Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Plan_Phrathep_5

Plan_Phrathep_5

Published by phrapradisth, 2019-12-03 04:33:45

Description: แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

Search

Read the Text Version

แผนพฒั นาเด็กและเยาวชนในถ่นิ ทุรกนั ดาร ตามพระราชดำ� ริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ฉบบั ที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๙ สำ� นักงานโครงการสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ส�ำนักพระราชวัง สวนจติ รลดา



เสียงเดก็ ๆ ทกั ทายเสยี งชัดเจน “สวสั ดคี รับ สวัสดคี ะ่ ” สร้างความสดช่นื ใหแ้ กข่ ้าพเจา้ เดก็ เหล่าน้ีจะตอ้ งมอี นาคตทีก่ า้ วหนา้ พร้อมท่ีจะเลี้ยงตนเอง เปน็ ที่พง่ึ ของครอบครวั สรา้ งชมุ ชน นำ� ประเทศใหก้ ้าวสอู่ นาคตอยา่ งม่ันคง และพรอ้ มจะร่วมมอื กับชมุ ชนระหวา่ งประเทศ พระราชนพิ นธ์ โรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดน ๖๐ ปี พุทธศกั ราช ๒๕๕๙

ISBN 978-616-7975-29-0 แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิน่ ทุรกันดาร ตามพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๙ จดั ท�ำโดย สำ� นกั งานโครงการสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต กรงุ เทพฯ ๑๐๓๐๓ โทร. ๐ ๒๒๘๒ ๖๕๑๑ โทรสาร ๐ ๒๒๘๑ ๓๙๒๓ www.psproject.org

>> ค�ำน�ำ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารที รงเรมิ่ งานพฒั นาเดก็ และเยาวชน ในถน่ิ ทรุ กนั ดารมาตง้ั แต่ พ.ศ. ๒๕๒๓ และไดท้ รงงานอยา่ งตอ่ เนอื่ งมาเปน็ ระยะเวลามากกวา่ ๓๐ ปี มีเดก็ และเยาวชนจำ� นวนมากจบการศึกษา สามารถประกอบอาชพี เล้ียงดตู นเองและ ครอบครัว และทำ� ประโยชน์ใหแ้ ก่สงั คมประเทศชาติ เม่อื งานพฒั นาได้ขยายกวา้ งขึ้น อีกท้งั มีผมู้ าสนบั สนุนมากขน้ึ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารีจงึ โปรดเกล้าฯ ใหจ้ ดั ทำ� แผนพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถนิ่ ทุรกันดารฉบบั แรกข้ึนต้งั แต่ พ.ศ. ๒๕๓๕ เพื่อใช้ เปน็ กรอบแนวทางในการท�ำงานพฒั นา จนถงึ ปัจจุบนั ไดด้ ำ� เนินการมาจนสนิ้ สุดแผนฯ ฉบบั ท่ี ๔ ใน พ.ศ. ๒๕๕๙ เพ่ือให้การด�ำเนินงานพัฒนาเด็กและเยาวชน ตามพระราชด�ำริมีความต่อเนื่อง สำ� นกั งานโครงการสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารจี งึ รว่ มกบั สถานศกึ ษา ในโครงการตามพระราชด�ำริทุกสังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดท�ำแผนพัฒนาเด็กและ เยาวชนในถน่ิ ทรุ กนั ดาร ตามพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราช กมุ ารฉี บับท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ นี้ขน้ึ เพ่อื ใชเ้ ปน็ กรอบแนวทางในการจัดทำ� แผนปฏบิ ตั ิ การของสถานศึกษาและของทุกภาคส่วนท่ีสนับสนุนการพัฒนา และสามารถตอบสนองต่อ ความต้องการของเด็กและเยาวชนในพื้นที่เป้าหมาย ตลอดจนร่วมกันผลักดันการพัฒนาได้ อย่างต่อเน่ืองเป็นรูปธรรม ทั้งน้ีสามารถปรับให้เหมาะกับบริบทและสถานการณ์ของแต่ละ พื้นทท่ี ่มี กี ารเปลย่ี นแปลงอย่างรวดเรว็ แตกต่างกนั ไป สำ� นกั งานโครงการสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารหี วงั เปน็ อยา่ ง ยงิ่ ว่าแผนพัฒนาเดก็ และเยาวชนในถิน่ ทุรกนั ดาร ตามพระราชด�ำริ ฉบับนี้จะเปน็ ประโยชน์ อย่างยง่ิ ตอ่ สถานศึกษาและหนว่ ยงานต่าง ๆ ทง้ั ภาครัฐและภาคเอกชนทีร่ ่วมกนั ปฏิบัติงาน เพอ่ื ให้เดก็ และเยาวชนได้รบั โอกาสในการศกึ ษาและพฒั นาเทา่ เทยี มผอู้ ื่น เปน็ คนมีสขุ ภาพดี มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม ภาคภมู ใิ จในความเปน็ ไทย สามารถพฒั นาตนเองและมสี ว่ นรว่ มในการ พฒั นาสังคมและประเทศชาตไิ ด้ อนั เป็นพระราชประสงค์ของสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ส�ำนกั งานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี พฤษภาคม ๒๕๖๐



>> สารบญั สรุปสาระส�ำคัญ ๑ ----------------------------------------------------------------------------------- สว่ นที่ ๑ ๕ ----------------------------------------------------------------------------------- ภาพรวมการพฒั นาในช่วงแผนพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถนิ่ ทรุ กนั ดาร ตามพระราชด�ำริ ฉบับท่ี ๔ พ.ศ. ๒๕๕๐–๒๕๕๙ สว่ นที่ ๒ ๒๗ ----------------------------------------------------------------------------------- สาระสำ� คญั แผนพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถน่ิ ทุรกนั ดาร ตามพระราชดำ� ริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ฉบับท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ สว่ นท่ี ๓ ๕๓ ----------------------------------------------------------------------------------- การนำ� แผนสู่การปฏิบัต ิ ภาคผนวก ก ๕๕ ----------------------------------------------------------------------------------- โครงการตามพระราชดำ� ริ ภาคผนวก ข ๖๕ ----------------------------------------------------------------------------------- พน้ื ที่เปา้ หมาย (ข้อมูลปีการศึกษา ๒๕๕๙)



แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถ่ินทุรกันดารตามพระราชด�ำริ 1 ฉบบั ท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ สรุปสาระส�ำคญั แผนพฒั นาเด็กและเยาวชนในถน่ิ ทุรกันดาร ตามพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบบั ที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ แผนพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถน่ิ ทรุ กนั ดาร ตามพระราชดำ� รสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราช- สุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบบั ที่ ๕ จดั ทำ� ขน้ึ เป็นแผนระยะ ๑๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙) เพอื่ เชอ่ื มตอ่ งานพฒั นาในชว่ งทผ่ี า่ นมาเขา้ กบั กระแสการเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ในปจั จบุ นั ทง้ั การปรบั เปลยี่ นประเทศไปสไู่ ทยแลนด์ ๔.๐ การเขา้ เปน็ สมาชกิ ของประชาคมอาเซยี น การ กา้ วเข้าสู่ศตวรรษท่ี ๒๑ และสงั คมดจิ ทิ ลั เพอ่ื ใหเ้ ดก็ และเยาวชนในถนิ่ ทรุ กนั ดารไดร้ บั การเตรยี มพรอ้ ม สามารถกา้ วไปพรอ้ ม ๆ กับการเปล่ียนแปลงดังกล่าว การจัดท�ำแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถ่ินทุรกันดาร ตาม พระราชด�ำริ ฉบบั ที่ ๕ น้ี จงึ ได้จัดท�ำใหส้ อดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐– ๒๕๗๙) ซ่งึ เปน็ แผนแมบ่ ทหลักของการพัฒนาประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๔) ท่ีนอ้ มนำ� หลกั “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” มา เปน็ ปรชั ญานำ� ทางในการพฒั นาประเทศ แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๗๔) และ เปา้ หมายการพัฒนาที่ย่ังยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) โดยก�ำหนดเป็น วตั ถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมายหลกั ดังนี้

2 แผนพัฒนาเดก็ และเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชด�ำริ ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพอ่ื ใหเ้ ดก็ และเยาวชนมคี ณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ี โดยไดร้ บั การพฒั นาศกั ยภาพอยา่ งสมดลุ ในด้านพุทธิศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษา และพลศึกษา ด้วยกระบวนการเรียนรู้จากการ ปฏิบตั ิ มีความรักและหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติ ภาคภมู ิใจในความเปน็ ไทย และมีสว่ น ร่วมในการพฒั นาชมุ ชนและประเทศชาติ ๒. เพอ่ื ขยายการพฒั นาจากโรงเรยี นสชู่ มุ ชน ทำ� ใหช้ มุ ชนมคี วามเขม้ แขง็ และพงึ่ ตนเอง ได้ ครอบครัวและชุมชนเกิดการพัฒนา ช่วยเหลือสนับสนุนการพัฒนาเด็กและเยาวชนและ โรงเรยี นไปพรอ้ ม ๆ กนั ๓. เพ่ือผลักดันให้สถานศึกษาพัฒนาเป็นศูนย์บริการความรู้ สามารถถ่ายทอด ความร้แู ละเทคโนโลยีการพัฒนาใหก้ ับผปู้ กครอง ชมุ ชน และสถานศกึ ษาหรอื องคก์ รอ่ืน ๆ ทง้ั จากภายในประเทศและจากตา่ งประเทศ เพอ่ื นำ� ไปประยกุ ตใ์ หเ้ หมาะสมกบั บรบิ ทของแตล่ ะ ที่ สรา้ งความร่วมมอื และเครือข่ายเชอ่ื มโยงระหว่างประเทศ เป้าหมายหลัก การพฒั นาตามแผนฯ ฉบบั ที่ ๕ ประกอบด้วย ๘ เป้าหมายหลกั ๑๘ เป้าหมายยอ่ ย ของการพฒั นา ดงั นี้ เปา้ หมายหลกั ท่ี ๑ เสรมิ สรา้ งสขุ ภาพของเดก็ ตง้ั แตใ่ นครรภม์ ารดา ประกอบดว้ ย ๓ เป้าหมาย มุ่งเน้นพฒั นาปรบั ปรุงการบริการอนามัยแมแ่ ละเดก็ ในพ้นื ทเ่ี ฉพาะท่ยี ังมีอัตรา การตายของทารกและทารกแรกเกดิ มนี ำ�้ หนกั นอ้ ยกวา่ ๒๕๐๐ กรมั สงู อยู่ ให้มกี ารดแู ลเดก็ ปฐมวัยทกุ ชว่ งอายุครอบคลุมทกุ พน้ื ที่ เพ่อื ใหเ้ ดก็ ปฐมวัยมกี ารเจริญเติบโตและพัฒนาการที่ สมวัย โดยแบ่งความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงานในพื้นท่ีเพื่อให้มีการเช่ือมต่อของแต่ละ ช่วงอายุ ระหวา่ งบ้าน ศนู ยเ์ ด็กเลก็ ชัน้ อนุบาล จนถงึ ชน้ั ประถมศึกษา และยังส่งเสรมิ ให้ เดก็ และเยาวชนในโรงเรียนมสี ุขภาวะที่ดี มีพฤติกรรมสุขภาพท่ีเหมาะสม ลดความเสี่ยงตอ่ การเกดิ โรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอ้ื รัง ซงึ่ ปัจจบุ ันเปน็ ปัญหาสำ� คัญของประเทศ เปา้ หมายหลกั ที่ ๒ เพมิ่ โอกาสทางการศกึ ษา ประกอบดว้ ย ๓ เปา้ หมาย มงุ่ เนน้ การ ท�ำงานเชิงรกุ ส�ำรวจและจดั ต้งั สถานศึกษาในพนื้ ท่ที ีข่ าดโอกาส จัดกล่มุ โรงเรยี น (Cluster) เพอื่ การใช้ทรพั ยากรร่วมกัน พัฒนาขดี ความสามารถของครแู ละโรงเรียนใหจ้ ดั การศกึ ษาใน

แผนพัฒนาเดก็ และเยาวชนในถน่ิ ทรุ กนั ดารตามพระราชดำ� ริ 3 ฉบบั ท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ รปู แบบทเ่ี หมาะสมสำ� หรบั เดก็ และเยาวชนทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางดา้ นรา่ งกาย สตปิ ญั ญาและ อารมณ์ ในสว่ นของนกั เรยี นในพระราชานเุ คราะหน์ อกจากการเสรมิ ทางวชิ าการแลว้ ยงั เนน้ ปลูกฝงั คุณธรรมจริยธรรม และการสร้างแรงจงู ใจเพอ่ื ใหเ้ ขา้ สูก่ ารศกึ ษาประเภทอาชวี ศึกษา เพิ่มขน้ึ ตามความต้องการของประเทศ เป้าหมายหลกั ที่ ๓ เสริมสร้างศกั ยภาพของเดก็ และเยาวชนทางวชิ าการและทาง จริยธรรม ประกอบด้วย ๔ เปา้ หมาย มุ่งเน้นการแก้ปัญหาวิกฤตเรือ่ งภาษาไทย พฒั นาครู ผู้สอนให้สามารถใช้รูปแบบการเรียนการสอนท่ีหลากหลายเพ่ือพัฒนาศักยภาพพ้ืนฐานของ เดก็ นกั เรยี นดา้ นภาษาไทย วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และสังคมศึกษา รวม ทง้ั ทักษะดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ และทักษะทจี่ ำ� เป็นในศตวรรษที่ ๒๑ อน่ื ๆ ควบคกู่ ับ การปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรม การเตรียมความพร้อมส�ำหรับประชาคมอาเซียน และ สนบั สนนุ ผลกั ดนั ใหค้ รมู ีการพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนอ่ื ง เป้าหมายหลักที่ ๔ เสริมสร้างศักยภาพของเด็กและเยาวชนทางการงานอาชีพ ประกอบด้วย ๓ เป้าหมาย ท่ีมุ่งเนน้ จัดกระบวนการเรยี นรอู้ าชพี การเกษตรอย่างครบวงจร และเปน็ ระบบ ตัง้ แตก่ ารผลติ ท่ีเปน็ มิตรกับสงิ่ แวดล้อม จนถึงการน�ำผลผลิตไปใชป้ ระโยชน์ และการจดั ทำ� บัญชี พฒั นาหลักสูตรงานอาชีพที่จำ� เปน็ ส�ำหรับชวี ิตประจำ� วนั ให้เหมาะสมกับ แต่ละช่วงวัย พัฒนาปรับปรุงหลักสูตรสหกรณ์เพ่ือให้การปลูกฝังลักษณะนิสัยและคุณธรรม จรยิ ธรรมด้วยหลักการและอดุ มการณ์สหกรณส์ ัมฤทธิผล เปา้ หมายหลักที่ ๕ ปลกู ฝงั จิตส�ำนึกและพัฒนาศกั ยภาพของเด็กและเยาวชนใน การอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม ประกอบด้วย ๑ เปา้ หมาย ทีม่ ุ่งเน้นจัด กระบวนการเรียนรทู้ ใ่ี หเ้ ด็กลงมือปฏบิ ัติดว้ ยตนเอง เหน็ ความงดงาม เกิดเปน็ ความปติ ิท่จี ะ ศกึ ษา เป็นความรัก ความผูกพัน หวงแหนในทรัพยากรของตน ร่วมในกระบวนการอนุรักษ์ และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอย่างยั่งยืนโดยใช้ธรรมชาติเป็นอุปกรณ์การ สอน เป้าหมายหลักที่ ๖ เสริมสร้างศักยภาพของเด็กและเยาวชนในการอนุรักษ์และ สืบทอดวัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาของทอ้ งถน่ิ และของชาติไทย ประกอบดว้ ย ๑ เปา้ หมาย ทีม่ งุ่ ใหเ้ ด็กและเยาวชนมคี วามร้แู ละเห็นคณุ คา่ ของวฒั นธรรมและภูมิปัญญา รว่ มกนั อนรุ ักษ์ วฒั นธรรมของทอ้ งถน่ิ และวฒั นธรรมไทย โดยทำ� ใหเ้ ปน็ สว่ นหนง่ึ ของชวี ติ ประจำ� วนั อยา่ งแทจ้ รงิ สง่ เสริมการใช้ภาษาไทยอยา่ งถกู ต้องทั้งการพดู และการเขียน เป้าหมายหลักที่ ๗ ขยายการพัฒนาจากโรงเรียนสู่ชุมชน ประกอบด้วย ๓ เป้าหมาย มุ่งเน้นให้ชุมชนได้รับการพัฒนาโดยการขยายงานพัฒนาจากโรงเรียนเข้าไปใน

4 แผนพัฒนาเดก็ และเยาวชนในถิน่ ทุรกันดารตามพระราชด�ำริ ฉบับท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ ชุมชนผ่านทางเด็กนักเรียน ท้ังกิจกรรมการผลิตทางการเกษตรท่ียั่งยืนและเป็นมิตรกับ ส่ิงแวดล้อม พฤติกรรมสุขภาพและการพัฒนาสภาพแวดล้อมของบ้านและชุมชนให้ถูก สุขลกั ษณะ การน�ำความรู้และทกั ษะทางวชิ าชพี การทำ� บญั ชี การสหกรณ์มาใช้ในครอบครวั และชุมชน เป้าหมายหลกั ท่ี ๘ พฒั นาสถานศึกษาเปน็ ศูนยบ์ รกิ ารความรู้ ประกอบดว้ ย ๓ เป้าหมาย ท่ีมุ่งหวังให้โรงเรียนสามารถพัฒนากิจกรรมการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เป็น นทิ รรศการทมี่ ีชวี ติ เปน็ ตัวอยา่ งใหแ้ กป่ ระชาชน ครู นักเรยี น หรอื ผสู้ นใจมาศกึ ษาทดลอง ครูและเด็กนักเรียนสามารถถ่ายทอดความรู้โดยการเป็นวิทยากร มีการจัดการความรู้และ เผยแพรต่ อ่ ไป

แผนพัฒนาเดก็ และเยาวชนในถ่ินทุรกันดารตามพระราชดำ� ริ 5 ฉบบั ที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ ส่วนท่ี ๑ ภาพรวมการพฒั นาในชว่ งแผนพฒั นาเด็กและเยาวชนในถนิ่ ทรุ กันดาร ตามพระราชดำ� ริ ฉบับท่ี ๔ พ.ศ. ๒๕๕๐–๒๕๕๙ การพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถนิ่ ทรุ กนั ดาร ตามพระราชดำ� รสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราช- สดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ระหวา่ ง พ.ศ. ๒๕๕๐ ถงึ พ.ศ. ๒๕๕๙ ได้ด�ำเนินงานตามแผน พัฒนาเดก็ และเยาวชนในถ่ินทุรกนั ดาร ตามพระราชดำ� ริ ฉบับท่ี ๔ ซึ่งกำ� หนดวัตถปุ ระสงค์ ของการพฒั นาไว้ ๖ ประการ ไดแ้ ก่ (๑) ส่งเสริมโภชนาการและสขุ ภาพอนามัยของเด็กและ เยาวชนเร่ิมตั้งแต่ในครรภ์มารดา (๒) ส่งเสริมและสนับสนุนการเพ่ิมโอกาสทางการศึกษา ให้แกเ่ ด็กและเยาวชน (๓) เสรมิ สรา้ งศักยภาพของเด็กและเยาวชนในการเรียนรู้ทางวิชาการ (๔) เสรมิ สร้างศกั ยภาพของเดก็ และเยาวชนทางการอาชีพ (๕) ปลูกฝงั จติ สำ� นึกและพัฒนา ศักยภาพของเด็กและเยาวชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และ (๖) เสริมสร้างศักยภาพของเด็กและเยาวชนในการอนุรักษ์และสืบทอดวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ทอ้ งถนิ่ ภาพรวมของการดำ� เนนิ งานในชว่ ง ๑๐ ปที ผ่ี า่ นมามที ง้ั ในทางกวา้ งและทางลกึ โดย มีประเดน็ ส�ำคัญดงั ต่อไปนี้

6 แผนพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถนิ่ ทรุ กนั ดารตามพระราชดำ� ริ ฉบบั ที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ ๑. พื้นท่เี ปา้ หมายและกล่มุ ประชากรเปา้ หมาย ๑.๑ พ้นื ท่ีเปา้ หมาย การพฒั นาเดก็ และเยาวชนทผ่ี า่ นมาดำ� เนนิ การตามแนวพระราชดำ� รขิ องสมเดจ็ พระ- เทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารใี นการใช้โรงเรยี นหรอื สถานศกึ ษาเปน็ ฐานของการ พัฒนา ดังน้ันพื้นที่เป้าหมายยังคงเป็นโรงเรียน/สถานศึกษาท้ังในสังกัดของกองบัญชาการ ต�ำรวจตระเวนชายแดน สำ� นักงานตำ� รวจแห่งชาติ คือโรงเรยี นตำ� รวจตระเวนชายแดน (รร. ตชด.) สังกดั ของกระทรวงศึกษาธิการในบางพน้ื ท่ี ได้แก่ โรงเรียนในสังกัดส�ำนกั งานคณะ กรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน (รร. สพฐ.) ศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา “แมฟ่ ้าหลวง” (ศศช.) ในสังกัดสำ� นักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย โรงเรยี น เอกชนสอนศาสนาอสิ ลาม ในสงั กดั สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาเอกชนในพน้ื ทภ่ี าคใต้ โรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรมในสงั กดั สำ� นกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ และสงั กดั ของกระทรวง มหาดไทย ไดแ้ ก่ ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นาเดก็ วยั เตาะแตะ นอกจากนสี้ มเดจ็ พระเทพรตั นราช- สุดา ฯ สยามบรมราชกุมารียังโปรดเกลา้ ฯ ให้ดำ� เนินการต่อในโรงเรียนที่โอนจากโรงเรยี น ต�ำรวจตระเวนชายแดนไปยังสังกัดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) กรมส่งเสริม การปกครองท้องถน่ิ กระทรวงมหาดไทย ทั้งน้ีเพ่ือใหง้ านพัฒนาดำ� เนินการไดอ้ ยา่ งต่อเน่ือง โดยเฉพาะในชว่ งเปลี่ยนผา่ น ในพ.ศ. ๒๕๕๒ โปรดเกล้าฯ ให้รับโรงเรียนจ�ำนวนหนึ่งในพ้ืนที่กรุงเทพมหานคร ท้ังสังกัดกรุงเทพมหานครและสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเข้า เป็นโรงเรียนในโครงการตามพระราชด�ำริ ด้วยทรงเห็นว่าแม้จะเป็นพ้ืนท่ีในเมือง ไม่ได้มี ความทรุ กันดารแรน้ แค้น แต่เดก็ และเยาวชนสว่ นหนึ่งก็ยงั ประสบปัญหา โดยเฉพาะปัญหา โภชนาการทม่ี ีทง้ั ภาวะโภชนาการขาดและภาวะโภชนาการเกนิ นอกจากนีย้ งั โปรดเกล้าฯ ให้ เปดิ สถานศกึ ษาใหมข่ นึ้ ในชมุ ชนทข่ี าดโอกาส จงึ ทำ� ใหแ้ ตล่ ะปมี พี นื้ ทเ่ี ปา้ หมายเพม่ิ ขน้ึ (ตาราง ที่ ๑) เมือ่ สน้ิ สดุ แผนฯ ฉบับที่ ๔ ในปีการศกึ ษา ๒๕๕๙ มีสถานศึกษาในโครงการตาม พระราชด�ำริ ทัง้ หมด ๘๔๔ แหง่ กระจายอยใู่ นพื้นที่ ๕๑ จงั หวดั ครอบคลุมหมบู่ า้ นท่อี ยู่ ในเขตบริการการศึกษาของสถานศกึ ษาเหลา่ นี้ท้ังหมด ๒,๓๑๗ หมู่บา้ น

แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถน่ิ ทุรกันดารตามพระราชดำ� ริ 7 ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ ตารางที่ ๑ จ�ำนวนสถานศกึ ษาทเ่ี ป็นพื้นทีด่ �ำเนนิ งานในชว่ งแผนฯ ฉบับท่ี ๔ หน่วย: แหง่ พืน้ ที่ ปีการศึกษา เป้าหมาย ๒๕๕๐ ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ รร.ตชด. ๑๙๒ ๑๘๓ ๑๘๓ ๑๗๙ ๑๗๘ ๑๗๘ ๑๗๖ ๑๙๖ ๒๐๔ ๒๐๗ รร.สพฐ ๑๖๙ ๑๗๘ ๑๘๐ ๑๘๑ ๑๙๓ ๒๐๑ ๒๐๑ ๒๐๑ ๒๐๘ ๒๐๘ ศศช. ๒๕๙ ๒๖๖ ๒๖๖ ๒๖๖ ๒๗๗ ๒๖๙ ๒๗๘ ๒๗๙ ๒๘๐ ๒๘๐ รร.เอกชน สอน ๑๓ ๑๔ ๑๔ ๑๔ ๑๔ ๑๔ ๑๕ ๑๕ ๑๕ ๑๕ ศาสนา อิสลาม รร.พระ ๑๓ ๓๔ ๔๐ ๔๐ ๕๑ ๕๑ ๕๓ ๗๐ ๗๐ ๗๐ ปรยิ ัติ ธรรม รร.กทม. - - ๒๕ ๒๕ ๒๕ ๒๕ ๒๕ ๒๕ ๒๕ ๒๕ รร.อปท. ๓ ๖ ๗ ๗ ๘ ๙ ๑๒ ๑๒ ๑๒ ๑๒ ศนู ย์ฯ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๒๗ ๒๗ ๒๗ ๒๗ เตาะแตะ รวม ๖๗๙ ๗๑๑ ๗๔๕ ๗๔๒ ๗๗๖ ๗๗๗ ๗๘๗ ๘๒๕ ๘๔๑ ๘๔๔ ๑.๒ กลุม่ ประชากรเป้าหมาย กลมุ่ ประชากรเปา้ หมายของการพฒั นายงั คงครอบคลมุ ตงั้ แตเ่ ดก็ ทอี่ ยใู่ นครรภม์ ารดา เด็กแรกเกดิ ถงึ ๓ ปี เด็กเลก็ เดก็ นกั เรียนประถมศึกษา และเด็กนักเรยี นมธั ยมศึกษารวมทงั้ สามเณรด้วย โดยเม่อื สิ้นสุดแผนฯ ฉบับที่ ๔ ในปีการศกึ ษา ๒๕๕๙ กล่มุ เป้าหมายมจี �ำนวน ทง้ั หมด ๑๕๔,๗๕๕ คน จ�ำแนกเป็น เดก็ ในครรภ์มารดา ๕,๒๑๒ คน เด็กแรกเกิด–๓ ปี ๒๓,๑๕๘ คน เด็กเลก็ ๒๕,๖๕๙ คน เดก็ นกั เรียนประถมศึกษา ๖๗,๗๙๖ คน เดก็ นักเรียนมัธยมศกึ ษา ๓๒,๙๓๐ คน

8 แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกนั ดารตามพระราชด�ำริ ฉบบั ที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ ในจ�ำนวนน้ีมีกลุ่มเด็กพิการท่ีโรงเรียนในโครงการตามพระราชด�ำริให้การดูแลอยู่ จ�ำนวน ๑,๑๗๔ คน นอกจากกลุ่มเด็กและเยาวชนท่ีอยู่ในสถานศึกษาเป้าหมายดังกล่าวแล้ว ยังมีกลุ่ม ประชากรเปา้ หมายอกี กลมุ่ หนง่ึ คอื นกั เรยี นในพระราชานเุ คราะห์ ซง่ึ เปน็ เดก็ และเยาวชนจาก โรงเรยี นในโครงการตามพระราชดำ� รทิ ไี่ ดร้ บั การคดั เลอื กใหร้ บั ทนุ พระราชทานเพอื่ ศกึ ษาตอ่ ในระดบั สงู ขึ้นตามศักยภาพของแต่ละคน ในชว่ ง ๑๐ ปขี องแผนฯ ฉบับท่ี ๔ มนี ักเรยี นใน พระราชานุเคราะห์ใหม่เฉลย่ี ๒๒๗ คนตอ่ ปี และเม่ือสิน้ สุดแผนฯ ฉบับท่ี ๔ ในปีการศึกษา ๒๕๕๙ มนี กั เรียนในพระราชานเุ คราะห์รวมท้ังส้ิน ๑,๙๑๑ คน ส่วนใหญ่กำ� ลังศึกษาอยู่ใน ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ จนถึงระดบั อุดมศกึ ษา มีเพียงสว่ นนอ้ ยทศี่ ึกษาอยูใ่ นระดับประถม ศึกษา ๒. ผลการพฒั นา ผลการพัฒนาโดยการประเมินตามตัวชีว้ ัดทก่ี ำ� หนดไว้ในช่วงของแผนพฒั นาเด็กและ เยาวชนในถน่ิ ทุรกนั ดาร ตามพระราชด�ำริ ฉบบั ที่ ๔ พ.ศ. ๒๕๕๐–๒๕๕๙ มรี ายละเอียด ดงั ตอ่ ไปนี้ ตารางที่ ๒ สรปุ ภาพรวมการพฒั นาตามตวั ชี้วดั ในชว่ งแผนพัฒนาเดก็ และเยาวชน ในถน่ิ ทุรกนั ดาร ตามพระราชดำ� ริ ฉบบั ที่ ๔ พ.ศ. ๒๕๕๐–๒๕๕๙ ๒๕๕๑ ๒๕๕๔ ๒๕๕๘ วตั ถปุ ระสงคท์ ่ี ๑ ส่งเสรมิ โภชนาการและสขุ ภาพอนามัยของเดก็ และเยาวชน เริ่มตงั้ แต่ในครรภม์ ารดา เปา้ หมายที่ ๑ เด็กตัง้ แต่ในครรภ์มารดาทกุ คนได้รับบรกิ ารเบือ้ งตน้ จนเกดิ รอดปลอดภยั อัตราตายของทารกต่อการเกิดมชี ีพ ๑,๐๐๐ คน ๗.๗ ๑๙.๐ ๑๙.๐ ๑๑.๖ ร้อยละของทารกแรกเกิดมีน�้ำหนกั นอ้ ยกวา่ ๒,๕๐๐ กรมั ๙.๗ ๑๑.๔ ๖.๔ ร้อยละของภาวะนำ�้ หนักน้อยกว่าเกณฑข์ องเด็กแรกเกดิ – ๖.๑ ๖.๕ ๘.๑ ๙๔.๒ ๓ ปี ร้อยละของภาวะเต้ียของเด็กแรกเกิด–๓ ปี ๑๐.๖ ๑๕.๕ รอ้ ยละของเดก็ แรกเกดิ –๓ ปี มีพัฒนาการตามวัย ๙๗.๙ ๘๖.๒

แผนพฒั นาเด็กและเยาวชนในถิน่ ทุรกนั ดารตามพระราชดำ� ริ 9 ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ ๒๕๕๑ ๒๕๕๔ ๒๕๕๘ เปา้ หมายท่ี ๒ เดก็ ปฐมวยั ทุกคนได้รบั การส่งเสรมิ ด้านโภชนาการและมีพฒั นาการ ตามวัย รอ้ ยละของเด็กปฐมวัยมนี ำ�้ หนักน้อยกว่าเกณฑ์ ๓.๘ ๗.๘ ๘.๐ ร้อยละของเดก็ ปฐมวยั มภี าวะเต้ยี * ๑๒.๑ ๗.๘ ๗.๑ รอ้ ยละของเดก็ ปฐมวัยมภี าวะผอม* ๑.๘ ๕.๕ ๖.๕ รอ้ ยละของเดก็ ปฐมวยั มีภาวะเริม่ อ้วนและอว้ น* ๐.๕ ๒.๖ ๓.๑ ร้อยละของเด็กปฐมวยั มสี มรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ ๕๑.๘ ๖๔.๗ ๖๕.๒ เปา้ หมายที่ ๓ เดก็ ทุกคนมนี ้�ำหนักและส่วนสงู ตามเกณฑม์ าตรฐานของเดก็ ไทย และ มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ ร้อยละของนักเรยี นประถมศึกษามีภาวะเต้ยี * ๑๒.๙ ๗.๑ ๗.๒ รอ้ ยละของนักเรยี นประถมศกึ ษามภี าวะผอม* ๕.๓ ๓.๘ ๓.๘ รอ้ ยละของนกั เรียนประถมศึกษามภี าวะเรม่ิ อว้ นและอว้ น* ๑.๑ ๔.๑ ๔.๙ ร้อยละของนกั เรียนประถมศึกษามีสมรรถภาพทางกาย ๖๗.๙ ๖๗.๓ ๗๓.๗ ตามเกณฑ์ รอ้ ยละของนกั เรียนมัธยมศึกษามภี าวะเตยี้ * - ๔.๓ ๔.๔ รอ้ ยละของนกั เรียนมัธยมศกึ ษามีภาวะผอม* - ๓.๕ ๒.๕ รอ้ ยละของนกั เรียนมธั ยมศกึ ษามีภาวะเร่ิมอ้วนและอ้วน* - ๖.๕ ๘.๘ รอ้ ยละของนักเรยี นมัธยมศกึ ษามสี มรรถภาพทางกาย - ๘๐.๘ ๗๙.๕ ตามเกณฑ์ เปา้ หมายที่ ๔ ลดอัตราคอพอกในนักเรียนประถมศึกษาลงจนไมเ่ ป็นปัญหา สาธารณสขุ รอ้ ยละของนกั เรยี นประถมศกึ ษาทเี่ ปน็ โรคคอพอก ๑.๕ ๐.๙ ๐.๖ เป้าหมายที่ ๕ ลดอตั ราป่วยดว้ ยโรคมาลาเรยี และโรคหนอนพยาธิในนกั เรียนลงจนไม่ เปน็ ปัญหาสาธารณสขุ อัตราพบเช้อื โรคไข้มาลาเรียในนกั เรยี น - ๐.๔ ๐.๓ อตั ราความชกุ ของโรคหนอนพยาธใิ นนักเรยี น ๑๔.๑ ๑๐.๔ ๙.๔ (๒๕๕๙)

10 แผนพัฒนาเดก็ และเยาวชนในถ่นิ ทุรกันดารตามพระราชด�ำริ ฉบับท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ ๒๕๕๑ ๒๕๕๔ ๒๕๕๘ เปา้ หมายที่ ๖ เด็กและเยาวชนทุกคนมีพฤติกรรมในการเลอื กบริโภคอาหารที่ เหมาะสม รอ้ ยละของนกั เรยี นประถมศึกษาปีท่ี ๓ ทบ่ี ริโภคอาหารได้ ๙๔.๔ ๘๖.๑ ๙๓.๕ ถูกต้อง รอ้ ยละของนกั เรียนประถมศึกษาปีที่ ๖ ที่บริโภคอาหารได้ ๙๐.๐ ๘๗.๙ ๙๕.๘ ถกู ตอ้ ง รอ้ ยละของนักเรียนมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ทีบ่ รโิ ภคอาหารได้ - ๘๘.๑ ๙๗.๗ ถูกต้อง รอ้ ยละของนักเรยี นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖ ทีบ่ รโิ ภคอาหารได้ - ๙๔.๓ ๙๘.๐ ถกู ต้อง เป้าหมายท่ี ๗ เดก็ และเยาวชนทกุ คนมสี ขุ นสิ ัยทพี่ ึงประสงค์ ร้อยละของนกั เรียนประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ ท่ีมีพฤติกรรม ๗๗.๘ ๗๐.๒ ๘๗.๔ สขุ ภาพทีพ่ งึ ประสงค์ รอ้ ยละของนักเรียนประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ท่มี ีพฤตกิ รรม ๘๐.๐ ๖๖.๐ ๙๑.๑ สขุ ภาพที่พึงประสงค์ รอ้ ยละของนักเรยี นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ ทมี่ พี ฤติกรรม - ๘๑.๖ ๙๒.๒ สขุ ภาพทพ่ี ึงประสงค์ รอ้ ยละของนักเรียนมธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ ท่มี ีพฤตกิ รรม - ๘๕.๙ ๙๔.๔ สุขภาพท่พี งึ ประสงค์ เปา้ หมายท่ี ๘ นักเรียนตัง้ แตร่ ะดบั ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๔ เป็นต้นไปไดร้ ับการเตรียม ความพร้อมในการเป็นพอ่ และแมท่ ่ีดี รอ้ ยละของเดก็ นกั เรยี นระดับชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ และ ไมม่ กี ารประเมนิ ผล ชั้นมธั ยมศกึ ษาท่ี ๓ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖ ทมี่ คี วามรใู้ น เร่อื งครอบครัวที่เปน็ สขุ ตั้งแต่ระดบั ดขี ึน้ ไป วตั ถปุ ระสงคท์ ี่ ๒ ส่งเสรมิ และสนับสนุนการเพม่ิ โอกาสทางการศึกษาใหแ้ ก่เดก็ และ เยาวชน เปา้ หมายที่ ๑ เด็กและเยาวชนด้อยโอกาสมีโอกาสเขา้ ถงึ และได้รบั บริการทางการ ศกึ ษาในรูปแบบทเี่ หมาะสมเพม่ิ ข้ึน รอ้ ยละของเดก็ ก่อนวัยเรยี นท่ไี ดเ้ ข้าเรียนชน้ั อนุบาล ๘๒.๒ ๗๗.๗ ๙๔.๐

แผนพัฒนาเดก็ และเยาวชนในถนิ่ ทรุ กนั ดารตามพระราชดำ� ริ 11 ฉบับท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ ๒๕๕๑ ๒๕๕๔ ๒๕๕๘ ร้อยละของเด็กท่เี รยี นตอ่ ในระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ ๘๕.๙ ๗๑.๗ ๘๕.๑ รอ้ ยละของเดก็ และเยาวชนที่มคี วามตอ้ งการจำ� เปน็ พิเศษ - ๑๕.๐ ๑๙.๕ ไดร้ บั การพฒั นาศักยภาพและเตรียมความพร้อมเพ่ือส่งต่อ เรยี นร่วม ร้อยละของเด็กและเยาวชนทม่ี คี วามต้องการจำ� เป็นพเิ ศษ - ๓๗.๘ ๕๔.๒ ได้รบั การศึกษาในรูปแบบท่ีเหมาะสม เป้าหมายที่ ๒ อตั ราการเรียนต่อของนกั เรยี นในพระราชานเุ คราะห์ในแตล่ ะระดบั การศึกษาเพ่ิมข้ึน รอ้ ยละของนกั เรียนในพระราชานเุ คราะห์ทสี่ ามารถเรียน ๗๘.๓ ๘๓.๙ ๙๖.๘ ตอ่ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๔ หรือวิชาชพี รอ้ ยละของนักเรยี นในพระราชานเุ คราะห์ท่สี ามารถเรียน ๘๑.๖ ๘๑.๑ ๗๑.๒ ตอ่ ระดบั อุดมศกึ ษา วัตถุประสงคท์ ี่ ๓ เสรมิ สรา้ งศักยภาพของเด็กและเยาวชนในการเรยี นรทู้ างวชิ าการ เปา้ หมายที่ ๑ เดก็ และเยาวชนมคี วามรแู้ ละทกั ษะท่ีจำ� เป็นในวชิ าภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาองั กฤษเพ่มิ ขึ้น (รายงานผลเฉพาะโรงเรียนใน สงั กดั กองบญั ชาการต�ำรวจตระเวนชายแดน) คะแนนเฉลีย่ กลมุ่ สาระภาษาไทยของนักเรยี นประถมศกึ ษา ๓๖.๑ ๔๑.๗ ๔๑.๑ ปที ี่ ๖ คะแนนเฉลยี่ กลุม่ สาระวิทยาศาสตร์ของนักเรยี นประถม ๔๓.๗ ๓๔.๐ ๓๔.๐ ศกึ ษาปีที่ ๖ คะแนนเฉลี่ยกลุ่มสาระคณติ ศาสตรข์ องนักเรียนประถม ๓๗.๗ ๓๗.๖ ๒๘.๑ ศกึ ษาปที ี่ ๖ คะแนนเฉลยี่ กล่มุ สาระภาษาองั กฤษของนกั เรยี นประถม - ๓๓.๒ ๒๖.๕ ศกึ ษาปที ี่ ๖ คะแนนเฉลยี่ กล่มุ สาระภาษาไทยของนกั เรยี นมธั ยมศกึ ษาปี ๓๔.๒ ๓๖.๔ ๓๔.๕ ท่ี ๓ คะแนนเฉลย่ี กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ของนักเรยี น ๓๓.๗ ๒๗.๑ ๒๙.๖ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓

12 แผนพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถน่ิ ทุรกนั ดารตามพระราชดำ� ริ ฉบับท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ คะแนนเฉลี่ยกลมุ่ สาระคณติ ศาสตรข์ องนกั เรียน ๒๕๕๑ ๒๕๕๔ ๒๕๕๘ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ๒๘.๐ ๒๘.๘ ๒๐.๒ คะแนนเฉลย่ี กลุ่มสาระภาษาองั กฤษของนกั เรยี น ๒๔.๔ ๒๕.๒ ๒๕.๗ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ วัตถุประสงคท์ ่ี ๔ เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพของเดก็ และเยาวชนทางการอาชีพ เป้าหมายที่ ๑ เดก็ และเยาวชนทกุ คนมคี วามรแู้ ละทกั ษะพื้นฐานทางการเกษตรย่งั ยืน ในการผลิตอาหารเพื่อการบริโภค และทางดา้ นอาชีพทจี่ �ำเป็นในการด�ำรงชวี ติ ร้อยละของนักเรยี นประถมศึกษาปที ี่ ๖ ทม่ี ีความรู้ด้าน ๙๐.๐ ๗๐.๑ ๗๑.๑ การเกษตรยั่งยนื ต้งั แต่ระดับดีขน้ึ ไป เปา้ หมายที่ ๒ เด็กและเยาวชนทุกคนมีคุณลักษณะทพี่ งึ ประสงคต์ ามหลกั การและ อุดมการณส์ หกรณ์ รอ้ ยละของนกั เรยี นประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ท่มี พี ฤตกิ รรมท่ี ๘๕.๐ ๖๖.๙ ๗๑.๔ สอดคล้องกบั อุดมการณ์สหกรณ์ต้งั แตร่ ะดบั ดีขึ้นไป วตั ถปุ ระสงค์ที่ ๕ ปลูกฝงั จติ สำ� นึกและพัฒนาศกั ยภาพของเดก็ และเยาวชนในการ อนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม เป้าหมายท่ี ๑ เด็กและเยาวชนทุกคนมคี วามรแู้ ละตระหนกั ถึงความสำ� คญั ของการ อนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม และผลกระทบของทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอ้ มต่อการด�ำรงชวี ติ รอ้ ยละของนกั เรียนประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ที่มีความรู้ดา้ นการ ๘๕.๐ ๕๙.๓ ๖๘.๐ อนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม ต้ังแตร่ ะดับดี ขน้ึ ไป เป้าหมายที่ ๒ เด็กและเยาวชนทกุ คนมีลกั ษณะนิสัยในการอนรุ กั ษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมใหอ้ ย่ใู นสภาพทีด่ ี และการใชท้ รัพยากรอย่างมี ประสิทธภิ าพ รอ้ ยละของนักเรียนประถมศกึ ษาปีที่ ๖ มพี ฤติกรรมการ ๙๐.๐ ๘๐.๔ ๗๒.๔ อนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มทีพ่ งึ ประสงค์ ต้งั แตร่ ะดับดขี ึน้ ไป

แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถนิ่ ทุรกนั ดารตามพระราชดำ� ริ 13 ฉบับท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ ๒๕๕๑ ๒๕๕๔ ๒๕๕๘ วตั ถุประสงค์ท่ี ๖ เสรมิ สร้างศักยภาพของเดก็ และเยาวชนในการอนุรักษ์และสืบทอด วฒั นธรรมและภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่ เปา้ หมายท่ี ๑ เด็กและเยาวชนทกุ คนมคี วามรเู้ กี่ยวกับวฒั นธรรมและภมู ิปญั ญา ทอ้ งถน่ิ ของตน รอ้ ยละของนักเรยี นประถมศึกษาปีที่ ๖ มีความรู้เก่ยี วกับ กิจกรรมมีหลายประเภท วัฒนธรรมและภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ ตง้ั แต่ระดบั ดีขน้ึ ไป จงึ ประเมินผลลัพธร์ วมไม่ได้ เป้าหมายท่ี ๒ เดก็ และเยาวชนมคี วามภาคภูมใิ จ เห็นคุณค่าในมรดกทางวฒั นธรรม และภูมปิ ัญญาของทอ้ งถน่ิ และมีความรกั ทอ้ งถิ่น ร้อยละของนักเรยี นประถมศึกษาปีท่ี ๖ ทไี่ ดร้ ่วมกจิ กรรม กจิ กรรมมีหลายประเภท การอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมและภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน จงึ ประเมนิ ผลลัพธร์ วมไม่ได้ หมายเหตุ - ภาวะเตีย้ ประเมินจากส่วนสูงตามเกณฑอ์ ายุ - ภาวะผอม, ภาวะเรม่ิ อ้วนและอว้ น ประเมินจากน้ำ� หนักตามเกณฑส์ ว่ นสงู ๒.๑ การเสรมิ สรา้ งโภชนาการและสุขภาพอนามยั การด�ำเนินงานท่ีผ่านมาประกอบด้วยกิจกรรมหลัก ได้แก่ การเกษตร การประกอบ อาหารกลางวนั และอาหารเสรมิ การเฝา้ ระวงั ทางโภชนาการ การควบคมุ โรคขาดสารไอโอดนี การป้องกันการเจ็บป่วยจากโรคติดเช้ือ โรคมาลาเรียและโรคหนอนพยาธิ การเสริมสร้าง สขุ นสิ ัยที่พึงประสงค์ การพฒั นาสมรรถภาพทางกาย และการสนับสนนุ งานบรกิ ารอนามยั แม่และเดก็ ในพน้ื ทท่ี ่ีบรกิ ารสาธารณสขุ เขา้ ไม่ถึง การดำ� เนนิ งานปรากฏผลดงั นี้ กลุ่มหญิงต้ังครรภ์และทารกแรกเกิดจนถึง ๓ ปี อยู่ในหมู่บ้านเขตบริการของ สถานศึกษาในโครงการตามพระราชด�ำริ หลายหมู่บ้านยังเป็นพ้ืนท่ีที่เข้าถึงยากโดยเฉพาะ พื้นที่ท่ีเป็นภูเขาสูงทางภาคเหนือ การให้บริการแม่และเด็กเบื้องต้นจึงผ่านทางครูอนามัย ของโรงเรยี น โดยขับเคลอ่ื นงานรว่ มกับ อสม. หมอต�ำแย และเจา้ หนา้ ท่อี นามัย เชน่ พน้ื ท่ี ของ รร. ตชด. และ ศศช. ผลการด�ำเนนิ งานพบวา่ ในช่วงครึง่ หลังของแผนฯ ฉบับที่ ๔ อตั ราการตายทารกตอ่ การเกดิ มชี พี พนั คนและอตั ราทารกแรกเกดิ มนี ำ�้ หนกั นอ้ ยกวา่ ๒,๕๐๐ กรมั เพ่ิมสงู ข้ึน โดยใน พ.ศ. ๒๕๕๘ พบว่า อตั ราการตายทารกสูงถึง ๑๙.๐ ต่อการเกดิ มชี ีพ พันคน (เปา้ หมาย ๑๒ ตอ่ การเกิดมีชพี พันคน) และอัตราทารกแรกเกดิ มีน�ำ้ หนกั น้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัมเปน็ รอ้ ยละ ๑๑.๖ (เป้าหมายรอ้ ยละ ๗) สะท้อนถงึ คุณภาพของการใหบ้ ริการ

14 แผนพฒั นาเด็กและเยาวชนในถ่ินทรุ กันดารตามพระราชด�ำริ ฉบบั ที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ แมแ่ ละเดก็ ทยี่ งั ไมค่ รอบคลมุ ทกุ พน้ื ที่ และปญั หาการขาดอาหารของหญงิ ตง้ั ครรภท์ ยี่ งั คงมอี ยู่ ในบางพน้ื ที่ นอกจากนย้ี ังพบว่า เด็กแรกเกดิ จนถงึ ๓ ปมี ีภาวะเต้ยี สงู ถงึ ร้อยละ ๘.๑ และ สูงกวา่ กลมุ่ อ่นื ๆ แสดงถงึ การขาดสารอาหารอย่างเรื้อรังมานาน แตอ่ ย่างไรกต็ ามรอ้ ยละ ๙๔.๒ ของเด็กกลมุ่ น้ียงั มีพัฒนาการตามวัยตามเกณฑ์ กลมุ่ เดก็ เล็กหรือเด็กปฐมวัย ในช่วงแผนฯ ฉบับท่ี ๔ เดก็ กล่มุ นี้ครอบคลุมเดก็ ทอ่ี ย่ใู น ชว่ งอายุ ๓ ถงึ ต่ำ� กว่า ๖ ปี การด�ำเนนิ งานในช่วงทผี่ า่ นมาไดพ้ ยายามผลักดนั ให้เด็กกลุม่ น้ี ไดร้ บั การดแู ลอยา่ งเปน็ ระบบ ทง้ั ดา้ นโภชนาการ การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการ การเตรยี ม ความพร้อมของเดก็ ก่อนเข้าโรงเรยี น ดังน้นั เด็กกล่มุ นจ้ี ึงอยใู่ นการดแู ลของศูนยส์ ง่ เสริมและ พัฒนาเด็กวัยเตาะแตะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของกรมพัฒนา ชมุ ชน หรือชน้ั อนบุ าลของโรงเรยี น ผลการด�ำเนินงานพบว่า ใน พ.ศ. ๒๕๕๘ ก่อนสน้ิ สุด แผนฯ ฉบับท่ี ๔ มภี าวะเตย้ี เพียงร้อยละ ๗.๑ แตเ่ ร่มิ มปี ญั หาอ้วน โดยรอ้ ยละของภาวะเรมิ่ อ้วนและอ้วนรวมกันเป็น ๓.๑ ขณะเดียวกันสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มีเพียงร้อยละ ๖๕.๒ เทา่ น้นั เมื่อพิจารณาถึงสถานการณ์โดยรวมของประเทศพบว่า เด็กปฐมวัยซึ่งนับต้ังแต่ แรกเกิดจนถึง ๕ ปียังมีพัฒนาการที่ล่าช้ากว่าวัย สาเหตุมาจากครอบครัวไม่มีความรู้และ ขาดเวลาในการเลี้ยงดูอย่างเหมาะสม๑ 1 กลุ่มเด็กนกั เรยี น เมือ่ สิ้นปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๘ นกั เรียนประถมศึกษาร้อยละ ๗.๒ มี ภาวะเต้ยี ร้อยละ ๔.๙ มีภาวะเรม่ิ อ้วนและอว้ น และร้อยละ ๗๓.๗ มสี มรรถภาพทางกาย ตามเกณฑ์ ส�ำหรับนกั เรียนมัธยมศึกษาพบว่า มีภาวะเตย้ี รอ้ ยละ ๔.๔ ภาวะเร่ิมอว้ นและอว้ น รวมกันรอ้ ยละ ๘.๘ และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑร์ อ้ ยละ ๗๙.๕ เมือ่ พจิ ารณาภาวะโภชนาการของทุกกลมุ่ อายุพบวา่ ในช่วง ๑๐ ปนี ี้นอกจากจะพบ ปัญหาโภชนาการขาดแลว้ ยงั มแี นวโนม้ ของภาวะเร่มิ อว้ นและอว้ นรวมกนั เพ่ิมขนึ้ ในทุกกลมุ่ อายุ โดยกลุ่มเด็กมัธยมศึกษามีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนรวมกันสูงสุด เด็กเหล่าน้ีจะเสี่ยงต่อ การเติบโตเปน็ ผู้ใหญ่ที่ยงั คงอว้ น และเสยี่ งตอ่ การเกิดโรคไม่ติดตอ่ เร้อื รงั อาทิ โรคหวั ใจและ หลอดเลอื ด โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหติ สูง ส�ำหรับสถานการณ์การขาดสารไอโอดีนในพ้ืนที่โครงการตามพระราชด�ำรินั้น หลงั จากไดด้ ำ� เนนิ งานปอ้ งกนั และควบคมุ โรคขาดสารไอโอดนี มาอยา่ งตอ่ เนอื่ งดว้ ยมาตรการ การใชเ้ กลอื เสรมิ ไอโอดนี ทง้ั ทโ่ี รงเรยี นและครวั เรอื น การใหเ้ ดก็ ดมื่ นำ้� เสรมิ ไอโอดนี ทโี่ รงเรยี น ๑1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๑๒

แผนพฒั นาเด็กและเยาวชนในถ่นิ ทุรกนั ดารตามพระราชด�ำริ 15 ฉบบั ท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ ทุกวัน และการเฝา้ ระวงั โดยครูอนามัยตรวจคอพอกในเดก็ นักเรยี นประถมศึกษาทุก ๖ เดือน พบว่า อตั ราคอพอกในเด็กนกั เรยี นประถมศกึ ษามีไม่เกนิ รอ้ ยละ ๕ มาอยา่ งตอ่ เนื่องตัง้ แต่ แผนฯ ฉบับที่ ๓ จนสิน้ สุดแผนฯ ฉบับท่ี ๔ อยา่ งไรก็ตามเม่อื กรมอนามัยทำ� การสุ่มตรวจ ระดับไอโอดีนในปัสสาวะของนักเรียนประถมศึกษาในพื้นที่จังหวัดเลยกลับพบว่า มีการขาด สารไอโอดนี ในระดับต่าง ๆ รวมกันสงู ถงึ รอ้ ยละ ๔๗ และยังพบว่ามีเด็กนกั เรียนทมี่ ีความ เสี่ยงทีจ่ ะได้รับไอโอดีนเกินถึงร้อยละ ๑๖.๗ ดงั น้ันการดำ� เนินงานต่อไปจึงตอ้ งมีการทบทวน มาตรการและวธิ ีการทีจ่ ะใชอ้ ย่างรอบคอบ ในการพัฒนาอนามัยส่วนบคุ คลพบวา่ โรงเรยี นในโครงการตามพระราชด�ำรทิ ุกโรง ไดเ้ กดิ ความตน่ื ตวั และมกี ารพฒั นาทง้ั ในสว่ นของโครงสรา้ งทางกายภาพ เชน่ หอ้ งสว้ ม ทล่ี า้ ง มอื หอ้ งครัว โรงอาหารท่ถี ูกสขุ ลักษณะ เปน็ ตน้ และการกระตนุ้ ให้เด็กฝึกปฏิบัตจิ นพัฒนา เป็นนิสัยอันพึงประสงค์ ๑๒ ข้อ (ไดแ้ ก่ อาบน้�ำอยา่ งน้อยวนั ละ ๑ ครงั้ สระผมอย่างนอ้ ย สัปดาหล์ ะ ๒ คร้งั แปรงฟันอย่างน้อยวนั ละ ๑ คร้ัง ล้างมือกอ่ นรบั ประทานอาหาร ลา้ ง มือหลังขบั ถา่ ย ตัดเล็บมอื เลบ็ เท้าให้สัน้ อย่เู สมอ สวมรองเทา้ ราดน�ำ้ เม่ือใชส้ ้วม ใชช้ ้อนรบั ประทานอาหาร ใชช้ อ้ นกลางเมอ่ื รบั ประทานอาหารรว่ มกบั ผอู้ น่ื ใสเ่ สอ้ื ผา้ สะอาด และใชแ้ กว้ นำ้� ตนเองเมอ่ื ดมื่ นำ�้ ) ผลจากการประเมนิ พฤตกิ รรมของนกั เรยี นพบวา่ นกั เรยี นมกี ารพฒั นา สขุ นสิ ยั ทพ่ี งึ ประสงคไ์ ปในทศิ ทางทด่ี ขี น้ึ สอดคลอ้ งกบั ผลการสำ� รวจโรคหนอนพยาธเิ มอื่ สนิ้ สดุ แผนฯ ฉบับที่ ๔ ใน พ.ศ. ๒๕๕๙ พบวา่ อัตราการตดิ เช้ือโรคหนอนพยาธิลดลงเหลอื ร้อยละ ๙.๔ ยกเวน้ ในพืน้ ท่ี ศศช. ซงึ่ เปน็ ชาวไทยภูเขาเผา่ ต่าง ๆ ยงั คงพบสงู มากถงึ รอ้ ยละ ๔๕.๙ ซ่งึ สูงตอ่ เน่ืองมาจากแผนฯ ฉบับท่ี ๓ คือรอ้ ยละ ๔๔.๙ ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๔๙ สำ� หรบั เขตพื้นที่ทีป่ ระชากรมคี วามเสีย่ งต่อการติดเชื้อมาลาเรยี พบวา่ สถานการณ์มี แนวโนม้ ดขี ้นึ โดยมีอตั ราพบเชือ้ โรคไข้มาลาเรียในนกั เรยี นลดลง ๒.๒ โอกาสและคุณภาพทางการศกึ ษา ๒.๒.๑ การเพ่ิมโอกาสทางการศกึ ษา ๑) การเปิดสถานศึกษาในพ้ืนท่ีท่ียังเข้าไม่ถึงบริการการศึกษาข้ันพื้นฐานของรัฐ ระหวา่ ง พ.ศ. ๒๕๔๙-๒๕๕๘ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารโี ปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ำ� รวจพนื้ ทที่ ย่ี งั ไมม่ สี ถานศกึ ษาและจดั ตง้ั สถานศกึ ษาขนึ้ พรอ้ มทงั้ พระราชทานเงนิ เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยในการกอ่ สร้างอาคารเรยี น อาคารประกอบ วสั ดอุ ุปกรณ์เบ้ืองตน้ และจา้ งครู เพื่อ ให้โรงเรียนจัดบริการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานในระดับประถมศึกษาและจัดกิจกรรมการพัฒนา คณุ ภาพชวี ติ ได้ สถานศกึ ษาทโ่ี ปรดเกล้าฯ ใหจ้ ัดต้งั ขึ้น อาทิ

16 แผนพัฒนาเดก็ และเยาวชนในถ่ินทรุ กันดารตามพระราชด�ำริ ฉบบั ท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ • สถานศึกษาเพ่ือเป็นอนุสรณ์แก่ผู้มีคุณูปการในการพัฒนาเด็กและเยาวชนตาม พระราชดำ� ริ พ.ศ. ๒๕๕๒ โรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดน ม.ร.ว.เฉลิมลักษณ์ จันทรเสน อ.แมร่ ะมาด จ.ตาก พ.ศ. ๒๕๕๕ โรงเรียนตำ� รวจตระเวนชายแดนท่านผหู้ ญงิ สปุ ระภาดา เกษมสันต์ อ.กาบเชงิ จ.สรุ ินทร์ พ.ศ. ๒๕๕๖ โรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดน ศ.ดร.เนวนิ สคริมซอร์ อ.บณุ ฑรกิ จ.อบุ ลราชธานี พ.ศ. ๒๕๕๗ โรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดน ศ.ส�ำเภา-ไพวรรณ วรางกูร อ.แมส่ อด จ.ตาก • โรงเรยี นต�ำรวจตระเวนชายแดนในพ้นื ทขี่ าดแคลนหา่ งไกล ๑๗ แหง่ โดยในปกี าร ศึกษา ๒๕๕๗ จ�ำนวน ๘ โรงเรียน และในปกี ารศึกษา ๒๕๕๘ อกี จ�ำนวน ๙ โรงเรียน ๒) การขยายการจัดบริการการศึกษาขัน้ พื้นฐานในระดบั มัธยมศึกษา ในบางพ้ืนที่ เช่น จังหวัดตาก เป็นพ้ืนท่ีที่เข้าถึงยากโดยเฉพาะฤดูฝน ท�ำให้เด็ก นกั เรยี นขาดโอกาสทจี่ ะศกึ ษาตอ่ ในระดบั มธั ยมศกึ ษา สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยาม- บรมราชกุมารีจึงมีพระราชด�ำริให้โรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดนขยายการจัดการศึกษา ระดบั มัธยมศกึ ษาเพม่ิ ข้นึ ในปีการศกึ ษา ๒๕๕๓ จำ� นวน ๒ โรงเรยี น คือ โรงเรียนตำ� รวจ ตระเวนชายแดนเฉลมิ พระเกียรติ ๗ รอบ พระชนมพรรษา (บา้ นหม่องกัว๊ ะ) และโรงเรยี น ตำ� รวจตระเวนชายแดน ม.ร.ว.เฉลมิ ลักษณ์ จันทรเสน ๓) การจดั การศกึ ษาสำ� หรบั เดก็ และเยาวชนในพืน้ ทที่ รุ กนั ดารท่ีมคี วามบกพร่องทาง ดา้ นรา่ งกาย สตปิ ญั ญา และอารมณ์ ในชว่ งแผนฯ ฉบบั ที่ ๔ มีการสง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กและเยาวชนทมี่ คี วามบกพร่องทางด้าน ร่างกาย สติปัญญา และอารมณ์ ท่ีอยู่ในโรงเรียนได้รับการศึกษาที่เหมาะสมอย่างเป็นรูป ธรรม โดยการฝกึ อบรมครใู นเร่อื งการคดั กรอง การจดั การศกึ ษาเฉพาะ และการสง่ ตอ่ ไปยงั โรงเรยี นพิเศษ ในปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ สามารถคัดกรองเด็กท่ีมปี ญั หาพิเศษเหลา่ นี้ได้จ�ำนวน ทงั้ ส้ิน ๘๒๙ คน และได้รบั การศกึ ษาในรปู แบบทีเ่ หมาะสมเพียงรอ้ ยละ ๕๔.๒ เทา่ นั้น ในปี การศกึ ษา ๒๕๕๙ จำ� นวนเด็กทีม่ ีปญั หาพิเศษเพม่ิ ข้นึ เป็น ๑,๑๗๔ คน และจ�ำนวนเดก็ ท่ไี ด้ รับการศึกษาที่เหมาะสมเพ่ิมเป็นร้อยละ ๖๓.๙ อย่างไรก็ตามโรงเรียนในโครงการตาม พระราชด�ำริโดยเฉพาะโรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดนยังไม่สามารถจัดการศึกษาให้ ครอบคลมุ ไดท้ ง้ั หมด เนอื่ งจากยงั ขาดแคลนครทู ม่ี คี วามเชยี่ วชาญทางดา้ นน้ี อกี ทงั้ ผปู้ กครอง

แผนพฒั นาเด็กและเยาวชนในถิน่ ทรุ กนั ดารตามพระราชด�ำริ 17 ฉบับท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ ยังขาดความเข้าใจจึงไม่ให้ความร่วมมือในการสง่ เดก็ เขา้ สรู่ ะบบการศกึ ษา ๔) นักเรียนในพระราชานุเคราะห์ ภายหลังจากจบมัธยมศึกษาตอนต้นแล้ว นักเรียนในพระราชานุเคราะห์ได้ศึกษาต่อ ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเฉลี่ยร้อยละ ๘๓.๗ ต่อปีในช่วงปีการศึกษา ๒๕๕๐-๒๕๕๘ คงเหลือร้อยละ ๑๖.๓ ท่ีออกจากระบบของนักเรียนในพระราชานุเคราะห์ไป ในจ�ำนวนที่ เรยี นตอ่ ในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายพบวา่ สดั สว่ นนกั เรยี นในพระราชานเุ คราะหศ์ กึ ษาตอ่ มธั ยมศกึ ษาตอนปลายสายอาชวี ศกึ ษาตอ่ สายสามญั ศกึ ษาอยรู่ ะหวา่ งรอ้ ยละ ๑๐ ตอ่ ๙๐ ถงึ รอ้ ยละ ๒๓ ตอ่ ๗๗ (เปรยี บเทยี บกบั คา่ เปา้ หมายของประเทศ คอื ๔๕ ตอ่ ๕๕๒)2(ภาพที่ ๑) จะ เหน็ ไดว้ า่ นกั เรยี นทไี่ ดร้ บั ทนุ พระราชทานสว่ นใหญจ่ ะมงุ่ ศกึ ษาตอ่ ในระดบั อดุ มศกึ ษามากกวา่ ทางสายอาชีพ เช่นเดียวกับสถานการณ์ของประเทศที่พบว่าสัดส่วนผู้เรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ประเภทอาชวี ศึกษาตอ่ สายสามัญในสังกัดกระทรวงศึกษาธกิ ารระหวา่ งปีการศึกษา ๒๕๕๔- ๒๕๕๘ มีแนวโนม้ ลดตำ�่ ลงอย่างต่อเนื่อง โดยในปีการศกึ ษา ๒๕๕๔ มสี ัดสว่ นทรี่ ้อยละ ๓๖.๔ และลดลงเหลือ ๓๓.๙ ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๘ สถานการณ์ดังกล่าวรว่ มกับจำ� นวนประชากร วยั แรงงานลดลงจากการเปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งประชากรไทยเขา้ สสู่ งั คมผสู้ งู อายสุ ง่ ผลใหเ้ กดิ การขาดแคลนแรงงานในภาพรวมของประเทศ สวนทางกบั การพฒั นาประเทศทตี่ อ้ งการกำ� ลงั คนทางดา้ นอาชวี ศกึ ษาท่มี ีความรู้และทกั ษะทีส่ อดคล้องกบั ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน ภาพที่ ๑ สัดส่วนนักเรียนในพระราชานุเคราะหร์ ะดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สายอาชวี ศึกษาต่อสายสามัญศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๐-๒๕๕๘ ๒2 แผนพฒั นาการศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ฉบบั ที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔)

18 แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถ่ินทรุ กันดารตามพระราชดำ� ริ ฉบบั ท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ ๒.๒.๒ การส่งเสริมคุณภาพการศึกษา สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี มีพระราชด�ำริใหม้ ีการส่งเสริม คุณภาพการศกึ ษา เพ่ือให้เด็กและเยาวชนท่ีอยู่ในพ้นื ที่ทุรกันดารหา่ งไกลได้รับการศกึ ษาที่มี คณุ ภาพเทา่ เทยี มกบั พนื้ ทอ่ี น่ื ๆ ของประเทศ การดำ� เนนิ งานทผ่ี า่ นมามที งั้ การพฒั นาศกั ยภาพ ของครูโดยการฝึกอบรมเพิ่มพูนความรู้และทักษะประจ�ำปี การส่งเสริมให้ครูมีวุฒิทางการ ศึกษาสูงขึ้น การส่งเสริมการใช้ห้องสมุด การสนับสนุนปัจจัยที่จ�ำเป็นต่อการจัดการเรียน การสอน เชน่ อาคารสถานท่ี สือ่ วัสดุและอปุ กรณ์ท่จี ำ� เปน็ การใชเ้ ทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ และการสือ่ สารมาช่วยในการจัดการศกึ ษา ปรากฏผลดงั ต่อไปนี้ ๑) ผลการทดสอบระดบั ชาติการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน (O-NET) ผลการทดสอบระดบั ชาตกิ ารศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน (O-NET) ระหวา่ งปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๑–๒๕๕๙ ของเด็กนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ ของโรงเรียนในสังกัดกองบัญชาการต�ำรวจ ตระเวนชายแดนพบวา่ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นในกลุ่มสาระหลัก ๔ วชิ า คือ ภาษาไทย วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และภาษาองั กฤษ (ยกเวน้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม) มีคา่ เฉล่ยี ต่ำ� กวา่ คา่ เฉลี่ยของประเทศในทุกกลมุ่ วชิ าอย่างต่อเนอื่ งในช่วงปีการศึกษา ๒๕๕๑ ถึง ๒๕๕๙ (ตารางที่ ๓) ตารางที่ ๓ เปรยี บเทียบคา่ เฉล่ียผลการสอบ O-NET ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๑–๒๕๕๙ ของโรงเรยี นตำ� รวจตระเวนชายแดนกบั คา่ เฉล่ียของประเทศ หนว่ ย: รอ้ ยละ ป.๖ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ตชด. ประเทศ ตชด. ประเทศ ตชด. ประเทศ ตชด. ประเทศ ๒๕๕๑ ๓๖.๑ ๔๒.๐ ๔๓.๗ ๕๑.๗ ๓๗.๗ ๔๓.๘ - - ๒๕๕๒ ๓๔.๑ ๓๘.๖ ๓๑.๗ ๓๘.๗ ๒๗.๗ ๓๕.๙ ๒๖.๔ ๓๑.๘ ๒๕๕๓ ๒๕.๒ ๓๑.๒ ๓๓.๔ ๔๑.๖ ๒๖.๐ ๓๔.๙ ๑๙.๔ ๒๑.๐ ๒๕๕๔ ๔๑.๗ ๕๐.๐ ๓๔.๐ ๔๐.๘ ๓๗.๖ ๕๒.๔ ๓๓.๒ ๓๘.๔ ๒๕๕๕ ๓๖.๗ ๔๕.๗ ๓๑.๐ ๓๗.๕ ๒๖.๖ ๓๕.๘ ๒๘.๘ ๓๗.๐ ๒๕๕๖ ๓๕.๑ ๔๕.๐ ๓๐.๖ ๓๗.๔ ๓๐.๓ ๔๒.๐ ๒๘.๑ ๓๓.๘ ๒๕๕๗ ๓๖.๒ ๔๔.๙ ๓๓.๔ ๔๒.๑ ๒๗.๕ ๓๘.๑ ๒๗.๖ ๓๖.๐ ๒๕๕๘ ๓๘.๘ ๔๙.๓ ๓๔.๖ ๔๒.๖ ๒๙.๒ ๔๓.๕ ๒๙.๐ ๔๐.๓ ๒๕๕๙ ๔๑.๑ ๕๒.๙ ๓๔.๐ ๔๑.๒ ๒๘.๑ ๔๐.๕ ๒๖.๕ ๓๔.๖

แผนพฒั นาเด็กและเยาวชนในถิ่นทรุ กันดารตามพระราชดำ� ริ 19 ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ เมื่อนำ� คา่ เฉลีย่ ผลการสอบ O-NET ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๘ ของเด็กนกั เรยี นชน้ั ประถม ศึกษาปที ่ี ๖ ของโรงเรยี นในโครงการตามพระราชด�ำริ สังกดั กองบญั ชาการต�ำรวจตระเวน ชายแดน สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน และกรงุ เทพมหานคร จำ� นวน ๓๖๙ โรง มาเปรียบเทียบกับคา่ เฉลี่ยระดับประเทศพบว่า จำ� นวนโรงเรยี นทม่ี ีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรยี นสูงกว่าหรอื ใกลเ้ คยี งกบั ค่าเฉลย่ี ระดับประเทศในวชิ าภาษาไทยอยูท่ ่รี อ้ ยละ ๑๔.๔ วชิ า คณิตศาสตรร์ ้อยละ ๑๑.๔ วิชาวิทยาศาสตร์รอ้ ยละ ๑๙.๐ และวิชาภาษาอังกฤษร้อยละ ๘.๙ โดยสังกัดกรุงเทพมหานครจะมีจ�ำนวนโรงเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉล่ียสูงกว่าหรือ ใกล้เคยี งกบั คา่ เฉล่ียระดับประเทศมากทส่ี ุด (ตารางที่ ๔) ตารางที่ ๔ จำ� นวนและรอ้ ยละของโรงเรยี นทมี่ ผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษา ปีท่ี ๖ ปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ เฉลย่ี สูงกว่าหรือใกล้เคยี งกับค่าเฉลี่ยระดับประเทศ จำ� นวน ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ สงั กัด รร. จำ� นวน รอ้ ย จ�ำนวน รอ้ ย จ�ำนวน รอ้ ย จ�ำนวน รอ้ ย ทีเ่ ขา้ สอบ รร. ละ รร. ละ รร. ละ รร. ละ ตชด. ๑๙๐ ๗ ๓.๗ ๗ ๓.๗ ๒๔ ๑๒.๖ ๖ ๓.๒ สพฐ. ๑๕๔ ๓๖ ๒๓.๔ ๒๘ ๑๘.๒ ๓๘ ๒๔.๗ ๑๕ ๙.๗ กทม. ๒๔ ๑๐ ๔๐.๐ ๗ ๒๘.๐ ๘ ๓๒.๐ ๑๒ ๔๘.๐ รวม ๓๖๙ ๕๓ ๑๔.๔ ๔๒ ๑๑.๔ ๗๐ ๑๙.๐ ๓๓ ๘.๙ ๒) ปญั หาการอา่ นไม่ออกเขียนไมไ่ ด้ เมอ่ื เปรยี บเทยี บคา่ เฉลยี่ ผลการสอบ O-NET กลมุ่ สาระภาษาไทยของโรงเรยี นตำ� รวจ ตระเวนชายแดนกบั คา่ เฉลยี่ ของประเทศระหวา่ งปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๑-๒๕๕๙ พบวา่ มคี า่ เฉลยี่ ต่�ำกว่าของประเทศมาอย่างต่อเน่ือง และช่วงห่างของค่าเฉล่ียจะมากขึ้นตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๕ เปน็ ตน้ มา (ภาพท่ี ๒) เมอ่ื พจิ ารณาตามภมู ปิ ระเทศพบวา่ เดก็ นกั เรยี นโรงเรยี นตำ� รวจ ตระเวนชายแดนกลมุ่ ทเี่ ปน็ ชาวไทยภเู ขาในภาคเหนอื และเดก็ นกั เรยี นในพนื้ ทจ่ี งั หวดั นราธวิ าส ยะลา และปัตตานี มปี ญั หาในระดบั สงู กว่าพน้ื ท่อี ่นื ๆ ทง้ั นปี้ ัญหาดงั กลา่ วไม่ไดพ้ บเฉพาะใน โรงเรยี นตำ� รวจตระเวนชายแดนเทา่ นนั้ แตย่ งั เปน็ ปญั หาวกิ ฤตทสี่ ำ� คญั ยงิ่ ของประเทศ ดงั จะ เหน็ ได้จากค่าเฉลย่ี ของประเทศก็ยงั ต่ำ� กว่าร้อยละ ๕๐ มาอย่างตอ่ เน่อื ง ปัญหาการอา่ นไม่ ออกเขียนไมไ่ ด้นจี้ �ำเปน็ ตอ้ งร่วมมอื กนั ทกุ ฝา่ ยในการแกไ้ ขอยา่ งเรง่ ด่วน

20 แผนพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถนิ่ ทรุ กันดารตามพระราชดำ� ริ ฉบับท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ ภาพที่ ๒ เปรียบเทียบคา่ เฉล่ยี ผลการสอบ O-NET กลุม่ สาระภาษาไทย ของโรงเรียนตำ� รวจตระเวนชายแดนกับค่าเฉล่ยี ของประเทศ ระหวา่ งปกี ารศึกษา ๒๕๕๑-๒๕๕๙ ในชว่ งทผี่ า่ นมาสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารมี พี ระราชดำ� รใิ น การแกไ้ ขปญั หาโดยนำ� วธิ กี ารอา่ นแบบแจกลกู สะกดคำ� ทเี่ คยใชใ้ นการสอนในสมยั กอ่ นมาใชใ้ น โรงเรยี นตำ� รวจตระเวนชายแดน โดยเรม่ิ ทดลองทำ� ในโรงเรยี นตำ� รวจตระเวนชายแดนในพน้ื ที่ ภาคเหนือสังกัดกองก�ำกับการต�ำรวจตระเวนชายแดนท่ี ๓๒ ซึ่งปรากฏวา่ ได้ผลดี และต่อมา ในต้นปี ๒๕๕๘ จึงไดข้ ยายไปในโรงเรียนในพืน้ ท่จี งั หวดั นราธิวาส ยะลา และปตั ตานี ซ่ึงอยู่ ในความรับผดิ ชอบของกองก�ำกับการต�ำรวจตระเวนชายแดนท่ี ๔๔ จำ� นวน ๑๒ โรงเรยี น ผลการดำ� เนนิ งานพบวา่ ไดร้ บั การตอบรบั เปน็ อยา่ งดจี ากคณะครแู ละผปู้ กครองนกั เรยี น เดก็ นักเรยี นมีความกระตอื รอื ร้นในการเรยี นมากขึน้ ๓) การเตรียมความพร้อมของเด็กปฐมวยั ปัญหาหน่ึงในการเตรียมความพร้อมของเด็กนักเรียน คือการจัดการเรียนการสอน ในระดับอนุบาลเน่ืองจากมีหลายหน่วยงานรับผิดชอบ จึงท�ำให้มีมาตรฐานหลากหลาย แตกต่างกัน อีกทั้งโรงเรียนในถิ่นทุรกันดาร เช่น โรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดนขาด บุคลากรท่ีมีความรู้ทางด้านน้ีโดยตรง บางพื้นที่ไม่มีศูนย์เด็กเล็กรองรับ โรงเรียนต�ำรวจ ตระเวนชายแดนจึงรับเด็กเข้าช้ันอนุบาล การจัดช้ันอนุบาลจึงเป็นการคละหลายช่วงอายุ ท�ำให้การจัดกิจกรรมเสริมสร้างพัฒนาการของเด็กในแต่ละช่วงอายุเป็นไปด้วยความยาก ลำ� บาก ดงั นนั้ ในชว่ งปลายแผนฯ ฉบบั ท่ี ๔ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี จึงมีพระราชด�ำริให้ด�ำเนินการแก้ไขปัญหา โดยแบ่งเด็กตามช่วงอายุ และพัฒนาหลักสูตร กจิ กรรมทเี่ หมาะสมตามวยั

แผนพฒั นาเด็กและเยาวชนในถ่ินทุรกันดารตามพระราชด�ำริ 21 ฉบับท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ ๒.๓ การเสริมสรา้ งศกั ยภาพทางการอาชีพ กิจกรรมการผลิตทางการเกษตรถือเป็นกิจกรรมหลักท่ีโรงเรียนในโครงการตาม พระราชด�ำริ ด�ำเนินการ นอกจากจะเป็นแหล่งเรียนรู้ในการพัฒนาความรู้ ทักษะ และ ทัศนคติท่ีดีในงานอาชีพเกษตรแล้ว ยังเช่ือมโยงกับการพัฒนาศักยภาพของเด็กนักเรียนทั้ง ในดา้ นวชิ าการ การอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม และการอนุรกั ษ์วฒั นธรรม ทอ้ งถน่ิ และทีส่ �ำคัญอกี ประการหนงึ่ คือ ผลผลิตทางการเกษตรท่ไี ดย้ ังนำ� มาเปน็ วตั ถุดิบใน การประกอบอาหารกลางวนั อีกดว้ ย ดงั นนั้ ในชว่ งแผนฯ ฉบบั ท่ี ๔ ผลผลติ ทางการเกษตรยงั คงเปน็ ตวั ชวี้ ดั ทสี่ ำ� คญั ผลผลติ ทางการเกษตรแบง่ เป็น ๔ กลุ่มหลกั ได้แก่ พชื ผกั โดยมีเปา้ หมายการผลิตอยูท่ ี่ ๑๐๐ กรมั / คน/วัน ไม้ผลมเี ป้าหมายการผลติ ท่ี ๑๐๐ กรมั /คน/วนั เนอื้ สัตวม์ ีเปา้ หมายการผลติ ที่ ๔๐ กรมั /คน/วนั และถั่วเมลด็ แห้งมเี ปา้ หมายการผลติ ที่ ๒๕ กรมั /คน/วนั ในการดำ� เนนิ งานท่ี ผ่านมาพบว่า มีโรงเรยี นสว่ นหน่งึ สามารถผลติ ไดเ้ พยี งพอตามเป้าหมาย (ตารางท่ี ๕) ตารางท่ี ๕ โรงเรยี นทม่ี ีศักยภาพในการผลติ ทางการเกษตรได้เพียงพอ เมื่อเปรียบเทียบกบั เป้าหมาย จำ� นวนรร. เน้ือสตั ว์ ถ่ัวเมล็ดแห้ง ผัก ไม้ผล ทีร่ ายงาน ปี จ�ำนวน รอ้ ยละ จำ� นวน รอ้ ย จ�ำนวน รอ้ ยละ จ�ำนวน รอ้ ยละ รร. รร. ละ รร. รร. ๒๕๕๑ ๑๗๗ ๑๐๓ ๕๘.๒ ๒๑ ๑๑.๙ ๘๒ ๔๖.๓ ๖๓ ๓๕.๖ ๒๕๕๔ ๖๐๑ ๒๒๙ ๓๘.๑ ๓๖ ๖.๐ ๑๒๓ ๒๐.๕ ๑๐๓ ๑๗.๑ ๒๕๕๘ ๓๖๔ - - ๒๘ ๗.๗ ๙๒ ๒๕.๓ ๗๕ ๒๐.๖ นอกจากส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านการเกษตรท่ียั่งยืนแล้ว สมเด็จพระเทพรัตน- ราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารยี ังมพี ระราชด�ำรใิ ห้ส่งเสริมด้านอาชพี ทีจ่ �ำเปน็ สำ� หรบั ชวี ติ ประจำ� วัน ไดแ้ ก่ การประกอบอาหาร การแปรรูปและถนอมอาหาร การตัดเย็บเส้ือผ้า งาน ชา่ ง งานศลิ ปหตั ถกรรม งานบา้ น และงานประดิษฐต์ า่ ง ๆ นอกจากน้ียังมีพระราชด�ำริให้มีการสอนเร่ืองสหกรณ์ เพ่ือปลูกฝังให้เด็กนักเรียน มีจิตส�ำนึกและทักษะในการช่วยเหลือตนเอง ช่วยเหลือซึ่งกันและกันและการเสียสละเพื่อ ส่วนรวม โดยจัดการเรียนการสอนและให้เด็กนักเรียนลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ทั้งกิจกรรม ร้านค้าสหกรณ์และสหกรณ์ออมทรัพย์ และประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ท้ังในด้านของความ รู้ ทกั ษะการท�ำงาน และพฤติกรรมทสี่ อดคลอ้ งกบั อดุ มการณส์ หกรณ์ โดยก�ำหนดกรอบใน

22 แผนพัฒนาเดก็ และเยาวชนในถน่ิ ทรุ กนั ดารตามพระราชด�ำริ ฉบบั ที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ การประเมนิ ดังนี้ ด้านความรู้ ด้านทกั ษะ ดา้ นอุดมการณ์สหกรณ์ ๑) อดุ มการณ์ ๑) การประชุม ๑) ลักษณะนสิ ยั ของการพง่ึ ตนเอง ๑.๑) ขยนั อดทน มีวนิ ัย รบั ผิดชอบ สหกรณ์ ๒) การบันทึกการ ๑.๒) ประหยัด ใช้ทรัพยากรคมุ้ ค่า ๑.๓) พัฒนาตน ใฝห่ าความรู้ ๒) วธิ กี ารสหกรณ์ ประชุม ๑.๔) หลกี พ้นอบายมุข ไม่คบคนชัว่ ๒) ลักษณะนิสยั ของการชว่ ยเหลอื ซง่ึ กนั ๓) ระบบ ๓) การวางแผนธรุ กจิ และกัน ๒.๑) ซ่อื สัตย์ สุจริต ตรงเวลา ประชาธิปไตย เบื้องตน้ ๒.๒) สามัคคี ทำ� งานรว่ มกับผูอ้ ืน่ ได้ ๒.๓) มเี มตตา เสยี สละ ๔) การท�ำธุรกจิ ๔) การทำ� บัญชีรับจา่ ย ๒.๔) มีเหตผุ ล เคารพกตกิ า ยดึ หลัก ประชาธิปไตย สหกรณ์ เช่น รา้ นค้า ออมทรพั ย์ ๕) ระบบบญั ชี ในชว่ งแผนฯ ฉบับท่ี ๔ แมว้ ่าได้มีความพยายามกำ� หนดกรอบในการประเมนิ ผลลัพธ์ การเรยี นรขู้ องเดก็ นกั เรยี น ๔ ระดบั ไดแ้ ก่ นกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ นกั เรยี นชน้ั ประถม ศกึ ษาปที ่ี ๖ นกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ และนกั เรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ ก็ตาม แต่วิธี การประเมินผลยังคงให้แต่ละโรงเรียนด�ำเนินการเอง ยังไม่มีมาตรฐานกลางเป็นมาตรฐาน เดยี วกนั ๒.๔. การเสริมสร้างศักยภาพในการอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงตระหนกั ถงึ ความจำ� เปน็ ทจ่ี ะ ปลกู ฝงั ใหเ้ ดก็ และเยาวชนในถนิ่ ทรุ กนั ดารไดม้ กี ารอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม เชน่ ดิน น�้ำ ปา่ ไม้ ซึ่งจะช่วยทำ� ใหเ้ กิดความมัน่ คงทัง้ ตอ่ ชมุ ชนและประเทศชาตอิ ยา่ งยงั่ ยืน ต่อไป ในพ.ศ. ๒๕๕๔ เมอ่ื ประเทศไทยประสบภัยพิบตั ิทางธรรมชาติทั้งฝนตกหนกั ดนิ ถล่ม นำ้� ทว่ ม สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ไดม้ พี ระราชกระแสหลายครง้ั ให้ มกี ารจดั การเรยี นรเู้ รอ่ื งการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรปา่ ไม้ เพอ่ื ปลกู ฝงั ใหเ้ ดก็ และเยาวชนมคี วามรกั และหวงแหนทรพั ยากรปา่ ไมข้ องตนเอง เปน็ การปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ กดิ ภยั พบิ ตั ใิ นระยะยาว โดยใน วนั ท่ี ๒๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้มีพระราชกระแสกบั ผู้บัญชาการต�ำรวจตระเวนชายแดน

แผนพัฒนาเดก็ และเยาวชนในถิ่นทรุ กันดารตามพระราชดำ� ริ 23 ฉบับท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ และอธบิ ดกี รมอุทยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพนั ธพุ์ ืช ณ อทุ ยานแหง่ ชาติภูกระดงึ จงั หวัดเลย ถงึ เรอื่ งดงั กลา่ ว สำ� นกั งานโครงการสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารแี ละ หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง จงึ ไดจ้ ดั ใหม้ กี ารยกรา่ งคมู่ อื การจดั กจิ กรรมการเรยี นรเู้ รอ่ื งการอนรุ กั ษ์ ทรัพยากรป่าไม้ขึ้น แล้วน�ำไปทดลองใช้ในปีการศึกษา ๒๕๕๕ ในโรงเรียนต�ำรวจตระเวน ชายแดนจ�ำนวน ๑๒ โรงเรยี น และต่อมาได้ขยายผลไปยังโรงเรียนตำ� รวจตระเวนชายแดน ทั่วประเทศ ผลการประเมินท้ังความรู้และพฤติกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สงิ่ แวดลอ้ มของนกั เรยี นประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ตง้ั แตร่ ะดบั ดขี น้ึ ไปมแี นวโนม้ ลดลง ทงั้ นอี้ าจเนอื่ ง มาจากการจดั กิจกรรมท่ยี งั ขาดความตอ่ เนอ่ื ง อกี ท้งั วธิ ีการประเมินผลท่ยี ังไม่เป็นมาตรฐาน เดยี วกนั ๒.๕ การเสริมสร้างศักยภาพในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมและภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ แผนฯ ฉบับที่ ๔ ได้ให้ความส�ำคัญกับเร่ืองการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญา ทอ้ งถนิ่ มากขน้ึ โดยใหม้ กี ารดำ� เนนิ งานอยา่ งเปน็ รปู ธรรม โรงเรยี นจงึ ไดพ้ ยายามจดั กจิ กรรม การเรียนการสอนที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถ่ินทั้งในรูปแบบของโครงงาน การบูรณาการกบั การเกษตร การงานอาชพี การประกอบอาหารกลางวัน และอ่ืน ๆ ดังนั้น ในช่วง ๑๐ ปที ีผ่ า่ นมาน้จี งึ เหน็ โรงเรยี นมกี ิจกรรมทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั วฒั นธรรมและภมู ิปัญญาใน หลายดา้ นดังนี้ ด้านเกษตรกรรม เช่น การนำ� พืชพนั ธท์ุ ้องถ่นิ มาปลูก ดา้ นอุตสาหกรรมและ หตั ถกรรม เชน่ การท�ำหตั ถกรรมของท้องถิน่ การทอผ้า การทอเส่ือ การจักสาน ดา้ นการ แพทยแ์ ผนไทย เชน่ การนำ� สมนุ ไพรมาใชป้ ระโยชน์ ดา้ นการจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ ส่งิ แวดล้อม เชน่ การบวชปา่ การสบื ชะตาแม่น�้ำ ด้านศิลปกรรม เช่น การละเลน่ พ้นื บ้าน ดนตรีฟ้อนร�ำของท้องถ่ิน ด้านโภชนาการ เช่น การประกอบอาหารประจ�ำท้องถิ่น การ แปรรูปอาหารของทอ้ งถ่ิน ผลการดำ� เนนิ งานแม้จะพบวา่ มีกิจกรรมที่หลากหลาย แต่ยังไม่มีการเกบ็ บันทกึ และ วิเคราะห์องค์ความรู้ไว้อย่างเป็นระบบ เพ่ือให้สามารถเผยแพร่และถ่ายทอดไปยังรุ่นต่อ ๆ ไปได้

24 แผนพฒั นาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำ� ริ ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ ๓. การพัฒนาปรับปรุงระบบฐานข้อมูลเพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชนใน ถ่ินทุรกันดาร ระบบฐานขอ้ มลู เพอื่ การพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถน่ิ ทรุ กนั ดารไดถ้ กู พฒั นาขน้ึ มาตงั้ แต่แผนฯ ฉบับท่ี ๑ เพ่ือใชใ้ นการติดตามและประเมินผล และได้มกี ารพัฒนาปรับปรงุ ตาม ตัวช้วี ดั ในแตล่ ะช่วงของแผนฯ ฉบับท่ี ๒ และ ๓ ในช่วงแผนฯ ฉบบั ที่ ๔ ได้พัฒนาระบบ ฐานข้อมลู ฯ ดังกล่าวโดยใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารเข้ามาชว่ ย โดยมเี ป้าหมาย เพื่อให้สามารถเช่ือมโยงกันท่ัวประเทศ และโรงเรียนทุกโรงสามารถเข้าถึงระบบฐานข้อมูล แบบออนไลน์ ตั้งแตก่ ารกรอกขอ้ มูล จนถึงการวเิ คราะห์ผลเบื้องต้น โดยไดท้ ดลองใชร้ ะบบ ดังกล่าวในปีการศึกษา ๒๕๕๘ ผลการด�ำเนินงานพบว่า มีโรงเรียนในโครงการตามพระ- ราชดำ� รไิ มถ่ งึ รอ้ ยละ ๔๐ ทเ่ี ขา้ ถงึ ระบบฐานขอ้ มลู ฯ ไดอ้ ยา่ งสมำ่� เสมอ ทง้ั นเี้ นอ่ื งจากโรงเรยี น ในโครงการตามพระราชด�ำริจ�ำนวนมากยังไม่สามารถเข้าถึงบริการเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรือสามารถเข้าถึงได้แต่ระบบอินเทอร์เน็ตยังไม่เสถียรพอ นอกจากน้ีตัวระบบฐานข้อมูลฯ เองยังมีจดุ บกพร่องซ่ึงต้องพฒั นาแก้ไขต่อไป ๔. การพัฒนาศกั ยภาพผู้ปฏิบัตงิ าน เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับได้เพ่ิมพูนความรู้ ประสบการณ์ และพัฒนา ศักยภาพของตนเอง สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารจี ึงโปรดเกลา้ ฯ ให้ จัดการประชมุ วิชาการและเวทแี ลกเปล่ยี นเรยี นรูใ้ นวาระตา่ ง ๆ เช่น การจัดประชุมวชิ าการ ระดบั ชาตเิ นอ่ื งในโอกาสทที่ รงปฏบิ ตั พิ ระราชกรณยี กจิ เกยี่ วกบั การพฒั นาเดก็ และเยาวชนใน ถิ่นทุรกันดารครบ ๓๐ ปี และการประชุมวิชาการนานาชาติเพอ่ื เฉลิมพระเกียรติสมเดจ็ พระ เทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ นอกจากนีต้ ้ังแต่ พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นมา ไดม้ กี ารประชมุ วิชาการภายในประเทศ ประจ�ำปี การประชุมเหล่านี้ได้เปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานพยายามคิดค้นนวัตกรรม พัฒนา รวบรวมผลงานหรอื องคค์ วามรทู้ เี่ กดิ ขนึ้ จากประสบการณจ์ รงิ ของผปู้ ฏบิ ตั งิ านมาแลกเปลยี่ น และเรยี นรู้รว่ มกนั ทำ� ใหง้ านพัฒนาไปไดก้ ว้างขวางและดยี ่งิ ขึน้

แผนพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถ่นิ ทรุ กนั ดารตามพระราชดำ� ริ 25 ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ ๕. การขยายผลจากสถานศกึ ษาสชู่ ุมชน การดำ� เนนิ งานในชว่ งแผนฯ ฉบับท่ี ๔ ทีผ่ ่านมาพบวา่ สถานศึกษาทีม่ คี วามพรอ้ ม เช่น โรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดนในบางพน้ื ท่ไี ดเ้ ริม่ มีการขยายกิจกรรมการพัฒนา การ ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีลงสู่ครัวเรือนและชุมชน ท�ำให้เกิดการเรียนรู้ มีการแลก เปลี่ยนประสบการณ์กัน ส่งผลให้เกิดการต่อยอดความรู้ สร้างความสัมพันธ์ท่ีใกล้ชิดกัน มากขึ้นระหว่างโรงเรียน ครอบครัว และชุมชน ตัวอย่างเช่น กิจกรรมการเกษตร โดย โรงเรียนเพาะตน้ กล้า แล้วให้ผ้ปู กครองนำ� ไปเพาะปลกู ท่ีบา้ นตนเอง การท�ำบญั ชีครวั เรือน โดยเดก็ นกั เรยี นนำ� ไปสอนผปู้ กครองทบ่ี า้ น การจดั บา้ นเรอื นใหส้ ะอาดเปน็ ระเบยี บ การดแู ล สขุ นสิ ยั ของตนเองและครอบครวั การพฒั นาและดแู ลแหลง่ นำ�้ ดมื่ ใหส้ ะอาดปลอดภยั เปน็ ตน้ ๖. การขยายผลสนู่ านาชาติ ในช่วงที่ผ่านมาสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารไี ด้พระราชทาน ความร่วมมือในการพฒั นาเด็กและเยาวชนกบั ต่างประเทศอีก ๑๐ ประเทศ ท�ำใหก้ ารด�ำเนนิ งานมพี ้นื ที่เปา้ หมายและกลมุ่ เป้าหมายขยายเพม่ิ มากข้ึน ประเทศทม่ี คี วามร่วมมือกัน ได้แก่ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ราชอาณาจักร กัมพูชา สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม มองโกเลีย ราชอาณาจักรภูฏาน สาธารณรัฐ ประชาชนบังคลาเทศ สาธารณรัฐอินโดเนยี เซีย สาธารณรฐั ประชาธิปไตยติมอร์เลสเต และ สาธารณรฐั ฟลิ ิปปินส์ โดยมีโรงเรยี นเขา้ ร่วมโครงการ ๙๕ โรง สำ� หรบั โรงเรยี นในโครงการ ตามพระราชด�ำริในประเทศไทยหลายแห่งต้องพัฒนาปรับปรุงเพ่ือให้เป็นแหล่งเรียนรู้ เป็น ฐานสำ� หรบั การศกึ ษาดงู าน บคุ ลากรครแู ละเดก็ นกั เรยี นของไทยกต็ อ้ งพฒั นาตนเองใหพ้ รอ้ ม ในการถา่ ยทอดประสบการณใ์ หก้ บั คณะครหู รือคณะศึกษาดงู านจากประเทศตา่ ง ๆ ด้วย



แผนพัฒนาเดก็ และเยาวชนในถ่นิ ทรุ กนั ดารตามพระราชดำ� ริ 27 ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ สว่ นที่ ๒ สาระสำ� คญั แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถ่นิ ทรุ กนั ดาร ตามพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ฉบบั ท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ แผนพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถน่ิ ทรุ กนั ดาร ตามพระราชดำ� รสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราช- สุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบบั ที่ ๕ เป็นแผนระยะ ๑๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙) จดั ท�ำ ขนึ้ ในชว่ งเวลาของการปฏริ ปู ประเทศไทย ปรบั เปลยี่ นประเทศไปสไู่ ทยแลนด์ ๔.๐ การเขา้ เปน็ สมาชิกของประชาคมอาเซยี น พร้อม ๆ กับสถานการณโ์ ลกมกี ารเปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเร็ว กา้ วเข้าส่ศู ตวรรษท่ี ๒๑ และยุคดิจิทลั แม้วา่ เดก็ และเยาวชนกลมุ่ เป้าหมายสว่ นใหญจ่ ะอยู่ใน พื้นที่ทุรกันดารห่างไกล แต่ก็ย่อมได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของโลกปัจจุบันท่ี เช่ือมต่อกันถึงด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ จึงมีความจ�ำเป็นต้องเตรียมเด็กและเยาวชนกลุ่ม เปา้ หมายให้พร้อมรับกับการเปล่ียนแปลงดังกล่าว ดังนั้นแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนใน ถน่ิ ทรุ กันดาร ตามพระราชดำ� ริ ฉบบั ท่ี ๕ นี้ จงึ ไดจ้ ดั ทำ� ใหส้ อดคล้องกับยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๗๙) ซ่ึงเป็นแผนแม่บทหลักของการพัฒนาประเทศ แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๔) ท่ีนอ้ มนำ� หลกั “ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นปรัชญาน�ำทางในการพัฒนาประเทศ แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๗๔) และเป้าหมายการพัฒนาทีย่ ั่งยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) โดยกำ� หนดเปน็ วตั ถุประสงคแ์ ละเปา้ หมายหลกั ของการพฒั นาไว้ดังนี้

28 แผนพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถิน่ ทุรกันดารตามพระราชดำ� ริ ฉบบั ท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ วตั ถุประสงค์ ๑. เพอื่ ใหเ้ ดก็ และเยาวชนมคี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี โดยไดร้ บั การพฒั นาศกั ยภาพอยา่ งสมดลุ ในด้านพุทธิศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษา และพลศึกษา ด้วยกระบวนการเรียนรู้จากการ ปฏบิ ตั ิ มคี วามรกั และหวงแหนทรพั ยากรธรรมชาติ ภาคภมู ใิ จในความเปน็ ไทย และมสี ว่ นรว่ ม ในการพัฒนาชุมชนและประเทศชาติได้ ๒. เพอื่ ขยายการพฒั นาจากโรงเรยี นสชู่ มุ ชน ทำ� ใหช้ มุ ชนมคี วามเขม้ แขง็ และพงึ่ ตนเอง ได้ ครอบครัวและชุมชนเกิดการพัฒนา ช่วยเหลือสนับสนุนการพัฒนาเด็กและเยาวชนและ โรงเรยี นไปพร้อม ๆ กนั ๓. เพ่ือผลักดันให้สถานศึกษาพัฒนาเป็นศูนย์บริการความรู้ สามารถถ่ายทอด ความรู้และเทคโนโลยกี ารพัฒนาใหก้ ับผ้ปู กครอง ชุมชน และสถานศึกษาหรอื องค์กรอ่ืน ๆ ทง้ั จากภายในประเทศและจากตา่ งประเทศ เพอ่ื นำ� ไปประยกุ ตใ์ หเ้ หมาะสมกบั บรบิ ทของแตล่ ะ ท่ี สรา้ งความรว่ มมอื และเครอื ขา่ ยเชอ่ื มโยงระหว่างประเทศ เป้าหมายหลกั การพฒั นาตามแผนฯ ฉบับที่ ๕ ประกอบด้วย ๘ เป้าหมายหลักดงั นี้ เป้าหมายหลักท่ี ๑ เสริมสร้างสุขภาพของเด็กต้ังแต่ในครรภม์ ารดา เปา้ หมายหลักท ่ี ๒ เพิม่ โอกาสทางการศกึ ษา เป้าหมายหลักท่ ี ๓ เสริมสร้างศักยภาพของเด็กและเยาวชนทางวิชาการและทางจริยธรรม เป้าหมายหลักที่ ๔ เสริมสรา้ งศกั ยภาพของเด็กและเยาวชนทางการงานอาชพี เปา้ หมายหลักที่ ๕ ปลูกฝังจิตส�ำนึกและพัฒนาศักยภาพของเด็กและเยาวชนในการอนุรักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม เป้าหมายหลกั ที่ ๖ เสริมสร้างศักยภาพของเด็กและเยาวชนในการอนุรักษ์และสืบทอด วัฒนธรรมและภมู ิปัญญาของท้องถน่ิ และของชาตไิ ทย เปา้ หมายหลกั ที ่ ๗ ขยายการพฒั นาจากโรงเรียนสู่ชุมชน เป้าหมายหลกั ท ี่ ๘ พัฒนาสถานศึกษาเปน็ ศนู ย์บริการความรู้

แผนพฒั นาเด็กและเยาวชนในถ่ินทุรกันดารตามพระราชด�ำริ 29 ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ พ้ืนทเ่ี ปา้ หมาย ดงั กลา่ วขา้ งตน้ วา่ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารที รงงานพฒั นา เด็กและเยาวชนโดยมีโรงเรียนหรือสถานศึกษาเป็นฐานของการพัฒนา ท้ังน้ีเพราะสถาน ศึกษาเป็นท่ีท่ีรวมเด็กในวัยเรียนของชุมชน ท�ำให้เข้าถึงเด็กได้ง่ายและครอบคลุมได้ทั้งหมด ง่ายต่อการด�ำเนินงาน นอกจากนี้ยังเป็นสถานท่ีท่ีมีผู้มีความรู้ คือครู ซึ่งเป็นแกนส�ำคัญ ในการถา่ ยทอดใหเ้ ดก็ ไดพ้ ฒั นาความรู้ และทกั ษะตา่ ง ๆ และทส่ี ำ� คญั อกี ประการหนงึ่ คอื เปน็ สถานทที่ ่ีคนในชมุ ชนเขา้ ถงึ ได้งา่ ย จงึ สามารถเป็นแหล่งเรียนรูข้ องชุมชนได้ ดงั นนั้ พนื้ ทเี่ ปา้ หมายในการดำ� เนนิ งานตามแผนฯ ฉบับท่ี ๕ กค็ อื โรงเรียนหรือสถานศึกษาในโครงการตาม พระราชด�ำริ โดยสว่ นใหญจ่ ะอยู่ในพนื้ ทห่ี า่ งไกล หลายพื้นทส่ี ภาพภูมิประเทศเป็นอปุ สรรค ในการเข้าถึงบรกิ ารของรัฐท้งั การศึกษา การสาธารณสขุ และการพัฒนา นอกจากนย้ี งั มพี นื้ ทเ่ี ฉพาะในกรงุ เทพมหานคร ทงั้ ทต่ี ง้ั อยใู่ นเขตเมอื งและเขตชานเมอื ง ของกรงุ เทพมหานคร โรงเรยี นเปน็ โรงเรยี นขนาดใหญ่ สว่ นใหญเ่ ปดิ สอนทงั้ ๓ ระดบั ตงั้ แต่ ระดับอนุบาล ระดบั ประถมศึกษา จนถงึ ระดบั มัธยมศกึ ษา โรงเรียนมกั มีพนื้ ท่ีจำ� กัด พื้นที่ ของโรงเรยี นสว่ นใหญเ่ ปน็ ทตี่ งั้ ของอาคารสถานที่ ผปู้ กครองมอี าชพี รบั ราชการ รบั จา้ ง ไมม่ ี พน้ื ฐานทางดา้ นเกษตรกรรม พน้ื ทเี่ หลา่ นแี้ มจ้ ะไมม่ ปี ญั หาของสภาพภมู ปิ ระเทศ สามารถเดนิ ทางไปมาไดส้ ะดวก แต่มีข้อจ�ำกดั ทเ่ี ป็นอปุ สรรคส�ำคญั ต่อเด็กและเยาวชนทจี่ ะพฒั นาตนเอง ไดเ้ ต็มตามศักยภาพของแต่ละคน ดงั น้นั ในการด�ำเนนิ งานตามแผนฯ ฉบบั ท่ี ๕ พืน้ ท่ีเปา้ หมายจงึ ประกอบดว้ ย ๑. โรงเรยี นในสังกดั กองบัญชาการต�ำรวจตระเวนชายแดน ๒. โรงเรยี นในสงั กัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ๓. ศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟา้ หลวง” ในสังกดั สำ� นักงานสง่ เสริมการ ศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ๔. โรงเรยี นเอกชนสอนศาสนาอสิ ลาม ในสงั กดั สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาเอกชน ๕. โรงเรยี นพระปริยัติธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา ในสงั กดั ส�ำนักงานพระพทุ ธศาสนา แห่งชาติ ๖. โรงเรียนในสงั กดั กรงุ เทพมหานคร ๗. โรงเรยี นและศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นาเดก็ วยั เตาะแตะ ในสงั กดั ขององคก์ รปกครอง ส่วนทอ้ งถิ่น (อปท.) กรมส่งเสริมการปกครองท้องถน่ิ กระทรวงมหาดไทย ๘. หมบู่ ้านในเขตบริการการศึกษาของสถานศึกษาขา้ งต้น ๙. พน้ื ที่อนื่ ๆ ตามพระราชประสงค์

30 แผนพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถ่นิ ทรุ กันดารตามพระราชด�ำริ ฉบบั ท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ กล่มุ ประชากรเปา้ หมาย การดำ� เนนิ งานในช่วงแผนฯ ฉบับที่ ๕ ประกอบไปด้วยกลมุ่ ประชากรเปา้ หมายดงั น้ี ๑. เด็กต้ังแต่ในครรภ์มารดา จนถึงเยาวชนในวัยศึกษาเล่าเรียน ท้ังท่ีอยู่ใน ถิ่นทุรกันดารห่างไกลการคมนาคม หรืออยู่ในที่ท่ีมีสภาวะยากล�ำบากขาดแคลน หรือในที่ ประสบปัญหาภัยพิบัติต่าง ๆ หรือที่อยู่ในสภาวะที่ท�ำให้ได้รับโอกาสไม่เท่ากับเด็กปกติโดย ท่วั ไป และเพ่ือความชัดเจนในการบรหิ ารจดั การ จึงแบง่ กลุ่มเปา้ หมายตามอายดุ ังนี้ • หญงิ ต้ังครรภแ์ ละมารดาหลงั คลอดหรอื หญงิ ให้นมบุตร • เด็กแรกเกดิ อายุ ๐ ปี ถงึ ก่อน ๒ ปี • เด็กอายตุ ้งั แต่ ๒ ปี ถึงก่อน ๔ ปี (อย่ใู นความรบั ผิดชอบของสถานพัฒนา เด็กปฐมวัย๓)3) • เด็กระดบั กอ่ นประถมศกึ ษา อายตุ ั้งแต่ ๓ ปีขึ้นไปหรอื ๔ ปขี ้นึ ไป๔4ถึงกอ่ น ๖ ปี แบง่ เปน็ - อนุบาล ๑ คือ อายุตง้ั แต่ ๓ ปีบริบูรณข์ นึ้ ไปจนถึงก่อน ๔ ปี - อนุบาล ๒ คือ อายุต้งั แต่ ๔ ปบี รบิ รู ณ์ขน้ึ ไปจนถงึ กอ่ น ๕ ปี - อนบุ าล ๓ คอื อายตุ ้งั แต่ ๕ ปีบริบูรณข์ ึ้นไปจนถงึ กอ่ น ๖ ปี • เด็กระดับประถมศกึ ษา อายตุ ง้ั แต่ ๖ ปบี รบิ รู ณข์ ึน้ ไปจนถึงกอ่ น ๑๒ ปี • เดก็ ระดบั มธั ยมศกึ ษา อายตุ งั้ แต่ ๑๒ ปบี รบิ รู ณข์ น้ึ ไปจนถงึ กอ่ น ๑๘ ปี แบง่ เปน็ - มัธยมต้น ชว่ งอายุ ๑๒ – ๑๕ ปี - มัธยมปลาย ชว่ งอายุ ๑๕ – ๑๘ ปี ๒. เด็กและเยาวชนอืน่ ๆ ตามพระราชประสงค์ ด้วยพื้นท่ีเป้าหมายของการพัฒนาส่วนใหญ่เป็นที่อยู่อาศัยของชนกลุ่มน้อยที่ด้อย โอกาสและขาดแคลน ดงั นน้ั กลมุ่ ประชากรเปา้ หมายนอกจากจะเปน็ เดก็ และเยาวชนทเ่ี ปน็ ไทย แล้ว ยังมีเช้อื ชาติและเผา่ พันธทุ์ ่ีหลากหลายอน่ื ๆ ทีม่ ลี ักษณะเฉพาะตัวในด้านศาสนา ภาษา และวฒั นธรรม อาทิ ไทยใหญ่ ไทโส้ ไทยภเู ขา (เช่น กะเหรย่ี ง ลวั๊ ะ มง้ มูเซอ จนี ฮอ่ อีกอ้ ) ๓ สถานพัฒนาเด็กปฐมวยั ไดแ้ ก่ ศนู ย์เดก็ เลก็ ศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ ศูนย์พฒั นาเด็กก่อนเกณฑข์ องสถาบนั ศาสนา ศูนยบ์ ริการ ชว่ ยเหลอื ระยะแรกเริ่มของเด็กพกิ ารและเดก็ ซ่งึ มคี วามตอ้ งการพเิ ศษ หรอื สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยทเ่ี รยี กชื่ออยา่ งอน่ื จาก พระ ราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๘ ๔ ขนึ้ อยกู่ บั บรบิ ทของพนื้ ท่ี หากพน้ื ทน่ี นั้ ไมม่ สี ถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั สถานศกึ ษาสามารถเปดิ รบั ระดบั อนบุ าล ๑-๓ ตามความ พรอ้ มของสถานศึกษา

แผนพฒั นาเด็กและเยาวชนในถนิ่ ทรุ กันดารตามพระราชด�ำริ 31 ฉบบั ที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ ชาวมอแกน มลาบรี เป็นตน้ มที ัง้ ทน่ี ับถอื ศาสนาพุทธ ศาสนาครสิ ต์ ศาสนาอสิ ลาม และ นบั ถอื ผี เดก็ และเยาวชนเหลา่ นเี้ กอื บทงั้ หมดมาจากครอบครวั เกษตรกรรม มฐี านะยากจนมาก สาระส�ำคัญของแผน เป้าหมายหลักที่ ๑ เสรมิ สร้างสขุ ภาพของเด็กตง้ั แต่ในครรภม์ ารดา “ ... งานต่าง ๆ เมอ่ื เรมิ่ ต้นกับปัจจุบนั มแี ตกต่างกนั บา้ ง แตห่ ลกั ใหญ่ ๆ เหมือนกนั เชน่ เร่ืองสขุ ภาพอนามัย เริ่มต้นด้วยงาน โภชนาการ ซึ่งไมไ่ ด้เปน็ การเอาอาหารไปให้นกั เรียนอย่างเดียว แต่ให้นกั เรยี นมีสว่ นร่วมในการเพาะปลกู ท�ำการเกษตรด้วย จงึ เรยี กว่า เกษตรเพ่ืออาหารกลางวัน จริงๆ แล้วในส่วนแรกเปน็ ส่วนเรอื่ งของสุขภาพอนามยั เรื่องอาหารน้ัน แต่เดมิ นกั เรียนท่ี มีความบกพร่องในเรื่องโภชนาการมีอยู่เป็นจ�ำนวนมาก มาถึง ปจั จบุ นั เกอื บ ๔๐ ปี หรอื ๓๐ กวา่ ปนี ้ี ปรากฏวา่ เทา่ ทไี่ ดไ้ ปเยยี่ ม ดู ยงั มปี ญั หาบา้ งเพยี งเลก็ นอ้ ย มงี านดา้ นสขุ ภาพดา้ นอนื่ ๆ เชน่ เรอ่ื งสขุ าภบิ าลอาหาร สขุ าภบิ าลอนื่ ๆ ความสะอาดของหอ้ งนำ้� หอ้ งสว้ ม หอ้ งครวั บรเิ วณโรงเรยี น เป็นต้น โดยเฉพาะอย่างยง่ิ แปลงผกั คอกสตั ว์ ตอ้ งดแู ลใหถ้ กู สขุ ลกั ษณะ เปน็ เรอ่ื งทตี่ อ้ งดแู ล กันต่อไป อย่างทเี่ ราดูแลแลว้ เนน้ ในเรอื่ งทีเ่ ก่ยี วกับอาหาร เชน่ โรคพยาธิ กย็ งั มอี ยบู่ า้ ง ตอ้ งดแู ลเกย่ี วกบั เรอ่ื งความสะอาด เรอ่ื ง ล้างมือ หรอื ว่าส่ิงท่ที �ำให้รบั ประทานอาหารไม่ได้ คือ ฟนั ไม่ดี ” ทันตสขุ ภาพต้องเน้นเร่อื งการแปรงฟัน เป็นต้น ... พระราชดำ� รัส วันพฤหัสบดีท่ี ๓๐ เมษายน พุทธศกั ราช ๒๕๕๘

32 แผนพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถ่ินทรุ กันดารตามพระราชด�ำริ ฉบบั ท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ ... ส่วนส่งิ ทเ่ี ราตง้ั ใจเปน็ การท�ำงานหลกั คือ เรอ่ื งให้นกั เรยี น ทุกคนมีโอกาสจะได้รับประทานอาหารที่ดีมีประโยชน์ท่ีท�ำ “ สด ๆ ทำ� ขน้ึ เอง กป็ รากฏวา่ ไดป้ ระสบความส�ำเร็จเปน็ อยา่ งสงู แตอ่ ยา่ งไรกด็ ี เมอื่ เดอื นสองเดอื นทแ่ี ลว้ ไดฟ้ งั วทิ ยุ มผี หู้ ลกั ผใู้ หญ่ ทา่ นหนงึ่ ไดก้ ลา่ ววา่ เดก็ ไทยยงั มภี าวะขาดอาหารอยมู่ าก ซงึ่ ฟงั แล้วตอนแรกก็รู้สึกว่าท่ีท่านพูดเกินความเป็นจริงไป เพราะว่า เท่าที่ไปมาท่ัวประเทศน้ันไม่มีผู้ที่ผอมแห้งแรงน้อยหรือน�้ำหนัก น้อยขนาดน้ัน แต่ว่าตัวเลขที่เรามีนั้นยังบกพร่องอยู่มาก คือ การเจริญเติบโตด้านความสูงของร่างกาย ซ่ึงวัดส่วนสูงก็ยังมี เปอรเ์ ซน็ ตท์ ตี่ ำ่� กวา่ เกณฑส์ งู อยู่ และกไ็ ปถามผรู้ ู้ เรอื่ งนตี้ อ้ งดแู ล ตงั้ แตเ่ ดก็ คนนน้ั อยใู่ นครรภม์ ารดา ซงึ่ เรามโี ครงการทใ่ี หค้ รตู ชด. ดแู ลมารดาทตี่ ง้ั ครรภแ์ ละกำ� ลงั ใหน้ มบตุ ร กม็ ใี นโครงการอยแู่ ลว้ ” เพราะฉะนัน้ ในโครงการนีก้ ต็ อ้ งศกึ ษาให้ดยี ิง่ ขึน้ ... พระราชดำ� รสั วนั พธุ ที่ ๒๔ เมษายน พุทธศกั ราช ๒๕๕๖ เป้าหมายที่ ๑.๑ หญิงตัง้ ครรภ์ มารดาหลงั คลอด และทารกได้รับบริการที่มคี ณุ ภาพ แนวทางการพัฒนา ๑. พฒั นาขดี ความสามารถของโรงเรยี นในการใหบ้ รกิ ารอนามยั แมแ่ ละเดก็ โดยเฉพาะ ในพน้ื ท่ที เี่ ขา้ ไมถ่ ึงบริการสาธารณสุข ๒. พัฒนาความร่วมมือในการให้บริการอนามัยแม่และเด็กและการส่งต่อระหว่าง โรงเรียน ครอบครัว ศูนย์สาธารณสขุ ชุมชน องคก์ ารบริหารส่วนตำ� บล และโรงพยาบาล สง่ เสรมิ สุขภาพ ๓. สง่ เสรมิ การผลติ อาหารในครวั เรอื นและชมุ ชน เพอ่ื ใหม้ ารดาและทารกไดร้ บั อาหาร ที่มคี ณุ คา่ ทางโภชนาการและปรมิ าณเพยี งพอ ๔. พฒั นาปรบั ปรงุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรเู้ กย่ี วกบั แมแ่ ละเดก็ ใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ท ของชุมชนและผ้เู รยี นแต่ละชว่ งวัย

แผนพฒั นาเด็กและเยาวชนในถน่ิ ทุรกนั ดารตามพระราชดำ� ริ 33 ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ เป้าหมายท่ี ๑.๒ เด็กทุกช่วงอายไุ ด้รบั การส่งเสริมด้านโภชนาการและมพี ัฒนาการตามวยั แนวทางการพัฒนา เด็กอายตุ ้ังแต่ ๑ ปีข้ึนไปถึงกอ่ น ๔ ปี ๑. ให้ความรู้แกผ่ ปู้ กครอง (พอ่ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย) ในเร่ืองวิธีการเลีย้ งดเู ดก็ การ สง่ เสรมิ โภชนาการ และพฒั นาการของเดก็ ๒. ปรับปรุงศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาเด็กวัยเตาะแตะที่มีอยู่ให้ได้มาตรฐานทั้งใน ดา้ นสภาพแวดลอ้ มและการจดั กิจกรรม เพื่อใหเ้ ดก็ มกี ารเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการทส่ี มวยั ได้รบั การเตรียมความพร้อมเข้าส่รู ะบบการศกึ ษาและการอยู่ในสังคม ๓. พฒั นาความรว่ มมอื ในการดแู ลเดก็ ปฐมวยั ใหค้ รอบคลมุ ทกุ พน้ื ท่ี และการเชอ่ื มโยง รอยต่อของแต่ละช่วงอายุ (ระหว่างบา้ น ศนู ยเ์ ดก็ เลก็ ช้นั อนุบาล จนถึงชน้ั ประถมศกึ ษา) ๔. เพมิ่ พูนความรูแ้ ละทกั ษะใหแ้ กผ่ ดู้ ูแลเด็กในสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ๕. สนบั สนนุ การผลิตสื่อสรา้ งสรรค์ทีใ่ ห้ความรู้ในการเล้ียงดแู ละพัฒนาเด็กปฐมวัย เดก็ อายตุ ง้ั แต่ ๔ ปีข้นึ ไปถงึ ก่อน ๖ ปี ๑. สง่ เสริมและสนับสนุนใหโ้ รงเรยี นจัดการศึกษาระดับกอ่ นประถมศกึ ษา (อนบุ าล ๑-๒ หรืออนุบาล ๑-๓ ตามบรบิ ทของพ้นื ท)ี่ ทไี่ ดม้ าตรฐาน ๒. เพมิ่ พนู ความรแู้ ละทกั ษะใหแ้ กค่ รใู นการบรหิ ารจดั การการศกึ ษาระดบั กอ่ นประถม ศกึ ษา เปา้ หมายท่ี ๑.๓ เดก็ และเยาวชนมนี ำ�้ หนกั และสว่ นสงู ตามเกณฑม์ าตรฐานเพมิ่ ขน้ึ และมพี ฤตกิ รรม สุขภาพทเี่ หมาะสม แนวทางการพฒั นา ๑. จดั บริการอาหารกลางวันโดยใช้ผลผลติ ทางการเกษตรในโรงเรยี นเป็นหลกั และ ให้ได้คุณภาพทั้งคุณค่าทางโภชนาการและความสะอาดและปลอดภัย และจัดบริการอาหาร เสรมิ (นม) อยา่ งเหมาะสม เพอ่ื ใหเ้ ดก็ ไดพ้ ฒั นาแบบแผนการบรโิ ภคอาหารทพ่ี งึ ประสงคต์ าม หลกั โภชนาการ และสุขนิสยั ทพ่ี งึ ปฏิบตั ิตามหลักสุขาภิบาลอาหาร

34 แผนพัฒนาเดก็ และเยาวชนในถนิ่ ทรุ กันดารตามพระราชด�ำริ ฉบบั ที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ ๒. จัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจ และพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพท่ีถูกต้อง ตัวอย่างเช่น สุขบัญญัติ โภชนบัญญัติ สุขาภิบาลอาหารและ ส่ิงแวดล้อม การออกก�ำลังกายและการกีฬาท่เี หมาะสม สุขภาวะทางจิต โรคโภชนาการ เชน่ โรคขาดโปรตีนและพลงั งาน โรคขาดสารไอโอดีน โรคขาดวติ ามินเอ โรคโลหิตจางจากการ ขาดธาตเุ หลก็ โรคอว้ น และโรคตดิ ตอ่ ทส่ี ำ� คญั ในทอ้ งถน่ิ เชน่ โรคมาลาเรยี โรคหนอนพยาธิ เป็นต้น ๓. ก�ำหนดมาตรการในการจ�ำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มในร้านค้าสหกรณ์ภายใน โรงเรยี นและรอบ ๆ โรงเรยี น เพ่อื หลีกเลี่ยงปจั จยั แวดล้อมท่ีเสีย่ งตอ่ การทําลายสุขภาพ ๔. จัดกิจกรรมอย่างต่อเน่ืองเพ่ือให้เด็กและเยาวชนได้ร่วมกันพัฒนาสภาพแวดล้อม ทางกายภาพภายในโรงเรียนให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดี – ความสะอาดเป็นระเบียบของ ห้องเรยี น อาคารต่าง ๆ หอ้ งสว้ ม สนามเลน่ กีฬา พน้ื ท่ีเกษตรของโรงเรยี น ฯลฯ ๕. สนบั สนุนและพฒั นาปรบั ปรงุ ระบบน�ำ้ ดม่ื ของโรงเรียนให้สะอาดและปลอดภยั ๖. เพิ่มพูนความรู้และทักษะให้แก่ครูอาหารกลางวันและผู้ประกอบอาหารของ โรงเรยี นในเรอื่ งการจดั บรกิ ารอาหารกลางวนั และอาหารเสรมิ หรอื อาหารวา่ งทไี่ ดค้ ณุ คา่ ตาม หลักโภชนาการ และสะอาดและปลอดภยั ตามหลักสขุ าภบิ าลอาหาร ๗. เพ่ิมพูนความรู้และทักษะให้แก่ครูอนามัยในการจัดระบบห้องพยาบาลในการให้ บรกิ ารสขุ ภาพแก่นกั เรียน บุคลากรของโรงเรยี น และชุมชน อาทิ • การเฝา้ ระวงั ทางโภชนาการ – การชง่ั นำ้� หนกั และวดั สว่ นสงู การตรวจคอพอก • การคัดกรองภาวะสายตาผิดปกติ • การดูแลเรอ่ื งโรคผิวหนัง หิดเหา • การตรวจวินิจฉัยและให้การรักษาเบอ้ื งตน้ โรคมาลาเรยี • การใหบ้ รกิ ารทนั ตสุขภาพ • การประสานการตรวจและรกั ษาโรคหนอนพยาธิ ๘. ส่งเสริมให้ครูมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กนักเรียนโดยเฉพาะระดับมัธยมศึกษา เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ อาทิ แอลกอฮอล์ บุหรี่ ยาเสพติด พฤติกรรมเส่ียงทางเพศ อุบตั ิเหตุต่าง ๆ ๙. เพม่ิ พนู ศกั ยภาพใหก้ บั ครผู ดู้ แู ลหอพกั นกั เรยี นบา้ นไกล (สำ� หรบั โรงเรยี นทม่ี หี อพกั ใหน้ ักเรียน) ให้สามารถจดั ระเบียบหอพัก ดูแลสภาพแวดล้อม และดแู ลนักเรยี นทพ่ี ักค้างที่ โรงเรียนไดอ้ ย่างเหมาะสม ๑๐. ส่งเสริมความรู้/ความเข้าใจของผู้ปกครองในการดูแลสุขภาพ และการป้องกัน ปจั จัยเส่ยี งสุขภาพ

แผนพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถิน่ ทุรกันดารตามพระราชด�ำริ 35 ฉบบั ท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ เปา้ หมายหลักท่ี ๒ เพมิ่ โอกาสทางการศกึ ษา ... การท�ำงานของเราไม่ใช่อยู่ในส่วนที่เคยเป็นโรงเรียน ตชด. หรือว่าหน่วยงานทางกระทรวงศึกษาธิการ ก็ได้บุกไปถึงในที่ “ ทุรกันดาร ท่ียังไม่เคยมีการศึกษาหรือการบริการทางราชการ มาก่อน ... พระราชด�ำรัส วนั พธุ ที่ ๑๖ เมษายน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ”... จากการสงั เกตตามโรงเรยี นเวลานมี้ นี กั เรยี นทม่ี คี วามบกพรอ่ ง ในการเลา่ เรยี นมากขนึ้ เพราะวา่ ผปู้ กครองเรม่ิ สนใจทจ่ี ะใหล้ กู ได้ “ มาศกึ ษาเลา่ เรยี นมากขนึ้ แตก่ อ่ นนถี้ า้ ใครมคี วามสามารถดอ้ ยก็ มักจะไม่เปิดโอกาสให้เข้าโรงเรียน แต่เดี๋ยวนี้มีการศึกษาพิเศษ ใหท้ กุ คนพฒั นาไดต้ ามการศกึ ษาของตวั ทำ� ใหผ้ ทู้ เี่ ปน็ ครนู นั้ ตอ้ ง ” มวี ธิ ีการสอนท่เี หมาะสำ� หรบั เด็กแตล่ ะประเภท ... พระราชดำ� รัส วนั พุธท่ี ๒๔ เมษายน พทุ ธศักราช ๒๕๕๖ เป้าหมายที่ ๒.๑ เดก็ ท่ขี าดโอกาสสามารถเข้าถึงบริการทางการศกึ ษาและการพัฒนาเพ่มิ ขึน้ แนวทางการพฒั นา ๑. สนบั สนนุ การจดั ตง้ั สถานศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษาในรปู แบบทเี่ หมาะสมกบั สภาพ พนื้ ทแี่ ละชมุ ชน กอ่ สรา้ งอาคารเรยี นหรอื พฒั นาปรบั ปรงุ อาคารใหม้ จี ำ� นวนเพยี งพอกบั จำ� นวน เดก็ และมคี วามปลอดภยั สนบั สนนุ วสั ดอุ ปุ กรณก์ ารศกึ ษา รวมทง้ั บคุ ลากรเพอื่ ใหส้ ถานศกึ ษา สามารถจดั การศึกษาขั้นพ้นื ฐานได้

36 แผนพฒั นาเด็กและเยาวชนในถ่ินทรุ กนั ดารตามพระราชดำ� ริ ฉบบั ท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ ๒. จดั กล่มุ โรงเรียน (Cluster) และเพมิ่ ขีดความสามารถในการจัดการศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษาใหก้ ับโรงเรยี นทเี่ ปน็ หลกั ในแตล่ ะ cluster ซงึ่ อาจเป็นโรงเรยี นระดับมัธยมศึกษา หรือโรงเรียนประถมศึกษาที่มีความพร้อม เพื่อรองรับเด็กนักเรียนท่ีส่งต่อมาจากโรงเรียน ประถมศกึ ษาในพน้ื ทโี่ ดยรอบ มกี ารใชท้ รพั ยากรรว่ มกนั โดยมงุ่ พฒั นาอาคารสถานที่ หอพกั ครู หอพกั นกั เรยี น ระบบนำ้� ระบบไฟ ใหเ้ พยี งพอ พฒั นาสภาพแวดลอ้ มทเ่ี ออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้ และพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอ่ ไป ๓. ส่งเสริมความรคู้ วามเขา้ ใจ และสรา้ งความตระหนกั ของผู้ปกครองให้เห็นคณุ คา่ ของการศึกษา และใหค้ วามร่วมมอื ในการส่งบุตรหลานเข้าศึกษาเล่าเรียนในโรงเรยี น เป้าหมายท่ี ๒.๒ เด็กและเยาวชนทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางดา้ นรา่ งกาย สติปัญญา และอารมณไ์ ด้รบั บริการทางการศึกษาทเ่ี หมาะสม แนวทางการพัฒนา ๑. ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของครูในการคัดกรองเด็กและเยาวชนท่ีมีความ บกพร่องทางด้านร่างกาย สติปัญญา และอารมณไ์ ดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ๒. สนับสนุนให้โรงเรียนสามารถบริหารจัดการการศึกษาในรูปแบบท่ีเหมาะสมแก่ เดก็ และเยาวชนที่มคี วามบกพรอ่ งทางด้านรา่ งกาย สติปญั ญา และอารมณ์ ๓. เพิ่มพูนความรู้และทักษะให้กับครูในการดูแลและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ เหมาะสมกบั เดก็ และเยาวชนทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางดา้ นร่างกาย สตปิ ัญญา และอารมณเ์ ป็น รายบุคคล ๔. พฒั นาโรงเรยี นเครอื ขา่ ยเพอื่ การสง่ ตอ่ เดก็ และเยาวชนทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางดา้ น รา่ งกาย สตปิ ญั ญา และอารมณไ์ ปยังสถานศึกษาเฉพาะทาง ๕. ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจของผู้ปกครองเกี่ยวกับภาวะความบกพร่องของบุตร หลาน เพ่อื จะได้ให้ความร่วมมอื ในการดแู ลบตุ รหลานของตน

แผนพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถน่ิ ทุรกันดารตามพระราชดำ� ริ 37 ฉบับท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ เป้าหมายที่ ๒.๓ นกั เรียนในพระราชานเุ คราะหไ์ ดร้ ับการเสรมิ สร้างศกั ยภาพทางวิชาการ และเพยี บพร้อมด้วยคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจิตสาธารณะ แนวทางการพัฒนา ๑. ปรบั ปรงุ และพฒั นาระบบคดั เลอื กใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ทของสงั คมทเี่ ปลย่ี นแปลง อยา่ งรวดเรว็ ๒. จดั กจิ กรรมเพอ่ื ใหน้ กั เรยี นในพระราชานเุ คราะหพ์ ฒั นาศกั ยภาพทางวชิ าการและ ภาวะผู้นำ� ๓. สง่ เสรมิ การปลกู ฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม จติ สาธารณะ จนเปน็ คณุ ลกั ษณะทสี่ ำ� คญั ของนกั เรยี นในพระราชานุเคราะห์ ๔. ปรับปรุงและพัฒนาระบบติดตาม เครือข่ายในการดูแลเป็นพี่เลี้ยงและการให้ ค�ำปรกึ ษาให้มีประสทิ ธภิ าพ เพื่อชว่ ยเหลือแก้ไขปัญหาของนักเรยี นในพระราชานเุ คราะห์ได้ ทนั กาล ๕. ปรับปรุงและพัฒนาระบบการแนะแนว สร้างแรงจูงใจให้นักเรียนในพระราชา- นเุ คราะห์เข้าสู่การศึกษาประเภทอาชีวศึกษาตามความถนดั ของแต่ละบุคคล เป้าหมายหลกั ที่ ๓ เสรมิ สร้างศักยภาพของเด็กและเยาวชนทางวิชาการ และทางจริยธรรม “ ... เรื่องการศกึ ษา ปรากฏวา่ เดิมตงั้ แต่ ๓๐ กวา่ ปนี นั้ ได้ต้ังเปา้ หมายทดี่ คี อื ใหป้ ระชาชนทกุ คนมคี วามรอู้ า่ นออกเขยี นได้ ตอ่ มา กเ็ รยี นจบภาคบงั คบั ตอ่ มากห็ วงั วา่ ทกุ คนควรจะมโี อกาสไดเ้ รยี น ในระดบั สงู ข้นึ ไปตามสตปิ ัญญาของตวั หลายคนจบปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท ตอ่ ไปเหน็ หลายคนมแี ผนจะศกึ ษาตอ่ ในระดบั ปรญิ ญา เอก แลว้ ออกมาประกอบอาชพี ต่าง ๆ ในเวลาน้ีนอกจากได้เรียนทุกคนแล้ว เราต้องเน้นเร่ืองคุณภาพ การศกึ ษา อย่างทเี่ ห็นว่าพยายามเนน้ ทั้งดา้ นภาษาไทย ภาษา ตา่ งประเทศ วชิ าทางดา้ นคณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา

38 แผนพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถิน่ ทุรกันดารตามพระราชดำ� ริ ฉบบั ที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ หรืออื่น ๆ นอกจากนักเรียนแล้วผู้ที่ให้การศึกษาคือครูนั้น ก็ ” ต้องปรับปรุงตัวเองให้ดีข้ึนเร่ือย ๆ อย่าถือว่าเราเป็นครูแล้วมี ” ความรคู้ วามสามารถดกี วา่ คนอน่ื บางเรอ่ื งกค็ วรจะศกึ ษาไปดว้ ย กนั อยา่ งปจั จบุ นั นีห้ ลาย ๆ แห่งมีสื่อการสอน เช่น มหี นังสอื ก็ ควรทีจ่ ะอา่ นศกึ ษาหาความรู้ หรอื มคี อมพิวเตอร์ อนิ เตอร์เนต็ และสอ่ื อิเล็กทรอนิกส์อ่นื ๆ การเรยี นทางไกลอย่างนี้ เป็นต้น ถ้าเรารู้จักค้นหาความรู้ในน้ัน ไม่ว่าสาขาวิชาใด ก็สามารถ ศึกษาเล่าเรียนได้ แล้วก็ต้องฝึกฝนตนเองให้ได้ให้ดีไปพร้อม ๆ กัน ทุกวันน้ีหลาย ๆ เรือ่ งหลาย ๆ วิชาน้นั ต้องเช่อื มโยงกนั ให้ ได้ อยา่ งท่ีไปเห็นวนั หน่งึ คุณครสู าธิตการสอนเรื่องไฟฟ้า ดูแลว้ เหน็ วา่ สอนไดด้ ี นา่ จะเชอื่ มโยงไดก้ บั การฝกึ อบรมเรอ่ื งปญั หาจาก ไฟฟา้ ทเี่ ราไดร้ บั การอบรมในการอบรมครตู ามทที่ า่ นผบู้ ญั ชาการ ตำ� รวจตระเวนชายแดนไดก้ ลา่ วเมอ่ื สกั ครนู่ ้ี แลว้ อาจจะเชอ่ื มโยง ต่อการฝกึ วิชาชพี ต่าง ๆ เช่น วชิ าชีพทางไฟฟ้า ดา้ นการเรียน ในห้องเรียนหรือการปฏิบัติที่เราปฏิบัติ เช่น เรียนวิชาทาง ชวี วทิ ยาหรอื แมแ้ ตค่ ณติ ศาสตร์ กอ็ าจจะเชอ่ื มโยงกบั แปลงเกษตร นอกจากท�ำแปลงเฉย ๆ เราได้ท�ำเรื่องสหกรณ์ คิดเลขอะไร ตา่ ง ๆ เปน็ วิชาความรู้ ทกุ อย่างท่จี ะเชอ่ื มโยงกันได้ ... พระราชด�ำรสั วันพฤหสั บดที ่ี ๑๙ เมษายน พุทธศกั ราช ๒๕๕๕ “ ... มกี ารพูดถึงการรวมกลมุ่ ประเทศอาเซียน นอกจากการรู้จัก เขาแลว้ กต็ อ้ งรจู้ กั ในแงท่ ว่ี า่ เขามกี ารอบรมบม่ นสิ ยั กนั มาอยา่ งไร การเลา่ เรยี นเปน็ อยา่ งไร เพอ่ื ทว่ี า่ เราจะไดม้ ขี อ้ เปรยี บเทยี บและ แกไ้ ขในสง่ิ ทเี่ รายงั ดอ้ ยกวา่ แมแ้ ตผ่ ทู้ ป่ี ฏบิ ตั งิ านเปน็ ครู อาจารย์ หรอื เปน็ เจา้ หนา้ ทด่ี า้ นตา่ ง ๆ กไ็ มใ่ ชว่ า่ หยดุ นงิ่ กบั งานทม่ี คี วามรู้ ความช�ำนาญอยแู่ ล้ว จ�ำเป็นจะตอ้ งคึกษามากยิ่งขน้ึ เพ่ือทจี่ ะให้ ปฏิบตั ิงานได้ดขี ้นึ ... พระราชดำ� รัส วนั พุธที่ ๒๔ เมษายน พทุ ธศักราช ๒๕๕๖

แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถ่ินทรุ กันดารตามพระราชดำ� ริ 39 ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ เป้าหมายที่ ๓.๑ เดก็ และเยาวชนมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นในวชิ าภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ และสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมสูงขึน้ แนวทางการพฒั นา ๑. ส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีหลากหลายรูปแบบเพื่อให้เด็กและ เยาวชนได้พัฒนาองค์ความรู้และทักษะพื้นฐานด้านภาษาไทย วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาองั กฤษ และสังคมศกึ ษา และสอดคลอ้ งกบั ทกั ษะที่จำ� เปน็ ในศตวรรษที่ ๒๑ ควบคูก่ ับ การปลูกฝงั คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม ๒. ส่งเสรมิ การจัดการเรยี นการสอนภาษาไทยโดยการแจกลกู สะกดคำ� ๓. ส่งเสริมการจัดกิจกรรมเพ่ือปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมโดยให้เด็กนักเรียนลงมือ ปฏิบัติเป็นกิจวัตรประจ�ำวัน รวมท้ังการสอนสอดแทรกในช่ัวโมงการเรียนการสอนท้ังใน หอ้ งเรยี นและนอกหอ้ งเรียน ๔. สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหค้ รใู ชธ้ รรมชาตใิ นโรงเรยี นและชมุ ชน อาทิ กจิ กรรมการ พัฒนาต่าง ๆ ในโรงเรยี น การก่อสร้างอาคาร มาเปน็ ส่อื การเรียนการสอนทม่ี คี ุณภาพ ๕. สง่ เสรมิ การใชก้ ารศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี มโดยเฉพาะในกลมุ่ สาระทขี่ าดแคลน ครู ๖. ส่งเสริมการใช้สารานุกรมส�ำหรับเยาวชนตามพระราชประสงค์เพื่อพัฒนา การเรยี นรขู้ องเด็ก ๗. สง่ เสรมิ และพฒั นาทกั ษะของเดก็ นกั เรยี นในดา้ นการอา่ น การคน้ ควา้ จากแหลง่ เรียนร้ทู ้งั ในโรงเรยี น เช่น หอ้ งสมดุ พื้นทกี่ ารเกษตรของโรงเรียน และนอกโรงเรยี น เชน่ วดั มัสยิด พพิ ิธภัณฑ์ ภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ เปน็ ต้น ๘. จดั เวทกี ารนำ� เสนอผลงาน การประกวดผลงานของเดก็ นกั เรยี นระดบั ตา่ ง ๆ เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ นกั เรยี นไดพ้ ฒั นาองคค์ วามรแู้ ละทกั ษะตา่ ง ๆ เกดิ การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ สรา้ ง เครอื ขา่ ยตดิ ต่อช่วยเหลอื กันและกัน ๙. พัฒนาห้องสมุดให้ได้มาตรฐานส�ำหรับเป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีทันสมัยของเด็กและ ชุมชน ๑๐. พัฒนาห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ให้ได้มาตรฐาน สอดคล้องกับเน้ือหาใน หลักสตู ร เพื่อพฒั นาทกั ษะของเดก็ และเยาวชนในกระบวนการสืบเสาะหาความรู้

40 แผนพฒั นาเด็กและเยาวชนในถนิ่ ทุรกันดารตามพระราชดำ� ริ ฉบบั ท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ เปา้ หมายท่ี ๓.๒ เด็กและเยาวชนมีทกั ษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ แนวทางการพัฒนา ๑. ส่งเสริมและสนับสนุนให้โรงเรียนเข้าถึงบริการของระบบสื่อสารและเทคโนโลยี เพื่อการศึกษา ๒. จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง เหมาะสม เชน่ การค้นควา้ หาข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ โดยใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ รวมท้งั พฒั นาทกั ษะในการคดิ วเิ คราะหแ์ ละตดั สนิ ใจ มวี จิ ารณญาณในการเลอื กใชข้ อ้ มลู อยา่ งเหมาะ สม การนำ� เสนอสารสนเทศโดยเลือกใชเ้ ทคโนโลยคี อมพิวเตอรท์ เี่ หมาะสม เป้าหมายท่ี ๓.๓ เด็กและเยาวชนไดร้ บั การเตรียมความพรอ้ มสำ� หรบั ประชาคมอาเซียน แนวทางการพัฒนา ๑. สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การจดั การเรยี นการสอนเรอื่ งประชาคมอาเซยี นอยา่ งรอบดา้ น ๒. พัฒนาปรับปรุงศูนย์ประชาคมอาเซียนท่ีมีอยู่ที่โรงเรียนให้มีข้อมูลข่าวสารที่ ถกู ตอ้ ง โดยสามารถจัดเปน็ มุมหนึ่งในห้องสมุดสำ� หรบั การศกึ ษาค้นควา้ เป้าหมายท่ี ๓.๔ ครูมีการพัฒนาตนเองอย่างตอ่ เนือ่ ง แนวทางการพฒั นา ๑. จดั การฝกึ อบรมประจำ� ปเี พอื่ เพม่ิ ทกั ษะใหก้ บั ครผู สู้ อนในการถา่ ยทอดความรู้ จดั กิจกรรมการเรียนรู้ได้หลากหลายรูปแบบอย่างเหมาะสม มีคุณภาพและประสิทธิภาพ และ สอดคลอ้ งกบั ทกั ษะทจ่ี �ำเปน็ ในศตวรรษที่ ๒๑ ๒. พฒั นาครใู หม้ ศี กั ยภาพในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนเพอ่ื ปลกู ฝงั คณุ ธรรม จริยธรรม ๓. พัฒนาครูให้มีความรู้และทักษะในการจัดการเรียนการสอนด้วยสื่อทางไกลผ่าน ดาวเทยี ม

แผนพัฒนาเดก็ และเยาวชนในถ่ินทรุ กันดารตามพระราชดำ� ริ 41 ฉบับท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ ๔. พัฒนาครูให้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารได้อย่างมีประสิทธิภาพและ เหมาะสมกับสถานการณ์ ๕. พัฒนาครูใหม้ ศี กั ยภาพในการวัดและประเมินผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ ๖. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูท�ำงานวิจัยจากงานประจ�ำเพื่อสร้างองค์ความรู้ พัฒนานวัตกรรม เพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ๗. จัดเวทกี ารนำ� เสนอผลงาน เผยแพร่องค์ความรู้ นวัตกรรม เพื่อการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ และสร้างเครอื ข่ายชว่ ยเหลอื ซงึ่ กันและกัน ๘. สนับสนุนให้ครูเข้ารับการศึกษาต่อเพื่อเพ่ิมคุณวุฒิ เช่น ทุนพระราชทานครู โครงการบณั ฑิตคนื ถิ่น เป็นตน้ เป้าหมายหลกั ที่ ๔ เสรมิ สร้างศักยภาพของเดก็ และเยาวชนทางการงานอาชพี “ ... ส่วนในด้านวิชาชีพ ตอนแรกที่คิดในเร่ืองการต้ังวิชาชีพนั้น เห็นว่าในโรงเรยี นหรอื ในชุมชนทีม่ ีโรงเรยี น ตชด. น้ัน มบี ุคคล ท่ีไม่สามารถจะประกอบอาชพี ปกตหิ รอื เล่าเรียนไดป้ กติ เพราะ เป็นบุคคลต่างด้าวบ้าง บุคคลไร้สัญชาติบ้าง ซึ่งขณะนี้ก็ยังมี อยู่ บคุ คลเหลา่ น้ันถ้าเรียนวิชาสูงขึ้นไปไม่ได้ ก็ควรจะมคี วามรู้ ทางด้านวชิ าชพี เพ่อื ให้สามารถประกอบอาชีพท่สี จุ รติ ได้ ต่อมา สถานการณเ์ หลา่ นด้ี ขี นึ้ โอกาสในการศกึ ษาความเทา่ เทยี มกนั มี ดีขน้ึ แตว่ ่าการฝกึ อาชีพนั้นกค็ วรที่จะปฏิบัตติ อ่ ไป เพราะว่ายงั มี ประโยชนส์ �ำหรับเดก็ ท่ยี งั เลก็ ๆ อยู่ การทไ่ี ด้ทำ� การที่สมัยกอ่ น เขาเรยี กวา่ หัตถศึกษานัน้ เปน็ การฝึกอบรมความรู้ หรือวา่ เร่อื ง วฒั นธรรม หรอื การรักการทำ� งาน เป็นการฝกึ มือ ใหส้ ามารถ ใชไ้ ดด้ เี หมอื นกบั เราวงิ่ เพอื่ ออกกำ� ลงั กาย การใชม้ อื เปน็ การเชอื่ ม โยงระหวา่ งมือและสมอง ซ่งึ ถอื วา่ เป็นเรื่องสำ� คญั ที่สดุ สำ� หรับ เด็กโตกจ็ ะไดฝ้ ึกอบรมใหท้ �ำอะไรได้และเปน็ รายได้เพิม่ เติม การ ทเ่ี รยี นตรงนจ้ี ะเสรมิ ใหผ้ ปู้ กครอง นกั เรยี น และชมุ ชนใหม้ คี วาม ” เปน็ อยทู่ ่ีดขี ้ึน ... พระราชดำ� รสั วนั พฤหสั บดีท่ี ๑๙ เมษายน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๕

42 แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถ่นิ ทรุ กนั ดารตามพระราชดำ� ริ ฉบบั ท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๙ ... ในเร่ืองวิชาชีพต่าง ๆ คือวิชาชีพหลักท่ีของโรงเรียนเราท�ำ คือ วชิ าชพี เกษตร จากเกษตรจะมกี ารแปรรูป ถอื วา่ เป็นเรอ่ื ง ” ” “ ของอุตสาหกรรม งานต่างๆ จากโรงเรียนแล้วกแ็ พรไ่ ปสู่ชมุ ชน ในทุก ๆ ด้าน ... พระราชดำ� รสั วนั พธุ ท่ี ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙ “ ... พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท่ีมีมานาน ๒๐ กว่าปีแล้ว ท่านตรสั ถึงโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวนั วา่ มี ประโยชน์ นอกจากจะมีอาหารให้กินแล้ว นักเรียนรู้จักท�ำงาน รว่ มกนั รจู้ กั วชิ าการตา่ ง ๆ ในนนั้ มเี รอื่ งของการชลประทานดว้ ย ซ่งึ เรายงั ไม่ไดป้ ฏิบตั ิอยา่ งจรงิ จงั ครั้งนี้ได้เริม่ ปฏิบัติ นกั เรียนมี ความรเู้ รอื่ งนำ�้ แลว้ ตอ่ ไปกจ็ ะเปน็ ผทู้ จี่ ะดวู า่ เรายงั ขาดแคลนหรอื อย่างไร จะได้เลา่ ใหเ้ จ้าหน้าที่หรือครูอาจารยต์ ่อไปได้ ... พระราชดำ� รสั วันพฤหัสบดีท่ี ๓๐ เมษายน พทุ ธศักราช ๒๕๕๘ เป้าหมายท่ี ๔.๑ เดก็ และเยาวชนมคี วามรู้และทกั ษะพนื้ ฐานทางการเกษตรยง่ั ยนื ใน การผลติ อาหารเพ่ือการบริโภค แนวทางการพฒั นา ๑. จัดกระบวนการเรียนรู้โดยเน้นให้เด็กและเยาวชนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองเพื่อ สรา้ งองคค์ วามรู้ ทกั ษะ และเจตคติท่ีดใี นการท�ำเกษตรยง่ั ยืน แลว้ น�ำผลผลิตทไ่ี ด้มาใช้เปน็ วตั ถดุ บิ ในการประกอบอาหารกลางวนั ของโรงเรยี น และสง่ เสรมิ การขยายผลสคู่ รวั เรอื นและ ชมุ ชน ๒. จัดกระบวนการเรียนรู้เพ่ือให้เด็กและเยาวชนน�ำหลักการสหกรณ์มาใช้ในการ จัดการการผลติ และการจดั การผลผลิตอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ๓. ส่งเสริมการน�ำพันธุ์พืชพันธุ์สัตว์พ้ืนบ้านและภูมิปัญญาท้องถ่ินมาใช้ในการผลิต ทางการเกษตร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook