- ๔๘ - ใบกิจกรรมระดมพลังความคิดประเดน็ “การแสดงออกซ่งึ การไม่ทนตอ่ การทจุ ริตในการสอบ” ผลการระดมพลังความคดิ กลมุ่ ท.ี่ ........... ช้นั ................. สถานการณ์ที่ ๓ นกั เรียนจะทาอย่างไร เมื่อขณะทาขอ้ สอบ เพื่อนสนิทแอบสะกิดนักเรียนเพอ่ื ถามคาตอบ ระดมความคดิ กล่ันกรองความคิด สรุปความคิด ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... .....................................................
- ๔๙ - ใบกจิ กรรมระดมพลังความคิดประเด็น “การแสดงออกซึง่ การไมท่ นตอ่ การทจุ รติ ในการสอบ” ผลการระดมพลังความคิดกลุม่ ท.่ี ........... ช้ัน................. สถานการณ์ท่ี ๔ นักเรียนจะทาอย่างไร เมื่อนกั เรยี นเรียนไม่เข้าใจ และไมไ่ ด้เตรยี มตวั สาหรับการ สอบ เมอ่ื ถงึ เวลาสอบ คณุ ครูคมุ สอบตอ้ งเขา้ หอ้ งน้ากะทันหัน คุณครูคุมสอบสารองยังเดินทางมาไม่ถึง เพื่อน สนิทของนักเรียนกลัววา่ นักเรียนจะสอบตก จงึ ยนื่ กระดาษคาตอบของตนมาใหล้ อก ระดมความคดิ กล่นั กรองความคิด สรุปความคิด ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... .....................................................
- ๕๐ - ใบกจิ กรรมระดมพลังความคิดประเด็น “การแสดงออกซ่ึงการไมท่ นต่อการทจุ ริตในการสอบ” ผลการระดมพลงั ความคิดกลมุ่ ท่.ี ........... ช้นั ................. สถานการณ์ท่ี ๕ นกั เรียนจะทาอยา่ งไร เม่อื หมดเวลาสอบ นักเรียน และเพ่ือน ๆ สว่ นใหญย่ ังทา ข้อสอบไมเ่ สรจ็ หวั หน้าหอ้ งจึงขอต่อเวลากบั ครูคมุ สอบ ประกอบกับครูคุมสอบมีท่าทีอนุโลมใหท้ าตอ่ ได้ ระดมความคดิ กล่ันกรองความคดิ สรปุ ความคิด ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... .....................................................
- ๕๑ - แบบประเมินผลการระดมพลังความคดิ “การละอายและแสดงออกถงึ การเปน็ ผไู้ ม่ทนต่อการทุจริตในการสอบ” คาชแี้ จง ทาเครื่องหมาย ลงในชอ่ งคะแนนตามเกณฑก์ ารประเมิน เกณฑ์การประเมิน ๔ หมายถึง ดีมาก ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถงึ พอใช้ ๑ หมายถึง ปรบั ปรุง กลุ่มที่ ชอ่ื - สกลุ ขอ้ สรปุ ของกลุ่ม รวม สมาชิกทกุ คนในกลุ่ม มีการกลน่ั กรอง เหมาะสม แสดงให้ 1 ๑. รว่ มแสดงความคดิ เห็น ความคิดรว่ มกนั โดยยดึ เหน็ ถงึ การละอายและ ๒. อยา่ งหลากหลาย หลักเหตแุ ละผล ไมท่ นต่อการทุจรติ ใน ๓. ๔. การสอบ ๕. 432143214321 ๒ เกณฑ์การใชค้ ะแนน (ลงชอื่ )...................................ครผู ู้ ประเมนิ ............../................./................. 10-12 คะแนน เทา่ กับ ดมี าก (…………………………………………………) 7-9 คะแนน เท่ากบั ดี 4-6 คะแนน เท่ากับ พอใช้ 1-3 คะแนน เทา่ กับ ปรับปรุง
- ๕๒ - แบบสังเกตแบบสังเกตพฤติกรรม “มงุ่ มนั่ ในการทางาน” คาช้แี จง ทาเคร่ืองหมาย ในชอ่ งทต่ี รงกับความเปน็ จรงิ ตามเกณฑก์ ารประเมิน เกณฑ์การประเมนิ (ใชข้ อ้ มูลจากการสงั เกตตามสภาพจริงของครผู ู้สอน) ทางานดว้ ยความเพยี ร ตัง้ ใจและรบั ผิดชอบ พยายาม และอดทนเพ่ือให้ รวม เลขที่ ชื่อ - สกุล ในการปฏิบตั ิหนา้ ท่ีการงาน งานสาเร็จตามเปา้ หมาย 4 3 21 4 321 1 2 3 4 ๕ เกณฑก์ ารใช้คะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ 4 คะแนน เทา่ กบั ดีมาก 3 คะแนน เท่ากบั ดี ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 2 คะแนน เทา่ กับ พอใช้ 1 คะแนน เทา่ กับ ปรับปรงุ 7 - 8 ดมี าก 5 - 6 ดี 3 - 4 พอใช้ 1 - 2 ปรับปรงุ (ลงช่อื )...................................ครูผ้ปู ระเมิน (…………………………………………………) ............../................./.............
- ๕๓ - แบบประเมนิ ผลงานแผนผังความคิด คาชแ้ี จง ทาเคร่ืองหมาย ลงในชอ่ งคะแนนตามเกณฑก์ ารประเมนิ เกณฑ์การประเมนิ ๔ หมายถงึ ดมี าก ๓ หมายถงึ ดี ๒ หมายถงึ พอใช้ ๑ หมายถงึ ปรับปรงุ เลขที่ ชื่อ - สกุล สรปุ ความรคู้ รบถ้วน เช่อื มโยงความรู้กับ รปู แบบเป็นไปตาม รวม ถูกต้องทุกประเดน็ ประสบการณ์ของตน หลักการทาแผนผงั ได้ถูกต้องตามลาดับ ความคิด 432143214321 1 2 3 4 เกณฑก์ ารใช้คะแนน (ลงช่ือ)...................................ครผู ู้ ประเมิน ............../................./................. 10-12 คะแนน เท่ากับ ดีมาก (…………………………………………………) 7-9 คะแนน เทา่ กับ ดี 4-6 คะแนน เทา่ กับ พอใช้ 1-3 คะแนน เทา่ กบั ปรับปรงุ
- ๕๔ - แผนการจัดการเรยี นรู้ ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๖ หน่วยท่ี ๒ ชื่อหน่วย ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจริต เวลา ๒ ชว่ั โมง แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๒ เรือ่ ง การเลือกตั้ง ๑. ผลการเรยี นรู้ ๑.๑ ปฏิบตั ติ นเปน็ ผูล้ ะอายและไม่ทนตอ่ การทุจริตทุกรปู แบบ ๑.๒ ตระหนักและเหน็ ความสาคญั ของการต่อต้านและป้องกนั การทจุ ริต ๒. จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๒.๑ นักเรยี นสามารถอธิบายความหมายของ “การลงโทษทางสงั คม (Social Sanction)” ได้ ๒.๒ นกั เรยี นสามารถเสนอวธิ กี ารปฏิบัตติ นเป็นผไู้ ม่ทนต่อการทุจริตการเลอื กต้งั โดยใชก้ ารลงโทษ ทางสงั คมได้ ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ ความรู้ ๑) ความหมายของ “การลงโทษทางสังคม (Social Sanction)” ๒) วธิ กี ารปฏิบตั ิตนเปน็ ผูไ้ ม่ทนต่อการทุจรติ การเลือกต้งั โดยใช้การลงโทษทางสงั คม ๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะที่เกดิ ขนึ้ ) ๑) ความสามารถในการสื่อสาร ๒) ความสามารถในการคิด ๕) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 3.3 คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ / ค่านยิ ม ๑) ความซ่อื สัตย์ ๔. กจิ กรรมการเรียนรู้ ๔.๑ ข้นั ตอนการเรยี นรู้ ชว่ั โมงท่ี ๑ ๑. นักเรยี นชมคลิปวดิ ีโอรายงานขา่ ว “กกต.ใชย้ าแรงแก้ทุจริตเลอื กตั้ง” มเี น้ือหากล่าวถงึ รา่ งกฎหมายประกอบรฐั ธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้ง ส.ส. ประเดน็ โทษความผดิ ของผู้สมัคร ส.ส.ทกี่ ระทา การทุจริตเลอื กต้งั โดยมีการแบ่งโทษความผิดไว้ 4 ระดบั คือ ใบเหลอื ง ใบสม้ ใบแดง และใบดา ๒. นักเรียนตอบคาถามคิดวิเคราะห์ ดังน้ี - การทจุ ริตการเลือกตงั้ ทางการเมอื งส่งผลต่อนักเรยี น ประเทศ และโลกอย่างไร บ้าง - การแก้ปญั หาโดยแบ่งโทษความผดิ เปน็ การแกป้ ัญหาที่ต้นเหตุ หรือปลายเหตุ เพราะเหตุใด - การป้องกนั การทุจริตการเลือกต้ังทาไดอ้ ยา่ งไรบ้าง (หมายเหตุ ครอู าจให้นักเรยี นคน้ คว้าคาตอบจากแหลง่ ข้อมูลอืน่ ๆ หรือคน้ ควา้ เพ่มิ เติมเกี่ยวกบั วธิ ีการทุจริตการเลือกตง้ั เพ่ือใหน้ ักเรยี นคดิ วิเคราะห์แนวทางการป้องกนั การทจุ ริตการเลอื กตัง้ ได้) จากนั้น ครูกล่าวเชอื่ มโยงเร่ืองการป้องกันการทจุ รติ การเลือกตั้งโดยใช้ “การลงโทษทางสังคม” ๓. นักเรียนศกึ ษาใบความรู้เร่ือง “การลงโทษทางสงั คม” แล้วตอบคาถาม ดังนี้ - การลงโทษทางสงั คม หมายถงึ อะไร
- ๕๕ - - การลงโทษทางสงั คมมีก่ดี ้าน อะไรบ้าง และอธบิ ายพอสังเขป จากนน้ั ครูอธบิ ายเพม่ิ เตมิ ๔. นกั เรยี นแบง่ ออกเป็นกลุ่ม ๕ กลุ่ม คน้ ควา้ “ตวั อยา่ งการลงโทษทางสงั คม” จากสื่อ อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละแหลง่ เรียนร้อู ่นื ๆ เช่น หอ้ งสมุด แลว้ บนั ทกึ ลงในแบบบันทึกกจิ กรรมการศกึ ษาคน้ คว้า ๕. นกั เรียนทุกกลุ่มนาเสนอผลการค้นควา้ หลงั จากนน้ั ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันสรปุ การ ลงโทษทางสังคม ช่วั โมงท่ี ๒ ๖. นักเรยี นทากิจกรรม “ทุจริตแคเ่ รอ่ื งสมมติ ถ้าชว่ ยกันหยุดทัง้ สังคม” โดยมีขั้นตอนดังน้ี ข้ันเตรียม - ครแู จ้งวตั ถปุ ระสงคข์ องกิจกรรม เพ่ือให้นกั เรียนจาลองสถานการณ์ที่ตนเองอยใู่ นการ ทจุ ริตการเลือกตงั้ รูปแบบต่าง ๆ ซ่งึ มีบทบาทของนักการเมือง กกต. ประชาชน และอื่น ๆ ตามสถานการณท์ ่ี ได้รับ อยา่ งไรก็ตามเม่ือกลุ่มใดแสดง นักเรียนกลมุ่ ท่ไี ม่ได้แสดงจะรว่ มสวมบทบาทเป็นประชาชน สามารถ รว่ มแสดงได้เน่ืองจากเปน็ สถานการณ์จาลองทั้งห้องเรียน - ตัวแทนกลมุ่ จบั สลากสถานการณก์ ารทุจริตการเลือกต้ัง กลุ่มละ ๑ สถานการณ์ - นักเรียนแตล่ ะกลุ่มอภปิ ราย พจิ ารณา เลอื กตวั อยา่ งการลงโทษทางสังคมท่ีได้ศึกษา ค้นคว้ามา ๑ ตวั อยา่ งให้สอดคลอ้ งกับสถานการณท์ ่ีได้รบั - นักเรียนแต่ละกลุ่มเตรียมแสดงสถานการณ์จาลองหน้าช้ันเรยี น ข้นั นาเสนอ - แต่ละกลมุ่ แสดงบทบาทตามสถานการณ์ท่ีตนได้รับ โดยครูดูแลความเรียบร้อยใหอ้ ยูใ่ น ระเบยี บ และสงั เกต บนั ทึกสถานการณ์จาลองของนักเรยี น ข้นั สรุป - นกั เรยี นและครูร่วมกนั สรปุ ส่งิ ทไี่ ด้จากสถานการณจ์ าลอง - นักเรยี นและครูร่วมกันพจิ ารณาความเหมาะสมของการนากระบวนการลงโทษทางสงั คม ไปใช้จรงิ กบั สถานการณ์ทุจริตการเลือกตัง้ *หมายเหตุ จานวนกล่มุ นักเรียน ข้นึ อยู่กบั ดลุ ยพนิ จิ ของครูผ้สู อน 4.2 ส่อื การเรียนรู้ / แหล่งการเรยี นรู้ ๑) คลิปวดิ โี อรายงานข่าว ๒) ใบความรูเ้ ร่อื ง “การลงโทษทางสังคม” ๓) แบบบนั ทกึ กจิ กรรมการศึกษาค้นคว้า ๔) สลากสถานการณ์ประกอบการทากิจกรรม “ทุจรติ แคเ่ ร่ืองสมมติ ถา้ ช่วยกนั หยดุ ทั้ง สังคม” 5) อินเทอร์เนต็ ๕.การประเมินผลการเรยี นรู้ ๕.๑ วธิ ีการประเมิน ๑. สงั เกตพฤตกิ รรม “ซอื่ สตั ยส์ จุ รติ ” ๒. ตรวจแบบบนั ทกึ กจิ กรรม“ทจุ ริตแคเ่ ร่อื งสมมติ ถ้าชว่ ยกนั หยดุ ทัง้ สังคม”
- ๕๖ - ๕.๒ เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการประเมนิ ๑. แบบสังเกตพฤติกรรม “ซ่ือสัตยส์ จุ รติ ” ๒. แบบประเมินการบนั ทึกกจิ กรรม“ทุจริตแค่เรื่องสมมติ ถา้ ช่วยกันหยุดทงั้ สงั คม” ๕.๓ เกณฑ์การตัดสนิ -นักเรียนผ่านการประเมนิ ไดค้ ะแนนระดับดขี ึ้นไป -นักเรยี นผา่ นการประเมนิ พฤตกิ รรมระดับดีขึน้ ไป ๖. บันทึกหลงั สอน ............................................................................................................................. ......................... ............................................................................................................................. .............................................. .................................................................................... ....................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. ลงชื่อ ................................................ ครผู ู้สอน (.................................................)
๗. ภาคผนวก - ๕๗ - แบบสงั เกตแบบสังเกตพฤติกรรม “ซ่ือสัตยส์ ุจรติ ” คาชแ้ี จง ทาเครื่องหมาย ในช่องท่ีตรงกับความเป็นจรงิ ตามเกณฑ์การประเมิน 2.ปฎิบต้ ิตาม เลขที่ ชอ่ื - สกลุ 1.ใหข้ ้อมลู ท่ี โดยคานึงถงึ 3.ปฏิบัติตน 4.ไม่หา รวม ผลการประเมิน ถูกต้องและ ความถกู ต้อง ตอ่ ผอู้ ่นื ดว้ ย ผลประโยชน์ คะแนน ผ่าน ไม่ผา่ น เปน็ จริง ละอาย เกรง ความซอ่ื สตั ย์ ในทางที่ไม่ กลัว ตอ่ การ กระทาผดิ ถกู ต้อง 4321432143214321 เกณฑ์การใช้คะแนน เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ 4 คะแนน เทา่ กับ ดมี าก 3 คะแนน เทา่ กับ ดี ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 2 คะแนน เทา่ กบั พอใช้ 1 คะแนน เทา่ กบั ปรับปรุง 13 - 16 ดมี าก 9 - 12 ดี 5 - 8 พอใช้ 1 - 4 ปรบั ปรุง (ลงชื่อ)...................................ครูผูป้ ระเมิน (…………………………………………………) ............../................./..............
- ๕๘ - แบบบันทกึ กจิ กรรมการศึกษาค้นคว้า สิ่งท่ีได้จากการศึกษาคน้ คว้า ............................................................................................................................. ........................................... ........................................................................................ ................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................... .................................................................................................................................... .................................... .............................................................................................. .......................................................................... ............................................................................................................................. ........................................... แหลง่ ทีม่ าของขอ้ มูล ............................................................................................................................. ........................................... ................................................................................. ....................................................................................... สง่ิ ทไ่ี ด้จากการศึกษาค้นควา้ ............................................................................................................................. ........................................... ........................................................................................ ................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................... ........................................................................................ ................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................... .................................................................................................................................... .................................... แหล่งท่ีมาของข้อมลู ........................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................... สงิ่ ทีไ่ ดจ้ ากการศึกษาคน้ คว้า ............................................................................................................................. ........................................... ........................................................................................ ................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................... .................................................................................................................................... .................................... .............................................................................................. .......................................................................... ............................................................................................................................. ........................................... แหล่งทมี่ าของข้อมลู ............................................................................................................................. ........................................... ................................................................................. .......................................................................................
- ๕๙ - ใบความรู้ เร่ือง “การลงโทษทางสังคม” การลงโทษทางสังคม (Social Sanctions) คาว่า “การลงโทษโดยสังคม” หรือเรียกว่า “การลงโทษทางสังคม” ซ่ึงตรงกับภาษาอังกฤษคาว่า “Social Sanction” พจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยาฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2532 : 361 - 362) ได้ให้ความหมายของ คาว่า “Social Sanctions” เป็นภาษาไทยว่า สิทธานุมัติทางสังคม หมายถึง การขู่ว่าจะลงโทษหรือการ สัญญาว่าจะให้รางวัลตามที่กลุ่มกาหนดไว้สาหรับการประพฤติปฏิบัติของสมาชิกเพ่ือชักนาให้สมาชิกกระทา ตามขอ้ บงั คบั และกฎเกณฑ์ Radcliffe-Brown (1952 : 205) อธิบายการลงโทษโดยสังคมวา่ เป็นปฏิกริ ิยาตอบสนองทางสังคม อย่างหน่ึงและเป็นการแสดงออกถึงพฤติกรรมท่ีเป็นด้านตรงกันข้ามระหว่างการเห็นชอบกับการไม่เห็นชอบ พดู อีกอยา่ งหนึง่ กค็ อื การลงโทษโดยสังคมนน้ั มีคณุ ลักษณะวิภาษ (Dialectic) คือมีทั้งด้านบวกและด้านลบอยู่ ภายในความหมายของตวั เองสาหรบั การลงโทษโดยสังคมเชิงบวก (Positive Social Sanctions) จะอยู่ในรูป ของการให้การสนับสนุนหรือการสร้างแรงจูงใจฯลฯ ให้แก่ปัจเจกบุคคลและสังคมให้ประพฤติปฏิบัติให้ สอดคล้องกับปทัสถานของชุมชนหรือของสังคมจากการศึกษายังพบด้วยว่าการลงโทษโดยสังคมเชิงบวกน้ัน อาจเป็นการสร้างแรงจูงใจให้แก่สังคม เพ่ือยกระดับปทัสถานของสังคมในระดับท้องถิ่นให้ไปสอดคล้องกับ ปทัสถานใหม่ในระดบั ระหวา่ งประเทศ Whitmeyer (2002 : 630-632) กลา่ ววา่ การลงโทษโดยสงั คม มที ั้งเชิงบวกและเชิงลบ เป็นการ ทางานตามกลไกของสังคม การลงโทษโดยสังคมเป็นมาตรการควบคุมทางสังคมท่ีต้องการให้สมาชิกในสังคม ประพฤติปฏิบัติตามมาตรฐานหรือกฎเกณฑ์ที่สังคมยอมรับร่วมกัน เมื่อสมาชิกปฏิบัติตามก็จะมีการให้รางวัล เป็นแรงจูงใจ และลงโทษเมื่อสมาชิกไม่ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของสังคมและจะแสดงการไม่ยอมรับสมาชิกคน หนึ่งหรือกล่มุ คนกลุ่มหนึ่ง โดยสรุปแล้ว การลงโทษโดยสังคม (Social Sanction) หมายถึง ปฏิกิริยาปฏิบัติทางสังคม เป็น มาตรการควบคุมทางสังคมท่ีต้องการให้สมาชิกในสังคมประพฤติปฏิบัติตามมาตรฐานหรือกฎเกณฑ์ที่สังคม กาหนด โดยมีท้ังด้านลบและด้านบวก การลงโทษโดยสังคมเชิงลบ (Negative Social Sanction) เป็นการลงโทษ โดยการกดดนั และแสดงปฏกิ ริ ยิ าตอ่ ตา้ นพฤติกรรมของบุคคลที่ไม่ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของสังคม ทาให้บุคคล นั้นเกิดความอับอายขายหน้า สาหรับการลงโทษโดยสังคมเชิงบวกหรือการกระตุ้นสังคมเชิงบวก (Positive Social Sanction) เป็นการแสดงออกในเชิงสนับสนุนหรือให้รางวัลเป็นแรงจูงใจ เพื่อให้บุคคลในสังคมประพฤติ ปฏิบัติตามกฎเกณฑข์ องสังคม
- ๖๐ - การลงโทษทางสังคม เป็นการลงโทษกับบุคลท่ีปฏิบัติตนฝ่าฝืนกับธรรมเนียม ประเพณี หรือแบบ แผนที่ปฏิบัติต่อๆ กันมาในชุมชน มักใช้ในลักษณะการลงโทษทางสังคมเชิงลบมากกว่าเชิงบวก การฝ่าฝืน ดังกล่าวอาจจะไม่ผิดกฎหมาย แต่ด้วยธรรมเนียมที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาน้ันถูกละเมิด ถูกฝ่าฝืน หรือถูกดูหม่ิน เก่ียวกับความเชื่อของชุมชน ก็จะนาไปสู่การต่อต้านจากคนในชุมชน แม้ว่าการฝ่าฝืนดังกล่าวจะไม่ผิด กฎหมายกต็ าม และที่สาคญั ไปกว่าน้ัน หากการกระทาดงั กลา่ วผดิ กฎหมายดว้ ยแลว้ อาจสรา้ งใหเ้ กิดความไมพ่ อใจ ข้ึนได้ ไม่เพียงแต่ ในชุมชนนั้น แต่อาจเก่ียวเนื่องไปกับชุมชนอ่ืนรอบข้าง หรือเป็นชุมชนท่ีใหญ่ที่สุด น่ันคือ ประชาชนท้งั ประเทศซง่ึ การลงโทษทางสงั คมมที งั้ ด้านบวกและด้านลบ ดังนี้ การลงโทษโดยสังคมเชิงบวก (Positive Social Sanctions) จะอยู่ในรูปของการให้การสนับสนุน หรือการสร้างแรงจูงใจ หรือการให้รางวัล ฯลฯ แก่บุคคลและสังคม เพื่อให้ประพฤติปฏิบัติสอดคล้องกับ ปทสั ถาน (Norm) ของสงั คมในระดับชมุ ชนหรือในระดับสงั คม การลงโทษโดยสังคมเชิงลบ (Negative Social Sanctions) จะอยู่ในรูปแบบของการใช้มาตรการ ต่างๆ ในการจัดระเบียบสังคม เช่น การว่ากล่าวตักเตือน ซ่ึงเป็นมาตรการขั้นต่าสุดเรื่อยไปจนถึงการกดดัน และบีบค้ันทางจิตใจ (Moral Coercion) การต่อต้าน (Resistance) และการประท้วง (Protest) ในรูปแบบ ต่างๆ ไมว่ ่าจะโดยปจั เจกบคุ คลหรือการชุมนมุ ของมวลชน การลงโทษทางสังคมทางลบ จะสร้างให้เกิดการลงโทษต่อบุคคลที่ถูกกระทา การลงโทษประเภทนี้ เป็นลงโทษเพ่ือให้หยุดกระทาในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง และบุคคลที่ถูกลงโทษจะเกิดการเข็ดหลาบ ไม่กล้าท่ีจะทาในสิ่ง น้ันอีก การลงโทษประเภทนี้มีความรุนแรงแตกต่างกัน ตั้งแต่ การว่ากล่าวตักเตือน การนินทา การประจาน การชุมนุมขับไล่ ซ่ึงเป็นการแสดงออกถึงการไม่ทน ไม่ยอมรับต่อส่ิงท่ีบุคคลอื่นได้กระทาไป ดังนั้น เมื่อมีใครท่ี ทาพฤติกรรม เหล่าน้ันข้ึน จึงเป็นการสร้างให้เกิดความไม่พอใจแก่บุคคลรอบข้าง หรือสังคม จนนาไปสู่การ ต่อต้านดังกลา่ ว การลงโทษทางสังคมจะมีความรุนแรงมากหรือน้อย ก็ข้ึนอยู่กับการกระทาของบุคคลน้ันว่าร้ายแรง ขนาดไหน หากเป็นเรื่องเล็กน้อยจะถูกต่อต้านน้อย แต่หากเร่ืองน้ันเป็นเร่ืองร้ายแรง เร่ืองที่เกิดขึ้นประจา หรือมีผลกระทบต่อสังคม การลงโทษก็จะมีความรุนแรงมากข้ึนด้วย เช่น หากมีการทุจริตเกิดข้ึนก็อาจนาไป เป็นประเด็นทางสังคมจนนาไปสู่การต่อต้านจากสังคมได้ เพราะการทุจริตถือว่าเป็นส่ิงท่ีไม่ถูกต้อง ผิด กฎหมาย และผิดต่อศีลธรรม บ่อยครั้งที่มีการทุจริตเกิดข้ึนจนเป็นสาเหตุของการชุมนุมประท้วง เพ่ือกดดัน ขบั ไล่ให้บคุ คลน้ันหยุดการกระทาดังกลา่ ว หรือการออกจากตาแหน่งน้ันๆ หรือการนาไปสู่การตรวจสอบและ ลงโทษโดยกฎหมาย โดยในหัวข้อสุดท้ายของชุดวิชาน้ี ได้นาเสนอตัวอย่างท่ีได้แสดงออกถึงความไม่ทนต่อ การทุจริตท่ีมีการชุมนุมประท้วง บางเหตุการณ์ผู้ท่ีถูกกล่าวหาได้ลาออกจากตาแหน่ง ซึ่งการลาออกจาก ตาแหนง่ นัน้ ถอื เปน็ ความรับผิดชอบอย่างหน่งึ และเปน็ การแสดงออกถึงความละอายในส่งิ ที่ตนเองไดก้ ระทา
- ๖๑ - สลากสถานการณป์ ระกอบการทากจิ กรรม “ทุจริตแค่เรือ่ งสมมติ ถา้ ช่วยกันหยดุ ท้งั สังคม” ๑ แจกเงินซ้ือเสยี งรายหัว - กลมุ่ เปน็ ปฏบิ ตั ิการขนั้ สดุ ยอด (classic) โดยหัวคะแนนนาไปแจกจ่ายใหป้ ระชาชนก่อนวันเลือกตง้ั ราคาค่าหวั ข้ึนอยู่ กบั พน้ื ท่ีและองค์กร เช่น อบต.หรอื เทศบาลตาบล อาจแจกจ่ายหวั ละ ๑๐๐-๕๐๐ บาท เทศบาลใหญ่อาจมรี าคา หวั สงู ถึง ๑,๐๐๐ - ๒,๐๐๐ บาท สว่ นรายกลมุ่ นั้นประมาณกลุ่มละ ๒๐,๐๐๐ - ๓๐,๐๐๐ บาท (กล่มุ แม่บา้ น กลุ่มอาชีพ กลุ่มเยาวชน) ปัจจุบันหวั คะแนน ๑ คน จะรับผดิ ชอบจ่ายเงินให้ผมู้ ีสทิ ธิเลือกต้งั ทรี่ ูจ้ กั คุ้นเคยและ ไวใ้ จได้ประมาณ ๒๐ - ๕๐ คน เป็นการจ่ายเงนิ เฉพาะกลุม่ แบบหวังผล ส่วนการจ่ายเงินแบบปูพรมใหแ้ ก่ทกุ คน ปจั จบุ นั เหลอื น้อยเน่ืองจากเสีย่ งทจ่ี ะถูกรอ้ งคดั คา้ น ๒ จ้างเป็นผ้ชู ว่ ยหาเสียง/ตดิ ปา้ ย/แจกเอกสาร เปน็ วธิ ีการดูเหมอื นจะไม่นา่ จะมีผลตอ่ การเลอื กตงั้ แต่จรงิ ๆ เป็นไมเ้ ด็ดอกี อยา่ งหน่ึงท่ีนามาใช้ เพราะ การจา้ งแรงงานดังกลา่ ว มีการกระจายการจ้างงานจ้างคน เช่น จา้ งตดิ ป้ายหรอื แจกใบปลวิ หาเสยี งหมู่บ้านละ ๒๐ คนๆละ ๑๕๐ บาทต่อวนั ซ่งึ กลุ่มคนทถ่ี กู จ้างพร้อมด้วยบตุ ร ภรรยาและญาติพน่ี ้องก็จะเทคะแนนให้ผู้จ้าง เปน็ การซอื้ เสียงทางอ้อม เพื่อหลกี เล่ียงกฎหมาย ๓ พิมพ์ผลงานเก่าโชว์ วิธีการน้ีส่วนใหญ่จะเป็นการกระทาของผู้บริหารท้องถน่ิ กบั ทมี งานท่ีใกลค้ รบวาระแล้วจะสมคั รใหม่โดย ใชง้ บประมาณหลวง(งบของท้องถ่นิ ในรปู แบบของโครงการหรอื แผนงาน) พิมพเ์ ล่มรวมผลงานเก่า ๔ ปี หรือ ๘ ปี หรอื ๑๐ ปี ยอ้ นหลัง(แลว้ แตจ่ ะทา) หรอื พมิ พป์ ฏิทินของเทศบาล/อบต.โดยมีรปู ภาพของตนเองและหรอื ผลงานเก่าท่เี คยทามา(เฉพาะท่ดี ๆี เด่นๆ) เพ่อื ใหป้ ระชาชนเห็นเป็นท่ีประจกั ษช์ ดั แลว้ นาเอาเอกสารรวมผลงาน หรอื ปฏิทนิ ไปแจกจ่ายให้ประชาชนฟรหี วงั สรา้ งคะแนนนยิ ม บางครัง้ มีการจดั ทาป้ายขนาดใหญ่ทีม่ ภี าพของ ผู้บริหารทอ้ งถิน่ ไปติดต้ังตามสถานที่ตา่ งๆ เช่น ปา้ ยสวสั ดปี ใี หม่ ป้ายแสดงความยินดีในวาระตา่ งๆ ป้าย ประชาสัมพนั ธ์ของท้องถนิ่
- ๖๒ - ๔ ใบปลิว/ปลอ่ ยขา่ วสกปรก วธิ กี ารแบบนนี้ ้าเนา่ ท่สี ุดแต่ก็ได้ผลไมน่ ้อย เป็นการปล่อยขา่ วลือ ลวง ใส่ร้าย หรอื แฉเบ้ืองหนา้ เบอื้ งหลงั คู่แข่งขนั บางทีก็โจมตีการทางาน หรือการใส่รา้ ยแบบไม่มีมลู (แบบหนา้ ดา้ นๆ) การโจมตเี ร่อื งสว่ นตวั เช่น มภี รรยาหลายคน ชอบเท่ียว ชอบเล่นการพนนั ส่วนใหญ่จะพิมพแ์ ล้วถ่ายเอกสารโปรยตามถนน หรอื วาง ในทส่ี าธารณะในช่วงกลางคนื หรือบางครง้ั กก็ ระซิบผา่ นตัวผู้นาพดู ต่อไปเร่ือยๆ ๕ พาเทีย่ ว/ดงู าน วธิ กี ารน้ีส่วนใหญ่มาจากนกั การเมืองท่เี ปน็ ผ้บู ริหารเก่า ใช้งบประมาณหลวงขององคก์ รปกครองสว่ น ท้องถ่นิ เพ่ือจัดโครงการศึกษาดงู านนอกพนื้ ทใี่ ห้แก่กลมุ่ แม่บ้าน กลุม่ อาชีพ กลุ่มผ้สู ูงอายุ กล่มุ เยาวชน แต่จริงๆ แล้วไปเท่ียวทะเล ภูเขา รีสอร์ท หรอื ลอ่ งแกง่ กินเหลา้ เมาสาราญ กนิ ฟรเี ทีย่ วฟรี นอกจากนย้ี ังแถมเงนิ สดๆ ติด ไมต้ ิดมือใหด้ ว้ ย สว่ นใหญ่จะจัดในชว่ งทีใ่ กลค้ รบวาระการดารงตาแหนง่ ของผ้บู รหิ ารท้องถนิ่ ๖ ซ้ือผู้แข่งขันไมใ่ หล้ งแข่ง/ไม่ให้รอ้ งคดั คา้ น ก่อนสมัครรับเลอื กต้ังจะมีการตรวจสอบว่าใครจะสมัครบ้าง ถา้ มผี ้เู สนอตัวสมัครทีอ่ าจทาตนใหแ้ พ้การ เลือกตง้ั ได้ ก็จะมีการไปเจรจาจ่ายเงนิ ก้อนใหญเ่ พอื่ ตัดค่แู ข่ง ซ่ึงลงทุนทีเ่ ดยี วไม่ต้องลาบาก ราคาจ่ายก็แลว้ แต่ ตาแหนง่ หรอื พื้นที่ จากหลักหมนื่ ถึงหลกั ลา้ นกม็ ี อีกอย่างหนึ่งที่กาลังปรากฏในขณะน้ีคือ ผสู้ มคั รท่ชี นะการ เลือกตง้ั จะไปเจรจากบั ผู้ท่แี พ้การเลอื กตัง้ โดยยอมจา่ ยเงนิ ใหจ้ านวนหนง่ึ เพ่อื ไม่ให้ผู้สมัครทแ่ี พ้การเลือกตง้ั ร้อง คัดคา้ นผลการเลือกต้ัง ในกรณนี ีบ้ างแห่งมกี ารตกลงกนั ต้ังแต่ชว่ งการหาเสียงว่าให้ทุกคนใชย้ ุทธวธิ ีหาเสยี งไดท้ กุ รูปแบบโดยไมต่ ้องร้องคดั คา้ นกนั
- ๖๓ - แบบประเมินผลกิจกรรม “ทจุ รติ แคเ่ รือ่ งสมมติ ถ้าช่วยกนั หยุดท้ังสังคม” คาช้แี จง ทาเครื่อง ลงในชอ่ งว่างทตี่ รงกับความคดิ เห็น ประเมินผลกิจกรรมกลุ่มท่.ี .........เรื่อง.................................................................................ช้ัน................ เกณฑ์การประเมนิ ๕ หมายถึง ดมี าก ๔ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง พอใช้ ๓ หมายถงึ ปานกลาง ๑ หมายถงึ ควรปรับปรงุ ขอ้ ความ ระดบั การประเมิน ๕๔๓๒๑ เนื้อหา 1. เลือกใช้กระบวนการลงโทษทางสังคมได้เหมาะสม สอดคล้องกับ สถานการณท์ ไ่ี ดร้ บั 2. แสดงกระบวนการลงโทษทางสังคมได้เข้าใจ เป็นขนั้ ตอน ชัดเจน 3. แสดงใหเ้ ห็นถึงผลท่ตี ามมาของการลงโทษทางสงั คมตอ่ ผู้ทท่ี ุจริต 4. แสดงให้เหน็ ถงึ ผลกระทบต่อผู้ทเี่ กย่ี วข้อง 5. แสดงใหเ้ ห็นถึงความสมจรงิ ของบทบาททไี่ ด้รับ กระบวนการทางาน 6. วางแผนบทบาทให้แก่สมาชิกในกล่มุ อย่างเปน็ ระบบ 7. สมาชิกนอกกลมุ่ มสี ว่ นรว่ มในการสถานการณ์จาลองของกลุ่ม 8. สมาชกิ ทกุ คนมีสว่ นรว่ มในการทางาน การนาเสนอ ๙. การแสดงนา่ สนใจ สมจริง สรา้ งสรรค์ 1๐. รักษาเวลาในการแสดง เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 41 - 50 ดมี าก (ลงช่อื )..............................................ผูป้ ระเมิน (…………………………………………………) 31 - 40 ดี ............../................./................. 21 - 30 ปานกลาง 11 -20 พอใช้ 1-10 ควรปรบั ปรงุ
- ๖๔ - แผนการจดั การเรียนรู้ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ หนว่ ยท่ี ๒ ชอื่ หน่วย ความละอายและความไมท่ นต่อการทจุ รติ เวลา ๓ ช่วั โมง แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๓ เรอื่ ง กิจกรรมนกั เรยี น ๑. ผลการเรยี นรู้ ๑.๑ ปฏบิ ตั ติ นเป็นผู้ละอายและไม่ทนต่อการทจุ ริตทกุ รปู แบบ ๑.๒ ตระหนกั และเหน็ ความสาคัญของการต่อต้านและป้องกันการทุจรติ ๒. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๒.๑ นกั เรยี นสามารถบอกผลกระทบทีเ่ กดิ จากการทจุ ริตได้ ๒.๒ นกั เรียนสามารถจดั ทาโครงงานสร้างความตระหนกั และเห็นความสาคัญของการต่อต้านและ ป้องกนั การทุจรติ ในโรงเรียนผ่านกจิ กรรมนักเรียนได้ ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ ความรู้ ๑) ผลกระทบทเี่ กดิ จากการทุจรติ ๒) การจดั ทาโครงงานเพื่อสร้างความตระหนักและเหน็ ความสาคญั ของการต่อต้านและ ป้องกนั การทุจรติ ใน โรงเรียนผ่านกิจกรรมนักเรียนได้ ๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะท่เี กิดขน้ึ ) ๑) ความสามารถในการสื่อสาร ๒) ความสามารถในการคิด ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 3.3 คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ / ค่านิยม ๑) มงุ่ มน่ั ในการทางาน ๔. กจิ กรรมการเรียนรู้ ๔.๑ ขน้ั ตอนการเรยี นรู้ ช่วั โมงที่ ๑ ขน้ั นาเสนอ ๑) นักเรียนชมวิดโี อคลิป “มือสะอาด ชาติไม่ล่มจม” ซง่ึ เป็นการประกวดการพูดรณรงค์ ตอ่ ตา้ นการทจุ รติ ๒) นกั เรยี นทบทวนเร่ือง ประเภท/รูปแบบของการทุจรติ โดยครูเป็นผ้ซู ักถาม จากน้นั ครู เช่ือมโยงถงึ กิจกรรมในโรงเรยี นแลว้ ถามคาถามพฒั นาการคิด ตวั อย่างคาถาม - การเลือกตัง้ สภานักเรียน กิจกรรมกีฬาสีสมั พันธ์ กจิ กรรมวันสาคญั ตา่ ง ๆ กจิ กรรมเหล่านี้มโี อกาสที่นักเรียนจะประพฤติทจุ รติ ไดห้ รือไม่ อย่างไร (หมายเหตุ ครูอาจชแี้ นะเพม่ิ เตมิ คาตอบ หรือกลา่ วเชอื่ มโยงในหน่วยการเรียนร้เู ดมิ คือ เรือ่ งการคิดแยกแยะ ระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนกบั ผลประโยชน์ส่วนรวม) - ถ้าการทากิจกรรมต่าง ๆ ในโรงเรียนมีการทุจริตเกิดขนึ้ จะส่งผลต่อใคร อยา่ งไร
- ๖๕ - ๓) นักเรยี นแบง่ กลุ่มออกเป็น ๕ กล่มุ ทาแผนผังความคดิ ประเดน็ ผลกระทบที่เกิดจากการ ทจุ รติ ในการทากจิ กรรมในโรงเรียน กลุ่มที่ 1 ผลกระทบต่อตนเอง กลุ่มท่ี ๒ – ๓ ผลกระทบต่อโรงเรียน กลมุ่ ท่ี ๔ ผลกระทบต่อประเทศ กลุ่มที่ ๕ ผลกระทบตอ่ โลก ๔) นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มนาเสนอแผนผงั ความคดิ หนา้ ชั้นเรียน กลมุ่ ละ ๕ นาที ๕) นกั เรียนและครรู ว่ มกนั สรุปผลกระทบของการทจุ รติ โดยครูซักถามและเนน้ ยา้ ผลทจ่ี ะ เกิดข้นึ จากนัน้ นักเรยี นตอบคาถามดงั นี้ - นักเรียนคนอ่ืน ๆ ในโรงเรยี นจะรู้หรือไมว่ ่า การทุจริตเพียงเลก็ นอ้ ยกส็ ง่ ผล กระทบใหญห่ ลวงได้ (หากรู้ รู้ลกึ เพยี งใด) - ในฐานะท่นี กั เรียนเปน็ พ่ใี หญข่ องโรงเรยี น จะทาอยา่ งไรใหน้ ้อง ๆ และอาจ รวมถงึ เพ่ือน ครู และบุคลากรในโรงเรยี น ไดต้ ระหนักและเห็นความสาคญั ของการต่อต้านและป้องกันการ ทจุ ริตท่ีเกดิ ขน้ึ จากการทากจิ กรรมในโรงเรยี น ๖) ครูมอบหมายใหน้ ักเรยี นจัดทาโครงงาน กิจกรรมเพ่ือสร้างความตระหนกั และเหน็ ความสาคัญของการต่อตา้ นและปอ้ งกนั การทุจรติ ในโรงเรียน ช่ัวโมงที่ ๒ ขน้ั วางแผน ๗) นักเรียนรว่ มกันวางแผน ระดมความคิดหาขอ้ สรปุ ของกลุ่มเพ่ือนาไปปฏิบตั ิ โดยบันทึก ลงในใบกิจกรรมวางแผนการทาโครงงาน ทง้ั น้ีครเู ป็นผชู้ แ้ี นะ ใหค้ าแนะนาเพิม่ เติม คาถามสาหรับครเู พื่อช้แี นะนักเรียน - นกั เรียนสนใจประเดน็ ใดบ้าง ความถนัดของกล่มุ คืออะไร (กาหนดเน้ือหา) - นกั เรยี นทาหัวข้อนีเ้ พือ่ อะไร (กาหนดวัตถุประสงค์) - นกั เรียนมีวิธกี ารทาอย่างไร (กาหนดวิธีศกึ ษา/การทากิจกรรม) - นักเรียนต้องใช้เคร่ืองมือ/อุปกรณอ์ ะไร (กาหนดเคร่ืองมือ) - นกั เรียนจะศกึ ษาหรือค้นคว้าขอ้ มูลเพม่ิ เติมจากท่ใี ด (กาหนดแหลง่ ข้อมลู ) - กจิ กรรมโครงงานของนักเรียนจะทาใหเ้ กดิ ผลดอี ยา่ งไร (กาหนดผลท่ีคาดว่าจะได้รับ) - นักเรียนจะทราบได้อย่างไรว่ากิจกรรมของนักเรยี นไดผ้ ลตามท่ีคาดหวัง (กาหนดการวัด ประเมนิ ผล) - นกั เรียนจะนาเสนอ หรอื เผยแพร่ผลงานอย่างไร (กาหนดวธิ นี าเสนอผลงาน รายงาน) ขัน้ ปฏบิ ัติ ๘) นกั เรียนลงมอื ปฏบิ ัติทาโครงงานตามแผนทว่ี างไว้* *หมายเหตุ ขนั้ ตอนการปฏบิ ัติ นกั เรยี นจาเป็นต้องทานอกคาบเรียน ครูกาหนดระยะเวลาดาเนนิ โครงงาน ๓ สปั ดาห์ ช่ัวโมงท่ี ๓ ขั้นประเมนิ ผล ๙) นักเรียนนาเสนอผลการทาโครงงาน โดยนาเสนอตามแผนทนี่ ักเรยี นวางไว้ เชน่ ใชส้ ่อื เทคโนโลยปี ระกอบการนาเสนอ หรอื การจัดทาหนังสือเล่มเล็ก เปน็ ต้น
- ๖๖ - ๑๐) ขณะท่ีกลุ่มนักเรยี นกาลังนาเสนอ ครูและเพื่อนๆ กลุ่มอ่นื รว่ มกันประเมนิ โครงงาน ตามแบบประเมนิ ๑๑) นักเรยี นและครูรว่ มกนั วพิ ากษ์ สรปุ และประเมนิ ผลการจัดทาโครงงาน 4.2 สอ่ื การเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้ ๑) คลปิ วิดีโอ “มือสะอาด ชาติไมล่ ่มจม” ๒) ใบกจิ กรรมวางแผนการทาโครงการ ๓) แบบประเมนิ การปฏบิ ตั ิงานโครงงาน ๕.การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๕.๑ วธิ ีการประเมนิ ๑. ตรวจผลงานแผนผงั ความคดิ ๒. ตรวจผลงานโครงงาน ๓. สังเกตพฤติกรรม “มงุ่ มัน่ ในการทางาน” ๕.๒ เคร่อื งมอื ท่ใี ช้ในการประเมนิ ๓. แบบประเมินผลงานแผนผังความคดิ ๔. แบบประเมินการปฏบิ ัติงานโครงงาน ๕. แบบสงั เกตพฤติกรรม “มุ่งม่ันในการทางาน” ๕.๓ เกณฑ์การตัดสิน -นักเรียนผ่านการประเมินระดบั ดขี ้นึ ไป -นักเรียนผ่านการประเมินพฤติกรรมระดับดีขนึ้ ไป ถือวา่ ผ่าน ๖. บนั ทกึ หลังสอน ............................................................................................................................. ......................... ............................................................................................................................. .............................................. .................................................................................... ....................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. ลงชอื่ ................................................ ครูผู้สอน (.................................................)
- ๖๗ - 7. ภาคผนวก ใบกจิ กรรมวางแผนการทาโครงงาน คณะทางานกล่มุ ที.่ ...... หัวหน้าโครงงาน : ................................................................... รองหัวหน้าโครงงาน : ............................................................. เลขานุการ : ............................................................................. ผชู้ ่วยเลขานุการ : .................................................................... สมาชกิ : ....................................................................สมาชกิ : .................................................................... สมาชกิ : ....................................................................สมาชกิ : .................................................................... สมาชกิ : ....................................................................สมาชิก : .................................................................... ชอ่ื โครงงาน ........................................................................................................................................................ แนวคดิ /ทมี่ า/ความสาคญั ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................ วัตถุประสงค์ของโครงงาน ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. เป้าหมายเชิงปรมิ าณ ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ระยะเวลาดาเนินงาน .........................................................................................................................................
- ๖๘ - สถานท่ีดาเนินงาน ......................................................................................................................................... แหล่งข้อมูลศกึ ษาคน้ ควา้ .................................................................................................................................... ข้ันตอนการดาเนินงาน ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. วสั ด/ุ อุปกรณ์ ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. งบประมาณ ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. การติดตามและประเมนิ ผล ท่ี ตัวชว้ี ัดความสาเร็จ วธิ กี ารประเมิน เครอ่ื งมอื ทใ่ี ช้ประเมิน ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะได้รบั ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................
- ๖๙ - แบบสงั เกตแบบสังเกตพฤติกรรมคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ “มงุ่ ม่นั ในการทางาน” คาชี้แจง ทาเคร่ืองหมาย ในช่องท่ีตรงกับความเป็นจริงตามเกณฑก์ ารประเมิน เกณฑก์ ารประเมนิ (ใช้ข้อมูลจากการสังเกตตามสภาพจริงของครูผู้สอน) ทางานดว้ ยความเพยี ร ตัง้ ใจและรบั ผดิ ชอบ พยายาม และอดทนเพื่อให้ รวม เลขท่ี ช่อื - สกลุ ในการปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีการงาน งานสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย 4 3 21 4 321 1 2 3 4 ๕ เกณฑ์การใชค้ ะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ 4 คะแนน เทา่ กับ ดีมาก 3 คะแนน เทา่ กบั ดี ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 2 คะแนน เทา่ กับ พอใช้ 1 คะแนน เท่ากบั ปรบั ปรงุ 7 - 8 ดีมาก 5 - 6 ดี 3 - 4 พอใช้ 1 - 2 ปรบั ปรุง (ลงชื่อ)...................................ครูผู้ประเมนิ (…………………………………………………) ............../................./............
- ๗๐ - แบบประเมินผลงานแผนผังความคิด คาช้แี จง ทาเครื่องหมาย ลงในชอ่ งคะแนนตามเกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมิน ๔ หมายถึง ดีมาก ๓ หมายถงึ ดี ๒ หมายถงึ พอใช้ ๑ หมายถงึ ปรบั ปรงุ เลขท่ี ชอื่ - สกุล สรปุ ความรู้ครบถว้ น เชือ่ มโยงความรกู้ ับ รูปแบบเปน็ ไปตาม รวม ถกู ต้องทุกประเด็น ประสบการณ์ของตน หลกั การทาแผนผงั ไดถ้ ูกต้องตามลาดับ ความคดิ 432143214321 1 2 3 4 ๕ เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ (ลงชอ่ื )...................................ครผู ปู้ ระเมนิ (…………………………………………………) ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ............../................./................ 10 – 12 ดีมาก 7 – 9 ดี 4 – 6 พอใช้ 1 - 3 ปรับปรงุ
- ๗๑ - แบบประเมินการปฏบิ ตั ิงานโครงงาน ประเมนิ การปฏบิ ตั งิ านโครงงานกลุม่ ท.่ี .........เร่ือง...............................................................ช้ัน................ คาชีแ้ จง ทาเครอ่ื งหมาย ในชอ่ งว่าง ผู้ประเมิน ครู นักเรียน เกณฑ์การประเมิน ๕ หมายถึง ดมี าก ๓ หมายถึง ปานกลาง ๔ หมายถงึ ดี ๑ หมายถึง ควรปรับปรงุ ๒ หมายถงึ พอใช้ ข้อความ ระดับการประเมนิ ๕๔๓๒๑ เนอ้ื หาของโครงงาน 1. ความถูกตอ้ ง สมบูรณข์ องเนื้อหา 2. ความเหมาะสมในการใช้แนวคิด 3. เลอื กใช้กิจกรรมไดเ้ หมาะสม สอดคล้องกับวตั ถปุ ระสงค์ 4. เน้ือหามคี วามน่าเช่อื ถอื 5. ขอ้ สรปุ ของโครงงานบรรลวุ ตั ถุประสงคท์ ีต่ ั้งไว้ กระบวนการทางาน 6. วางแผนหน้าทีส่ มาชิกในกลมุ่ อยา่ งเปน็ ระบบ 7. ดาเนินงานตามแผนท่วี างไว้ 8. สมาชกิ ทุกคนมสี ว่ นรว่ มในการทางาน ๙. ศึกษาคน้ คว้าเพ่มิ เติมเพื่อปรับปรงุ /แก้ปัญหาการดาเนนิ งาน ๑๐.มกี ารประเมินผลการดาเนนิ งาน การนาเสนอโครงงาน ๑๑. สอ่ื ความหมาย ได้ชัดเจน 1๒. มีการเตรยี มความพรอ้ ม 1๓. รปู แบบการนาเสนอน่าสนใจ สรา้ งสรรค์ ๑๔. มกี ารสรปุ ท่ีชดั เจน ตรงประเด็น 1๕. รักษาเวลาในการนาเสนอ เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ (ลงช่ือ)..............................................ผู้ประเมนิ (…………………………………………………) ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ ............../................./................. 61 - 75 ดีมาก 46 - 60 ดี 31 - 45 ปานกลาง 16 -30 พอใช้ 1-15 ควรปรบั ปรงุ
- ๗๒ - หนว่ ยท่ี ๓ STRONG / จิตพอเพียงตา้ นทจุ รติ
- ๗๓ - แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ ๓ ช่อื หนว่ ย STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทจุ รติ ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑ เรื่อง ความพอเพียง ประสานเสียงตา้ นการทจุ รติ เวลา ๒ ช่วั โมง ๑. ผลการเรียนรู้ มีความรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกับ STRONG / จติ พอเพยี งต้านการทุจริต ๒. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๒.๑ นักเรียนมีความร้คู วามเข้าใจ เรื่อง ความพอเพยี งกบั การตอ่ ต้านการทจุ ริต ๒.๒. นักเรยี นสามารถประยกุ ตใ์ ชค้ วามพอเพียงเพื่อต่อตา้ นการทุจริต ๒.๓ ยกตวั อย่างเหตกุ ารณ์การใช้ความพอเพียงตอ่ ต้านการทจุ รติ ในชีวิตประจาวันได้ ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ ความรู้ ๑) ความพอเพียงกับการต่อต้านการทุจรติ ๒) การประยุกตใ์ ช้ความพอเพียงเพื่อต่อตา้ นการทุจรติ ๓) เหตกุ ารณ์การใชค้ วามพอเพยี งต่อต้านทุจริต ๓.๒ ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทีเ่ กิด) ๑) ความสามารถในการคิด ๒) ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต ๓.๓ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ / ค่านยิ ม ๑) ซ่ือสัตย์ สจุ รติ ๒) อยู่อย่างพอเพยี ง ๔. กจิ กรรมการเรียนรู้ ๔.๑ ข้นั ตอนการเรยี นรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ๑) นกั เรียนดคู ลปิ วิดโี อภาพยนตรส์ ้นั โรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. เร่อื ง เลอื ก แล้วตอบคาถาม ต่อไปนี้ - จากเร่อื ง หลานทาพฤติกรรมใด เพราะเหตุใดหลานจึงทาเช่นนัน้ - นักเรียนเหน็ ด้วยหรอื ไม่กับความคดิ ของหลานที่จะนาเงินทีไ่ ด้ไปซ้ือขา้ วหรือกล่อง ดนิ สอ - นักเรียนคดิ ว่า การที่หลานเลือกตัดสนิ ใจดังกล่าวในตอนทา้ ยถกู ต้องหรือไม่ อย่างไร ๒) แบง่ กลุ่มนักเรียน กลมุ่ ละ ๔ – ๕ คน จากน้นั ให้นักเรยี นศึกษาใบความรู้ “ความ พอเพียงกบั การต่อต้านการทุจรติ ” แล้วตอบคาถามลงในใบงานเรื่อง “ความพอเพยี ง ประสานเสียง ตา้ นความทุจริต” ๑๕ นาที ๓) นักเรียนและครูร่วมกนั พจิ ารณาความถูกต้องของคาตอบ จากนัน้ นักเรยี นและครูร่วมกัน สรปุ ในประเดน็ ความพอเพยี งกบั การต่อต้านการทจุ รติ
- ๗๔ - ช่ัวโมงท่ี ๒ ๔) นกั เรยี นแต่ละกลุม่ รว่ มกนั คดิ การประยุกต์ใชค้ วามพอเพียงเพื่อต่อต้านการทจุ รติ โดยทา ลงในใบกจิ กรรม เรอ่ื ง “พอเพียงเรยี นรู้ สูก่ ารปฏิบัติ” ๑๕ นาที จากน้นั นักเรยี นและครูร่วมกันสรปุ องค์ความรู้จากการทาใบกจิ กรรม ๕) ส่มุ นกั เรียน ๑ - ๒ คน ยกตวั อยา่ งเหตกุ ารณ์การใชค้ วามพอเพยี งตอ่ ตา้ นทจุ ริตใน ชีวติ ประจาวัน นักเรยี นและครรู ่วมกันตอบคาถามว่า จากเหตกุ ารณข์ ้างต้นเปน็ การต้านการทุจรติ อย่างไร ๖) นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ชว่ ยกันยกตวั อยา่ งเหตุการณ์ใชค้ วามพอเพยี งต่อต้านทจุ รติ ใน ชวี ติ ประจาวัน จากนน้ั ครูและนกั เรียนรว่ มกนั สรปุ ๔.๒ สอ่ื การเรียนรู้ / แหล่งการเรยี นรู้ ๑) คลปิ วดิ ีโอภาพยนตร์ส้ันโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. เร่อื ง เลือก ๒) ใบความรู้ “ความพอเพยี งกับการต่อต้านการทุจริต” ๓) ใบงาน เรอื่ ง “ความพอเพียง ประสานเสยี งต้านความทุจรติ ” ๔) ใบกจิ กรรม เรื่อง “พอเพียงเรียนรู้ ส่กู ารปฏบิ ตั ิ” ๕.การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๕.๑ วธิ กี ารประเมิน ๑) ตรวจใบงาน เรือ่ ง “ความพอเพยี ง ประสานเสยี งต้านความทจุ รติ ” ๒) ตรวจใบกจิ กรรม เร่ือง “พอเพยี งเรยี นรู้ สูก่ ารปฏบิ ัติ” ๓) สังเกตพฤติกรรมอยู่อย่างพอเพยี ง ๕.๒ เครื่องมือทใ่ี ชใ้ นการประเมิน ๑) แบบใหค้ ะแนนใบงานการเรยี นรู้ “ความพอเพยี ง ประสานเสยี งตา้ นความทุจริต” ๒) แบบให้คะแนนใบงานการเรยี นรู้ “พอเพยี งเรยี นรู้ ส่กู ารปฏิบตั ิ” ๓) แบบสังเกตพฤติกรรมอยู่อย่างพอเพียง ๕.๓ เกณฑ์การตัดสนิ -ผา่ นเกณฑ์การประเมินไดค้ ะแนนระดับดีขนึ้ ไป ถือวา่ ผ่าน -ผ่านเกณฑ์การประเมินพฤติกรรมระดับดีขนึ้ ไป ถือว่า ผ่าน ๖. บันทึกหลงั สอน ............................................................................................................................. ............................ ............................................................................................................................. .............................................. .................................................................................. ......................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ลงชื่อ ................................................ ครผู ู้สอน (.................................................)
- ๗๕ - ๗. ภาคผนวก ใบความรู้ “ความพอเพยี งกับการต่อตา้ นการทจุ รติ ” ความพอเพียง (sufficient) พระราชดารัสพระราชทานแก่บุคคลต่างๆ ที่เข้าเฝ้าฯ ถวายชัยมงคลเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระ ชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลัย สวนจติ รลดาฯ พระราชวงั ดุสติ วันศุกร์ท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑ “...คาว่าพอเพียง มีความหมายกว้างออกไปอีก ไม่ได้หมายถึงการมีพอสาหรับใช้ของตัวเอง มี ความหมายวา่ พอมี พอกิน พอมีพอกนิ นี้ ถ้าใครได้มาอยูท่ ีน่ ่ี ในศาลานี้เม่ือ ๒๔ ปี ๒๕๑๗ ถึง ๒๕๔๑ ก็ ๒๔ ปี ใช่ไหม วันน้ันได้พูดถึงว่า เราควรจะปฏิบัติให้พอมีพอกิน พอมี พอกินนี้ก็แปลว่าเศรษฐกิจพอเพียงนั่นเองถ้า แตล่ ะคนพอมี พอกนิ ก็ใช้ได้ ยงิ่ ถา้ ทง้ั ประเทศพอมพี อกินกย็ ิง่ ดแี ละประเทศไทยก็เวลานั้น ก็เร่ิมจะเป็นไม่พอมี พอกิน บางคนก็มีมาก บางคนก็ไม่มีเลย สมัยก่อนน้ีพอ มีพอกิน มาสมัยน้ีชักจะไม่พอมีพอกิน จึงต้องมี นโยบายทจ่ี ะทาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพ่ือทจ่ี ะใหท้ กุ คนมพี อเพยี งได.้ ..” “...คาว่าพอก็เพียง พอเพียงนี้ก็พอดังนั้นเอง คนเราถ้าพอในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย เม่ือมี ความโลภน้อย ก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย ถ้าทุกประเทศใดมีความคิด อันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจ มีความคิดว่า ทาอะไร ต้องพอเพียง หมายความว่า พอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข พอเพียงนี้อาจจะมี มาก อาจจะมขี องหรูหราก็ได้ แต่ว่าตอ้ งไม่ไปเบียดเบียนคนอื่น ต้องให้พอประมาณ พูดจาก็พอเพียง ทาอะไร ก็พอเพียง ปฏบิ ัตติ นก็พอเพยี ง…” “...อย่างเคยพูดเหมือนกนั ว่า ท่านทั้งหลายท่นี ง่ั อยู่ตรงนี้ ถ้าไม่พอเพยี งคอื อยากจะไปน่ังบนเก้าอ้ีของ ผู้ที่อยู่ข้างๆ อันนั้นไม่พอเพียงและทาไม่ได้ ถ้าอยากนั่งอย่างน้ันก็เดือดร้อนกันแน่เพราะว่าอึดอัด จะทาให้ ทะเลาะกนั และเมอื่ มกี ารทะเลาะกันกไ็ ม่มีประโยชนเ์ ลย ฉะนัน้ ควรท่ีจะคิดวา่ ทาอะไรพอเพยี ง...” “...ถา้ ใครมคี วามคดิ อย่างหนึ่งและต้องการให้คนอ่ืนมีความคิดอย่างเดียวกับตัวซ่ึงอาจจะไม่ถูก อันน้ี ก็ไม่พอเพียง การพอเพียงในความคิดก็คือแสดงความคิด ความเห็นของตัวและปล่อยให้อีกคนพูดบ้างและ มาพิจารณาว่าท่ีเขาพูดกับที่เราพูด อันไหนพอเพียงอันไหนเข้าเร่ือง ถ้าไม่เข้าเร่ืองก็แก้ไขเพราะว่าถ้าพูดกัน โดยทไี่ ม่รเู้ รอ่ื งกนั ก็จะกลายเป็นการทะเลาะ จากการทะเลาะดว้ ยวาจากก็ ลายเปน็ การทะเลาะด้วยกาย ซึ่งใน ที่สุดก็นามาสู่ความเสียหาย เสียหายแก่คนสองคนที่เป็นตัวการ เป็นตัวละครท้ังสองคน ถ้าเป็นหมู่ก็เลยเป็น การตกี ันอย่างรนุ แรง ซ่ึงจะทาให้คนอ่ืนอีกมากเดือดร้อน ฉะน้ัน ความพอเพียงนี้ก็แปลว่า ความพอประมาณ และความมเี หตุผล...” สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้ประมวลและกลั่นกรองจาก พระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เร่ืองเศรษฐกิจพอเพียง และขอพระราชทาน พระบรมราชานุญาตนาไปเผยแพร่ ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาปรับปรุง แก้ไขและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานพระบรมราชานุญาตตามท่ีขอพระมหา กรุณาโดยมใี จความว่า “เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาช้ีถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ต้ังแต่ ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ท้ังในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสาย กลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพ่ือให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความ
- ๗๖ - พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นท่ีจะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดีพอสมควร ต่อการมี ผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความ รอบคอบ และความระมัด ระวังอย่างย่ิงในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุก ข้ันตอน และขณะเดยี วกันจะต้องเสริมสรา้ งพ้ืนฐานจติ ใจของคนในชาติ คุณลกั ษณะที่สาคญั ของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งประกอบดว้ ย 3 หว่ ง 2 เง่ือนไข คือแนวทาง การดาเนินชีวติ ให้อยู่บนทางสายกลางตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพ่ือพน้ จากภัยและวิกฤติการณ์ต่าง ทีเ่ กดิ ข้ึนก่อให้เกดิ คุณภาพชีวิตท่ีดอี ยา่ งมน่ั คงและยงั่ ยืน ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดีต่อความจาเปน็ ไม่มากเกินไป ไม่น้อย เกินไปและต้องไมเ่ บียดเบียนตนเองและผ้อู ื่น ความมีเหตุผล หมายถึง การตดั สนิ ใจดาเนนิ การเร่ืองตา่ งๆ อย่างมเี หตุผลตาม หลักวิชาการ หลักกฎหมาย หลักศลี ธรรม จริยธรรมและวฒั นธรรมท่ดี ีงาม คดิ ถงึ ปัจจยั ที่เกี่ยวข้องอยา่ งถ่ถี ้วน โดยคานงึ ถงึ ผลทีค่ าดว่าจะเกิดข้นึ จากการกระทาน้ันๆ อยา่ งรอบคอบ มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการ เปล่ียนแปลงดา้ นเศรษฐกิจ สังคม สง่ิ แวดลอ้ มท่ีจะเกดขนึ้ เพ่อื ใหส้ ามารถปรับตวั และรบั มอื ได้อยา่ งทนั ทว่ งที เงือ่ นไขในการตัดสินใจในการดาเนินกิจกรรมตา่ งๆ ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ๑. เง่ือนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องรอบด้าน ความรอบคอบทีจ่ ะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพ่ือประกอบการวางแผนและความระมัดระวัง ในการปฏบิ ัติ ๒. เงอ่ื นไขคณุ ธรรม ทีจ่ ะต้องเสรมิ สร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนกั ใน คณุ ธรรม มี ความซอ่ื สตั ยส์ ุจริตและมีความอดทน มคี วามเพียร ใชส้ ติปัญญาในการดาเนนิ ชีวิต ที่มา : สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ *หมายเหตุ ศกึ ษาข้อมูลเพิ่มเติมศูนยส์ ถานศกึ ษาพอเพยี ง มลู นิธยิ ุวสถริ คุณ
- ๗๗ - ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางดาเนินชีวิตทางสายกลาง การพ่ึงตนเอง รู้จักประมาณตน อย่างมเี หตุผล อยู่บนพื้นฐานความรู้และคุณธรรมในการพิจารณา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงดาเนินการไม่ได้ เฉพาะเจาะจงในเรื่องของเศรษฐกิจแต่เพียงอย่างเดียวแต่ยังครอบคลุมไปถึงการดาเนินชีวิตด้ านอ่ืนๆของ มนุษย์ให้อยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างปกติสุข อย่างเช่น หากเรามีความพอเพียง เราจะไม่ทุจริต คดโกง ไม่ลัก ขโมยของ เบยี ดเบยี นผอู้ ื่น ก็จะส่งผลใหผ้ ้อู ืน่ ไม่เดือดรอ้ น สงั คมกอ็ ย่ไู ดอ้ ย่างปกตสิ ขุ การตอ่ ตา้ นการทจุ ริต การทุจริต (Corruption) หมายถึง การใช้อานาจท่ีได้มาหรือการใช้ทรัพย์สินที่มีอยู่ในทางมิชอบ เพ่ือ ประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว เพ่ือน คนรู้จัก หรือประโยชน์อ่ืนใดอันมิควรได้ ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายต่อ ประโยชน์ของผู้อื่น การทุจริตอาจเกิดได้หลายลักษณะ เช่น การติดสินบนเจ้าพนักงานด้วยการให้หรือการรับ สินบนทั้ง ท่ีเป็นเงินและสิ่งของ การมีผลประโยชน์ท้ับซ้อน การฟอกเงิน การยักยอก การปกปิดข้อเท็จจริง การ ขัดขวางกระบวนการยุติธรรม เปน็ ตน้ บริษัทและบริษัทย่อยได้ตระหนักและให้ความสาคัญในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปช่ัน ซ่ึงท่ีผ่านมา บริษัทได้กาหนด แนวทางในการประพฤติปฏิบัติท่ีเหมาะสมของ คณะกรรมการ ฝ่ายบริหาร และพนักงาน ใน จรรยาบรรณทางธุรกิจและกาiรกากับดูแลกิจการ นอกจากน้ัน บริษัทได้คานึงถึงความเสียหายท่ีจะเกิดจากการ ทุจริตคอร์รัปชั่น จึงได้กาหนดนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น โดยห้ามกรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน และ ลูกจ้างของบริษัทและบริษัทย่อย กระทาการอันใดที่ เก่ียวข้องกับการทุจริตคอรัปชั่นทุกรูปแบบ เพื่อประโยชน์ ทางตรงหรือทางอ้อมต่อตนเอง ครอบครัว เพ่ือน และคนรู้จัก ไม่ว่าตนจะอยู่ในฐานะผู้รับหรือผู้ให้ ทั ง้ ที่เป็นตัว เงินหรือที่ไม่เป็นตัวเงิน แก่หน่วยงานของรัฐ หรือหน่วยงานเอกชน ที่บริษัทและบริษัทย่อยได้ดาเนินธุรกิจ หรือ ติดต่อดว้ ย โดยมแี นวทางปฏิบตั ิ ดงั นี ้ ๑. สร้างวัฒนธรรมองค์กรท่ซี ่อื สตั ยแ์ ละยดึ ม่นั ในความเป็นธรรม ๒. ไมร่ ับสนิ บนหรือติดสินบน แก่ผู้มีส่วนได้เสียในเร่ืองที่ตนทาหน้าที่รับผิดชอบท้ัง โดยตรงหรือโดย ออ้ ม เพ่อื ให้ไดม้ าซง่ึ ประโยชนใ์ นทางมชิ อบ ๓. ในการจัดซ้ือจัดจ้าง / การจ่ายค่าคอมมิชช่ัน ต้องดาเนินการผ่านขั้นตอนตามระเบียบของบริษัท มคี วามโปร่งใสสามารถ ตรวจสอบได้ ๔. หลีกเลี่ยงความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ซึ่งอาจนามาซ่ึงการทุจริตคอร์รัปช่ัน เช่น ไม่ถือหุ้นใน บริษัทคู่แข่ง หลีกเล่ียงการใช้ ข้อมูลภายใน เพ่ือประโยชน์ของตนในการซ้ือ หรือขายหุ้นของบริษัท หรือให้ ขอ้ มูลภายในแกผ่ อู้ ่นื ๕. มคี วามรบั ผิดชอบต่อการจัดทารายงานทางการเงินที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน ตามมาตรฐานการ บัญชีทรี่ ับรอง ทัว่ ไป ๖. จัดให้มีระบบการควบคุมภายในที่รัดกุมมีประสิทธิภาพ และมีการประเมินความเพียงพอของ ระบบการควบคุมภายในทุกปี ทั้งนี้บริษัทได้มีการว่าจ้างบริษัทภายนอก (Outsource) ทาหน้าท่ีเป็นผู้ ตรวจสอบภายใน เพื่อประเมินความเส่ียงและรายการที่ ผิดปกติ โดยจะนาเสนอผลการตรวจสอบภายในต่อ คณะกรรมการตรวจสอบอย่างนอ้ ยทุกๆ ๓ เดอื น ๗. หากพบเห็นการกระทาท่เี ข้าข่ายการทจุ รติ ท่ีมีผลเก่ียวข้องกับบริษัทท้ังทางตรงหรือทางอ้อม ควร แจ้งให้ประธาน เจ้าหน้าท่ี บริหารทราบทันที โดยบริษัทจะรักษาความลับของผู้แจ้งหรือร้องเรียนการทุจริต เพื่อใหท้ กุ คนในองค์กรได้รบั ทราบนโยบายการ ตอ่ ตา้ นทุจริตคอรร์ ปั ชน่ั บริษทั จะเผยแพรน่ โยบายดังกล่าว
- ๗๘ - ใบงาน เร่ือง “ความพอเพยี ง ประสานเสียงต้านความทุจริต” คาช้ีแจง ศึกษาใบความรู้ เรื่อง ความพอเพียงกบั การต่อตา้ นการทจุ ริต แลว้ ตอบคาถามต่อไปน้ี ๑. ความพอเพียง หมายถึง ............................................................................................................................. .............................................. ........................................................................................................................................................................... ๒. “ ๓ ห่วง ๒ เงือ่ นไขละ 4 มติ ิ คอื อะไร ประกอบดว้ ยอะไรบ้าง จงอธบิ ายพอสงั เขป ............................................................................................ ............................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ................................................................................................................................... ........................................ ........................................................................................... ................................................................................ ............................................................................................................................. .............................................. .................................................................................................................................. ......................................... ๓. การตา้ นการทุจรติ หมายถึง ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ๔. จงบอกวธิ กี ารต้านการทุจริตมากลุ่มละ ๓ วิธี พรอ้ มอธิบายพอสงั เขป ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. ........................................................................................................................................................................... ชอ่ื กลมุ่ ............................................ ๑. ....................................................................ชน้ั ........................เลขท.่ี ......................... ๒. ....................................................................ชัน้ ........................เลขท่.ี ......................... ๓. ....................................................................ชนั้ ........................เลขท่ี.......................... ๔. ....................................................................ช้ัน........................เลขที่.......................... ๕. ....................................................................ชน้ั ........................เลขท.่ี .........................
- ๗๙ - ใบงานการเรยี นรู้ “พอเพียงเรยี นรู้ ส่กู ารปฏบิ ตั ิ” คาช้ีแจง ใหน้ ักเรียนชว่ ยกนั ระดมความคดิ จะนาหลักความพอเพยี งลงส่กู ารปฏิบัติ แลว้ เตมิ คาลงในช่องวา่ ง ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ....... ....... พอเพียงเรียนรู้ ส่กู ารปฏิบตั ิ ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ....... ....... ช่ือกลมุ่ ............................................ ๑. ....................................................................ชนั้ ........................เลขที่.......................... ๒. ....................................................................ชั้น........................เลขท.่ี ......................... ๓. ....................................................................ชน้ั ........................เลขท่.ี ......................... ๔. ....................................................................ชัน้ ........................เลขท.่ี ......................... ๕. ....................................................................ช้นั ........................เลขที.่ ........................
- ๘๐ - แบบใหค้ ะแนนใบงานและใบกจิ กรรม ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๖ /...... ช่ือกลมุ่ ....................... รายการประเมิน ท่ี กลุ่มที่ รวม ความถูกต้อง การส่ือสารชดั เจน มีความพร้อม มกี ารใช้ ตรงตามประเดน็ เขา้ ใจง่าย ในการนาเสนอ กระบวนการกลมุ่ 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 16 คะแนน เกณฑก์ ารใชค้ ะแนน เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ 4 คะแนน เท่ากบั ดีมาก 3 คะแนน เทา่ กับ ดี ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 2 คะแนน เทา่ กบั พอใช้ 1 คะแนน เทา่ กับ ปรบั ปรงุ 13 - 16 ดมี าก 9 - 12 ดี 5 - 8 พอใช้ 0 - 4 ปรบั ปรงุ
- ๘๑ - แบบสังเกตแบบสังเกตพฤติกรรม “อยู่อยา่ งพอเพยี ง” คาช้แี จง ทาเคร่ืองหมาย ในชอ่ งทตี่ รงกับความเป็นจริงตามเกณฑก์ ารประเมนิ เลขที่ ชือ่ - สกุล 1.ใช้ 2.ใช้ 3.ปฏบิ ัติตน 4.ไม่เอา รวม ผลการประเมนิ ทรัพย์สนิ ของ ทรพั ยากร และตัดสินใจ เปรียบผ้อู ่ืน คะแนน ผา่ น ไม่ผ่าน ตนเองอย่าง ของสว่ นรวม ดว้ ยความ และไมท่ าให้ ประหยดั รอบคอบมี ค้มุ ค่าและ อย่าง ผอู้ ืน่ เก็บรกั ษา ประหยดั เหตุผล เดอื ดรอ้ น ดูแลอย่างดี คุม้ คา่ และ พร้อมใหอ้ ภัย รวมทง้ั การใช้ เก็บรักษา เมอ่ื ผอู้ น่ื ทา ดแู ลอยา่ งดี เวลาอยา่ ง ผดิ พลาด เหมาะสม 4321432143214321 เกณฑ์การใช้คะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ 4 คะแนน เท่ากบั ดีมาก 3 คะแนน เท่ากับ ดี ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 2 คะแนน เทา่ กับ พอใช้ 1 คะแนน เทา่ กบั ปรับปรงุ 7 - 8 ดมี าก 5 - 6 ดี 3 - 4 พอใช้ 1 - 2 ปรับปรงุ (ลงชอื่ )...................................ครูผปู้ ระเมิน (…………………………………………………) ............../................./.................
- ๘๒ - แผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๖ เวลา 2 ชัว่ โมง หนว่ ยที่ ๓ ชือ่ หน่วย STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทจุ รติ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๒ เร่ือง โปรง่ ใส ใจสะอาด ต้านการทจุ รติ ๔. ผลการเรียนรู้ ๑) มคี วามรูค้ วามเข้าใจเกย่ี วกบั STRONG / จติ พอเพียงต้านการทุจรติ ๒) ปฏิบัตติ นเป็นผ้ทู ี่ STRONG / จิตพอเพยี งตา้ นการทุจรติ ๕. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๒.๑ นกั เรียนมีความร้คู วามเข้าใจ เรอ่ื ง ความโปรง่ ใสกบั การตอ่ ต้านการทจุ รติ ๒.๒ นักเรยี นสามารถยกตวั อย่างเหตุการณ์การใชค้ วามความโปร่งใสตอ่ ต้านการทุจริตใน ชีวติ ประจาวนั ได้ ๒.๓ นกั เรียนสามารถปฏิบตั ติ นเป็นผู้ทีม่ คี วามโปร่งใสเพือ่ ต่อตา้ นการทุจริตได้ ๖. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ ความรู้ ๑) ความโปร่งใสกบั การตอ่ ต้านการทุจริต ๒) เหตุการณ์การใชค้ วามความโปรง่ ใสต่อตา้ นการทุจริต ๓) แนวการปฏบิ ัติตนเป็นผทู้ ่ีมีความโปร่งใสเพ่ือต่อต้านการทุจรติ ๓.๒ ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กดิ ) ๑) ความสามารถในการคิด ๒) ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต ๓.๓ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ / คา่ นิยม ซอื่ สตั ย์ สุจรติ ๔. กิจกรรมการเรียนรู้ ๔.๑ ข้ันตอนการเรียนรู้ ชัว่ โมงท่ี 1 ๑) ครูให้นกั เรียนดูคลิปวดิ โี อ เร่ือง หลักความโปร่งใส https://www.youtube.com/watch? v=AYI3oldTIH)I แล้วตอบคาถามต่อไปน้ี - จากเรือ่ งข้างตน้ มีปัญหาอะไรเกิดขึ้น - ทาไมชาวบา้ นถึงทาพฤติกรรมเชน่ นน้ั - คุณเกียรตแิ ละคณะ แก้ไขปัญหานอี้ ยา่ งไร - นักเรยี นได้รับข้อคิดอะไร จากนั้นครูและนกั เรยี นขว่ ยกันสรปุ เน้ือหาจากการดคู ลปิ วิดีโอ (แนวคาตอบ ชาวบา้ นประทว้ งการติดตงั้ เสาไฟฟา้ ตัวแทนจาก กฟผ. จึงเข้ามาสรา้ งความ เขา้ ใจให้แก่ชาวบา้ น ดงั นัน้ ความโปร่งใส หมายถงึ การมองเหน็ ภาพโดยตลอดปราศจากประเดน็ แอบแฝง ซ่อนเร้น มีข้อมูลชดั เจน ละเอียด ประกอบการประสานงาน การรว่ มมอื ร่วมใจและการ ตดั สินใจทาให้เราสบายใจและเข้าใจกนั ทุกฝา่ ย)
- ๘๓ - ชั่วโมงที่ 2 ๒) แบง่ กลุม่ นักเรยี น กลุ่มละ ๔ – ๕ คน จากนั้นครูใหน้ ักเรียนดคู ลิปวดิ โี อ เรอื่ ง สโมสร สุจรติ ตอน บคุ คลต้นแบบความโปร่งใส รว่ มกนั ระดมความคดิ ว่าบคุ คลต้นแบบความโปร่งใสตอ้ งมี คณุ สมบัติอย่างไร แล้วนาเสนอหน้าชนั้ เรยี น (ให้เวลาในการนาเสนอ 5 นาที) ๓) นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มทาแผนผงั ความคดิ เรื่อง “จากแบบแผน สกู่ ารปฏิบัติ” แล้วครแู ละ นักเรยี นชว่ ยกันสรุป (ให้เวลาในการนาเสนอ 10 นาที) (แนวคาตอบ ตนเองตอ้ งเปน็ ผูม้ ีคุณธรรม ยึดมัน่ ในระเบียบวินยั ถ้าเปน็ หวั หน้า ตอ้ งเปน็ แบบอยา่ งท่ีดแี ก่ลูกนอ้ ง ถา้ เป็นลกู นอ้ งกป็ ฏิบตั ิตนใหถ้ ูกตอ้ ง ไม่เหน็ แก่ผลประโยชน์ ควรรักองค์กร และรักษาผลประโยชน์ขององค์กร) ๔.๒ สอ่ื การเรียนรู้ / แหล่งการเรยี นรู้ ๑) คลิปวดิ โี อ เรื่อง หลกั ความโปรง่ ใส ๒) คลปิ วดิ โี อ เรือ่ ง สโมสรสุจรติ ตอน บคุ คลต้นแบบความโปร่งใส ๓) แผนผงั ความคดิ เรื่อง “จากแบบแผน สู่การปฏบิ ัติ” ๕.การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๕.๑ วิธกี ารประเมนิ -ตรวจผลงาน เรื่อง “จากแบบแผน สูก่ ารปฏบิ ตั ิ” -สังเกตพฤติกรรมซ่ือสตั ย์สุจริต ๕.๒ เครอื่ งมือทใี่ ช้ในการประเมนิ -แบบให้คะแนนผลงาน เรอื่ ง “จากแบบแผน สกู่ ารปฏบิ ัติ” -แบบสงั เกตพฤติกรรมซ่ือสตั ย์สจุ รติ ๕.๓ เกณฑก์ ารตัดสิน -ผ่านเกณฑ์การประเมิน ไดค้ ะแนนระดบั ดี ถือว่า ผา่ น -ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ พฤติกรรมระดบั ดี ถอื ว่า ผา่ น ๖. บนั ทึกหลงั สอน ............................................................................................................................. ............................ ...................................................................................................... ..................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ลงชอื่ ................................................ ครูผสู้ อน (.................................................)
- ๘๔ - ๗. ภาคผนวก แบบให้คะแนนการตรวจผลงานแยกแยะระหว่างจรยิ ธรรมและการทุจรติ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๖ /...... กลุม่ ที.่ ...................... รายการประเมิน ที่ กลุ่มที่ รวม ความถกู ตอ้ ง การสอื่ สารชัดเจน มคี วามพร้อม มกี ารใช้ ตรงตามประเด็น เข้าใจงา่ ย ในการนาเสนอ กระบวนการกลมุ่ 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 16 คะแนน เกณฑก์ ารใช้คะแนน เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ 4 คะแนน เทา่ กับ ดมี าก 3 คะแนน เท่ากับ ดี ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 2 คะแนน เทา่ กับ พอใช้ 1 คะแนน เท่ากบั ปรบั ปรงุ 13 - 16 ดีมาก 9 - 12 ดี 5 - 8 พอใช้ 0 - 4 ปรับปรุง
- ๘๕ - แบบสังเกตแบบสังเกตพฤติกรรม “ซ่ือสัตยส์ ุจรติ ” คาช้แี จง ทาเครื่องหมาย ในช่องทตี่ รงกับความเป็นจรงิ ตามเกณฑ์การประเมนิ 2. ปฏบิ ตั ิ ตามโดย ผลการประเมนิ เลขที่ ช่อื - สกุล 1.ใหข้ ้อมูลท่ี คานึงถงึ 3.ปฏบิ ตั ิตน 4.ไมห่ า รวม ถูกต้องและ ความถูกตอ้ ง ต่อผู้อ่ืนดว้ ย ผลประโยชน์ คะแนน เปน็ จริง ละอาย เกรง ความซอ่ื สัตย์ ในทางท่ีไม่ กลัว ต่อการ ถกู ต้อง กระทาผดิ ผา่ น ไมผ่ า่ น 4321432143214321 เกณฑก์ ารใช้คะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ 4 คะแนน เทา่ กับ ดมี าก 3 คะแนน เทา่ กบั ดี ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 2 คะแนน เท่ากับ พอใช้ 1 คะแนน เทา่ กบั ปรบั ปรุง 7 - 8 ดีมาก 5 - 6 ดี 3 - 4 พอใช้ 1 - 2 ปรับปรุง (ลงชื่อ)...................................ครผู ูป้ ระเมนิ (…………………………………………………) ............../................./.................
- ๘๖ - ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖ เวลา ๒ ชวั่ โมง แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ ๓ ชอ่ื หน่วย STRONG / จติ พอเพยี งตอ่ ต้านการทจุ ริต แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๓ เรอื่ ง ตื่นรู้ ตา้ นการทจุ รติ ๑. ผลการเรียนรู้ ปฏิบัติตนเปน็ ผู้ที่ STRONG / จติ พอเพียงต้านการทจุ ริต ๒. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ๒.๑ นกั เรยี นสามารถบอกวิธีการตา้ นการทุจรติ ได้ ๒.๒ นกั เรียนสามารถสร้างจิตสานึกของตนเพ่ือต่อตา้ นการทจุ ริตได้ ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ความรู้ ๑) วิธกี ารตา้ นการทุจรติ ๒) การสรา้ งจติ สานึกของตนเพ่ือต่อตา้ นการทุจริต ๓.๒ ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะที่เกดิ ) ๑) ความสามารถในการคดิ ๒) ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ ๓.๓ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ / คา่ นยิ ม ๑) ซือ่ สตั ย์ สุจริต ๔. กิจกรรมการเรียนรู้ ๔.๑ ขนั้ ตอนการเรียนรู้ ช่วั โมงท่ี ๑ ๑) ครูใหน้ ักเรยี นดูวคี ลิปวิดีโอแอนเิ มชน่ั ต่อต้านการทจุ รติ เร่ือง สานึก (https://www.youtube.com/watch? v=R-8fPPt1o-c) แลว้ ใหน้ ักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ - นายประชากระทาผิดอะไรบ้าง - การท่ีพิทักษ์ไมบ่ อกความจริงเรอ่ื งพอ่ นักเรียนคิดว่าเปน็ การกระทาท่ถี ูกตอ้ ง - ผลจากการท่นี ายประชาเจอยมทูต เปน็ อย่างไร - ในตอนท้ายของเรื่อง นายประชา สานกึ ได้หรือไม่ อยา่ งไร จากนน้ั ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรุปเนอ้ื หาจากการชมวดิ โี อ (แนวคาตอบ นายประชา นายกรฐั มนตรีท่มี ีช่ือเสียง เม่อื ตอนมชี วี ติ เขาได้ทจุ ริตต่อหน้าที่ รบั สนิ บน ซือ้ อานาจ เพ่ือใหต้ นเองสบาย พอฟืน้ มาอกี คร้ังก็สานึกผดิ และพรอ้ มรบั โทษตามกฎหมาย) ๒) ครูนาสนทนาเกีย่ วกับการต่อตา้ นการทจุ ริตในปจั จบุ นั จากน้ันครูให้นักเรยี นดูวดี ิทัศน์ เรือ่ ง รณรงค์ต้านทุจรติ คอรัปชั่น (https://www.youtube.com/watch?v=ms9EYGsI8Zk) แลว้ ตอบคาถามวา่ “จากวดิ โี อข้างตน้ มีการทุจรติ เรอ่ื งใดบา้ ง” คาถามท่ีครูนาสนทนา - นักเรียนคดิ ว่า การทุจริต เป็นปญั หาสาคญั หรือไม่ - นักเรยี นยกตวั อย่างปัญหาการทจุ ริตมา ๑ ปัญหา พร้อมเสนอแนะวธิ ีการแก้ไข
- ๘๗ - ๓) ครูใหน้ ักเรียนชว่ ยกันเขียนคาขวญั รณรงค์การสร้างจิตสานึกของตนเพ่ือต่อต้านการทุจริต (แนวคาตอบ เยาวชนร่นุ ใหม่ สรา้ งเสริมใส่ใจ ตา้ นภัยทุจรติ / รว่ มสานึก ผนึกหวั ใจ ต้าน ภัยทจุ ริต) ๔) แบ่งกลมุ่ นักเรียน ออกเป็นกล่มุ ละ ๔ – ๕ คน แล้วช่วยกนั หาข่าวเกยี่ วกับการตา้ นทุจริต ในสังคมเพือ่ ใช้ในการเรยี นการสอนครัง้ ต่อไป ชัว่ โมงที่ ๒ ๕) แบ่งกลมุ่ นักเรียน กลุ่มละ ๔ – ๕ คน ร่วมกันวิเคราะหข์ ่าวที่ไปคน้ คว้าจากชว่ั โมงท่ีแล้ว จากน้นั ช่วยกันเขยี นแผนผังความคิดจากข้อมลู ท่ีไดล้ งกระดาษ Flipchart ในประเด็นต่อไปน้ี - ลกั ษณะของปัญหา - ผลกระทบท่ีเกิดขึน้ - ผู้ไดร้ บั ผลกระทบ - แนวทางการแก้ไขปญั หา - การสร้างจติ สานกึ ของตนเพื่อตอ่ ต้านการทจุ ริต ๖) ตวั แทนนักเรียนนาเสนอแผนผังความคิดหน้าช้ันเรียน จากนัน้ ครูปละนักเรยี นร่วมกันสรุป ๔.๒ ส่อื การเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้ ๑) คลปิ วิดีโอแอนเิ มช่ันต่อตา้ นการทจุ ริต เรื่อง สานึก ๒) คลิปวิดีโอ เร่อื ง รณรงค์ต้านทุจรติ คอรปั ชัน่ ๓) คาขวัญรณรงค์การสร้างจิตสานึกของตนเพ่ือต่อตา้ นการทจุ รติ ๔) แผนผงั ความคิดในกระดาษ Flipchart ๕.การประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๕.๑ วธิ กี ารประเมนิ ๑) ตรวจสอบผลงานการเขียนคาขวัญ ๒) ตรวจสอบผลงานแผนผังความคิด ๓) สงั เกตพฤตกิ รรมซ่ือสตั ย์สุจรติ ๕.๒ เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการประเมนิ ๑) แบบให้คะแนนการตรวจคาขวัญ ๒) แบบให้คะแนนการตรวจแผนผังความคดิ ๓) แบบสงั เกตพฤติกรรมซ่ือสัตยส์ ุจรติ ๕.๓ เกณฑก์ ารตดั สนิ -ผ่านเกณฑ์การประเมินไดร้ ะดบั ดี ถอื วา่ ผา่ น -ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ พฤติกรรมระดับดี ถือว่า ผา่ น ๖. บนั ทกึ หลงั สอน ............................................................................................................................. .............................................. ...................................................................................................................................................................... ..... ลงช่ือ ................................................ ครผู สู้ อน (.................................................)
๗. ภาคผนวก - ๘๘ - แบบประเมนิ ผลงานผังความคิด คาช้ีแจง ทาเครอื่ งหมาย ลงในชอ่ งคะแนนตามเกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมิน ๔ หมายถงึ ดีมาก ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถงึ พอใช้ ๑ หมายถงึ ปรับปรุง เลขท่ี ชอื่ - สกุล สรุปความรู้ครบถ้วน เชื่องโยงความร้กู บั รปู แบบเปน็ ไปตาม รวม ถกู ต้องทุกประเด็น ประสบการณ์ของตน หลักการทาแผนผัง ไดถ้ ูกต้องตามลาดบั ความคดิ 432143214321 ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ (ลงชอื่ )...................................ครูผปู้ ระเมิน (…………………………………………………) 10 - 12 ดมี าก ............../................./................. 7 - 9 ดี 4 - 6 พอใช้ 1 - 3 ปรบั ปรุง
- ๘๙ - แบบสงั เกตแบบสังเกตพฤติกรรม “ซ่ือสัตย์สจุ รติ ” คาช้ีแจง ทาเครื่องหมาย ในชอ่ งท่ีตรงกับความเป็นจรงิ ตามเกณฑ์การประเมิน 2.ปฏบิ ัติตาม เลขที่ ช่อื – สกลุ 1.ใหข้ อ้ มูลท่ี โดยคานงึ ถึง 3.ปฏิบัตติ น 4.ไม่หา รวม ผลการประเมนิ ถกู ต้องและ ความถกู ตอ้ ง ตอ่ ผูอ้ ่ืนดว้ ย ผลประโยชน์ คะแนน ผา่ น ไมผ่ า่ น เป็นจริง ละอาย เกรง ความซอ่ื สัตย์ ในทางท่ีไม่ กลวั ตอ่ การ กระทาผดิ ถูกต้อง ๓๒๑๐๓๒๑๐๓๒๑๐๓๒๑๐ เกณฑก์ ารใชค้ ะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ 4 คะแนน เทา่ กบั ดมี าก 3 คะแนน เทา่ กับ ดี ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 2 คะแนน เทา่ กับ พอใช้ 1 คะแนน เทา่ กับ ปรบั ปรุง 7 - 8 ดีมาก 5 - 6 ดี 3 - 4 พอใช้ 1 - 2 ปรบั ปรงุ (ลงชอื่ )...................................ครผู ู้ประเมนิ (…………………………………………………) ............../................./.................
- ๙๐ - แบบประเมินผลงานการเขียนคาขวญั กล่มุ ท.่ี .............................เร่อื ง............................................................................................................................ วนั ท.่ี ...................................................................................................................... ............................................ คาชี้แจง ให้ผู้สอนประเมนิ ผลงานการเขียนคาขวัญของนักเรยี นตามรายการที่กาหนด แล้วทาเครอื่ งหมาย ลง ในชอ่ งทตี่ รงกบั ระดับคะแนน ที่ รายการ คะแนน ผลการตัดสนิ เต็ม ได้ ผ่าน ไมผ่ า่ น 1 ความถูกต้องสมบรู ณ์ของเนื้อหา 4 2 การเรียบเรยี งภาษา กะทัดรดั เขา้ ใจง่าย 4 3 ให้แนวคดิ ท่สี อดคลอ้ งกับเรื่องท่เี ขียน 4 4 ความคดิ สร้างสรรค์ คาขวัญ 4 5 รปู แบบการนาเสนอน่าสนใจ 4 รวม 20 รายช่อื สมาชิก 1. ..................................................................................................................................................................... 2. ...................................................................................................................................................................... 3. ..................................................................................................................................................................... 4. ............................................................................................................................................... ...................... 5. ..................................................................................................................................................................... เกณฑ์การใช้คะแนน ให้ 4 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสมบรู ณ์ชัดเจน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมมขี ้อบกพร่องบางส่วน ให้ 2 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ผลงานหรือพฤตกิ รรมมีข้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมมีข้อบกพร่องมาก 18 - 20 ดมี าก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ต่ากว่า 10 ปรบั ปรุง
- ๙๑ - ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ เวลา 2 ช่วั โมง แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยที่ ๓ ชื่อหนว่ ย STRONG / จิตพอเพยี งตอ่ ต้านการทจุ ริต แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๔ เร่อื ง เรียนรเู้ ทา่ ทัน ปอ้ งกนั การทุจรติ ๑. ผลการเรียนรู้ ปฏิบตั ติ นเปน็ ผ้ทู ่ี STRONG / จิตพอเพยี งต้านการทุจรติ ๒. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๒.๑ นักเรยี นมคี วามรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกับการตอ่ ต้านการทุจริต ๒.๒ นักเรยี นสามารถบอกผลกระทบทเ่ี กดิ ข้ึนจากการทุจริตได้ ๒.๓ นักเรียนสามารถบอกแนวทางการป้องกันการทุจริตได้ ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ความรู้ ๑) ความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกับการต้านทจุ รติ ๒) ผลกระทบทเ่ี กดิ ข้ึนจากการต้านทุจรติ ๓) แนวทางการป้องกันการทุจรติ ๓.๒ ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กิด) ๑) ความสามารถในการคิด ๒) ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต ๓.๓ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ / คา่ นิยม ๑) ซือ่ สัตย์ สจุ รติ ๔. กิจกรรมการเรยี นรู้ ๔.๑ ข้นั ตอนการเรยี นรู้ ชั่วโมงที่ 1 ๑) ครนู าสนทนาเก่ียวกับการทุจรติ ในสังคมไทย จากน้นั ครูส่มุ นักเรียน ๑-๒ คน ตอบ คาถามวา่ จากสอ่ื สังคมปัจจุบันมีข่าวการทุจริตอยา่ งไรบ้าง ๒) ครใู หน้ ักเรียนดูคลิปวดิ โี อ Animation Anti-Corruption by KPI 2-3 (https://www.youtube.com/watch?v=5sshzqeFBI0 จากนนั้ ครใู ห้นักเรยี นตอบคาถาม ต่อไปนี้ - นักเรียนได้รบั ความรู้อะไรบ้างจากการชมคลิปวดิ โี อ - นกั เรยี นคิดว่า การต่อต้านและป้องกนั การทุจริตมคี วามสาคญั หรอื ไม่ อย่างไร ชั่วโมงท่ี 2 ๓) แบง่ กลมุ่ นักเรยี นออกเปน็ กลุม่ กลุ่มละ ๔ – ๕ คน ระดมความคิดในประเด็น ปัญหาการ ทุจรติ ผลกระทบ และแนวทางการป้องกันการทจุ รติ แล้วครแู ละนักเรียนร่วมกันสรุปลงในตาราง
- ๙๒ - ปัญหาการทจุ ริตที่พบ ผลกระทบท่ีเกดิ ข้นึ ผ้ไู ด้รบั ผลกระทบ แนวทางการป้องกนั การทุจริต ๔) นักเรยี นแต่ละกลมุ่ นาเสนอผลการระดมความคิดในข้อ 3 และนาผลงานไปตดิ ทบ่ี อร์ด หน้าโรงเรยี น เพอื่ เผยแพร่ให้นักเรยี นและผปู้ กครองได้เรยี นรู้ ๔.๒ สอ่ื การเรียนรู้ / แหล่งการเรยี นรู้ ๑) คลิปวิดโี อแอนเิ มช่นั ต่อต้านการทุจรติ เรื่อง สานึก ๒) คลปิ วิดโี อ เร่ือง Animation Anti-Corruption by KPI 2-3 3) บอร์ดหน้าโรงเรียน ๕.การประเมินผลการเรียนรู้ ๕.๑ วธิ ีการประเมิน -ตรวจสอบผลงานการระดมความคิด -สงั เกตพฤติกรรมความซ่ือสตั ยส์ จุ ริต ๕.๒ เครอ่ื งมือทใี่ ช้ในการประเมิน -แบบใหค้ ะแนนผลงานการระดมความคิด -แบบสงั เกตพฤติกรรมความซ่ือสตั ยส์ จุ รติ ๕.๓ เกณฑ์การตัดสนิ -ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ไดค้ ะแนนระดบั ดขี นึ้ ไป ถือว่า ผา่ น -ผา่ นการประเมนิ พฤติกรรมระดับดีข้ึนไป ถือว่า ผา่ น ๖. บันทึกหลงั สอน ......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ................................................................................................................................ ........................................... ....................................................................................... .................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ลงชือ่ ................................................ ครูผู้สอน (.................................................)
- ๙๓ - ๗. ภาคผนวก แบบให้คะแนนการตรวจผลงานแยกแยะระหว่างจรยิ ธรรมและการทุจรติ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๖ /...... กลุม่ ที.่ ...................... รายการประเมิน ที่ กลุ่มที่ รวม ความถกู ตอ้ ง การสอื่ สารชัดเจน มคี วามพร้อม มกี ารใช้ ตรงตามประเด็น เข้าใจงา่ ย ในการนาเสนอ กระบวนการกลมุ่ 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 16 คะแนน เกณฑก์ ารใช้คะแนน เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ 4 คะแนน เทา่ กับ ดมี าก 3 คะแนน เท่ากับ ดี ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 2 คะแนน เทา่ กับ พอใช้ 1 คะแนน เท่ากบั ปรบั ปรงุ 13 - 16 ดีมาก 9 - 12 ดี 5 - 8 พอใช้ 0 - 4 ปรับปรุง
- ๙๔ - แบบประเมนิ ผลการระดมพลังความคดิ “การละอายและแสดงออกถึงการเปน็ ผู้ไม่ทนต่อการทุจรติ ในการสอบ” คาช้แี จง ทาเคร่อื งหมาย ลงในชอ่ งคะแนนตามเกณฑก์ ารประเมิน เกณฑ์การประเมิน ๔ หมายถึง ดมี าก ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถึง พอใช้ ๑ หมายถึง ปรับปรงุ กลุ่มท่ี ชื่อ - สกลุ ข้อสรปุ ของกลุ่ม รวม สมาชิกทุกคนในกลุ่ม มกี ารกล่นั กรอง เหมาะสม แสดงให้ 1 ๑. รว่ มแสดงความคิดเหน็ ความคิดร่วมกนั โดยยดึ เหน็ ถึงการละอายและ ๒. อยา่ งหลากหลาย หลักเหตแุ ละผล ไมท่ นต่อการทจุ ริตใน ๓. ๔. การสอบ ๕. 432143214321 ๒ เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ (ลงชื่อ)...................................ครูผู้ประเมนิ (…………………………………………………) 10 - 12 ดีมาก ................/................./................. 7 – 9 ดี 4 - 6 พอใช้ 1 - 3 ปรบั ปรงุ
- ๙๕ - แบบสงั เกตแบบสังเกตพฤติกรรม “ซอื่ สตั ยส์ จุ ริต” คาชี้แจง ทาเครื่องหมาย ในช่องทีต่ รงกับความเป็นจริงตามเกณฑก์ ารประเมนิ 2. ปฏิบตั ิ ตามโดย ผลการประเมนิ เลขที่ ชอื่ - สกลุ 1.ใหข้ ้อมลู ท่ี คานึงถงึ 3.ปฏบิ ตั ิตน 4.ไม่หา รวม ถูกต้องและ ความถูกตอ้ ง ตอ่ ผ้อู ่นื ด้วย ผลประโยชน์ คะแนน เป็นจริง ละอาย เกรง ความซือ่ สตั ย์ ในทางที่ไม่ กลัว ต่อการ ถูกต้อง กระทาผิด ผา่ น ไม่ผ่าน 4321432143214321 เกณฑก์ ารใช้คะแนน เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ 4 คะแนน เทา่ กบั ดมี าก 3 คะแนน เท่ากับ ดี ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 2 คะแนน เทา่ กับ พอใช้ 1 คะแนน เท่ากบั ปรบั ปรงุ 7 - 8 ดีมาก 5 - 6 ดี 3 - 4 พอใช้ 1 - 2 ปรบั ปรุง (ลงช่ือ)...................................ครูผปู้ ระเมิน (…………………………………………………) ............../................./.................
- ๙๖ - หนว่ ยท่ี 4 พลเมอื งกับความรบั ผิดชอบต่อสงั คม
- ๙๗ - แผนการจดั การเรยี นรู หนว่ ยท่ี 4 ช่ือหนว่ ย พลเมืองกบั ความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 เรือ่ ง การเคารพสทิ ธิหนา้ ที่ตอ่ ตนเองและผู้อ่นื เวลา 4 ช่ัวโมง 1. ผลการเรยี นรู้ 1) มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั พลเมืองและมีความรบั ผิดชอบต่อสงั คม ๒) ปฏบิ ตั ิตนตามหน้าที่พลเมอื งและมคี วามรับผิดชอบต่อสงั คม 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1) นักเรียนสามารถอธิบายเกี่ยวกบั การละเมดิ สิทธแิ ละหน้าท่ีของพลเมืองได้ ๒) นักเรยี นสามารถวิเคราะห์สถานการณ์การทุจรติ จากการละเมิดสิทธหิ นา้ ท่ีของตนเองและผ้อู ่นื ได้ ๓) นักเรียนสามารถบอกแนวทางในการแกป้ ัญหาการละเมิดสทิ ธิหน้าที่ตอ่ ตนเองและผอู้ ่ืนได้ 3) นกั เรยี นสามารถยกตวั อย่างพฤติกรรมที่แสดงถงึ การเคารพสทิ ธิหนา้ ท่ตี ่อตนเองและผู้อื่นได้ 4) นกั เรียนสามารถปฏบิ ัตติ นในการเคารพสทิ ธิหน้าทตี่ ่อตนเองและผู้อ่นื ได้ 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 ความรู้ 1) การละเมิดสิทธแิ ละหน้าทีข่ องพลเมืองในระบอบประชาธปิ ไตย 2) แนวทางในการแกป้ ัญหาการละเมิดสทิ ธิหน้าทตี่ อ่ ตนเองและผู้อื่น 3) แนวทางการปฏิบตั ติ นในการเคารพสทิ ธขิ องตนเองและผ้อู ื่น 3.2 ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะท่ีเกดิ ) 1) ความสามารถในการส่ือสาร - การฟัง พดู เขยี น 2) ความสามารถในการคดิ - การคดิ วเิ คราะห์ การคิดสงั เคราะห์ การคิดเปน็ ระบบ และการคิดอย่างสรา้ งสรรค์ 3) ความสามารถในการแกป้ ัญหา - การแกป้ ัญหาและอุปสรรคอยา่ งมเี หตผุ ล และความเข้าใจความสมั พันธแ์ ละเหตุการณต์ า่ งๆ ในสังคม 4) ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ - การทางานกลุ่ม 3.3 คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์/ค่านิยม คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1) มงุ่ มั่นในการทางาน 4. กิจกรรมการเรยี นรู้ 4.1 ขั้นตอนการเรยี นรู้ ชว่ั โมงที่ 1 1) นักเรยี นดูรูปภาพต่อไปน้ีแลว้ ร่วมกันตอบคาถาม (ภาพชาวเขา , ผ้ลู ภี้ ยั ชาวต่างชาติ , ผู้นับศาสนาตา่ ง ๆ , ผู้ชาย, ผหู้ ญงิ , เด็ก, ผู้สูงอายุ, นกั ธรุ กิจ คนพิการ, ขอทาน ,เดก็ ด้อยโอกาส)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157