- ๙๘ - คาถาม 1.1 เราแตกต่างกันอย่างไร ( แนวคาตอบ ชาติพันธ์ุ ถน่ิ ท่ีอยู่ ศาสนา ค่านยิ ม ความเชื่อ เพศ วยั ฐานะทางสงั คม การศกึ ษา อาชีพความเปน็ อยู่ ภาษา ฯลฯ ) 1.2 เรารับรูถ้ ึงความแตกต่างได้อยา่ งไร (แนวคาตอบ ลักษณะทางกายภาพ การแสดงออกทางพฤติกรรม ความเป็นอยู่ การใช้ ชวี ิต ) 1.3 เรารู้สกึ อยา่ งไรตอ่ ความแตกตา่ ง ( พจิ ารณาตามคาตอบของนกั เรียน โดยใหอ้ ยใู่ นดุลยพินจิ ของครูผู้สอน ) 1.4 ความรสู้ กึ ท่ีเรามีตอ่ ความแตกตา่ งทาให้ผู้อ่ืนรู้สึกอยา่ งไร ( พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดลุ ยพนิ ิจของครูผู้สอน ) 2) ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั อภปิ รายถึง การปฏบิ ตั ติ นหรือพฤติกรรมท่เี กิดขนึ้ เมื่อเรารู้สึกถึง ความแตกต่าง (แนวคาตอบ หลกี หนี เพกิ เฉย ชว่ ยเหลือ ชน่ื ชม รงั เกียจ รงั แก ฯลฯ ) 3) นักเรยี นร่วมกันพิจารณาความหมายของคาศัพท์ต่อไปน้ี และร่วมกันสารวจว่าตนเองเคยมี พฤติกรรมเหลา่ นห้ี รอื ไม่ - การรบั รทู้ มี่ มี าก่อน (การทาความเขา้ ใจส่งิ แวดลอ้ มผ่านประสาทสมั ผสั ประสบการณ์เดมิ ) - การตดั สินคุณค่า (การพิจารณาว่าส่ิงใดดี ไม่ดี ควร ไมค่ วร) - อคติ (ความไม่เที่ยงธรรม ความลาเอียง) - การเหมารวม (คตินยิ มหรือทศั นคตขิ องสงั คมทัว่ ไปที่มีตอ่ กลุ่มคนอื่น ชาติอ่นื ) - อคตทิ างวัฒนธรรม (การแบ่งแยกทางวฒั นธรรม) - การขาดความอดทนอดกล้ัน (การไมส่ ามารถรกั ษาปกติภาวะตอ่ สง่ิ ทตี่ นเองไม่พอใจได้) - การทาให้กลายเปน็ กลุ่มอ่ืน (การผลักดนั ให้ผ้อู ืน่ ท่ีแตกต่างเปน็ บคุ คลท่อี ยนู่ อกกล่มุ ) จากน้ันครูและนกั เรียนรว่ มกันวิเคราะหผ์ ลกระทบจากการมีพฤติกรรมตามคาศัพท์ข้างต้น ( ความขัดแย้ง การเบยี ดเบยี น การเอารัดเอาเปรยี บ ฯลฯ) 4) นกั เรียนวิเคราะห์ความจาเปน็ ในการปฏิบตั ินเพอ่ื อาศยั อย่รู ว่ มกนั การพึง่ พาอาศัยกนั และ การร่วมมือกนั ในสงั คม (แนวคาตอบ ประโยชนต์ ่อตนเอง : ทาให้อยู่ในสังคมอยา่ งมีความสุข และรู้สกึ ปลอดภยั จาก อันตรายต่างๆมผี คู้ อยให้ความชว่ ยเหลอื เม่อื ตกยาก หรือประสบกับความยากลาบากจากเหตกุ ารณ์
- ๙๙ - ต่าง ๆ และทาใหไ้ มร่ สู้ กึ โดดเดยี่ ว หรือไรท้ ีพ่ ึ่งเมื่อเจอปัญหา ประสบความสาเรจ็ ในการประกอบ หน้าทีก่ ารงาน เพราะได้รับความช่วยเหลอื เกอื้ กลู จากบุคคลรอบข้าง ประโยชนต์ ่อสงั คมและประเทศชาติ : สังคมเป็นระเบยี บเรยี บร้อยและสงบสุข ปราศจาก ปัญหาความแตกแยกขดั แย้งใดๆ เกดิ การพัฒนาท่รี วดเร็วและย่งั ยืน เพราะความสงบสุขในสังคมจะ กระต้นุ ใหเ้ กดิ การลงทุนทางเศรษฐกจิ ทาใหป้ ระเทศชาติมีรายไดเ้ พ่ิมข้ึน เพยี งพอต่อการนามา ปรับปรงุ โครงสรา้ งทางสงั คมให้มีประสิทธิภาพ และพร้อมรับมือกับความเสี่ยงหรือการเปลีย่ นแปลง ของสถานการณ์ ความสขุ ของคนในชาตเิ พ่ิมมากขึ้น เพราะมีความอยู่ดีกนิ ดี ร้สู กึ ปลอดภยั ในการดาเนินชีวติ มีหนา้ ที่ การงานและรายได้ทม่ี นั่ คง ) ๕) ครูอธิบายความหมายของสทิ ธิมนุษยชน และหนา้ ท่ีพลเมือง จากนั้นแบง่ นักเรียนออกเป็น กลุ่ม ๓-๔ กลุ่มแล้วใหน้ กั เรยี นเลอื กบตั รคาพร้อมคาอธบิ ายดา้ นหลงั เก่ยี วกับสิทธมิ นุษยชน และหนา้ ท่ีของพลเมือง ดงั ต่อไปน้ี คนละ 1 บัตรคา สทิ ธเิ สรภี าพในชวี ิตและรา่ งกาย สิทธใิ นการร้อื ฟ้นื คดีอาญา สทิ ธขิ องผู้บริโภค สทิ ธใิ นการเขา้ ร่วมพิธกี รรมและประเพณี สทิ ธแิ รงงาน สิทธคิ วามหลากหลายทางเพศ สทิ ธสิ ตรี สทิ ธขิ องผูล้ ี้ภัย หน้าท่ีในการป้องกันชาติบ้านเมือง หน้าท่ีในการเคารพและปฏิบัติตามกฎหมาย บา้ นเมือง หนา้ ท่ีในการชว่ ยเหลอื ราชการตามกฎหมาย หน้าท่ใี นการรบั ราชการทหาร หนา้ ทใ่ี นการเสยี ภาษอี ากรตามกฎหมาย หนา้ ทใ่ี นการเขา้ รับการศกึ ษาภาคบงั คบั หน้าที่ในการใชส้ ทิ ธิเลือกต้งั โดยสจุ ริต หน้าท่ีธารงรักษาไวซ้ ง่ึ ความมั่นคงของชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์และการปกครอง ระบอบ ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์เป็นประมุข ๖) นกั เรยี นแต่ละคนในกลุ่มศกึ ษาขอ้ ความอธบิ ายดา้ นหลงั บัตรคาของตนเอง จากนั้นให้ นักเรยี น ยกตัวอยา่ งเหตุการณ์จากขา่ ว หรอื ชีวิตประจาวนั ทีเ่ ปน็ การละเมิดสทิ ธแิ ละ หน้าที่ตามบัตรคา คนละ 1 เหตกุ ารณ์ จนครบสมาชิกทกุ คนในแต่ละกลุ่ม แล้วร่วมกัน แสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกับ การละเมดิ สิทธิและหนา้ ท่ีดังกล่าว ๗) ครอู ธิบายหน่วยงานท่เี ก่ียวขอ้ งกบั การป้องกันการละเมิดสทิ ธิมนุษยชน จากนนั้ ให้ นกั เรียนยกตวั อย่างบตั รคาทเี่ ก่ยี วขอ้ งหนว่ ยงาน
- ๑๐๐ - ช่ัวโมงที่ 2 ๘) แบ่งกล่มุ นักเรยี นเปน็ 4 กล่มุ และศึกษาข่าว/สถานการณ์การทจุ รติ ในกรณดี งั ต่อไปนี้ ก.กรณนี มโรงเรียนบูด ข.กรณีสมารท์ การด์ ค. กรณอี มเงินชว่ ยเหลอื น้าทว่ ม ง. กรณใี บอนญุ าตซานติกา ๙) ใหน้ กั เรียนร่วมกนั อภิปรายภายในกลุ่มโดยให้นักเรียนทุกคน ผลดั กนั อภปิ ราย จานวน 3 รอบ ดังนี้ รอบท่ี 1 บอกความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อสถานการณ์/ข่าว รอบท่ี 2 การรบั รู้/ความรู้สกึ /หลักคดิ อะไรทท่ี าให้บคุ คลในข่าวกระทาในลักษณะ ดงั กลา่ ว รอบที่ 3 บคุ คลที่ได้รบั ผลกระทบคอื ใคร และรูส้ ึกอย่างไรต่อการกระทาของบคุ คล ตามขา่ ว ๑๐) นกั เรยี นแต่ละกล่มุ วเิ คราะห์วา่ สถานการณ์การทุจริตต่อไปน้ีเกดิ จากการละเมิด สิทธิมนษุ ยชนอยา่ งไร ผลท่ีเกิดขน้ึ จากการละเมิดคืออะไร และมแี นวทางในการ แกป้ ญั หาอยา่ งไร ทั้งในระดับตนเองและระดับรฐั เขยี นคาตอบลงในกระดาษฟลปิ ชารต์ (Flip chart) จากนน้ั ตัวแทนกล่มุ นาเสนอใหเ้ พ่ือนรว่ มหอ้ งฟงั ช่ัวโมงท่ี 3 ๑๑) ครแู ละนักเรยี นร่วมกันวเิ คราะหค์ วามสาคญั ของการแกป้ ญั หาจากระดบั ตนเองที่มผี ลต่อ การเปล่ียนแปลงในภาพรวมของสังคม ๑๒) นักเรียนแต่ละกลมุ่ นาเสนอแนวทางปฏบิ ัติตนในชีวติ ประจาวนั อย่างไรที่สง่ เสรมิ การอยู่ รว่ มกันในสังคมทมี่ ีความหลากหลายด้วยการเคารพสิทธิหนา้ ทตี่ อ่ ตนเองและผอู้ ืน่ ใน สงั คม โดยเขยี นตอบลงในกระดาษฟลปิ ชาร์ต (Flip chart) ๑๓) ครูใหน้ ักเรียนแตล่ ะกล่มุ ผลัดกนั ตรวจคาตอบของเพ่ือนกลมุ่ อน่ื ๆ โดยผลดั กันรอบละ 2-3 นาที จากน้นั ใหน้ กั เรียนกลับเข้ากลุ่มตนเองศกึ ษาใบความรู้ เรอ่ื ง การเคารพสิทธแิ ละเสรภี าพ ของตนเองและผ้อู ่นื และรว่ มกันสรปุ แนวทางการปฏบิ ัตจิ านวน ๓ ข้อ โดยเขียนลงใน กระดาษ ฟลิปชารต์ (Flip chart) และนามาตดิ หน้าห้อง 14) ครแู ละนักเรยี นร่วมกันพจิ ารณาคาตอบทีต่ ดิ หน้าหอ้ งรว่ มกันทัง้ ห้อง และจัดกล่มุ คาตอบ เพื่อสรุปเปน็ คาว่า Respect , Share และ Care เพอ่ื อธิบายหลกั ในการปฏบิ ัติตนใน การเคารพสิทธหิ นา้ ท่ตี ่อตนเองและผ้อู ื่นในสงั คมท่ีมีความหลากหลาย ชว่ั โมงท่ี 4 15) นกั เรียนร่วมกันอภิปรายว่า ปัจจบุ นั นักเรียนได้ปฏิบตั ติ นในการเคารพสทิ ธิหนา้ ท่ีต่อ ตนเองและผู้อืน่ หรือไม่ อย่างไรบ้าง และในอนาคต นักเรียนจะแสดงออกถงึ การเคารพสทิ ธิ หน้าท่ีตอ่ ตนเองและผู้อื่นและเชญิ ชวนให้คนในสงั คมเคารพสทิ ธิหนา้ ทตี่ ่อตนเองและผู้อน่ื ไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง
- ๑๐๑ - 16) นกั เรียนในช้นั เรยี นร่วมกันสรา้ งแบบประเมินพฤตกิ รรมของตนเองในการเคารพสทิ ธิ หนา้ ท่ีต่อ ตนเองและผู้อ่ืนในสงั คมจากนั้นประเมนิ ตนเองจากแบบประเมนิ ทส่ี ร้างข้ึน 4.2 สอื่ การเรยี นรู้ / แหล่งการเรียนรู้ 1) รปู ภาพ 2) บัตรคา 3) เนือ้ ขา่ ว/สถานการณจ์ าลอง (เมนูคอร์รปั ชัน และการแสวงหาประโยชน์ เรยี บเรยี งจากโครงการ คู่มือประชาชนรู้ทันคอร์รัป ชันและการแสวงหาผลประโยชน์ โดย สมเกยี รติ ต้ังกิจวานิชยแ์ ละคณะ มูลนธิ สิ ถาบนั วจิ ยั เพ่อื การ พฒั นาประเทศ) 4) กระดาษฟลิปชารต์ 5) ใบงาน 6) สเี มจิก 7) เทปกาว 8) ใบความรู้ 5. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 5.1 วิธีการประเมนิ 1) ตรวจผลงานการนาเสนอผลงานในกระดาษ Flip chart 2) สังเกตพฤติกรรมม่งุ มั่นในการทางาน 5.2เคร่อื งมอื ท่ใี ช้ในการประเมิน 1) แบบให้คะแนนผลงานในกระดาษ Flip chart 2) แบบสงั เกตพฤตกิ รรมมงุ่ ม่นั ในการทางาน 5.3 เกณฑก์ ารตดั สนิ -นกั เรยี นผ่านการประเมินทุกกิจกรรม ร้อยละ 80 ข้นึ ไป จึงจะถือวา่ ผา่ นเกณฑก์ าร ประเมิน -นกั เรียนผ่านการประเมินพฤตกิ รรมระดับดีขน้ึ ไป ถือวา่ ผ่าน 6. บนั ทกึ หลงั สอน ............................................................................................................................. ................................ .................................................................................................. ......................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. .................................................................................... ................................................................. ...................... ลงช่ือ ................................................ ครูผสู้ อน (.................................................)
- ๑๐๒ - 7. ภาคผนวก แบบให้คะแนนการตรวจผลงานแยกแยะระหวา่ งจริยธรรมและการทุจริต ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖ /...... กลมุ่ ที.่ ...................... รายการประเมิน ที่ กลุม่ ท่ี รวม ความถกู ต้อง การสอื่ สารชัดเจน มีความพร้อม มกี ารใช้ ตรงตามประเด็น เขา้ ใจงา่ ย ในการนาเสนอ กระบวนการกลุ่ม 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 16 คะแนน เกณฑ์การใชค้ ะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ 4 คะแนน เท่ากับ ดีมาก 3 คะแนน เทา่ กับ ดี ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 2 คะแนน เทา่ กับ พอใช้ 1 คะแนน เท่ากบั ปรบั ปรงุ 13 - 16 ดีมาก 9 - 12 ดี 5 - 8 พอใช้ 0 - 4 ปรับปรงุ
- ๑๐๓ - แบบสังเกตพฤติกรรม “มุง่ มนั่ ในการทางาน” คาชแ้ี จง ทาเคร่ืองหมาย ในช่องทตี่ รงกบั ความเป็นจรงิ ตามเกณฑก์ ารประเมิน เกณฑก์ ารประเมิน (ใช้ขอ้ มูลจากการสงั เกตตามสภาพจริงของครูผ้สู อน) ทางานดว้ ยความเพยี ร ตั้งใจและรับผดิ ชอบ พยายาม และอดทนเพื่อให้ รวม เลขท่ี ชอื่ - สกุล ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ที่การงาน งานสาเรจ็ ตามเป้าหมาย 4 3 21 4 321 1 2 3 4 ๕ เกณฑ์การใชค้ ะแนน เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ 4 คะแนน เท่ากับ ดมี าก 3 คะแนน เทา่ กบั ดี ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 2 คะแนน เท่ากับ พอใช้ 1 คะแนน เท่ากบั ปรบั ปรุง 7 - 8 ดีมาก 5 - 6 ดี 3 - 4 พอใช้ 1 - 2 ปรบั ปรงุ (ลงชอ่ื )...................................ครผู ู้ประเมนิ (…………………………………………………) ............../................./.............
- ๑๐๔ - ภาคผนวก รูปภาพ ภาพชาวเขา ท่ีมา : http://fb1- cb.lnwfile.com/_/cb/_raw/0b/7r/j2.jpg ผูล้ ีภ้ ัยชาวโรฮงิ ญา ที่มา : http://media.komchadluek.net/img/si ze1/2017/07/08/L_8gie5afbbj85kii gfabbb.jpg ภาพพระสงฆ์ ที่มา: http://www.pali.mcu.ac.th/wp- content/uploads/2014/12/10848766_ 814481975284654_246222479970 0831380_o.jpg
- ๑๐๕ - ภาพชาวคริสต์ ที่มา : http://www.pali.mcu.ac.th/wp- content/uploads/2014/12/10848766_ 814481975284654_246222479970 0831380_o.jpg ภาพเด็กชาวมุสลมิ ทม่ี า: http://www.thailandexhibition.com/images/fileupload_pr/PR _news3149.jpg ภาพเด็กด้อยโอกาส ที่มา: http://4.bp.blogspot.com/-bStiEFQ6RnM/Ud- B3crLUJI/AAAAAAAAVE4/0BrJ0YnANlQ/s1600/free- school-under-bridge-slum-new-dehli-india1.jpg ภาพขอทาน ท่มี า: https://img.pptvhd36.com/resize/XvrSZa HSYb-WnIncq5-gApm- PWg=/0x0/smart/filters:quality(75)/Y29u dGVudHMlMkZmaWxlcyUyRlBvcFN1cmkl MkYxNjc1OSUyRjU3OTk5MDMxYjRjODcua nBn
- ๑๐๖ - ภาพคนพิการ ทม่ี า: http://fepdthailand.org/sites/default/files/images/basic/worki ng-1.JPG ภาพนกั ธุรกิจ ทมี่ า: http://www.stock2morrow.com/upload/b ook/469_make-money-fast.png ภาพเด็ก ท่มี า: http://img.tnews.co.th/userfiles/images/20150910_1 509290.jpg ภาพผู้สูงอายุ ทมี่ า: http://122.155.92.12/centerapp/Common/GetFil e.aspx?FileUrl=~/Uploads/Image/ 2560/06/14/PNOHT600614001014601.JPG
- ๑๐๗ - ภาพผชู้ าย ภาพผู้หญิง ท่ีมา: http://www.popcornfor2.com/upload/82/news- ที่มา: https://koreaboo- full-81767.JPG cdn.storage.googleapis.com/2017/07/c6dq6Y8- 1531x2048.jpg
- ๑๐๘ - ใบความรู้ การเคารพสิทธแิ ละเสรีภาพของตนเองและผู้อ่นื การปกครองระบอบประชาธิปไตยเปน็ การปกครองท่ีมรี ฐั ธรรมนญู เปน็ แม่บทกาหนดกรอบให้ทุก ภาคส่วนของสงั คมยดึ ถือและปฏิบตั ริ ่วมกนั โดยกรอบทสี่ าคัญในการดารงตนอยา่ งเหมาะสมของประชาชน คือการยดึ มน่ั ในสิทธิ เสรภี าพ และหน้าท่ีตามทร่ี ัฐธรรมนูญกาหนด หากประชาชนทกุ คนรถู้ ึงสิทธิ เสรีภาพ และหนา้ ที่ ที่รฐั ธรรมนญู บัญญตั ไิ ว้ และต่างปฏบิ ตั ิได้อยา่ งถูกต้องครบถ้วน ประชาชนในชาตยิ อ่ มอย่รู ว่ มกัน อยา่ งมีความสขุ และชาตบิ า้ นเมอื งกจ็ ะพัฒนาและเจริญกา้ วหน้าได้อยา่ งรวดเรว็ สิทธิของตนเองและผู้อ่ืนตามท่ีบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย การปฏิบัติตนตาม สิทธิของตนเองภายใต้กรอบรัฐธรรมนูญ โดยไม่กระทบสิทธิบุคคลอื่น ย่อมได้ชื่อว่าบุคคลน้ันเป็นผู้มีส่วน นาพาบา้ นเมืองให้พัฒนา ในที่น้ีจะกล่าวถึงการปฏิบัติตนในการรักษาและเคารพสิทธิเสรีภาพของตนเองและ ผอู้ ่นื ตอ่ ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาตติ ามที่รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทยกาหนดไว้ ดงั นี้ 1. การเคารพสทิ ธขิ องตนเองและผู้อืน่ ทม่ี ตี อ่ ครอบครัว ครอบครัวประกอบด้วยพ่อแม่ลูก ทุกครอบรัวมีสิทธิที่จะได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญใน หลายประเดน็ ดว้ ย กนั โดยเฉพาะเรอื่ งการใช้ความรุนแรง และการปฏิบัติอันไม่เป็นธรรม หมายความว่า พ่อ แม่ และลกู จะต้องไมใ่ ชค้ วามรุนแรงหรอื ปฏบิ ัติต่อกันอยา่ งไม่เปน็ ธรรม กรณีระหวา่ งสามภี รรยาจะต้องเคารพ และรับฟังความคิดเหน็ ของกันและกนั ไม่ตัดสินปัญหาโดยใช้กาลัง กรณีระหว่างบุตรกับบิดามารดา บุตรต้อง เช่อื ฟงั คาสง่ั สอนของบิดามารดา บดิ ามารดาจะต้องอบรมส่ังสอนบุตรโดยใช้เหตุผล ไม่ใช้การแก้ไขพฤติกรรม ลูกดว้ ยการเฆี่ยนตี เล้ียงลกู ดว้ ยรักความเขา้ ใจ และใชส้ ิทธิเสรีภาพในการแสวงหาความสุขส่วนตัว แต่ต้องอยู่ ในขอบเขตและไม่ทาให้เกดิ ความเดือดร้อนหรอื สรา้ งปัญหาใด ๆ ให้แก่บิดามารดา 2. การเคารพสทิ ธิของตนเองและผู้อ่ืนทีมีต่อชุมชนและสังคม สมาชกิ ทกุ คนในสงั คมมสี ิทธิเทา่ เทียมกนั ในการดารงชวี ติ ในสงั คม โดยสิทธิดังกล่าวจะต้องไม่ละเมิด สิทธิของสมาชิกคนอืน่ ในสงั คม ในทีน่ ี้ขอยกตัวอยา่ งสิทธขิ องตนเองที่มีต่อชุมชนบางประการ ดงั น้ี 1) เสรีภาพในเคหสถาน ชาวไทยทุกคนย่อมมีเสรีภาพในเคหสถาน ท่ีจะสามารถอาศัยและครอบครอง เคหสถานของตนโดยปกติสุข ไม่ว่าจะเกิดจาการเช่าหรือเป็นเจ้าของกรรมสิทธ์ิ ซ่ึงบุคคลอ่ืนจะต้องให้ความ เคารพในสิทธินี้ แม้แต่เจ้าหน้าท่ีของรัฐหากจะต้องเข้าไปดาเนินการตามกฏหมายใด ๆ เช่น การตรวจค้น เคหสถานของประชาชนก็จะทาการมไิ ด้ เว้นแตจ่ ะมหี มายคน้ ทอี่ อกโดยศาลเท่าน้ัน 2) เสรีภาพในการเดินทางและการติดต่อส่ือสาร ชาวไทยทุกคนมีเสรีภาพที่จะเดินทางไปในท่ีต่าง ๆ บน ผืนแผ่นดินไทยได้ทุกพื้นที่ของประเทศไทย และสามารถเลือกถ่ินที่อยู่อาศัย ณ ท่ีใดก็ได้ในประเทศไทย รวมท้ังชาวไทยทุกคนสามารถท่ีจะติดต่อส่ือสารกับบุคคลอื่นไม่ว่าจะเป็นทาง จดหมาย โทรศัพท์ หรือ อนิ เทอรเ์ น็ต 3) เสรีภาพในการนับถือศาสนา สมาชิกทุกคนในสังคมมีสิทธิ เสรีภาพท่ีจะนับถือศาสนาแตกต่างกันได้ ซ่ึงบุคคลอ่ืนในสงั คมรวมทัง้ รัฐจะตอ้ งให้ความเคารพสิทธิเสรีภาพในเรื่องนี้ด้วย 4) เสรีภาพในทางวชิ าการ เยาวชนไทยทกุ คนจะต้องได้รบั การศกึ ษาข้ึนพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี โดยไม่ เสียค่าใช้จ่าย นอกจากนี้คนไทยทกุ คนยงั มสี ทิ ธิในการที่จะศกึ ษาค้นหว้าหรือทาวิจัยตามท่ีต้อง การ โดยไม่ขัด ตอ่ กฏหมาย
- ๑๐๙ - 5) เสรีภาพในการชุมนุมอย่างสงบโดยปราศจากอาวุธ หมาย ถึง ประชาชนทุกคนมีสิทธิเสรีภาพในการ ชมุ นุมแต่ตอ้ งเป็นไปโดยสงบ ปราศจากอาวุธ และต้องไม่รบกวนสิทธิของผู้อ่ืน การปราศจากอาวุธน้ัน หมาย รวมถงึ หา้ มทุกคนทมี่ าร่วมชุมนุมพกพาอาวุธเข้ามามาในท่ีขุมนุมเด็กขาด บุคคลใดพกพาอาวุธเข้ามาในท่ีขุม นมุ บคุ คลนน้ั จะไม่ได้รบั ความคุ้มครองตามรัฐธรรมนญู ในกรณีทไี่ ดก้ ลา่ วมาขา้ งตน้ 6) สิทธิเสรีภาพในการอนุรักษ์และฟื้นฟูจารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทุกคนย่อมมีส่วนร่วมในการ อนุรักษ์ และร่วมสบื สานศลิ ปะหรอื วฒั นธรรมอนั ดีงามของทอ้ งถิ่นและของประเทศชาติเพ่ือ ให้ดารงอยู่ต่อไป กบั อนุชนรุ่นหลัง 7) สทิ ธิเสรีภาพในการประกอบอาชีพ โดยเสรีภาพในการประกอบอาชีพจะต้องไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่น เชน่ ผปู้ ระกอบการจะต้องเคารพและซ่ือสตั ย์ตอ่ ผู้บรโิ ภค และไมเ่ อาเปรยี บผู้บรโิ ภค เปน็ ตน้ 3. การเคารพสิทธขิ องตนเองและผ้อู ่ืนท่ีมตี ่อประเทศชาติ 1) สิทธิในการมีส่วนร่วม ใน ท่ีน้ี หมายถึง สิทธิการมีส่วนร่วมในกระบวนการพิจารณาของเจ้าหน้าที่รัฐ เกี่ยวกับการปฏบิ ัติ ราชการด้านการปกครอง อนั มผี ลกระทบต่อสทิ ธิและเสรภี าพของคนในสังคมโดยตรง 2) สทิ ธทิ ีจ่ ะฟอ้ งร้องหน่อยราชการ หน่วยงานของรฐั รัฐวิสาหกจิ ราชการส่วนท้องถิ่น เช่น เทศบาล องค์การบรหิ ารส่วนตาบล องคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั หรือองค์กรของรัฐทเ่ี ป็นนติ บิ ุคคล ประชาชนมีสิทธทิ ี่ จะฟ้องร้องหน่วยงานต่าง ๆเหล่านีใ้ หร้ ับผดิ ชอบ หากการกระทาใด ๆหรือการละเวน้ การกระทาใด ๆของ ข้าราชการ พนักงาน หรอื ลูกจา้ งของหน่วยงานน้นั ส่งผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตของประชาชนตอ่ ศาล ปกครอง 3) สิทธิที่จะต่อต้านโดยสันติวิธี การกระทาใดจะท่ีเป็นไปเพื่อให้ได้มาซึ่งอานาจในการปกครองประเทศ โดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางท่ีบัญญัติได้ในรัฐธรรมนูญ เช่นการต่อต้านการทาปฏิวัติรัฐประหาร เป็น สง่ิ ท่ีประชาชนมสี ิทธิทจ่ี ะออกมาต่อตา้ น แตต่ ้องเปน็ ไปโดยสันตวิ ธิ ี แนวทางการปฏบิ ตั ิตนในการเคารพสิทธิของตนเองและผอู้ ่นื การปฏิบัติตนตามสิทธขิ องตนเองและผอู้ ืน่ ในสังคม เป็นส่ิงท่ีช่วยจัดระเบียบให้กับสังคมสงบสุข โดย มแี นวทางปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ 1. เคารพสิทธิของกันและกัน โดยไม่ละเมิดสิทธิเสรีภาพของผู้อ่ืนสามารถแสดงออกได้หลายประการ เช่น การแสดงความคิดเหน็ การยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ของผู้อืน่ เปน็ ตน้ 2. รู้จักใช้สทิ ธขิ องตนเองและแนะนาใหผ้ ้อู น่ื ร้จู กั ใช้สิทธขิ องตนเอง 3. เรียนรแู้ ละทาความเขา้ ใจเก่ียวกับหลักสิทธิเสรีภาพตามที่บัญญัติไว้ในรัฐ ธรรมนูญ เช่น สิทธิเสรีภาพ ของความเปน็ มนุษย์ สิทธิเสรภี าพในเคหสถาน เป็นต้น 4. ปฏิบัติตามหน้าท่ีของชาวไทยตามท่ีบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ เช่น การออกไปใช้สิทธ์ิเลือกตั้ง การเสีย ภาษใี หร้ ฐั เพ่อื นาเงินมาพัฒนาประเทศ เป็นต้น ผลทีไ่ ด้รบั จากการกฏบิ ัตติ นเคารพสทิ ธิของตนเองและผู้อน่ื 1. ผลท่ีเกิดกับประเทศชาติ หากประชาชนมีความสมัครสมานรักใคร่สมัคคี ไม่มีความแตกแยก ไม่ แบ่งเป็นพวกเป็นเหล่า บ้านเมืองก็จะสงบสุขเกิดสวัสดิภาพ บรรยากาศโดยรวมก็จะสดใส ปราศจากการ ระแวงตอ่ กนั การดาเนนิ กิจกรรมตา่ ง ๆสามารถดาเนินไปอยา่ งราบรนื่ นักลงทุน นักท่องเท่ียวก็จะเดินทางมา เยือนประเทศของเราด้วยความม่นั ใจ
- ๑๑๐ - 2. ผลท่เี กิดขึ้นกบั ชมุ ชนหรอื สังคม เมื่อประชาชนในสงั คมรู้จักสิทธิของตนเอง และของคนอื่น ก็จะนาพา ให้ชุมชนหรือสังคมเกดิ การพฒั นา เม่อื สังคมม่ันคงเข้มแข็งก็จะมีส่วนทาให้ประเทศชาติเข้มแข็ง เพราะชุมชน หรอื สังคมเป็นส่วนหนึ่งของประเทศชาตบ้านเมอื งโดยรวม 3. ผลที่เกิดข้ึนกับครอบครัว ครอบครัวเป็นสถาบันแรกของสังคม เม่ือครอบครัวเข้มแข็ง และอบรมส่ัง สอนให้สมาชิกในครอบครัวทุกคนรู้บทบาท สิทธิ เสรีภาพของตนเองและปฏิบัติตามที่กฎหมายและ รัฐธรรมนูญได้ให้ความคุ้มครองได้ อย่างเคร่งครัด โดยไม่ละเมิดสิทธิเสรีภาพของสมาชิกอื่นในสังคม ก็จะ นาพาให้สงั คมและประเทศชาติเข้มแข็งตามไปด้วย
- ๑๑๑ - กรณีศกึ ษา แหล่งข้อมลู : เมนูคอร์รัปชัน และการแสวงหาประโยชน์ เรียบเรียงจากโครงการ คมู่ ือประชาชนร้ทู ันคอรร์ ปั ชนั และการแสวงหาผลประโยชน์ โดย สมเกียรติ ต้ังกจิ วานชิ ย์ ,ปกป้อง จนั วิทย์, อสิ ร์กลุ อุณหเกตุ , ศภุ ณัฏฐ์ ศศิรว์ ุฒิวฒั น์, กติ ติพงศ์ สนธสิ ัมพันธ์ และสาโรช ศรใี ส มลู นธิ ิสถาบนั วจิ ัยเพ่ือการพัฒนาประเทศ
- ๑๑๒ - -
- ๑๑๓ -
- ๑๑๔ -
- ๑๑๕ -
- ๑๑๖ - แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยที่ 4 ชอ่ื หน่วย พลเมอื งกับความรบั ผิดชอบต่อสงั คม ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๒ เรอ่ื ง ระเบยี บ กฎ กตกิ า กฎหมาย เวลา 3 ชัว่ โมง 1. ผลการเรยี นรู้ 1) มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับพลเมอื งและมคี วามรับผดิ ชอบต่อสังคม ๒) ปฏบิ ตั ติ นตามหน้าท่ีพลเมอื งและมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม ๓) ตระหนกั และเหน็ ความสาคญั ของการต่อต้านและป้องกันการทุจรติ 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1) นกั เรยี นสามารถวเิ คราะห์ความสาคัญของปฏิบตั ิตามระเบยี บ กฎ กติกา กฎหมายได้ ๒) นกั เรียนสามารถอธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหว่างการปฏิบตั ิตามระเบยี บ กฎ กตกิ า กฎหมายกับ ความรบั ผิดชอบต่อสังคมได้ 3) นกั เรียนสามารถจัดทาสอ่ื เผยแพร่และรณรงค์ในการปฏิบตั ติ ามระเบียบ กฎ กติกา กฎหมายได้ 4) นกั เรยี นสามารถปฏิบตั ติ นตามระเบียบ กฎ กติกา กฎหมายได้ 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 ความรู้ 1) ความสมั พนั ธร์ ะหว่างการปฏิบตั ติ ามระเบยี บ กฎ กติกา กฎหมายกบั ความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม 2) ความสาคญั ของปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บ กฎ กติกา กฎหมาย 3) แนวทางการปฏบิ ัติตนในการปฏบิ ตั ติ นตามระเบยี บ กฎ กติกา กฎหมาย 3.2 ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะท่ีเกิด) 1) ความสามารถในการสื่อสาร - การฟัง พดู เขียน 2) ความสามารถในการคดิ - การคดิ วิเคราะห์ การคิดสงั เคราะห์ การคิดเปน็ ระบบ และการคิดอยา่ งสรา้ งสรรค์ 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา - การแกป้ ัญหาและอปุ สรรคอย่างมเี หตผุ ล และความเข้าใจความสมั พันธแ์ ละเหตุการณต์ ่าง ๆ ใน สังคม 4) ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต - การทางานกลุ่ม 3.3 คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค/์ คา่ นยิ ม คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1) มีวนิ ัย 4. กิจกรรมการเรยี นรู้ 4.1 ขั้นตอนการเรียนรู้ ชวั่ โมงท่ี 1
- ๑๑๗ - 1) ครถู ามนักเรียนว่า ทาไมสงั คมต้องมีกฎหมาย นกั เรียนร่วมกันตอบคาถาม จากนั้นครแู ละ นักเรยี นร่วมกนั วเิ คราะห์ความสาคัญของกฎหมาย (กฎหมายสรา้ งความเป็นระเบียบเรียบรอ้ ยแก่สังคมและประเทศชาติ ทาให้ สงั คมจะสงบ สุขเมือ่ ทกุ คนปฎบิ ัติตามกฎหมาย และ รู้ว่าตนมสี ทิ ธขิ องตนอยเู่ พยี งไร ไมไ่ ปล่วงล้าสิทธิของผู้อ่นื กฎหมายสรา้ งความเท่าเทียมในความเป็นมนุษย์ ระงบั ข้อพิพาท และกอ่ ให้เกดิ ความยุติธรรมเมือ่ มีความ ขัดแย้งในสังคม) ๒) แบง่ กลุ่มนักเรยี นเปน็ 4 กล่มุ เพื่อวิเคราะห์และแสดงความคดิ เห็นว่ากฎของโรงเรียนแต่ ละข้อนนั้ มจี ุดประสงคเ์ พอ่ื อะไร และถ้าทุกคนไมป่ ฏบิ ตั ิตาม จะเกดิ ผลกระทบอยา่ งไรบ้าง กลุ่มที่ 1 การแตง่ กายให้ถูกระเบยี บ กลุม่ ท่ี 2 การหา้ มนาอาหารและเครื่องด่ืมขน้ึ ไปทานบนอาคารเรียน กลุ่มท่ี 3 การทาเวรประจาวัน กลุ่มที่ 4 การเกบ็ ถาดอาหารทกุ ครัง้ หลังรบั ประทานอาหาร (ครูอาจเลือกกฎโรงเรยี นข้ออ่ืน ๆ มาประกอบการวิเคราะห์) 3) ครูอธบิ ายให้นักเรยี นเหน็ ความสาคัญของการปฏบิ ตั กิ ารตามกฎระเบยี บของโรงเรียน จากนนั้ เชอ่ื มโยงไปยังการปฏิบตั ิตามกฎหมายระดับชมุ ชน สังคมและประเทศ ๔) นักเรยี นดคู ลิปวิดโี อ เร่ือง “เหลอื อด!! เพจดังผดุ ไอเดียสุดเจ๋ง แก้ปัญหามอไซต์ขี่บนทาง เท้า ความมักงา่ ยท่เี กลือ่ นสงั คม”ซึ่งเป็นคลปิ วิดโี อเกี่ยวกับ มาตรการการแก้ไขปัญหาการ ขบั รถจักรยานยนต์บนทางเท้า จากน้นั นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ตอบคาถามต่อไปน้ี ก. เพราะเหตุใดจึงเกิดการกระทาทผ่ี ดิ กฎหมายดงั กล่าว ข. แต่ละมาตรการการแก้ปัญหานัน้ ประสบความสาเรจ็ หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด ค. เพราะเหตุใด วธิ กี ารสุดทา้ ยจึงประสบความสาเร็จ 5) ครูและนักเรยี นรว่ มกนั วิเคราะหค์ วามสาคัญของพลเมืองที่ทาใหเ้ กิดการเปลยี่ นแปลงใน สังคมได้อยา่ งไร จากนั้นครูอธิบายความหมายและความสาคัญของพลเมอื ง ชัว่ โมงท่ี 2 6) นักเรียนแต่ละกลุ่มรบั แถบประโยคต่อไปนี้ และร่วมกันพจิ ารณาความหมายของถอ้ ย ความในแถบประโยค - พลเมืองขาดความสนใจและความรู้เกยี่ วกับกฎหมาย - พลเมืองไมเ่ ลือกผู้ท่ีมสี ่วนในการรา่ งกฎหมาย - พลเมืองไมม่ ีวนิ ัยในการปฏิบัติตนตามกฎหมาย - พลเมอื งไม่ให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าทพี่ นักงาน - พลเมืองเปดิ ช่องทางให้ตนเองตกเปน็ เหย่อื ของกฎหมาย 7) นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ น่ังเปน็ วงกลม จากนัน้ ให้ตอบคาถามตอ่ ไปน้ี โดยครจู ะให้สัญญาณ ในการตอบคาถาม เม่ือสญั ญาณดังขน้ึ ใหส้ มาชิกในกลุม่ คนตอ่ ไปเปน็ คนพูด โดยทกุ คน จะได้พดู จนครบทง้ั กลุ่ม คาถามรอบท่ี 1 ตนเองเคยมีสว่ นในการทาผิดกฎหมายเพราะสาเหตุใดบ้าง คาถามรอบที่ 2 นกั เรียนรสู้ ึกอย่างไรเมอ่ื ตัวเองทาผดิ กฎหมาย
- ๑๑๘ - คาถามรอบท่ี 3 นักเรยี นคดิ ว่าสาเหตุจากพลเมอื งในข้อใดทส่ี ร้างปัญหาการใช้ และการบังคับใช้กฎหมายมากที่สดุ โดยใหเ้ รียงลาดับ ๘) ครูและนกั เรยี นรว่ มกันยกตวั อยา่ งเหตกุ ารณ์ในชีวิตประจาวัน หรือข่าวทเี่ กดิ จาก สาเหตุจาก แถบประโยคจากน้ันรว่ มกันแสดงความคดิ เหน็ เพอื่ จดั ลาดับสาเหตุที่เป็น ปัญหามากท่สี ดุ ตามลาดบั 9) นกั เรยี นรว่ มกนั วเิ คราะหค์ วามสาคญั ของการปฏิบตั ิตามกฎหมาย จากน้นั ใหน้ ักเรียน รว่ มกันแสดงความคิดเห็นข้อความท่ีว่า “ไมเ่ หน็ เป็นอะไรเลย ใครๆ เขาก็ทากนั ” ตลอดจนวิเคราะห์ผลกระทบทีเ่ กดิ ขึ้น จากน้ันครูอธบิ ายถงึ ความสาคญั ในการปฏิบตั ิ ตนของนักเรียนในฐานะพลเมืองเก่ยี วกับบทบาทในการทาตามกฎหมาย ชว่ั โมงที่ 3 10) แบง่ นักเรียนออกเปน็ คู่ และใหน้ กั เรยี นร่วมกนั ทาโปสเตอร์รณรงค์เชญิ ชวนให้เพื่อน รว่ มโรงเรียนปฏบิ ัติตนตามกฎหมาย นาเสนอหน้าช้ันเรียนและติดรอบบริเวณโรงเรยี น 11) นักเรยี นในชั้นเรียนรว่ มกันสร้างแบบประเมินพฤติกรรมของตนเองในการปฏิบัติตาม ระเบยี บ กฎโรงเรยี น กตกิ า กฎหมายและจากนั้นประเมินตนเองในแบบประเมนิ ท่ี สรา้ งข้นึ 4.2 สื่อการเรยี นรู้ / แหล่งการเรยี นรู้ 1) คลิปวิดีโอ เรื่อง “เหลืออด!! เพจดังผุดไอเดียสดุ เจง๋ แก้ปญั หามอไซต์ข่ีบนทางเท้า ความ มกั ง่ายที่เกลือ่ นสงั คม” (URL : http://youtu.be/4FyJwBYJRIA) 2) แถบประโยค 3) บตั รคาถาม 4) โปสเตอร์รณรงค์ 5) อนิ เทอรเ์ นต็ 5. การประเมินผลการเรียนรู้ 5.1 วิธกี ารประเมนิ 1) ตรวจผลงานการประเมินพฤติกรรมตนเองในการปฏิบัติตามระเบียบ กฎ กติกาและ กฎหมาย 2) ตรวจโปสเตอร์ 3) สงั เกตพฤตกิ รรมมวี นิ ยั 5.2 เครอื่ งมือทีใ่ ชใ้ นการประเมิน 1) แบบประเมินผลงานการประเมินพฤติกรรมของตนเอง 2) แบบใหค้ ะแนนโปสเตอร์ 3) แบบสังเกตพฤติกรรมมีวินยั 5.3 เกณฑก์ ารตดั สิน -นกั เรยี นผา่ นการประเมินทกุ กจิ กรรม ได้คะแนนระดบั ดขี ้ึนไป ถอื วา่ ผ่าน -นักเรยี นผา่ นการประเมินพฤติกรรมระดับดีขน้ึ ไป ถือว่า ผ่าน
- ๑๑๙ - 6 บนั ทึกหลังสอน ............................................................................................................................. ................................ ............................................................................................................................. .............................................. .................................................................................... ................................................................. ...................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. ลงชอ่ื ................................................ ครูผสู้ อน (.................................................)
- ๑๒๐ - 7 ภาคผนวก เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนโปสเตอร์ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เน้อื หา 20 คะแนน - ความเหมาะสมของเน้อื หา 10 คะแนน สอดคล้องกบั หวั ข้อเรื่องชัดเจน ตรงประเดน็ : 10 คะแนน สอดคล้องกับหัวข้อเร่ืองบางสว่ น เนอื้ หาอ้อมค้อม 8 คะแนน สอดคล้องกับหัวข้อเร่ืองบางสว่ น เนอื้ หาออ้ มค้อม วกวน 5 คะแนน เนื้อหาไมส่ อดคล้องกับหวั ขอ้ เรื่อง เน้ือเรื่องไมต่ รงประเดน็ 0 คะแนน - ความครบถ้วนของเน้ือหา 10 คะแนน เนือ้ หาครบถว้ น ถูกตอ้ งตามหลักวิชาการโดยทัว่ ไป มกี ารอ้างองิ จากแหล่งทเ่ี ชื่อถือได้และระบแุ หลง่ ท่ีมา ของข้อมลู 10 คะแนน เนือ้ หาครบถว้ น ถกู ต้องตามหลักวชิ าการโดยทั่วไป แหลง่ อ้างองิ สบื ค้นจากอนิ เตอร์เนต็ และหนังสอื แต่ ไม่ได้รวบรวมแหลง่ อา้ งอิง 8 คะแนน เน้ือหาคลมุ เครอื แต่มกี ารอ้างอิงจากแหล่งทีเ่ ชือ่ ถือได้ 6 คะแนน เนอ้ื หาคลุมเครอื ไม่มกี ารอ้างอิงจากแหลง่ อ้างองิ 5 คะแนน ความสวยงาม 20 คะแนน ความคดิ ริเริม่ สร้างสรรค์ 20 คะแนน - รูปแบบการดาเนนิ เรอ่ื ง และส่ือความหมาย (10 คะแนน) มกี ารดาเนินเร่ืองท่ชี ัดเจนสามารถสื่อให้ผชู้ มเขา้ ใจได้ดี 10 คะแนน มีการดาเนนิ เร่อื งท่ดี ี สื่อให้ผู้ชมเข้าใจได้ดี 8 คะแนน มกี ารดาเนินเร่ืองพอใช้ได้ แต่ไมส่ ามารถสื่อรายละเอยี ดของเนื้อหาทั้งหมด 6 คะแนน สื่อความหมายได้น้อย รูปแบบของเร่ืองไม่ไดแ้ สดงให้เห็นถึงความสาคัญของเน้ือหา 5 คะแนน รปู แบบการดาเนินเร่ือง ไม่ไดส้ ือ่ ให้เหน็ ถงึ องค์ประกอบของเน้ือหา 0 คะแนน - เสริมสรา้ งเอกลักษณ์ สัญลักษณ์ และทัศนคติ (10 คะแนน) สามารถถ่ายทอดเน้ือหาใหผ้ ู้ชมเกิดความคล้อยตาม และเหน็ ความสาคัญ 10 คะแนน สามารถถ่ายทอดเน้ือหาให้ผู้ชมเกิดความร้สู ึกตามได้บางสว่ น เน่อื งจากเน้ือหายังคลุมเครอื ไม่ชัดเจน 8 คะแนน ไม่สามารถทาให้ผู้ชมเกดิ การคลอ้ ยตามได้ เนื่องจากเน้ือหาไม่ตอ่ เน่ือง ไมเ่ ข้าใจการส่ือความหมายของเนอ้ื หา แตโ่ ดยรวมผูช้ มสามารถสรปุ สาระสาคญั ไดบ้ างส่วน 5 คะแนน ไมส่ ามารถทาให้เกดิ ทัศนคติทด่ี ี เกิดการคล้อยตามได้อย่างสนิ้ เชงิ 0 คะแนน เทคนิคและการจัดองค์ประกอบ 20 คะแนน - เทคนคิ 10 คะแนน - องค์ประกอบ 10 คะแนน
- ๑๒๑ - ความสาเร็จโดยรวมของผลงาน 10 คะแนน ครบถ้วนสมบูรณ์ 100 % 10 คะแนน ขาดองค์ประกอบบางสว่ น 8 คะแนน ขาดองค์ประกอบส่วนใหญ่ 6 คะแนน . กระบวนการและการนาเสนอ 10 คะแนน - ทางานเปน็ ทีมแบง่ ภาระงานชัดเจน 5 คะแนน - การนาเสนอ 5 คะแนน
- ๑๒๒ - แบบสงั เกตพฤติกรรม “มวี นิ ยั ” คาช้แี จง ทาเคร่ืองหมาย ในช่องทต่ี รงกับความเปน็ จริงตามเกณฑก์ ารประเมิน ปฏิบตั ิตนตาม ข้อตกลง ตรงตอ่ เวลาใน รวม ผลการประเมิน กฎเกณฑ์ การปฏิบัติ คะแนน ผ่าน ไมผ่ า่ น ระเบียบ ข้อบังคับ กิจกรรมต่างๆใน ของครอบครัว เลขท่ี ชอื่ - สกุล โรงเรียนและ ชีวิตประจาวนั สงั คม ไมล่ ะเมิด และรับผิดชอบใน สิทธิข์ องผู้อน่ื การทางาน 43 21 43 21 เกณฑ์การใช้คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ 4 คะแนน เท่ากับ ดีมาก 3 คะแนน เทา่ กบั ดี ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 2 คะแนน เท่ากบั พอใช้ 1 คะแนน เท่ากบั ปรบั ปรงุ 7 - 8 ดมี าก 5 - 6 ดี 3 - 4 พอใช้ 1 - 2 ปรบั ปรงุ (ลงชอื่ )...................................ครผู ู้ประเมนิ (…………………………………………………) ............../................./.............
- ๑๒๓ - แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยท่ี 4 ชือ่ หนว่ ย พลเมอื งกบั ความรับผิดชอบต่อสังคม ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง ความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและผู้อื่น เวลา 2 ชว่ั โมง 1. ผลการเรยี นรู้ 1) มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั พลเมืองและมคี วามรบั ผิดชอบต่อสงั คม 2) ปฏิบัติตนตามหน้าที่พลเมืองและมีความรับผิดชอบต่อสังคม 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1) นกั เรียนสามารถอธิบายขอบเขตของความรบั ผดิ ชอบต่อตนเองและผู้อนื่ ได้ 2) นักเรียนสามารถวเิ คราะหค์ วามสาคัญของความรบั ผิดชอบตอ่ ตนเองและผูอ้ ืน่ ได้ 3) นกั เรยี นสามารถระบุพฤติกรรมทแี่ สดงถึงความรบั ผิดชอบต่อตนเองและผู้อ่ืนได้ 4) นักเรียนสามารถแสดงพฤติกรรมท่แี สดงออกถงึ ความรับผิดชอบต่อตนเองและผ้อู ื่นได้ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 ความรู้ 1) ความรับผดิ ชอบต่อตนเองและผู้อืน่ ได้ ๒) วิเคราะห์ความสาคญั ของความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อ่ืนได้ 3) ระบุพฤติกรรมท่แี สดงถึงความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อนื่ ได้ ๔) แสดงพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อ่ืนได้ 3.2 ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กดิ ) 1) ความสามารถในการสื่อสาร - ฟัง พดู และเขยี น 2) ความสามารถในการคิด - การคดิ วิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ 3) ความสามารถในการแกป้ ัญหา - การแก้ปัญหาและอปุ สรรคอยา่ งมเี หตุผล และความเข้าใจความสมั พันธ์และเหตุการณต์ ่าง ๆ ในสังคม 4) ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต - การทางานกลุ่ม 3.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค/์ คา่ นิยม คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 1) มีวินัย 4. กจิ กรรมการเรยี นรู้ 4.1 ข้ันตอนการเรยี นรู้ ชั่วโมงที่ 1 1) นกั เรยี นดคู ลิปวิดโี อ โฆษณาไทยประกนั ชีวติ 2014 “Unsung Hero” แลว้ ตอบคาถาม ตอ่ ไปนี้
- ๑๒๔ - 1.1 ผชู้ ายในรูปภาพนท้ี าอะไรบ้าง (ยกตน้ ไมใ้ หต้ รงกับน้าทตี่ กลงมาจากตึก ช่วยแม่คา้ เขน็ รถขึ้นบนทางเท้า ให้อาหารสนุ ขั จร จัดใหเ้ งินขอทาน เอากล้วยไปแขวนหนา้ หอ้ งคณุ ยาย ) 1.2 เพราะเหตุใดผชู้ ายคนน้ีถึงทาสง่ิ เหล่านัน้ ( พิจารณาตามคาตอบของนักเรยี น โดยให้อยูใ่ นดุลยพนิ ิจของครผู ูส้ อน ) 2) ครูใหน้ กั เรียนแสดงความคิดเห็นวา่ เหน็ ดว้ ยหรือไมเ่ หน็ ด้วยกับการกระทาของชายคนนนั้ เพราะ เหตุใด ครูใหน้ ักเรยี นออกมายืนหนา้ ห้อง โดยใหผ้ นงั ดา้ นหนึง่ ของหอ้ งเป็นจุดยนื ของ คาตอบ “เหน็ ดว้ ยมากท่สี ุด” ส่วนผนงั อกี ฟากหน่ึง เปน็ จดุ ยืนของคาตอบ “ไมเ่ หน็ ด้วยทีส่ ดุ ” โดย นกั เรยี นทีไ่ มไ่ ด้มคี วามคดิ เหน็ ดว้ ยและไม่เห็นดว้ ยท่สี ดุ สามารถยนื ตรงกลาง หรือค่อนไป ทางด้านใดด้านหนึง่ ได้ 3) ครจู ัดกลมุ่ นักเรียนออกเป็น 5 กล่มุ คอื เห็นดว้ ยมากทีส่ ุด เหน็ ด้วย ไมเ่ ห็นดว้ ย ไมเ่ ห็น ดว้ ยทีส่ ุด จากนนั้ ให้นักเรียนเข้ากลมุ่ อภิปรายวา่ เพราะเหตใุ ดจงึ คิดเช่นนัน้ 4) ครูตง้ั คาถามเพอื่ ประกอบการอภปิ รายการกระทาของชายดังกลา่ ว ดังน้ี 4.1 ความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม หมายถึงอะไร 4.2 พฤติกรรมทเ่ี ป็นการแสดงออกถึงการรบั ผดิ ชอบต่อตนเองและสงั คมมีอะไรบา้ ง 4.3 การแสดงออกถงึ ความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมน้ัน มีขอบเขตเพยี งใด 5) ครูยกตวั อยา่ งลักษณะพลเมืองตามแนวคดิ ของ Joel Westheimer จากนั้นนักเรียนและ ครรู ว่ มกันอภปิ รายวา่ พลเมอื งแตล่ ะแบบมีความแตกต่างกันอยา่ งไร และพลเมอื งท่ี รับผิดชอบตอ่ สังคมต้องมีลักษณะอย่างไร ช่ัวโมงที่ 2 6) นกั เรียนรว่ มกันยกตวั อยา่ งพฤตกิ รรมทีแ่ สดงออกถงึ ความรับผิดชอบต่อสงั คม จากนัน้ คัดเลือกให้เหลือ เพยี ง 20 พฤติกรรมที่สามารถปฏบิ ตั ิไดใ้ นโรงเรยี น 7) นักเรียนสร้างแบบวัดพฤติกรรม เรอื่ ง ความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม เป็นแบบมาตรวัด (ปฏิบัติ เปน็ ประจา ปฏบิ ตั ิบางคร้ัง ไม่เคยปฏบิ ตั )ิ ลงในกระดาษฟลิปชาร์ต (Flip chart) จากนน้ั สรุปเป็นแบบประเมนิ พฤติกรรมของห้องเรียนเพื่อให้เพ่ือนรว่ มชั้นทา สรปุ ผลและนามา อภปิ รายรว่ มกันในห้องเรียน 8) นักเรยี นและครรู ว่ มกันสรุป ความรับผิดชอบของนกั เรียนที่มีต่อตนเองและผูอ้ ื่น 4.2 สอ่ื การเรยี นรู้ / แหล่งการเรยี นรู้ 1) คลปิ วิดิโอ โฆษณาไทยประกันชีวติ 2014 “Unsung Hero” (URL : http://youtu.be/sfGV1 ) 2) ตารางลักษณะพลเมอื งตามแนวคดิ ของ Joel Westheimer 3) กระดาษฟลิปชาร์ต (Flip chart) 4) สเี มจกิ 5. การประเมนิ ผลการเรียนรู้ 5.1 วธิ กี ารประเมนิ 1) ตรวจและประเมินผลงานการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม 2) สงั เกตพฤตกิ รรมมีวนิ ัย
- ๑๒๕ - 5.3 เคร่อื งมือท่ีใชใ้ นการประเมิน 1) แบบประเมนิ ผลงานการปฏิบัติกิจกรรม 2) แบบสงั เกตพฤติกรรมมีวินัย 5.3 เกณฑก์ ารตดั สิน -นักเรียนผ่านการประเมินทกุ กจิ กรรม ได้คะแนนระดับดขี นึ้ ไป ถือว่า ผ่าน -นักเรียนผา่ นการประเมนิ พฤตกิ รรมระดับดขี ึน้ ไป 6 บันทกึ หลังสอน ............................................................................................................................. ................................ .................................................................................................. ......................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ....................................................................................................................................... .................................... ............................................................................................................................. .............................................. ลงช่อื ................................................ ครูผสู้ อน (.................................................)
ตารางลกั ษณะพลเมอื งตามแนวคดิ ของ Joel Westheimer 7 ภาคผนวก - ๑๒๖ -
- ๑๒๗ - แบบสงั เกตพฤติกรรม “มีวนิ ัย” คาช้แี จง ทาเคร่ืองหมาย ในชอ่ งทต่ี รงกับความเปน็ จริงตามเกณฑก์ ารประเมิน ปฏบิ ตั ิตนตาม ขอ้ ตกลง ตรงต่อเวลาใน รวม ผลการประเมิน กฎเกณฑ์ การปฏิบตั ิ คะแนน ผ่าน ไมผ่ า่ น ระเบยี บ ข้อบงั คับ กจิ กรรมตา่ งๆใน ของครอบครัว เลขท่ี ช่ือ - สกลุ โรงเรียนและ ชีวติ ประจาวนั สงั คม ไม่ละเมิด และรบั ผดิ ชอบใน สิทธ์ิของผู้อืน่ การทางาน 43214321 เกณฑ์การใช้คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ 4 คะแนน เทา่ กับ ดมี าก 3 คะแนน เทา่ กบั ดี ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 2 คะแนน เทา่ กบั พอใช้ 1 คะแนน เท่ากับ ปรบั ปรุง 7 - 8 ดมี าก 5 - 6 ดี 3 - 4 พอใช้ 1 - 2 ปรบั ปรงุ (ลงชอื่ )...................................ครผู ู้ประเมนิ (…………………………………………………) ............../................./.............
- ๑๒๘ - แบบให้คะแนนการตรวจผลงานแยกแยะระหว่างจรยิ ธรรมและการทุจริต ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ /...... กลุ่มท่.ี ...................... รายการประเมิน ท่ี กลุ่มท่ี รวม ความถกู ต้อง การสื่อสารชัดเจน มีความพร้อม มกี ารใช้ ตรงตามประเด็น เขา้ ใจงา่ ย ในการนาเสนอ กระบวนการกลุ่ม 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 16 คะแนน เกณฑก์ ารใช้คะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ 4 คะแนน เท่ากบั ดีมาก 3 คะแนน เท่ากบั ดี ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 2 คะแนน เทา่ กบั พอใช้ 1 คะแนน เทา่ กบั ปรับปรุง 13 - 16 ดีมาก 9 - 12 ดี 5 - 8 พอใช้ 0 - 4 ปรับปรงุ
- ๑๒๙ - แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 4 ชอ่ื หนว่ ย พลเมอื งกบั ความรบั ผิดชอบต่อการสังคม ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 4 เรื่อง พลเมืองทีม่ ีความรบั ผิดชอบต่อการป้องกันการทจุ ริต เวลา ๓ ชวั่ โมง 1. ผลการเรยี นรู้ 1) มคี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั พลเมืองและมคี วามรบั ผิดชอบต่อสงั คม ๒) ปฏิบัตติ นตามหนา้ ทพี่ ลเมอื งและมีความรับผดิ ชอบต่อสังคม ๓) ตระหนกั และเห็นความสาคญั ของการตอ่ ต้านและป้องกนั การทจุ รติ 2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1) นักเรยี นสามารถระบพุ ฤติกรรมของพลเมืองทม่ี ีความรับผดิ ชอบต่อการป้องกนั การทุจริตได้ 2) นกั เรยี นสามารถปฏิบัติตนตามหนา้ ที่พลเมอื งท่ีมตี ่อการป้องกนั การทจุ ริตได้ 3) นักเรียนสามารถจดั ทาส่ือเผยแพร่และรณรงค์ให้การสง่ เสรมิ ใหพ้ ลเมืองรบั ผดิ ชอบต่อการ ป้องกนั การทจุ รติ ได้ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 ความรู้ ลักษณะพฤติกรรมของพลเมอื งทม่ี ีความรบั ผิดชอบต่อการป้องกันการทุจริต 3.2 ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทีเ่ กดิ ) 1) ความสามารถในการสื่อสาร - การฟงั พูด และเขียน 2) ความสามารถในการคดิ - การคดิ วิเคราะห์ การคดิ สังเคราะห์ 3) ความสามารถในการแกป้ ัญหา - การแกป้ ญั หาและอุปสรรคอยา่ งมีเหตผุ ล และความเขา้ ใจความสมั พนั ธแ์ ละเหตุการณ์ ต่างๆ ใน สงั คม 4) ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต - การทางานกลุ่ม 3.3 คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์/คา่ นิยม คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1) มวี ินัย 4. กจิ กรรมการเรียนรู้ 4.1 ขั้นตอนการเรยี นรู้ ชวั่ โมงที่ 1 1) นกั เรียนร่วมกนั นิยามความหมายของคาว่า การทจุ ริต ลงในกระดาษโน๊ตของตนเอง
- ๑๓๐ - 2) นกั เรยี นจับคูก่ ับเพือ่ และแลกเปล่ียนกนั อา่ นความหมายของคาว่า การทจุ รติ ที่ตนเองนิยาม หลังจากน้ันให้นักเรียนจับกลุ่ม 4-5 คน เพื่อนิยามความหมายของ การทุจริต ที่สมบูรณ์ ท่ีสุด 3) แต่ละกลุ่มออกมาเขียนความหมายของ การทุจริต บนกระดานดา จากน้ันนักเรียนร่วมกัน พิจารณาและนิยามความหมายของคาวา่ การทจุ รติ ร่วมกัน 4) ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันยกตัวอย่างการทุจริตในชีวติ ประจาวนั 5) ครูใหน้ กั เรียนทากจิ กรรม “การป้องกันการทุจริต เร่ิมที่ตัวเรา” ด้วยการแจกกระดาษโน๊ต คนละ 3 แผ่น ด้วยสีเขียว เหลือง และฟ้า จากน้ันครูให้นักเรียนร่วมกันคิดว่าลักษณะ พลเมอื งท่รี บั ผดิ ชอบตอ่ การป้องกนั การทจุ ริต ตอ้ งมลี กั ษณะใด โดยกาหนดให้ สีเขยี ว คอื HEAD (ต้องมีความรเู้ รื่องอะไรบ้าง) สเี หลือง คือ HEATH (ต้องมีคา่ นิยมและความรสู้ กึ อยา่ งไรบา้ ง) สฟี า้ คือ HAND (ต้องมกี ารแสดงออกทางกายและวาจาอยา่ งไรบ้าง) 6) นักเรียนเขียนคาตอบลงบนกระดาษจากนั้นให้นามาติดบนตัวการ์ตูนรูปเด็กที่ครูวาดหรือ ภาพคน /หุน่ จาลองบนกระดาน 7) ครูแบ่งนักเรียนเป็น 3 กลุ่ม ช่วยจัดกลุ่มและสรุปคาตอบลักษณะพลเมืองที่รับผิดชอบต่อ การปอ้ งกันการทจุ รติ กล่มุ ละ 1 ด้าน แลว้ นาเสนอหน้าชั้นเรยี น 8) นักเรียนร่วมกันสรุปลักษณะพลเมืองท่ีรับผิดชอบต่อการป้องกันการทุจริต และเขียนการ ปฏบิ ัตติ นทเ่ี ป็นพลเมืองที่สง่ เสริมใหเ้ กิดสันตภิ าพในสงั คม ชวั่ โมงท่ี 2 9) แบ่งนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ ร่วมวางแผนทาคลิปวิดิโอเชิญชวนเพื่อนในโรงเรียน มารว่ มสร้างสงั คมทปี่ ราศจากการทจุ รติ ในหัวข้อท่ีว่า “ชวนเพื่อนมาทาดี ปลอดวิถีคนโกง” และถ่ายทาคลิปวดิ ีโอ ชั่วโมงท่ี 3 10) นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มนาเสนอผลงาน และร่วมกันสรุปพฤติกรรมของพลเมืองที่รับผิดชอบต่อ การป้องกันการทุจริต และผลที่เกิดข้ึนเม่ือพลเมืองมีความรับผิดชอบต่อการป้องกันการ ทุจรติ 11) นาคลิปวิดโี อเผยแพรใ่ นโรงเรียนและสาธารณชน 4.2 สื่อการเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้ 1) ภาพคน/หุ่นจาลอง 2) กระดาษโนต้ กาวในตวั ( post-it) 3 สี ได้แก่ 3) กระดานดา 4) คลิปวดิ ีโอ เรอ่ื ง ชวนเพ่อื นมาทาดี ปลอดวิถีคนโกง 5. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 5.1 วิธกี ารประเมนิ 1) ตรวจผลงานการเขยี นปฏิบัตติ นเป็นพลเมอื งทีส่ ง่ เสริมใหเ้ กดิ สันติภาพในสงั คม 2) ตรวจคลิปวิดีโอ เร่อื งชวนเพื่อนมาทาดีปลอดวถิ ีคนโกง 3) สงั เกตพฤตกิ รรมมีวนิ ัย
- ๑๓๑ - 5.2 เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในการประเมิน 1) แบบให้คะแนนการตรวจผลงานการเขียนปฏิบัติตนเปน็ พลเมืองท่ีส่งเสริมให้เกิดสันติภาพใน สังคม 2) แบบให้คะแนนตรวจคลิปวดิ โี อ 3) แบบสงั เกตพฤติกรรมมวี ินัย 5.3 เกณฑก์ ารตดั สิน -นกั เรยี นผ่านการประเมินทกุ กิจกรรมได้คะแนนระดับดขี ึน้ ไป ถือว่า ผ่าน -นกั เรียนผา่ นการประเมินพฤตกิ รรมระดับดีขึ้นไป 6. บันทึกหลังสอน ............................................................................................................................. ................................ .................................................................................................. ......................................................................... ........................................................................................................................................ ................................... ....................................................................................................................................... .................................... .............................................................................................. ....................................................... ...................... ลงชื่อ ................................................ ครูผ้สู อน (.................................................)
7. ภาคผนวก - ๑๓๒ - แบบสังเกตพฤติกรรม “มีวินยั ” คาช้ีแจง ทาเคร่ืองหมาย ในชอ่ งท่ีตรงกบั ความเป็นจรงิ ตามเกณฑก์ ารประเมนิ ปฏิบัติตนตาม ข้อตกลง ตรงตอ่ เวลาใน รวม ผลการประเมนิ กฎเกณฑ์ การปฏบิ ตั ิ ผา่ น ไมผ่ า่ น ระเบียบ ข้อบงั คับ กิจกรรมตา่ งๆใน ของครอบครัว เลขที่ ชือ่ - สกลุ โรงเรียนและ ชีวิตประจาวนั คะแนน สงั คม ไมล่ ะเมิด และรบั ผดิ ชอบใน สิทธิ์ของผ้อู ่นื การทางาน 43214321 เกณฑ์การใช้คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ 4 คะแนน เท่ากับ ดมี าก 3 คะแนน เท่ากบั ดี ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 2 คะแนน เท่ากบั พอใช้ 1 คะแนน เทา่ กับ ปรับปรงุ 7 - 8 ดีมาก 5 - 6 ดี 3 - 4 พอใช้ 1 - 2 ปรับปรุง (ลงชอ่ื )...................................ครูผู้ประเมนิ (…………………………………………………) ............../................./.................
- ๑๓๓ - แบบใหค้ ะแนนการตรวจผลงานแยกแยะระหว่างจริยธรรมและการทุจริต ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖ /...... กลมุ่ ท่.ี ...................... รายการประเมนิ ท่ี กลุ่มที่ รวม ความถูกตอ้ ง การส่ือสารชดั เจน มคี วามพร้อม มกี ารใช้ ตรงตามประเดน็ เข้าใจง่าย ในการนาเสนอ กระบวนการกล่มุ 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 16 คะแนน เกณฑ์การใชค้ ะแนน เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ 4 คะแนน เท่ากับ ดมี าก 3 คะแนน เท่ากับ ดี ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 2 คะแนน เทา่ กับ พอใช้ 1 คะแนน เทา่ กับ ปรบั ปรุง 13 - 16 ดีมาก 9 - 12 ดี 5 - 8 พอใช้ 0 - 4 ปรบั ปรงุ
- ๑๓๔ - แบบให้คะแนนตรวจคลิป ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ /...... กลุ่มท่.ี ...................... รายการประเมิน ท่ี กลมุ่ ท่ี ความถกู ตอ้ ง มคี วามคิดริเร่ิม เนือ้ หาสอดคลอ้ ง รวม ตรงตามประเด็น สร้างสรรค์ แสดงสมบทบาท ของเนื้อหา 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 12 คะแนน เกณฑ์การใชค้ ะแนน เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ 4 คะแนน เทา่ กบั ดีมาก 3 คะแนน เทา่ กับ ดี ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 2 คะแนน เท่ากบั พอใช้ 1 คะแนน เทา่ กับ ปรับปรุง 10 - 12 ดีมาก 7 - 9 ดี 4 - 6 พอใช้ 1 - 3 ปรบั ปรงุ
- ๑๓๕ - แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 4 ชื่อหนว่ ย พลเมอื งกบั ความรับผิดชอบต่อการสังคม ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 เรอ่ื ง พลโลกทีม่ รี ับผิดชอบต่อการทจุ ริต เวลา ๓ ช่ัวโมง 1. ผลการเรยี นรู้ 1) มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั พลเมอื งและมีความรับผดิ ชอบต่อสงั คม ๒) ปฏิบัตติ นตามหนา้ ทพ่ี ลเมืองและมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม ๓) ตระหนักและเหน็ ความสาคญั ของการต่อตา้ นและป้องกันการทจุ รติ 2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1) นักเรียนสามารถระบพุ ฤติกรรมของพลเมือง/พลโลกทีม่ ีความรบั ผดิ ชอบต่อการทุจรติ ได้ 2) นกั เรียนสามารถวเิ คราะห์พฤติกรรมของพลเมือง/พลโลกท่ีมีความรับผดิ ชอบต่อการทุจรติ ได้ 3) นักเรียนสามารถเสนอแนวทางในการสร้างเสริมสานึกความเปน็ พลเมืองท่ีความรับผดิ ชอบต่อ การทุจริตได้ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 ความรู้ 1) ลักษณะพฤติกรรมของพลเมือง/พลโลกที่มคี วามรับผิดชอบต่อการทุจริต 2) แนวทางในการสรา้ งเสริมสานึกความเป็นพลเมืองที่มคี วามรับผดิ ชอบต่อการทุจริต 3.2 ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กิด) 1) ความสามารถในการสื่อสาร - การฟงั พดู และเขยี น 2) ความสามารถในการคดิ - การคิดวิเคราะห์ การคิดสงั เคราะห์ การคดิ เป็นระบบ และการคิดอย่างสรา้ งสรรค์ 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา - การแกป้ ัญหาและอปุ สรรคอยา่ งมีเหตผุ ล และความเข้าใจความสัมพันธแ์ ละเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม 4) ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ - การทางานกลุ่ม 3.3 คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์/ค่านิยม คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1) มีวนิ ัย 4. กิจกรรมการเรยี นรู้ 4.1 ขั้นตอนการเรียนรู้ ชว่ั โมงท่ี 1 1) ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั อภิปรายและทบทวนความหมายของ คาว่า พลเมอื ง และ พลโลก
- ๑๓๖ - 2) ครแู ละนักเรียนร่วมกันสนทนาเก่ียวกับข่าว เหตุการณ์ เกี่ยวกับความเสียหาย ภัยพิบัติหรือ การทุจริตทั้งในประเทศและต่างประเทศ จากนั้นครูกล่าวเช่ือมโยงเข้าสู่บทเรียนโดยใช้ คาถามว่า ใครคอื ผทู้ ่ีตอ้ งรับผิดชอบต่อเหตกุ ารณท์ เ่ี กิดข้ึนบา้ ง 3) แบง่ กลุม่ นักเรียนเปน็ 3 กลุ่ม จากนนั้ ศกึ ษากรณีศึกษาความเป็นพลเมืองทีม่ ีความ รบั ผดิ ชอบต่อสงั คมในประเด็นตอ่ ไปนี้ ก. การเกิดแผน่ ดนิ ไหวท่ีประเทศญปี่ ุน่ ค. การอบั ปางของเรือเฟอร์รารี่ ประเทศเกาหลใี ต้ ง. การลาออกของนายกรัฐมนตรีเกาหลใี ต้ ๔) นกั เรยี นร่วมกนั อภิปรายถงึ การกระทาของพลเมอื งที่แสดงถงึ ความรับผิดชอบตอ่ สังคมจาก กรณศี ึกษา และร่วมกนั หาข้อสรปุ เก่ียวกบั ส่งิ ที่สรา้ งให้พลเมืองในประเทศมีความรบั ผดิ ชอบ ตอ่ เหตุการณ์ท่เี กิดขึน้ ชั่วโมงท่ี ๒ 5) ให้นักเรียนจับคู่ และหาข่าว เหตุการณ์ เกี่ยวกับการทุจริตท่ีเกิดข้ึนทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ คู่ละ ๑ เหตุการณ์ จากน้ัน ช่วยกันวิเคราะห์ว่า จากการทุจริตท่ีเกิดขึ้น พลเมืองท่ีมีความรบั ผดิ ชอบต่อการทุจรติ จะแสดงพฤติกรรมอย่างไร 6) นักเรียนนาเสนอข้อสรุปของแต่ละคู่ในกระดาษโน้ตแล้วนามาติดบนกระดาน จากน้ันให้ นักเรียนรว่ มกันพิจารณาขอ้ สรุปทีเ่ หมือนกันและต่างกนั แล้วรวบรวมพฤติกรรมท่ีแสดงออก ถึงความรับผิดชอบตอ่ การทุจรติ ทส่ี รุปได้ในช้นั เรยี น ชว่ั โมงท่ี 3 1) แบ่งนกั เรียนออกเปน็ 4 กล่มุ กลุ่มละเท่าๆกนั จากนั้นนกั เรียนแตล่ ะกลุ่มร่วมกันอภปิ ราย และเสนอกิจกรรมและแนวทางในการสร้างเสรมิ สานึกความเปน็ พลเมืองท่ีความรับผิดชอบต่อ การทจุ ริต โดยเขียนลงในกระดาษฟลปิ ชารต์ (Flip chart) และนาเสนอหน้าชนั้ เรยี น 2) ครูและนักเรียนร่วมกันถอดบทเรียนเกี่ยวกับ ความเป็นพลเมืองกับความรับผิดชอบต่อการ สังคม และสรุปเปน็ แผนผังมโนทศั น์ 3) นักเรียนแต่ละคนทาใบงาน เรอื่ ง พลเมืองทร่ี บั ผดิ ชอบต่อการป้องกันการทุจรติ 4.2 สื่อการเรยี นรู้ / แหล่งการเรียนรู้ 1) เน้อื ข่าว/กรณีศกึ ษา 2) กระดาษโนต้ กาวในตวั 3) กระดาษฟลปิ ชารต์ (Flip chart) 4) สเี มจกิ 5) กระดานดา 6) ใบงาน เรื่อง พลเมืองทร่ี บั ผดิ ชอบต่อการป้องกนั การทจุ รติ 7) ถอดบทเรียน เรื่อง ความเป็นพลเมืองกบั ความรับผดิ ชอบต่อสงั คม 5. การประเมินผลการเรยี นรู้ 5.1 วิธกี ารประเมนิ 1) ตรวจผงั มโนทศั นก์ ารถอดบทเรยี น
- ๑๓๗ - 2) ตรวจใบงาน 3) สังเกตพฤตกิ รรมมวี ินยั 5.2 เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการประเมิน 1) แบบให้คะแนนผังมโนทัศน์ 2) แบบประเมนิ ใบงาน 3) แบบสงั เกตพฤติกรรมมีวินยั 5.3 เกณฑ์การตดั สิน -นักเรียนผ่านการประเมนิ ทุกกจิ กรรม ได้คะแนนระดบั ดขี ึ้นไป ถือวา่ ผา่ น -นกั เรยี นผา่ นการประเมนิ พฤตกิ รรมระดับดขี นึ้ ไป 6. บนั ทกึ หลังสอน ............................................................................................................................. ................................ ............................................................................................................................. .............................................. ................................................................................. .................................................................... ...................... ............................................................................................................................................. .............................. ............................................................................................................................. .............................................. ลงช่ือ ................................................ ครูผสู้ อน (.................................................)
- ๑๓๘ - 7. ภาคผนวก กรณศี ึกษา กรณีศึกษา การเกดิ แผ่นดนิ ไหวท่ปี ระเทศญี่ปนุ่ ประเทศญี่ปุ่นเป็นประเทศท่ีเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติบ่อยครั้ง แต่ละคร้ังมีความรุนแรงและสร้าง ความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินเป็นจานวนมาก แต่จากความยากลาบากจากสิ่งที่เกิดข้ึน ก็ได้เกิดสิ่งที่ นา่ สนใจจากพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงความเป็นพลเมือง ท้ังในส่วนของความรับผิดชอบต่อสังคม จิตสาธารณะ ความมีวินัย และอ่ืนๆ โดยจะนาเสนอเป็นเร่ืองราวส้ันๆ เพ่ือง่ายต่อการทาความเข้าใจ ดังน้ี โดยเน้ือหานามา จากบทความเร่ือง “เร่ืองราวดีๆ ของคนญีป่ ่นุ ยามภาวะฉุกเฉิน”(“เรื่องราวดๆี ”, 2554) กรณีท่ี 1 ที่สวนสนุกแห่งหนึ่ง เกิดเหตุการณ์ซ่ึงทาให้นักท่องเท่ียวจานวนมากไม่สามารถออกไป ข้างนอกได้ และทางร้านขายของก็ได้เอาขนมมาแจกนักท่องเท่ียว มีนักเรียนช้ันมัธยมปลายหญิงกลุ่มหนึ่งไปเอา มาเป็นจานวนมาก ซ่ึงมากเกินกว่าที่จะบริโภคหมด ข้าพเจ้ารู้สึกทันทีว่า “ทาไมเอาไปเยอะ” แต่วินาทีต่อมา กลายเป็นความรู้สึกต้ืนตันใจ เพราะ “เด็กกลุ่มน้ันเอาขนมไปให้เด็กๆ ซ่ึงพ่อแม่ไม่สามารถไปเอาเองได้ เนือ่ งจากต้องอยูด่ แู ลลกู จากเหตุการณ์น้ีแสดงให้เห็นถึงความเอื้อเฟ้ือ การช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน และมีความรับผิดชอบต่อ ผอู้ ่ืน กรณที ี่ 2 ในซปุ เปอรม์ าร์เก็ตแห่งหน่งึ มีของตกระเกะระกะเต็มพ้ืนเพราะแรงแผ่นดินไหว แต่คนที่ เข้าไปซอ้ื ของไดช้ ่วยกนั เกบ็ ของขึน้ ไวบ้ นช้นั แล้วก็หยิบสว่ นทีต่ นอยากซ้อื ไปตอ่ คิวจ่ายเงนิ จากเหตุการณ์น้ีแสดงให้เห็นถึงความเป็นระเบียบเรียบร้อย การช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน และมี ความรับผิดชอบตอ่ ผูอ้ น่ื กรณีที่ 3 ในจังหวัดจิบะเกดิ แผ่นดินไหวบ้านเรือนพงั เสยี หาย คุณลุงคนหนึ่งที่หลบภัยอยู่ก็ได้เปรย ออกมาว่า ต่อจากนี้ไปจะเป็นอย่างไร เด็กหนุ่ม ม.ปลาย ก็ตอบกลับไปว่า “ไม่เป็นไรครับ ไม่ต้องห่วง ต่อจากน้ีไป เมือ่ เปน็ ผ้ใู หญ่ พวกผมจะทาให้มันกลับมาเหมือนเดิมแน่นอน
- ๑๓๙ - กรณีศกึ ษา การอปั ปางของเรือเฟอร์ร่ีของเกาหลีใต้ กรณีการอัปปางของเรือเฟอร์รี่ของเกาหลีใต้ที่ชื่อเซวอลซึ่งจมลงระหว่างการเดินทางจากกรุงโซลไปยัง เกาะเซจูท้ังสาเหตุของการล่มของเรือความรับผิดชอบของกัปตันเรือนายลีจูนเซ๊ียก (Lee Joon-seok)และผู้ช่วย กัปตันเรือการปฏิบัติการและการกระจายคาสั่งของลูกเรือหลังเกิดอุบัติเหตุรวมท้ังการกู้ภัยที่ยังคงดาเนินอยู่ ซึ่งพบศพผู้โดยสาร 54 คนสูญหาย 248 คน รอดชีวิต 174 คนจากจานวนผู้โดยสารและลูกเรือท้ังหมด 476 คนผู้เสียชีวิตและสูญหายส่วนใหญ่เป็นนักเรียนมัธยมจากโรงเรียน Danwon High School ในเมือง อนั ซนั ชานกรุงโซลทไ่ี ปทศั นศึกษาถึง 350 คน ร้อยเอกนายแพทย์ยงยุทธมัยลาภ ได้เขียนเรื่องท่ีน่าสนใจประเด็นหน่ึงไว้ คือ การปฏิบัติของนักเรียน ที่อยู่บนเรือ หลังจากมีคาส่ังจากลูกเรือไปยังผู้โดยสารเม่ือเกิดเหตุแล้วก็คือ “ให้น่ังอยู่กับท่ีห้ามเคล่ือนไหวไป ไหน ขณะที่เจ้าหน้าที่กาลังดาเนินการแก้ไขปัญหากันอยู่ซ่ึงผู้โดยสารจานวนมากก็ปฏิบัติตามคาสั่งนี้ ” จนกระทั่งเรือเอียงและจมลงแม้ว่าจะมีเวลาถึง 2 ช่ัวโมงกว่าก่อนท่ีเรือจะจมซ่ึงผู้โดยสารน่าจะมีเวลาเพียง พอท่ีจะสามารถช่วยเหลือตัวเองออกมาจากเรือได้ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงวินัยของเด็กๆนักเรียนท่ีฟังคาสั่งของ “ผใู้ หญ่” และสะท้อนถึงความมีระเบียบวินัยของคนเกาหลีที่เชื่อฟังคาสั่งแม้ตนทราบดีว่าอันตรายใกล้ตัวเข้า มามากแล้วแต่ครั้งนี้ “ผู้ใหญ่” คงประเมินสถานการณ์ผิดพลาดอย่างร้ายแรง มีรายงานว่าลูกเรือได้พยายาม กระจายคาสง่ั สละเรือในชว่ งคร่งึ ช่วั โมงตอ่ มาหลังจากเกดิ อุบัติเหตแุ ต่เข้าใจว่าคาสั่งนี้กระจายไปไม่ทั่วถึง และ เชอ่ื วา่ ผโู้ ดยสารจานวนมากโดยเฉพาะเด็กๆ กย็ งั คงนง่ั อย่กู ับท่ี (ยงยุทธ มัยลาภ, ม.ป.ป.) กรณศี กึ ษา การลาออกของงนายกรฐั มนตรีชาวเกาหลใี ต้ การลาออกของนายกรัฐมนตรี ชอง ฮง วอน เพ่ือรับผิดชอบต่อการล่มของเรือเซลวอนและไม่ สามารถช่วยเหลือไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ท้งั ๆ ทน่ี ายกรฐั มนตรไี มใ่ ชค่ นขับเรอื และก็ไมใ่ ช่คนทีเ่ ขา้ ไปชว่ ยเหลือ เดือนธันวาคม 2548 นายฮูห์ จุนยัง ผู้บัญชาการตารวจเกาหลีใต้ ได้ย่ืนหนังสือลาออกจาก ตาแหน่งเพื่อรับผิดชอบกรณีท่ีตารวจปราบปรามกลุ่มผู้ประท้วงจนถึงแก่ความตายกรณีเจ้าหน้าที่ตารวจทุบตี กลุ่มเกษตรกรท่ีมารวมตัวประทว้ งเรือ่ งการเปดิ เสรขี า้ วในกรงุ โซล จนเป็นเหตุให้มีชาวนาเสียชีวิต 2 คนพร้อม กบั ขอโทษต่อกรณดี งั กล่าว (เมธา มาสขาว, 2557) เดือนมีนาคม 2549 นายกรัฐมนตรีลี เฮชอน แห่งเกาหลีใต้ ประกาศลาออกจากตาแหน่ง ภายหลังจากท่ีเขาแอบไปร่วมตีกอล์ฟกับกลุ่มนักธุรกิจ ท่ีเมืองปูซานเมื่อวันท่ี 1 มีนาคม 2549 แม้จะเป็น วันหยุดของเกาหลีใต้ แต่ก็ฟังไม่ข้ึน ในขณะท่ีท้ังประเทศกาลังประสบปัญหาเน่ืองจากการประท้วงของ พนักงานรถไฟ (เมธา มาสขาว, 2557)
- ๑๔๐ - ใบงาน พลเมืองทร่ี บั ผดิ ชอบตอ่ การป้องกันการทุจริต คาช้แี จง ให้นักเรียนเขยี นลกั ษณะพลเมืองทีร่ ับผดิ ชอบต่อการป้องกันการทุจรติ ๓ ดา้ น คอื ความร/ู้ ความคิด การกระทา และค่านิยม ความรู้สึก คาชีแ้ จง ให้นักเรียนเขยี นเล่าเรอ่ื งการปฏบิ ตั ิตนของตนเองที่แสดงถึงความเปน็ พลเมืองที่รบั ผดิ ชอบต่อการ ปอ้ งกนั การทุจรติ มาอย่างนอ้ ย 1 เหตุการณ์ ............................................................................................................................. .............................................. ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. .................................................................................... ....................................................................................... .............................................
- ๑๔๑ - ถอดบทเรียน ความเปน็ พลเมืองกบั ความรับผดิ ชอบต่อสังคม คาช้ีแจง ให้นักเรียนเขียนแผนผังมโนทัศน์ถอดบทเรียนเกี่ยวกับ ความเป็นพลเมืองกับความรับผิดชอบต่อ สังคม แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน กลุม่ ท่ี …………………… เรอ่ื ง....................................................................................................................... ....... วันท่ี ................................................................................................................... .........................................
- ๑๔๒ - คาชแ้ี จง ให้ผู้สอนประเมินการนาเสนอผลงานของนกั เรยี นตามรายการทกี่ าหนด แล้วทาเครือ่ งหมาย ลง ในชอ่ งที่ตรงกับระดบั คะแนน ที่ รายการ คะแนน ผลการตัดสนิ เต็ม ได้ ผา่ น ไม่ผา่ น ๑ ความพร้อมในการนาเสนอ 4 ๒ ความถกู ตอ้ งสมบูรณ์ของเนื้อหา 4 ๓ กระบวนการนาเสนอ 4 ๔ ความคดิ สร้างสรรค์ 4 5 ความสาเร็จโดยรวมของผลงาน 4 20 รวม รายชือ่ สมาชกิ 1. .................................................................................................................................................... .................. 2. ...................................................................................................................................................................... 3. ............................................................................................................................. ......................................... 4. ...................................................................................................................................................... ................ 5. ...................................................................................................................................................................... เกณฑ์การใช้คะแนน ให้ 4 คะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ผลงานหรือพฤตกิ รรมสมบูรณช์ ดั เจน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมมขี ้อบกพร่องบางส่วน ให้ 2 คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ ผลงานหรือพฤตกิ รรมมีข้อบกพรอ่ งเปน็ ส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมมีข้อบกพรอ่ งมาก 18 - 20 ดมี าก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ตา่ กว่า 10 ปรับปรุง
- ๑๔๓ - แบบสงั เกตพฤติกรรม “มวี นิ ัย” คาชแ้ี จง ทาเคร่ืองหมาย ในชอ่ งทต่ี รงกับความเปน็ จรงิ ตามเกณฑก์ ารประเมิน ปฏบิ ตั ิตนตาม เลขท่ี ชอื่ - สกุล ขอ้ ตกลง ตรงตอ่ เวลาใน รวม ผลการประเมนิ กฎเกณฑ์ การปฏบิ ตั ิ คะแนน ผ่าน ไมผ่ ่าน ระเบยี บ ข้อบงั คับ กิจกรรมตา่ งๆใน ของครอบครวั ชีวติ ประจาวัน โรงเรียนและ สงั คม ไม่ละเมิด และรับผิดชอบใน สิทธ์ิของผู้อื่น การทางาน 43214321 เกณฑ์การใช้คะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ 4 คะแนน เท่ากบั ดมี าก 3 คะแนน เท่ากบั ดี ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 2 คะแนน เท่ากบั พอใช้ 1 คะแนน เทา่ กบั ปรับปรุง 7 - 8 ดีมาก 5 - 6 ดี 3 - 4 พอใช้ 1 - 2 ปรับปรงุ (ลงชอ่ื )...................................ครูผูป้ ระเมิน (…………………………………………………) ............../................./.................
- ๑๔๔ - ภาคผนวก
- ๑๔๕ - คาส่ังคณะกรรมการ ป.ป.ช. ท.ี่ . 646/2560 เรื่อง แต่งตั้งคณะอนกุ รรมการจัดทาหลักสูตรหรือชดุ การเรียนรู้และส่ือประกอบการเรยี นรู้ ดา้ นการป้องกนั การทุจริต ---------------------------------------- ด้วย คณะกรรมการ ป.ป.ช. ในการประชุมครั้งที่ 855-26/2560 เม่ือวันท่ี 11 เมษายน 2560 ได้มีมติเห็นชอบให้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการจัดทาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้ ด้านการ ปอ้ งกันการทจุ ริต เพือ่ ดาเนนิ การจัดทาหลักสตู รหรอื ชดุ การเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกัน การทุจริต สาหรับใช้เป็นเนื้อหามาตรฐานกลางให้สถาบันการศึกษาหรือหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องนาไปพิจารณา ปรับใช้ในการเรียนการสอนให้กับกลุ่มเป้าหมายครอบคลุมทุกระดับช้ันเรียน เพื่อปลูกฝังจิตสานึกในการ แยกแยะประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม จิตพอเพียง และสร้างพฤติกรรมท่ีไม่ยอมรับและไม่ทนต่อการ ทจุ รติ อันเปน็ การดาเนนิ งานตามยุทธศาสตรช์ าติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) ยุทธศาสตร์ที่ 1 “สร้างสังคมไม่ทนต่อการทุจริต” กลยุทธ์ที่ 1 ปรับฐานความคิดทุกช่วง วัย ต้ังแต่ปฐมวัยให้สามารถแยกระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม และกลยุทธ์ท่ี 3 ประยกุ ตห์ ลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเคร่ืองมือตา้ นทจุ รติ ฉะนั้น อาศัยอานาจตามมาตรา 19 (16) แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2559 จึงขอแต่งตั้ง คณะอนกุ รรมการจดั ทาหลักสตู รหรือชดุ การเรยี นรู้และส่อื ประกอบการเรียนรู้ ดา้ นการปอ้ งกันการทุจริต โดย มีองคป์ ระกอบ ดังน้ี 1. รองศาสตราจารย์ ดร.มาณี ไชยธรี านวุ ัฒศิริ ประธานอนกุ รรมการ 2. รองเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. อนกุ รรมการ (นายประหยัด พวงจาปา) 3. ผู้ชว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. อนุกรรมการ (นายกติ ติ ล้ิมพงษ)์ 4. ผ้ชู ว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. อนกุ รรมการ (นายอุทศิ บวั ศร)ี 5. ผอู้ านวยการสานักป้องกันการทุจรติ ภาคการเมือง อนกุ รรมการ 6. ผอู้ านวยการสานักป้องกันการทุจริตภาครัฐวิสาหกจิ อนกุ รรมการ และธรุ กิจเอกชน 7. ผู้อานวยการสานกั ป้องกันการทุจริตภาคประชาสังคม อนุกรรมการ และการพฒั นาเครือขา่ ย
- ๑๔๖ - 8. ผแู้ ทนสานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ อนุกรรมการ (ด้านการสรา้ งหลกั สูตรและสอื่ การเรียนรู้) 9. ผ้แู ทนสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน อนกุ รรมการ (ด้านการสร้างหลักสตู รและส่อื การเรียนรู)้ 10. ผแู้ ทนสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา อนุกรรมการ (ดา้ นการสร้างหลกั สตู รและสอ่ื การเรยี นร)ู้ 11. ผู้แทนสานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา อนกุ รรมการ (ด้านการสร้างหลกั สูตรและสื่อการเรียนร)ู้ 12. ผู้แทนสานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา อนุกรรมการ (ดา้ นการสรา้ งหลักสูตรและสอื่ การเรยี นร)ู้ 13. ผู้แทนสานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและ อนุกรรมการ การศึกษาตามอัธยาศยั (ด้านการสรา้ งหลักสูตรและสอื่ การเรยี นร)ู้ 14. ผแู้ ทนสานกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ อนกุ รรมการ (ดา้ นการสรา้ งหลักสตู รและสื่อการเรยี นร)ู้ 15. ผแู้ ทนท่ีประชุมอธกิ ารบดแี ห่งประเทศไทย อนกุ รรมการ (ดา้ นการสรา้ งหลกั สูตรและสื่อการเรยี นรู้) 16. ผู้แทนทป่ี ระชมุ อธกิ ารบดมี หาวิทยาลัยราชภฏั อนุกรรมการ (ดา้ นการสร้างหลักสูตรและสื่อการเรียนรู้) 17. ผู้แทนคณะกรรมการอธกิ ารบดีมหาวิทยาลัย อนกุ รรมการ เทคโนโลยีราชมงคล (ดา้ นการสรา้ งหลกั สตู รและส่อื การเรยี นร)ู้ 18. ผู้แทนสถาบันวชิ าการปอ้ งกันประเทศ อนกุ รรมการ กองบัญชาการกองทัพไทย (ด้านการสรา้ งหลกั สตู รและสือ่ การเรียนร้)ู 19. ผู้แทนกรมยุทธศึกษาทหารบก อนกุ รรมการ (ด้านการสรา้ งหลักสูตรและสือ่ การเรียนรู้) 20. ผแู้ ทนกรมยทุ ธศึกษาทหารเรือ อนุกรรมการ (ดา้ นการสรา้ งหลกั สตู รและสื่อการเรยี นร)ู้ 21. ผ้แู ทนกรมยทุ ธศกึ ษาทหารอากาศ อนกุ รรมการ (ด้านการสรา้ งหลักสตู รและสื่อการเรียนรู้) 22. ผแู้ ทนกองบญั ชาการศกึ ษา สานกั งานตารวจแหง่ ชาติ อนกุ รรมการ (ดา้ นการสร้างหลักสูตรและสื่อการเรยี นร)ู้ 23. พลโท ดร.ชยั ฤกษ์ แก้วพรหมมาลย์ อนุกรรมการ 24. นายเสฏฐนนั ท์ องั กูรภาสวิชญ์ อนุกรรมการ 25. นายสเุ ทพ พรหมวาศ อนกุ รรมการ 26. ผู้อานวยการสานักปอ้ งกันการทจุ ริตภาครฐั อนกุ รรมการและเลขานกุ าร
- ๑๔๗ - 27. นายสมพจน์ แพง่ ประสิทธิ์ ผู้ชว่ ยเลขานุการ 28. นางสาวกลั ยา สวนโพธิ์ ผู้ชว่ ยเลขานุการ 29. นายสราวฒุ ิ เศรษฐกร ผู้ช่วยเลขานุการ 30. นายกาญจน์บณั ฑติ สนนชุ ผชู้ ่วยเลขานกุ าร 31. นายเทอดภูมิ ทศั นพิมล ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร 32. นายธนวัฒน์ มะแม้น ผู้ชว่ ยเลขานุการ โดยคณะอนกุ รรมการฯ มีอานาจหน้าท่ีดงั น้ี 1. ศึกษา วิเคราะห์ และรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดทาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้ และสอื่ ประกอบการเรียนรู้ ดา้ นการปอ้ งกันการทุจริต 2. กาหนดแนวทางและขอบเขตในการจัดทาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อ ประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต ตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจรติ ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 “สรา้ งสังคมไม่ทนต่อการทุจริต” 3. พจิ ารณายกรา่ งและจดั ทาเนอ้ื หาหลกั สตู รหรอื ชดุ การเรยี นรู้และสือ่ ประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจรติ โดยกาหนดโครงสรา้ งหลักสตู ร วตั ถปุ ระสงค์ของหลักสูตร จุดประสงค์ของรายวิชา เนอ้ื หาสาระ จดั ระเบียบ/ลาดับของเนอื้ หาสาระ วิธกี ารประเมินผลการเรยี นรู้ รวมท้ังอนื่ ๆ ทีเ่ กยี่ วข้อง 4. พิจารณาให้ความเห็นเพ่ิมเติมเก่ียวกับการจัดทาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อ ประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต เพ่ือให้มีเน้ือหาที่ครอบคลุมและสมบูรณ์ พร้อมท้ังนาเสนอ คณะกรรมการ ป.ป.ช. พจิ ารณาให้ความเห็นชอบ ท้ังน้ี ให้ดาเนินการแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2560 5. กาหนดแผนหรือแนวทางการนาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และส่ือประกอบการเรียนรู้ ดา้ นการป้องกนั การทุจรติ ไปใช้ในหน่วยงานทเี่ ก่ยี วข้อง 6. ดาเนนิ การอ่นื ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย ท้ังน้ี ต้ังแต่บัดน้ีเป็นต้นไป สัง่ ณ วันที่ 26 เดอื น เมษายน พ.ศ. 2560 พลตารวจเอก (วัชรพล ประสารราชกิจ) ประธานกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาติ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157