาํ การเย่ียมนิเทศชั้นเรยี น การเยี่ยมนิเทศชนั้ เรยี น ลงชอื่ ..................................................................ผูนเิ ทศ (.................................................................) รับทราบ/ปรบั ปรุง/ดําเนินการตามคาํ แนะนํา ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ลงช่อื ..................................................................ผูรับการนเิ ทศ (.................................................................)

37 2. การสังเกตการสอนในชั้นเรยี น การสังเกตการสอน หมายถงึ การจดั ใหบ คุ คลหน่ึง (ผูนิเทศ) ที่มีความรูความเขาใจในเรื่อง การจัดการเรียนรู มาสังเกตพฤติกรรมการสอนของครู (ผูรับการนิเทศ) ในขณะจัดกิจกรรมการเรียนรู โดยมีวตั ถุประสงคเพ่ือใหสามารถพัฒนาหรือปรับปรุงการจัดการเรียนรู ใหมีประสิทธิภาพโดยใชขอมูล ยอ นกลบั จากการสงั เกตการสอนของผูน ิเทศ ขั้นตอนการสังเกตการสอน มีขั้นตอนดังน้ี ขั้นท่ี 1 สรางความสมั พนั ธร ะหวา งครกู บั ผูน เิ ทศ มขี ั้นตอนดังน้ี 1.1 ปฏิบัติตนใหเ ปนเพื่อนรวมวชิ าชพี กบั ครู 1.2 เปน เพ่ือนรว มงานกับครู 1.3 ใหขอมูลตางๆ แกค รู 1.4 แกไ ขขอ ขัดแยง ตางๆ ของครู 1.5 รับฟง ขอ แนะนําตางๆ ของครู 1.6 ใหความสนใจตอครูในการปฏบิ ตั งิ าน 1.7 ใหค วามจรงิ ใจตอ ครูทั้งตอ หนาและลบั หลัง 1.8 ใหเกยี รติและยกยองครดู ว ยความจริงใจ 1.9 หาทางสรางความกาวหนาใหแกค รอู ยเู สมอ 1.10 ใหความรแู ละสนับสนุนการทาํ งานของครู ขนั้ ท่ี 2 ปรึกษาหารอื และการเตรยี มแผนการจดั การเรียนรู มีขน้ั ตอนดังน้ี 2.1 ปรึกษาหารอื กบั ครูในเรอ่ื งการจดั การเรียนรู 2.2 วางแผนการสังเกตการจดั การเรยี นรูรว มกัน 2.3 สรา งขอตกลงในการสังเกตการจดั การเรียนรู 2.4 พจิ ารณาแผนการจัดการเรยี นรูรว มกัน ข้ันที่ 3 การสงั เกตการสอน มีขน้ั ตอนดงั น้ี 3.1 ผูน เิ ทศเขาไปสงั เกตการสอน โดยอาจน่ังเงียบๆ รวมกบั นกั เรยี น 3.2 ขณะสงั เกตการสอน ผูนเิ ทศตองบันทึกพฤตกิ รรมการเรียนรแู ละบรรยากาศ ในหอ งเรยี นอยา งละเอยี ด 3.3 บนั ทึกพฤติกรรมการจดั การเรยี นรูของครู (อาจใชเทปบันทึกเสยี ง) 3.4 ตองสงั เกตการจดั การเรยี นรจู นจบการสอนในแตล ะครง้ั ข้นั ที่ 4 วิเคราะหพ ฤติกรรมการจดั การเรียนรูรว มกัน มีขัน้ ตอนดังนี้ 4.1 ครูกบั ผนู ิเทศรวมกันวเิ คราะหพ ฤตกิ รรมการจัดการเรยี นรู 4.2 นําขอมลู จากการบันทึกพฤตกิ รรมการจัดการเรยี นรู มาพจิ ารณารว มกัน 4.3 พิจารณาพฤติกรรมการจัดการเรียนรูวา มีจุดเดนหรือจุดดอยอยางไร พฤติกรรมใดเปนปญหา 4.4 ครกู บั ผนู ิเทศรว มกันหาทางปรับปรุง หรือพฒั นาการจัดการเรยี นรูใ หดีขนึ้ ข้ันที่ 5 ปรับปรุงการสอน มขี นั้ ตอนดังนี้ 5.1 ครจู ะตองยอมรับพฤตกิ รรมการจดั การเรยี นรขู องตน 5.2 นําผลการวิเคราะหพฤติกรรมทั้งทางดานดีและไมดี มาเปนขอมูล ประกอบการเตรยี มแผนการจดั การเรยี นรคู ร้งั ตอ ไป 5.3 ปรบั ปรงุ แกไขพฤติกรรมท่เี ปน ปญหา

38 (ตัวอยาง) แบบบนั ทกึ การสงั เกตการสอนในชน้ั เรยี น ชอ่ื ผสู อน ......................................................... วชิ า ................................................. ระดบั ชั้น ................... ชอ่ื ผูน เิ ทศ ........................................................ ตําแหนง ............................................................................. ครั้งทีน่ เิ ทศ ...................................................... วนั /เดือน/พ.ศ. ................................................................... คาํ ชแ้ี จง ใหกาเครื่องหมาย  ในชอ งทางขวามือตามเกณฑการประเมิน ดังนี้ เกณฑ 5 = ดีมาก 4 = ดี 3 = ปานกลาง 2 = นอย 1 = แกไข รายการประเมิน ระดับการปฏบิ ตั ิ ขอคน พบและ 54321 ขอเสนอแนะ 1. ขน้ั เตรยี มความพรอ ม (ข้ันนาํ ) 1.1 มีกิจกรรมเตรียมความพรอมที่กระตุนสมอง โดยใชเวลาเหมาะสม (ไมยาวเกินไป) และนาสนใจ 2. ขน้ั สอน 2.1 จัดกระบวนการเรียนรูสอดคลองกับการ ทํางานของสมอง 2.2 จัดกระบวนการเรียนรูสะทอนมาตรฐาน ตวั ชีว้ ดั ของหลกั สูตร 2.3 มีลําดับข้นั ตอนจากงา ยไปหายาก 2.4 เปด โอกาสใหผ เู รียนมสี วนรวมในกิจกรรมการ เรียนการสอน นักเรียนไดลงมอื ปฏิบตั ิ 2.5 มีการใชคําถามสงเสริมกระบวนการคิด ระดบั สูงแกผูเรยี นอยา งตอเน่อื งฃ 2.6 มีการใชสื่ออุปกรณการเรียนรู และ เทคโนโลยี ท่ีเหมาะสมกับมาตรฐาน ตัวช้ีวัดใน หลักสูตร 2.7 มีการใชคําพูดเชิงบวก เสรมิ แรง สราง ความภาคภมู ิใจและความม่นั ใจแกผ เู รยี น 2.8 มคี วามแมนยาํ ในเน้อื หา 2.9 เอาใจใสแ ละชว ยเหลอื ผเู รียนไดอ ยางทั่วถึงทุก กลุม 2.10 จดั บรรยากาศสภาพแวดลอ มสง เสริมการ เรยี นรู 2.11 ส ร า ง วิ นั ย ใ น ชั้ น เ รี ย น ด ว ย ค ว า ม เ ป น กลั ยาณมติ ร 2.12จัดกิจกรรมการเรียนการสอนไดค รบถวน ตามแผน

39 รายการประเมนิ ระดบั การปฏบิ ตั ิ ขอคนพบและ 54321 ขอเสนอแนะ 3. ข้นั สรปุ 3.1 มีการทบทวนและสรุปความรูหรือทักษะ ทีส่ อนเพอื่ ใหผ ูเรยี นเขา ใจและแมนยําในสิง่ ท่ีเรียนรู มากขน้ึ โดยใหผเู รยี นชวยกนั สรปุ บทเรียน 3.2 มีวธิ ีการประเมนิ ผลการเรยี นรขู องผูเรียน อยา งหลากหลายและเหมาะสม 4. ดานบคุ ลิกภาพ 4.1 เสยี งดงั ชดั เจน 4.2 ใชภาษาถกู ตอ ง 4.3 วางตนเหมาะสมกบั ความเปนครู 4.4 ควบคมุ อารมณ 4.5 แตง กายสภุ าพ รวม เฉลีย่ ผนู เิ ทศใหข อ มลู ยอ นกลบั เพอ่ื เปนแนวทางในการพฒั นาตอ ยอดการเรยี นรู ดงั น้ี 1. จุดเดนของการสอนในคาบน้ี ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 2. สง่ิ ทคี่ วรปรับปรุง/ พัฒนาตอยอด ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 3. ความคดิ เหน็ ของผรู ับการนเิ ทศตอการจัดการเรยี นรขู องตน ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ลงช่ือ ........................................................ ผูร ับการนิเทศ (..................................................) ลงช่ือ ........................................................ ผนู ิเทศ (................................................) หมายเหตุ ใหโ รงเรยี นศกึ ษาสภาพและบริบทของโรงเรยี นจดั ทําเกณฑระดบั คณุ ภาพที่เหมาะสม

40 (ตวั อยา ง) แบบสงั เกตการสอน ตอนที่ 1 ขอมลู พื้นฐาน 1. ผูส อนช่อื ...........................................................นามสกุล.................................................................. 2. โรงเรยี น............................................................................................................................................ สังกดั ................................................................................................................................................ 3. วุฒกิ ารศึกษา…………………….……………………………….........................................……………….………… 4. จาํ นวนนักเรยี นทีม่ าเรยี น...................คน มนี กั เรยี นหญงิ ...................คน ชาย...................คน มนี กั เรยี นสญั ชาติไทย...................คน นักเรียนสญั ชาตอิ ืน่ ...................คน มนี ักเรยี นพเิ ศษ (เชน LD, ออทสิ ตกิ )...................คน 5. วนั ท่สี งั เกตการสอน….........เดือน..........................พ.ศ. ...............เวลา...........น. ถงึ เวลา............น. 6. เรื่องทสี่ ังเกตการสอน……………………................................………………………………ชั้น…….......…...…. เร่อื งน้ีใชเ วลาสอนทั้งหมด...................ช่ัวโมง คร้ังนเี้ ปนการสอนชว่ั โมงท.ี่ ....................................... 7. แผนผงั การจดั หอ งเรยี น

41 ตอนท่ี 2 บนั ทกึ การสังเกตสภาพการจัดกจิ กรรมการเรียนรู ใหผูสงั เกตการสอนบันทึกสภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีเกิดข้ึนขณะท่ีครูดําเนินการสอน ตามความเปน จรงิ ต้ังแตเ รม่ิ ตนกิจกรรมการเรยี นรู เพื่อเปนขอมลู ในการประเมินในตอนที่ 3 – 5 เวลา สภาพการจดั กจิ กรรมการเรียนรู (ประเดน็ ทจ่ี ะบันทึก นา จะมหี วั ขอดงั ตอ ไปนี้ การนําเขาสูบทเรียน การจัดกิจกรรมการ เรยี นรู เนือ้ หา บรรยากาศการเรียนรู การมอบหมายงาน การใชส่ือในการจัดการเรียนรู การวดั ผลและประเมนิ ผล สรุปองคค วามรแู ละการนําไปใชใ นชีวติ ประจําวนั อน่ื ๆ) ……………………………………………………………………………………………………………...............… ……………………………………………………………………………………………………………...............… ……………………………………………………………………………………………………………...............… ……………………………………………………………………………………………………………...............… ……………………………………………………………………………………………………………...............… ……………………………………………………………………………………………………………...............… ……………………………………………………………………………………………………………...............… ……………………………………………………………………………………………………………...............… ……………………………………………………………………………………………………………...............… ……………………………………………………………………………………………………………...............… ……………………………………………………………………………………………………………...............… ……………………………………………………………………………………………………………...............… ……………………………………………………………………………………………………………...............… ……………………………………………………………………………………………………………...............… ……………………………………………………………………………………………………………...............… ……………………………………………………………………………………………………………...............… ……………………………………………………………………………………………………………...............… ……………………………………………………………………………………………………………...............… ……………………………………………………………………………………………………………...............… ……………………………………………………………………………………………………………...............… ……………………………………………………………………………………………………………...............… ตอนท่ี 3 – 5 ใหผ สู งั เกตเลือกระดบั คะแนนท่สี อดคลองกบั พฤตกิ รรมที่ปรากฏ และระบุเหตผุ ลประกอบ โดยมเี กณฑใ นการเลือกระดบั ดงั นี้ ระดบั 0 หมายถึง พฤติกรรมไมป รากฏ ระดบั 1 หมายถึง พฤติกรรมปรากฏบา ง หรอื ปรากฏไมช ดั เจน ระดับ 2 หมายถงึ พฤติกรรมปรากฏบอย หรือปรากฏชดั เจน

42 ตอนท่ี 3 การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู ท่ี รายการ ระดบั พฤตกิ รรม 012 1) การจดั กิจกรรมการเรยี นรู ผสู อนคาํ นึงถึงความรูพน้ื ฐานของผูเรยี น ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ 2) การจัดกิจกรรมการเรียนรู ผูเรียนไดแสดงความคิดเห็นและแลกเปล่ียน เรียนรซู ึ่งกนั และกนั ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ 3) ผูเรียนไดสํารวจตรวจสอบ (สังเกต ทดลอง สืบคน ฯลฯ) เพื่อนําไปสูองค ความรู ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ 4) ผูเรียนไดใชกระบวนการทหี่ ลากหลาย นอกเหนือจากที่ครกู ําหนดให ในการ หาคําตอบ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ 5) มีการใชสือ่ เทคโนโลยีในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ตอนที่ 4 เน้ือหา 4.1 ความรูเชิงเนอื้ หา ที่ รายการ ระดบั พฤตกิ รรม 012 6) การจัดกิจกรรมการเรียนรูสอดคลองกับแนวคิดหลัก (concept) ของเรื่อง นนั้ ๆ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ 7) ผสู อนมคี วามรู ความเขาใจในเนอ้ื หาสาระเปนอยา งดี ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................

43 ที่ รายการ ระดบั พฤตกิ รรม 012 8) ผสู อนสง เสรมิ ใหผ เู รยี นสรปุ แนวคดิ หลกั ได ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ 9) ผูสอนบรู ณาการเนื้อหาสาระท่ีสอน กับเนื้อหาสาระอ่ืนในกลุมสาระการ เรียนรเู ดยี วกันหรอื ตางกลมุ สาระ หรือกับสถานการณจรงิ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ 4.2 ความรเู ชิงกระบวนการ ที่ รายการ ระดบั พฤตกิ รรม 012 10) ผูเรยี นมกี ารคาดคะเน ตง้ั สมมติฐาน (ถา มี) และออกแบบวิธกี ารสํารวจ ตรวจสอบ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ 11) ผเู รยี นมกี ารปรึกษาหารือ คดิ วิเคราะห และตรวจสอบการทาํ งาน ในแตละขน้ั ตอนของกจิ กรรม ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ 12) ผเู รยี นนาํ เสนอขอมลู ดวยวิธกี ารทเ่ี หมาะสม เชน ภาพวาด แผนภมู ิ ตาราง แบบจําลอง การเขยี นบรรยาย ฯลฯ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ 13) ผูเรยี นมีการแปลผลจากขอ มลู หรอื หลักฐานท่มี ีอยดู วยตนเอง ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ 14) ผูเรยี นมกี ารสะทอนความคดิ เกย่ี วกบั การเรยี นรขู องตนเอง ........................................................................................................................ ........................................................................................................................

44 ท่ี รายการ ระดับพฤตกิ รรม 012 15) ผูเ รยี นใชค วามรูในการวิพากษว จิ ารณอ ยา งมเี หตผุ ล ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ตอนที่ 5 บรรยากาศในชน้ั เรยี น 5.1 ลักษณะการสื่อสาร ท่ี รายการ ระดับพฤตกิ รรม 012 16) ผูสอนใชค าํ ถามกระตุน ใหผ ูเ รยี นเกิดความคดิ ทห่ี ลากหลาย ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ 17) ผูเรยี นต้ังคาํ ถามและมขี อ สงั เกตระหวางการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ 18) ผูสอนใหค วามสาํ คญั กบั คาํ ถามและขอ สงั เกตของผเู รียน ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ 19) บรรยากาศในชน้ั เรยี น มีการยอมรบั ฟงความคิดเหน็ ระหวา งผเู รยี นดวยกัน ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ 5.2 ความสัมพนั ธร ะหวา งผเู รยี นและผูสอน ท่ี รายการ ระดบั พฤตกิ รรม 012 20) ผสู อนสงเสริมใหผ เู รยี นมีสวนรว มในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................

45 ที่ รายการ ระดบั พฤตกิ รรม 012 21) ผูส อนมคี วามอดทนอดกล้นั ตอ พฤติกรรมตางๆ ของผเู รยี น ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ 22) ผสู อนมีบทบาทเปน ทีป่ รึกษา ชว ยสง เสรมิ ใหผ เู รยี นสามารถ สํารวจตรวจสอบไดด ขี น้ึ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ 23) ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู ผสู อนทาํ หนา ที่เปน ผูฟ งและยอมรับฟง ความ คดิ เห็นของผเู รยี น ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ขอ สังเกตเพม่ิ เตมิ เกยี่ วกบั บทเรยี นนี้ (ถามี) ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ผสู งั เกตการสอน.............................................……….….………….วันที…่ ….….................................................... รับทราบ/ปรบั ปรงุ /ดําเนนิ การตามคาํ แนะนาํ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ..................................................................ผูร ับการนิเทศ (.................................................................)

46 (ตัวอยา ง) เคร่ืองมอื การนิเทศการเรียนการสอนของครู การนิเทศการเรยี นการสอนของครู........................................................โรงเรียน........................................... กลุมสาระการเรยี นร.ู .......................................ชัน้ ..............ครง้ั ท่.ี ......วนั ท่.ี ......เดอื น...............พ.ศ................ คําชแี้ จง ใหก าเคร่ืองหมาย  ในชอ งอนั ดับคณุ ภาพตามความเปน จรงิ ดงั นี้ เกณฑ 5 = ดมี าก 4 = ดี 3 = ปานกลาง 2 = นอย 1 = แกไข รายการประเมนิ อันดับคณุ ภาพ หมายเหตุ 54321 1. แผนการจดั การเรียนรู ใหโ รงเรยี นศกึ ษาสภาพ 1.1 มีองคประกอบในแผนครบและเขียนได และบรบิ ทของโรงเรียน จดั ทาํ เกณฑระดบั สอดคลอ งเหมาะสม คุณภาพทเ่ี หมาะสม 1.2 สื่อสอดคลองกับสาระการเรียนรูและ กิจกรรม 1.3 ประเมินผลสอดคลองกบั ตวั ช้วี ัด 1.4 ลําดบั ข้ันตอนของกิจกรรมเหมาะสม 1.5 แผนการจดั การเรียนรูเ ปนปจจบุ นั 2. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู 2.1 วิธกี ารนําเขาสูบทเรียน เราใจ/นําใหคิด/ อยากรอู ยากเรยี น 2.2 ครูต้งั ใจสอนและเตรยี มการสอนเปนอยา งดี 2.3 จัดกิจกรรมตามลาํ ดบั ในแผนการจัดการเรยี นรู 2.4 ใชเ ทคนิคการสอนเหมาะสมกับสาระการ เรยี นรูแ ละกิจกรรม และมีการสอดแทรกคุณธรรม 2.5 ครแู ละนักเรียนใชส อ่ื รวมกนั 2.6 มีการซักถามและสนทนาซ่ึงกันและกัน ระหวางครแู ละนกั เรยี น 2.7 ใหความเอาใจใสนักเรยี นอยางทว่ั ถงึ 2.8 ครเู สรมิ แรงไดด แี ละเหมาะสม 2.9 บรรยากาศการเรยี นอบอุนเปนกันเอง 2.10 นักเรียนกลา แสดงออกไมเ ครียด 2.11 นักเรียนมีพฤติกรรมเปนประชาธิปไตย เชน รจู ักหนา ท่ี ยอมรับฟง ความคิดเห็นของผูอ่ืน เปนผูน าํ ผตู ามที่ดี 2.12 นักเรียนมคี วามกระตือรอื รนทํางานอยาง ต้ังใจและเรยี บรอ ย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook