ตารางที่ 2 วัตถอุ นั ตรายที่ท�ำปฏิกริ ิยากบั นำ้� แลว้ ใหก้ ๊าซพิษ สารท่ผี ลติ ก๊าซพิษร้ายแรงทางการหายใจ (Toxic-by-Inhalation : TIH หรอื PIH) ปริมาณมากเมือ่ หกร่วั ไหลลงแหลง่ นำ�้ INDO. NGou.ide รายชือ่ วตั ถุอนั ตราย กา๊ ซ TIH 1808 137 Phosphorus tribromide พิษที่เกิดขน้ึ 1809 137 Phosphorus trichloride HBr 1810 137 Phosphorus oxychloride HCl 1815 132 Propionyl chloride HCl 1816 155 Propyltrichlorosilane HCl 1818 157 Silicon tetrachloride HCl 1828 137 Sulfur chlorides HCl 1828 137 Sulphur chlorides HCl SSOO22 HH22SS 1834 137 Sulfuryl chloride HCl 1834 137 Sulphuryl chloride HCl 1836 137 Thionyl chloride HCl 1838 137 Titanium tetrachloride HCl SO2 1898 156 Acetyl iodide HCl 1923 135 Calcium dithionite Hl 1923 135 Calcium hydrosulfite HHHHHH222222SSSSSS SSSSSSOOOOOO222222 1923 135 Calcium hydrosulphite 1929 135 Potassium dithionite 1929 135 Potassium hydrosulfite 1929 135 Potassium hydrosulphite สญั ลักษณ์ทางเคมขี องกา๊ ซพิษ : TIH หรือ PIH Br2 Bromine HF Hydrogen fluoride NO2 Nitrogen dioxide Cl2 chlorine HI Hydrogen iodide PH3 Phosphine HBr Hydrogen bromide H2S Hydrogen sulfide SO2 Sulfur dioxide HCl Hydrogen chloride H2S Hydrogen sulphide SO2 Sulphur dioxide HCN Hydrogen cyanide NH3 Ammonia 350 ใช้ตารางนีเ้ มอื่ สารหกร่ัวไหลลงน้ำ� เทา่ นนั้
ตารางท่ี 2 วัตถุอันตรายทีท่ �ำปฏกิ ิรยิ ากับน้ำ� แลว้ ให้กา๊ ซพษิ สารทผ่ี ลิตก๊าซพษิ ร้ายแรงทางการหายใจ (Toxic-by-Inhalation : TIH หรอื PIH) ปรมิ าณมากเมื่อหกร่ัวไหลลงแหลง่ น้�ำ INDO. NGou.ide รายช่ือวตั ถุอันตราย 1931 171 Zinc dithionite ก๊าซ TIH 1931 171 Zinc hydrosulfite พิษที่เกิดข้ึน 1931 171 Zinc hydrosulphite PPPNHHNNHNHNHHH222COOHOOSSS3333l2222SSSOOO222 2004 135 Magnesium diamide 2011 139 Magnesium phosphide 2012 139 Potassium phosphide 2013 139 Strontium phosphide 2308 157 Nitrosylsulfuric acid, liquid 2308 157 Nitrosylsulfuric acid, solid 2308 157 Nitrosylsulphuric acid, liquid 2308 157 Nitrosylsulphuric acid, solid 2353 132 Butyryl chloride 2395 132 Isobutyryl chloride HCl 2434 156 Dibenzyldichlorosilane HCl 2435 156 Ethylphenyldichlorosilane HCl 2437 156 Methylphenyldichlorosilane HCl 2495 144 Iodine pentafluoride HF 2691 137 Phosphorus pentabromide HBr 2692 157 Boron tribromide HBr สญั ลกั ษณท์ างเคมขี องก๊าซพษิ : TIH หรือ PIH Br2 Bromine HF Hydrogen fluoride NO2 Nitrogen dioxide Cl2 chlorine HI Hydrogen iodide PH3 Phosphine HBr Hydrogen bromide H2S Hydrogen sulfide SO2 Sulfur dioxide HCl Hydrogen chloride H2S Hydrogen sulphide SO2 Sulphur dioxide HCN Hydrogen cyanide NH3 Ammonia ใช้ตารางนเ้ี มอื่ สารหกรัว่ ไหลลงน�ำ้ เท่านัน้ 351
ตารางท่ี 2 วตั ถุอนั ตรายท่ีท�ำปฏิกิรยิ ากบั น�้ำแล้วใหก้ ๊าซพิษ สารท่ผี ลติ กา๊ ซพิษรา้ ยแรงทางการหายใจ (Toxic-by-Inhalation : TIH หรือ PIH) ปริมาณมากเมื่อหกรัว่ ไหลลงแหล่งน้�ำ NIDO. GNou.ide รายชื่อวัตถอุ นั ตราย 2806 138 ก๊าซ TIH 2977 166 พิษทเี่ กิดข้นึ Lithium nitride NHFH3 Radioactive material,Uranium hexafluoride, fissile 2977 166 Uranium hexafluoride, radioactive material, fissile HF 2978 166 fRisasdileiooarcftiisvseilem-eaxtceeripatl,eUdranium hexafluoride, non HF 2978 166 nUorann-ifuismsileheoxrafifslusioler-ideex,creapdtieodactive material, HF 2985 155 Chlorosilanes, flammable, corrosive, n.o.s. HCl 2986 155 Chlorosilanes,corrosive,flammable,n.o.s. HCl 2987 156 Chlorosilanes,corrosive,n.o.s. HCl 2988 139 Ccohrlroorsoivsiela,nn.eos.s,.water-reactive,flammable, HCl 3048 157 Aluminum phosphide pesticide PHHC3l 3049 138 Metal alkyl halides,water-reactive, n.o.s HCl 3049 138 Metal aryl halides,water-reactive, n.o.s 3052 135 Aluminum alkyl halides, liquid HCl 3052 135 Aluminum alkyl halides, solid HCl 3361 156 Chlorosilanes, poisonous, corrosive,n.o.s. HCl 3361 156 Chlorosilanes, toxic, corrosive,n.o.s. HCl สญั ลกั ษณท์ างเคมขี องก๊าซพษิ : TIH หรอื PIH Br2 Bromine HF Hydrogen fluoride NO2 Nitrogen dioxide Cl2 chlorine HI Hydrogen iodide PH3 Phosphine HBr Hydrogen bromide H2S Hydrogen sulfide SO2 Sulfur dioxide HCl Hydrogen chloride H2S Hydrogen sulphide SO2 Sulphur dioxide HCN Hydrogen cyanide NH3 Ammonia 352 ใช้ตารางนี้เม่ือสารหกรวั่ ไหลลงน�ำ้ เท่านน้ั
ตารางที่ 2 วัตถุอนั ตรายที่ทำ� ปฏิกิรยิ ากบั น้ำ� แล้วใหก้ ๊าซพิษ สารที่ผลิตกา๊ ซพษิ ร้ายแรงทางการหายใจ (Toxic-by-Inhalation : TIH หรือ PIH) ปริมาณมากเมื่อหกรว่ั ไหลลงแหลง่ น้�ำ INDO. NGou.ide รายชอื่ วตั ถุอนั ตราย กา๊ ซ TIH พษิ ที่เกดิ ขนึ้ 3362 155 Chlorosilanes, poisonous, corrosive,flammable,n.o.s. HCl 3362 155 Chlorosilanes, toxic, corrosive,flammable,n.o.s. HCl 3456 157 Nitrosylsulfuric acid, solid HNNCOOl22 3456 157 Nitrosylsulphuric acid, solid 3461 135 Aluminum alkyl halides, solid 3507 166 Uenoxracnne-ifpuismtseildeheopxraafcifslkusaiolegr-iede,exl,ceresaspdtthieoadanc0ti.v1ekmg apteerripaal,ckage, HF 9191 143 Chlorine dioxide, hydrate, frozen Cl2 สัญลักษณ์ทางเคมีของกา๊ ซพิษ : TIH หรอื PIH Br2 Bromine HF Hydrogen fluoride NO2 Nitrogen dioxide Cl2 chlorine HI Hydrogen iodide PH3 Phosphine HBr Hydrogen bromide H2S Hydrogen sulfide SO2 Sulfur dioxide HCl Hydrogen chloride H2S Hydrogen sulphide SO2 Sulphur dioxide HCN Hydrogen cyanide NH3 Ammonia ใช้ตารางนเ้ี มือ่ สารหกรว่ั ไหลลงน�ำ้ เทา่ นนั้ 353
ตารางท่ี 3 แสดงระยะก้ันเขตเบอื้ งต้นและระยะปกป้องสาธารณชน สำ�หรบั การรั่วไหลของสาร TIH หรอื PIH ในปรมิ าณมาก จ�ำ นวน 6 ชนดิ ทเ่ี กดิ เหตกุ ารณ์เป็นประจำ� สารเหล่าน้ีได้แก:่ • Ammonia, anhydrous (UN1005) • Chlorine (UN1017) • Ethylene oxide (UN1040) • Hydrogen chloride, anhydrous (UN1050) และ Hydrogen chloride, refrigerated liquid (UN2186) • Hydrogen fluoride, anhydrous (UN1052) • Sulfur dioxide/Sulphur dioxide (UN1079) วัตถอุ นั ตรายเหลา่ นี้ถกู แสดงเรยี งลำ�ดบั ตามตวั อกั ษร และมีข้อมูลระยะกั้นเขตเบื้องต้นและ ระยะการปกปอ้ งสาธารณชนส�ำ หรบั การรว่ั ไหลขนาดใหญ่(มากกวา่ 208 ลติ ร1 หรอื 55 แกลลอน) ข้นึ กับชนิดของภาชนะบรรจุ ส�ำ หรับเหตกุ ารณช์ ่วงเวลากลางวนั และกลางคนื และความเร็วลม ที่แตกตา่ งกัน การประเมนิ ความเรว็ ลมจากขอ้ มูลส่ิงแวดลอ้ ม ไมล/์ ชวั่ โมง กโิ ลเมตร/ช่ัวโมง ลักษณะลม รายละเอยี ด < 6 < 10 ความเร็วต่�ำ ร้สู ึกว่ามลี มปะทะใบหน้า ได้ยินเสียง ลมพัด ท�ำใหใ้ บพดั /กงั หันหมุน 6-12 10-20 ความเร็ว ฝนุ่ ถกู ยกตัว กระดาษปลวิ กงิ่ ไม้ ปานกลาง ขนาดเลก็ ไหว > 12 > 20 ความเรว็ สงู กิง่ ไมข้ นาดใหญไ่ หว ได้ยนิ เสยี งหวดี บงั คับร่มได้ยาก 354 ใช้ตารางนเี้ มอื่ สารหกร่ัวไหลลงน�้ำเทา่ นั้น
CTROANNTSAPIONRERT DIiSreOinFciLrastAtiloTEns (<<Lo16w0mkwmpinh/dh=) Then PROTECT persons Downind during (>>Hi21g02hkmwmpin/hhd)= DAY NIGHT Rail tank car Htruigchkwoarytrtaailnekr (16M0--1o2w2d0iemnkrdmapth/eh=) (>>Hi21g02hkmwmpin/hhd)= (<<Lo16w0mkwmpinh/dh=) (16M0--1o2w2d0iemnkrdmapth/eh=) Anugrrsiecutlatunrkal Meters (Feet) km (Miles) km (Miles) km (Miles) km (Miles) km (Miles) km (Miles) cMyulilntidpelerssmal UN1005 Ammonia, anhydrous: Large Spils 300 (1000) 1.7 (1.1) 1.3 (0.8) 1.0 (0.6) 4.3 (2.7) 2.3 (1.4) 1.3 (0.8) CTROANNTSAPIONRERT 150 (500) 0.9 (0.6) 0.5 (0.3) 0.4 (0.3) 2.0 (1.3) 0.8 (0.5) 0.6 (0.4) Rail tank car Highway tank 60 (200) 0.5 (0.3) 0.3 (0.2) 0.3 (0.2) 1.3 (0.8) 0.3 (0.2) 0.3 (0.2) truck or trailer 30 (100) 0.3 (0.2) 0.2 (0.1) 0.1 (0.1) 0.7 (0.5) 0.3 (0.2) 0.2 (0.1) UN1017 Chlorine: Large Spils 1000 (3000) 9.9 (6.2) 6.4 (4.0) 5.1 (3.2) 11 + (7+) 9.0 (5.6) 6.7 (4.2) 600 (2000) 5.8 (3.6) 3.4 (2.1) 2.9 (1.8) 6.7 (4.3) 5.0 (3.1) 4.1 (2.5) 355
ตารางท่ี 3 ระยะกน้ั เขตเบอ้ื งตน้ และระยะปกปอ้ งสาธารณชน ส�ำ หรบั การรว่ั ไหลของกา๊ ซพษิ รา้ ยแรงทางการหายใจ (TIH หรอื PIH) ในปรมิ าณมาก จ�ำ นวน 6 ชนดิ 356 CTROANNTSAPIONRERT DIiSreOinFciLrastAtiloTEns (<<Lo16w0mkwmpinh/dh=) Then PROTECT persons Downind during (>>Hi21g02hkmwmpin/hhd)= DAY NIGHT (16M0--1o2w2d0iemnkrdmapth/eh=) (>>Hi21g02hkmwmpin/hhd)= (<<Lo16w0mkwmpinh/dh=) (16M0--1o2w2d0iemnkrdmapth/eh=) Meters (Feet) km (Miles) km (Miles) km (Miles) km (Miles) km (Miles) km (Miles) UN1017 Chlorine: Large Spils Mcyulilntidpelerston 300 (1000) 2.1 (1.3) 1.3 (0.8) 1.0 (0.6) 4.0 (2.5) 2.4 (1.5) 1.3 (0.8) Mctoyunlilntcidpyelleirnssdmoerarslingle 150 (500) 1.5 (0.9) 0.8 (0.5) 0.5 (0.3) 2.9 (1.8) 1.3 (0.8) 0.6 (0.4) CTROANNTSAPIONRERT UN1040 Ethylene oxide: Large Spils Rail tank car 200 (600) 1.6 (1.0) 0.8 (0.5) 0.7 (0.5) 3.3 (2.1) 1.4 (0.9) 0.8 (0.5) tHruigchkwoarytrtaailnekr 100 (300) 0.9 (0.6) 0.5 (0.3) 0.4 (0.3) 2 (1.3) 0.7 (0.4) 0.4 (0.3) Mtcoyunlilntcidpyelleirnssdmoerarslingle 30 (100) 0.4 (0.3) 0.2 (0.1) 0.1 (0.1) 0.9 (0.6) 0.3 (0.2) 0.2 (0.1)
DIiSreOinFciLrastAtiloTEns Then PROTECT persons Downind during DAY NIGHT CTROANNTSAPIONRERT (<<Lo16w0mkwmpinh/dh=) (6M-1ow2diemnrdapthe= (>>Hi21g02hkmwmpin/hhd)= (<<Lo16w0mkwmpinh/dh=) (6M-1ow2diemnrdapthe= (>>Hi21g02hkmwmpin/hhd)= 10-20 km/h) 10-20 km/h) Meters (Feet) km (Miles) km (Miles) km (Miles) km (Miles) km (Miles) km (Miles) CTROANNTSAPIONRERT UUNN21018560 HHyyddrrooggeenn cchhlloorriiddee,, raenfhrigyderroautes:dLaliqrgueidS:pLailsrge Spils Rail tank car 500 (1500) 3.7 (2.3) 2 (1.2) 1.7 (1.1) 9.9 (6.2) 3.4 (2.1) 2.3 (1.5) Htruigchkwoarytrtaailnekr 200 (600) 1.5 (0.9) 0.8 (0.5) 0.6 (0.4) 3.8 (2.4) 1.5 (0.9) 0.8 (0.5) Mcyulilntidpelerston 30 (100) 0.4 (0.3) 0.2 (0.1) 0.1 (0.1) 1.1 (0.7) 0.3 (0.2) 0.2 (0.1) Multiple smal ctoynlincdyelirnsdoerrsingle 30 (100) 0.3 (0.2) 0.2 (0.1) 0.1 (0.1) 0.9 (0.6) 0.3 (0.2) 0.2 (0.1) CTROANNTSAPIONRERT UN1052 Hydrogen fluoride, anhydrous: Large Spils Rail tank car 400 (1250) 3.1 (1.9) 1.9 (1.2) 1.6 (1.0) 6.1 (3.8) 2.9 (1.8) 1.9 (1.2) 357
ตารางท่ี 3 ระยะกน้ั เขตเบอ้ื งตน้ และระยะปกปอ้ งสาธารณชน ส�ำ หรบั การรว่ั ไหลของกา๊ ซพษิ รา้ ยแรงทางการหายใจ (TIH หรอื PIH) ในปรมิ าณมาก จ�ำ นวน 6 ชนดิ 358 DIiSreOinFciLrastAtiloTEns Then PROTECT persons Downind during DAY NIGHT CTROANNTSAPIONRERT (<<Lo16w0mkwmpinh/dh=) (6M-1ow2diemnrdapthe= (>>Hi21g02hkmwmpin/hhd)= (<<Lo16w0mkwmpinh/dh=) (6M-1ow2diemnrdapthe= (>>Hi21g02hkmwmpin/hhd)= 10-20 km/h) 10-20 km/h) Meters (Feet) km (Miles) km (Miles) km (Miles) km (Miles) km (Miles) km (Miles) UN1052 Hydrogen fluoride, anhydrous: Large Spils Htruigchkwoarytrtaailnekr 200 (700) 1.9 (1.2) 1 (0.7) 0.9 (0.6) 3.4 (2.2) 1.6 (1.0) 0.9 (0.6) Mtcoyunlilntcidpyelleirnssdmoerarslingle 100 (300) 0.8 (0.5) 0.4 (0.2) 0.3 (0.2) 1.6 (1.0) 0.5 (0.3) 0.3 (0.2) CTROANNTSAPIONRERT UN1079 Sulfur dioxide/Sulphur dioxide: Large Spils Rail tank car 1000 (3000) 11+ (7+) 11+ (7+) 7 (4.4) 11 + (7+) 11 + (7+) 9.8 (6.1) Highway tank truck or trailer 1000 (3000) 11+ (7+) 5.8 (3.6) 5 (3.1) 11 + (7+) 8.0 (5.0) 6.1 (3.8) Multiple ton cylinders 500 (1500) 5.2 (3.2) 2.4 (1.5) 1.8 (1.1) 7.5 (4.7) 4.0 (2.5) 2.8 (1.7) tcMoyunlilntcidpyelleirnssdmoerarslingle 200 (600) 3.1 (1.9) 1.5 (0.9) 1.1 (0.7) 5.6 (3.5) 2.4 (1.5) 1.5 (0.9)
การใชค้ ูม่ อื การระงบั อุบตั ิภัยจากวตั ถอุ นั ตราย 2016 คมู่ อื การระงบั อบุ ตั ภิ ยั จากวตั ถอุ นั ตรายเลม่ น้ี แปลและเรยี บเรยี งจาก 2016 Emergency Response Guide book (ERG 2016) ซึ่งจัดท�ำโดย Transport Canada (TC), The U.S. Department of Transportation (DOT), The Secretariat of Communications and Transport of Mexico (SCT) และ Centro de Informacion Quimica para Emergencias of Argentina (CIQUIME) เพื่อใหพ้ นักงานดบั เพลิง ต�ำรวจ และเจา้ หนา้ ท่ีระงบั เหตุฉกุ เฉนิ ที่ไปยงั บรเิ วณ ท่ีเกดิ เหตุเปน็ หนว่ ยแรก สามารถใช้เป็นคู่มอื เบ้อื งตน้ ในการตอบโตเ้ หตุฉุกเฉนิ ในการจ�ำแนก ชนดิ และความเป็นอนั ตรายของสารเคม/ี วตั ถุอันตราย สามารถปกปอ้ งตนเองและสาธารณชน ในเบอ้ื งต้นของการเกิดเหตุฉกุ เฉนิ (Initial Response Phase) ได้อยา่ งเหมาะสมและรวดเรว็ กลา่ วคอื เมอ่ื ไปถงึ ทเ่ี กดิ เหตุ เจา้ หนา้ ทส่ี ามารถยนื ยนั ชนดิ ของวตั ถอุ นั ตรายทพี่ บ ณ ที่เกิดเหตุ กัน้ แยกบรเิ วณอนั ตรายและด�ำเนินการควบคมุ ป้องกนั เบ้ืองตน้ รวมท้ังขอความชว่ ยเหลือจาก เจ้าหนา้ ท่ที มี่ คี วามเช่ียวชาญทางดา้ นการระงบั อุบัติภยั จากสารเคมี อยา่ งไรกต็ าม คมู่ อื เลม่ นี้ ไม่มีวัตถุประสงค์ในการระบุรายละเอียดเกี่ยวกับคุณสมบัติด้านกายภาพและด้านเคมีของ สารเคม/ี วัตถอุ ันตราย คู่มือเล่มน้ีจะช่วยให้หน่วยเผชิญเหตุตัดสินใจด�ำเนินการเบ้ืองต้นเมื่อไปถึงท่ีเกิดเหตุ แตไ่ มส่ ามารถทดแทนการฝกึ อบรม องคค์ วามรแู้ ละการพจิ ารณาตดั สนิ ใจอยา่ งรอบคอบได้ เนอื่ งจาก ไมไ่ ดก้ ล่าวถึงสถานการณท์ กุ อย่างทีอ่ าจเกิดกบั อบุ ัติภัยจากสารเคมี โดยวตั ถุประสงคห์ ลกั คอื เพอื่ ใช้กรณเี กดิ อบุ ัตภิ ัยระหว่างการขนสง่ สารเคมี/วัตถอุ นั ตรายทางถนนหรอื ทางรถไฟ เท่านั้น ส�ำหรบั กรณที เ่ี กดิ อบุ ตั ภิ ยั กบั โรงงาน/สถานประกอบการ หรอื โกดงั สนิ คา้ หนว่ ยเผชญิ เหตจุ �ำเป็น ตอ้ งหาข้อมลู เพิ่มเติม เพือ่ ประกอบการด�ำเนนิ งานตอบโต้เหตฉุ กุ เฉนิ คู่มือเล่มน้ีครอบคลุมบัญชีรายชื่อวัตถุอันตรายตามข้อแนะน�ำขององค์การ สหประชาชาติ (UN. Recommendation) และกฎระเบยี บของประเทศตา่ งๆ ส�ำหรบั วตั ถอุ นั ตราย ประเภทวตั ถรุ ะเบิดไมไ่ ด้มกี ารจ�ำแนกตามช่ือส�ำหรับการขนส่ง หรอื UN/ID No. แตจ่ ะปรากฏ อยภู่ ายใตห้ วั ขอ้ “Explosives” ในหนา้ แรกของดชั นี UN/ID No. (หนา้ แถบสเี หลอื ง) และจะอยใู่ น ล�ำดับตวั อักษร E ในดชั นที ี่เรียงตามตวั อักษรของดชั นรี ายชื่อวตั ถอุ ันตราย (หนา้ แถบสฟี า้ ) ตัวอักษร “P” ท่ตี อ่ ทา้ ย หมวดค�ำแนะน�ำ No. ในหน้าสีเหลืองและสฟี ้า หมายถึง ภายใต้ 359
สภาวะทเี่ หมาะสม วตั ถอุ ันตรายอาจเกิดปฏิกริ ยิ าสงั เคราะหโ์ มเลกุลใหเ้ ป็น โซย่ าวโพลเิ มอรข์ น้ึ (Polymerization Reaction) โดยในระหวา่ งเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าอาจคายความรอ้ น และท�ำใหเ้ กดิ การระเบดิ หรอื เกิดเพลงิ ไหมไ้ ด้ ตัวอยา่ งเชน่ Acrolein, inhibited (หมวดค�ำแนะน�ำ 131P) เจ้าหน้าท่ีระงับเหตุฉุกเฉินเบ้ืองต้นควรหาข้อมูลเพ่ิมเติมเก่ียวกับสารที่สงสัยว่ามีอยู่ใน เหตกุ ารณโ์ ดยเรว็ ทสี่ ดุ เทา่ ทสี่ ามารถท�ำได้ ขอ้ มลู ทไ่ี ด้รบั จากการประสานกบั หนว่ ยงานระงบั เหตุ ฉุกเฉนิ อนื่ ๆ หรอื จากการโทรศพั ทข์ อค�ำปรกึ ษากบั หนว่ ยงานทป่ี รากฏบนเอกสารก�ำกบั การขนสง่ หรือจากข้อมูลในเอกสารก�ำกับการขนส่งอาจให้ข้อมูลรายละเอียดท่ีเฉพาะเจาะจงมากกว่า หนังสอื เลม่ น้ี ท�ำความเข้าใจกับคู่มือการระงับอุบัติภัยจากวัตถุอันตรายก่อนการด�ำเนินการจริง! หน่วยเผชญิ เหตุเบือ้ งต้น (First Responders) ต้องได้รบั การฝกึ อบรมส�ำหรับการใช้คู่มอื เล่มน้ี 360
เน้ือหาของคูม่ ือ 1.แถบสเี หลอื ง: ดชั นวี ตั ถอุ นั ตรายจะเรยี งตาม UN/ID No. ในหมวดนจ้ี ะใชร้ ะบชุ อื่ วตั ถอุ นั ตราย และหมวดค�ำแนะน�ำ (Guide) จาก UN/ID No. โดยดชั นจี ะแสดง UN/ID Number ตวั เลข 4 หลกั ตามดว้ ยหมายเลขของหมวดค�ำแนะน�ำ และชอื่ วตั ถอุ นั ตราย (Name of Material) ตัวอยา่ ง ID No. หมวดค�ำแนะน�ำ Name of Material 1090 127 Acetone 2.แถบสฟี ้า: ดชั นวี ัตถอุ ันตรายจะเรยี งตามตัวอกั ษรในหมวดนีจ้ ะใชห้ ารายละเอียดการจัดการ วตั ถุอันตรายได้จากรายชอื่ ของวัตถุอันตราย โดยดชั นจี ะเรยี งตามรายช่ือวัตถอุ ันตราย (Name of Material) ตามดว้ ยหมายเลขของหมวดค�ำแนะน�ำ และ ID No. ตวั อย่าง Name of Material หมวดค�ำแนะน�ำ ID No. Sulfuric acid 137 1830 3.แถบสีส้ม: เป็นส่วนที่ส�ำคัญท่ีสุดของคู่มือ เน่ืองจากมีรายละเอียดเกี่ยวกับค�ำแนะน�ำด้าน ความปลอดภยั ตา่ งๆ ประกอบดว้ ย 63 หมวดค�ำแนะน�ำ (Guide) แตล่ ะหมวดค�ำแนะน�ำ มี 2 หนา้ โดยกล่าวถึงค�ำแนะน�ำเพื่อความปลอดภัยและการด�ำเนินการตอบโต้เหตุฉุกเฉินซึ่งจะใช้เป็น ข้อมูลแก่เจ้าหน้าที่ให้สามารถปกป้องตนเองและสาธารณชนได้ หนา้ ซา้ ยเปน็ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั ความปลอดภยั หนา้ ขวาเปน็ ขอ้ มลู ค�ำแนะน�ำในการด�ำเนนิ การเมอื่ เกดิ เหตฉุ กุ เฉนิ ในกรณเี กดิ อคั คภี ยั การหกรวั่ ไหล และการปฐมพยาบาล ทง้ั นี้ หมวดค�ำแนะน�ำ แตล่ ะหมวดจะครอบคลมุ สารเคม/ี วตั ถอุ นั ตรายทม่ี คี ณุ สมบตั ทิ างเคมแี ละความเปน็ พษิ ทคี่ ลา้ ยคลงึ กนั หัวขอ้ ในแตล่ ะ หมวดค�ำแนะน�ำ (Guide) จะแสดงอันตรายทว่ั ไปของสารเคมี/วตั ถอุ ันตราย ตวั อยา่ ง : หมวดค�ำแนะน�ำ 124 : ก๊าซ – เป็นพิษ และ/หรือ กัดกร่อน-สารออกซไิ ดซ์ หมวดค�ำแนะน�ำ 124 : GASES – TOXIC AND/OR CORROSIVE - OXIDIZING ในแต่ละ หมวดค�ำแนะน�ำ ประกอบดว้ ย 3 สว่ นหลกั สว่ นที่ 1 กล่าวถึง อันตรายทอ่ี าจเกิดขนึ้ ทง้ั ด้านอัคคภี ยั /การระเบดิ และผลกระทบ ต่อสขุ ภาพอนามัย อนั ตรายทมี่ โี อกาสอาจเกดิ ขนึ้ มากกวา่ จะอยใู่ นอันดับแรก เจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั ิ การฉกุ เฉนิ ควรอา่ นสว่ นนก้ี อ่ น เพ่อื ใหส้ ามารถตัดสินใจด�ำเนินการปกป้องอันตรายแกเ่ จ้าหนา้ ที่ และสาธารณชนได้ 361
สว่ นที่ 2 กลา่ วถึง ความปลอดภัยต่อสาธารณชน ใหข้ อ้ มลู ข้อแนะน�ำเก่ียวกบั ระยะกน้ั เขตอนั ตราย ชดุ ปอ้ งกนั อนั ตรายและอปุ กรณป์ อ้ งกนั ระบบทางเดนิ หายใจ ระยะทค่ี วรอพยพประชาชน กรณสี ารหกรว่ั ไหลในปริมาณมาก/ปริมาณนอ้ ย หรือกรณีเกิดอคั คีภัย หากสารใดมกี ารแรเงา (highlight) ในหนา้ แถบสเี หลอื ง และแถบสฟี า้ ใหไ้ ปดขู อ้ มลู เพมิ่ เตมิ จากตารางที่ 1 แสดงวตั ถอุ นั ตราย ท่เี ป็นพิษรา้ ยแรงทางการหายใจ (Toxic by Inhalation :TIH หรือ PIH) สารเคมี/วัตถุอันตราย ที่น�ำมาใช้ในสงคราม (Chemical Warfare Agent) และวตั ถอุ นั ตรายทท่ี �ำปฏกิ ริ ยิ ากบั นำ�้ (Water-reactive Materials) (หนา้ แถบสเี ขยี ว) ส่วนที่ 3 กล่าวถงึ การด�ำเนนิ การเม่อื เกิดเหตฉุ กุ เฉนิ ประกอบด้วยข้อมูลทเ่ี กี่ยวกับ ขอ้ ควรระวงั ระหวา่ งด�ำเนินการตอบโตเ้ หตุฉกุ เฉนิ เมือ่ เกิดการหกรัว่ ไหล เมอื่ เกดิ อคั คภี ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งสารเคม/ี วตั ถอุ นั ตราย หรอื เมอ่ื ไดร้ บั สมั ผสั สารเคมี ในแตล่ ะหัวข้อจะมีค�ำแนะน�ำ ท่ีเก่ียวข้องเพื่อประกอบการตัดสนิ ใจในขน้ั ตอ่ ไป ขอ้ มลู ในหัวข้อการปฐมพยาบาลเป็นขอ้ มลู การด�ำเนนิ การเบอ้ื งต้นก่อนผปู้ ่วยถึงมอื แพทย์ 4.แถบสเี ขียว: ประกอบด้วย 3 ตาราง ดงั น้ี ตารางท่ี 1 แสดงวตั ถอุ นั ตรายทเี่ ปน็ พษิ รา้ ยแรงทางการหายใจ (TIH หรอื PIH) รวมทง้ั วตั ถอุ ันตราย ทถี่ กู น�ำมาใชเ้ ปน็ อาวธุ สงครามบางชนดิ และวตั ถทุ ท่ี �ำปฏกิ ริ ยิ ากบั นำ้� แลว้ ใหก้ า๊ ซพษิ เรยี งล�ำดบั ตามเลขรหัสสหประชาชาติ (UN/ID No.) ภายในตารางประกอบดว้ ยขอ้ มูลระยะปลอดภัย (Recommended Safe Distances) 2 แบบ ได้แก่ “ระยะกั้นเขตเบื้องตน้ ” (Initial Isolation Distances) และ ”ระยะปกปอ้ งสาธารณชน” (Protective Action Distances) โดยวตั ถอุ นั ตราย ทีป่ รากฏในตารางนจี้ ะถูกแรเงา (highlight) ในดัชนี UN/ID No. (แถบสเี หลือง) และดชั นีช่อื วัตถอุ นั ตรายท่เี รียงตามตวั อกั ษร (แถบสีฟ้า) ตารางแสดงถงึ ระยะกน้ั เขตเบอื้ งตน้ ส�ำหรบั การหกรว่ั ไหลปรมิ าณนอ้ ย (ไมเ่ กนิ 208 ลติ ร หรือ 55 แกลลอน กรณขี องเหลว และ 300 กก. หรอื 600 ปอนด์ กรณขี องแขง็ ) และการหก ร่ัวไหลปริมาณมาก (เกิน 208 ลติ ร หรือ 55 แกลลอน กรณีของเหลว และ 300 กก. หรอื 600 ปอนด์ กรณขี องแขง็ ) ตามสถานการณท์ อี่ าจเกดิ ข้ึนในกลางวนั หรือกลางคืน เนอ่ื งจากสภาพ 362
บรรยากาศทแ่ี ตกตา่ งกนั ในเวลากลางวนั และกลางคนื ท�ำใหก้ ารผสมกนั และการกระจายตวั ของ สารเคมีในอากาศแตกตา่ งกนั มผี ลใหร้ ะยะอันตรายมคี วามแตกต่างกัน • ในเวลากลางคืน สภาพอากาศมีความแปรปรวนน้อยกว่า ท�ำให้วัตถุอันตราย กระจายตัวนอ้ ยกวา่ ดังน้นั ระยะท่มี คี วามเข้มขน้ ของวตั ถุอนั ตรายในระดบั ทก่ี ่อให้เกิดอนั ตราย จึงไกลกว่าในเวลากลางวนั • ในเวลากลางวัน วัตถอุ นั ตรายจะถูกท�ำให้กระจายตัวโดยสภาพบรรยากาศ ทแ่ี ปรปรวนกว่าจงึ อาจแพร่กระจายในบริเวณทก่ี ว้างกวา่ เวลากลางวนั อย่างไรก็ตาม บรเิ วณ ที่มคี วามเข้มขน้ ของวตั ถอุ นั ตรายในระดบั ทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายจะแคบกวา่ (ข้ึนกับความสามารถ ในการกระจายตัว) ดังน้ัน อันตรายจึงข้ึนอยู่กับปริมาณหรือความเข้มข้นของสารเคมี/วัตถุ อันตรายในระดบั ท่ีสามารถกอ่ ให้เกิดอันตรายได้ ระยะกน้ั เขตเบอ้ื งต้น (Initial Isolation Distance) คอื ระยะทางที่ต้องอพยพประชาชน ในทกุ ทศิ ทางนบั จากจดุ ทรี่ ว่ั ไหล ระยะทางนม้ี รี ศั มที กี่ �ำหนดเปน็ พน้ื ทว่ี งกลมเรยี กวา่ เขตกนั้ แยก เบอื้ งตน้ (Initial Isolation Zone) ซ่ึงประชาชนทอี่ ยู่เหนอื ลมอาจไดร้ บั อันตรายจากสารน้นั และ ประชาชนท่อี ยู่ใตล้ มอาจเปน็ อนั ตรายถึงชีวติ ยกตัวอย่างกรณขี อง Compressed gas, Toxic, n.o.s., UN 1955, Inhalation Hazard Zone A ระยะกนั้ เขตส�ำหรบั การหกรว่ั ไหลปรมิ าณนอ้ ย คอื 100 เมตร (300 ฟตุ ) ดงั นน้ั เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางทต่ี อ้ งอพยพประชาชน คอื 200 เมตร (600 ฟตุ ) สว่ นระยะปกป้องสาธารณชน (Protective Action Distance) ส�ำหรับการหกร่ัวไหลที่ ปรมิ าณเล็กน้อย คือ 0.5 กโิ ลเมตร (0.3 ไมล)์ ในช่วงเวลากลางวัน และ 2.5 กิโลเมตร (1.6ไมล์) ในชว่ งเวลากลางคืน ซ่ึงระยะทางใตล้ มนับจากจดุ ทเ่ี กดิ เหตุรัว่ ไหลที่ตอ้ งใช้มาตรการควบคุม ป้องกัน มีวัตถุประสงค์เพื่อปกป้องสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของเจ้าหน้าที่ระงบั เหตุฉกุ เฉินและสาธารณชน ประชาชนท่ีอยู่ในบริเวณนีค้ วรอพยพออก และ/หรอื อยู่ในอาคารที่ ไมม่ ีการถา่ ยเทอากาศ ส�ำหรบั ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ ให้อ่านในหวั ข้อค�ำแนะน�ำส�ำหรับการใช้ตาราง แสดงระยะกนั้ เขตเบ้ืองตน้ และระยะปกป้องสาธารณชน 363
สารเคม/ี วตั ถอุ นั ตราย TIH หรอื PIH คอื อะไร คอื กา๊ ซหรอื ของเหลวระเหยงา่ ยทมี่ คี วามเปน็ พษิ สงู ต่อมนษุ ยแ์ ละอาจก่อใหเ้ กิดอันตรายแกส่ ุขภาพประชาชนในระหวา่ งการขนสง่ ได้ หรอื ถงึ แมว้ า่ จะไม่มีข้อมูลความเป็นพิษต่อมนุษย์โดยตรงแต่เชื่อว่าเป็นพิษเนื่องจากมีข้อมูลความเป็นพิษ กับสตั ว์ทดลอง ซง่ึ มีค่าความเข้มขน้ ของสารเคมที ท่ี �ำให้สตั วท์ ดลองตาย 50% (LC50) นอ้ ยกว่า 5000 ppm อย่างไรก็ตามให้ระลกึ ไว้วา่ เขตอนั ตรายทก่ี �ำหนดไว้ในหนังสอื เลม่ นไี้ ม่ได้เปน็ เขต อนั ตรายในสถานการณ์จริง การก�ำหนดเขตอนั ตรายในคูม่ อื น้ีขน้ึ อยกู่ บั คา่ ความเข้มข้นของ สารเคมีท่ที �ำให้สัตว์ทดลองตาย 50% (LC50) ยกตวั อย่างเช่น TIH Zone A มคี วามเปน็ พษิ มากกวา่ TIH Zone D ระยะเขตอนั ตรายและระยะปกปอ้ งสาธารณชนที่อยูใ่ นแถบหนา้ สเี ขียว มาจากการค�ำนวณโดยใชแ้ บบจ�ำลองทางคณติ ศาสตรส์ �ำหรบั สารเคม/ี วตั ถอุ นั ตรายแตล่ ะชนดิ ตารางท่ี 2 เรยี งล�ำดับตามเลขรหสั สหประชาชาติ แสดงรายช่ือวตั ถุอนั ตรายทป่ี ฏิกิรยิ ากบั น�ำ้ และให้กา๊ ซพิษรา้ ยแรงทางการหายใจ (TIH) ปริมาณมาก และชนดิ ของกา๊ ซ TIH ท่ีจะเกิดข้นึ วตั ถอุ ันตรายกลมุ่ นสี้ งั เกตได้งา่ ยในตารางท่ี 1 เพราะจะมีค�ำวา่ “(เมอ่ื สมั ผัสน�ำ้ )” ตอ่ ท้ายช่อื ทงั้ นี้ มวี ตั ถอุ นั ตรายบางชนดิ ทท่ี �ำปฏกิ ริ ยิ ากบั นำ�้ จดั วา่ เปน็ วตั ถทุ เ่ี ปน็ พษิ รา้ ยแรงทางการหายใจ (TIH) ดว้ ยตวั เอง (เชน่ Bromine trifluoride (UN1746) Thionyl chloride (UN1836) เปน็ ตน้ ) ในกรณนี ี้ วตั ถอุ นั ตรายทงั้ 2 ชนดิ จะมขี อ้ มลู ในตารางที่ 1 ทง้ั กรณกี ารรวั่ ไหลบนพ้ืนดนิ และ การรวั่ ไหล ลงแหลง่ นำ�้ แตห่ ากวตั ถอุ นั ตรายทท่ี �ำปฏกิ ริ ยิ ากบั นำ้� แตไ่ มจ่ ดั วา่ เปน็ วตั ถทุ เี่ ปน็ พษิ รา้ ยแรงทางการ หายใจ (TIH) และวตั ถนุ น้ั มไิ ดร้ วั่ ไหลลงแหลง่ นำ�้ กไ็ มจ่ �ำเปน็ ตอ้ งใช้ ตารางที่ 1 และ ตารางท่ี 2 โดย ระยะปลอดภยั สามารถหาขอ้ มลู ไดจ้ าก หมวดค�ำแนะน�ำ ในหนา้ แถบสสี ม้ ตารางท่ี 3 แสดงระยะกั้นเขตเบื้องต้นและระยะปกป้องสาธารณชน ส�ำหรับการร่ัวไหลของ สาร TIH หรอื PIH 6 ชนดิ ทีเ่ กิดเหตุการณเ์ ป็นประจ�ำ สารเหล่านีไ้ ด้แก่: • Ammonia (UN1005) • Chlorine (UN1017) • Ethylene oxide (UN1040) 364
• Hydrogen chloride, anhydrous (UN1050) และ Hydrogen chloride, refrigerated liquid (UN2186) • Hydrogen fluoride anhydrous (UN1052) • Sulfur dioxide/Sulphur dioxide (UN1079) วตั ถอุ นั ตรายเหลา่ นถ้ี กู แสดงเรยี งล�ำดบั ตามตวั อกั ษร และมขี อ้ มลู ระยะกน้ั เขตเบอ้ื งตน้ แลระยะ ปกป้องสาธารณชนส�ำหรบั การรวั่ ไหลขนาดใหญ่ (มากกวา่ 208 ลติ ร 1 หรอื 55 แกลลอน) ขนึ้ กบั ชนิดของภาชนะบรรจุ ส�ำหรับเหตุการณ์ช่วงเวลากลางวันและกลางคืน และความเร็วลมท่ี แตกตา่ งกัน ระยะก้ันเขตเบื้องต้นและระยะอพยพ ระยะก้ันเขตเบ้ืองต้นและระยะอพยพจะแสดงในหมวดค�ำแนะน�ำ (หมวดค�ำแนะน�ำ: แถบสีส้ม) และในตารางแสดงระยะกนั้ เขตเบื้องต้นและระยะปกป้องสาธารณชน (แถบสเี ขยี ว) ซึง่ อาจท�ำใหผ้ ทู้ ี่ไมช่ �ำนาญในการใช้คู่มือเล่มน้ีสบั สนได้ ในคมู่ อื เลม่ นจี้ ะมหี มวดค�ำแนะน�ำ (Guide) ส�ำหรบั สารเคม/ี วตั ถอุ นั ตรายทไ่ี มจ่ ดั เปน็ TIH หรือ PIH ทั้งหมด 37 หมวด หมวดค�ำแนะน�ำส�ำหรับสารเคมี/วัตถุอันตรายทั้งท่ีเป็นและ ไม่เปน็ TIH ทงั้ หมด 21 หมวด และหมวดค�ำแนะน�ำส�ำหรับสารเคม/ี วัตถอุ ันตรายทเี่ ปน็ TIH หรอื ทที่ �ำปฏกิ ริ ยิ ากบั นำ�้ แลว้ ใหก้ า๊ ซพษิ (Water-Reactive Material: WRM) ทง้ั หมด 5 หมวด • หมวดค�ำแนะน�ำส�ำหรับสารเคม/ี วัตถุอันตรายทงั้ ทีเ่ ปน็ และไม่เปน็ TIH (ตวั อย่าง เช่น หมวดค�ำแนะน�ำ 131) จะมขี อ้ ความวา่ “ส�ำหรบั วตั ถอุ นั ตรายทแ่ี รเงาใหด้ ใู นตารางแสดง ระยะกั้นเขตเบ้ืองต้นและระยะปกป้องสาธารณชน”ภายใต้หัวข้อการอพยพ-กรณีหกรั่วไหล ส�ำหรบั สารทไ่ี มม่ ีแถบแรเงา ใหเ้ พมิ่ ระยะปลอดภยั ในทศิ ทางใต้ลมตามความจ�ำเปน็ จากทกี่ �ำหนดในสว่ นความปลอดภัยตอ่ สาธารณชน • หมวดค�ำแนะน�ำส�ำหรับสารเคม/ี วัตถอุ ันตราย จ�ำพวก TIH หรอื WRM (ตัวอย่างเช่น หมวดค�ำแนะน�ำ 124) จะมขี อ้ ความ “ส�ำหรบั วัตถอุ นั ตรายทีแ่ รเงาให้ดูในตาราง แสดงระยะกนั้ เขตเบอ้ื งตน้ และระยะปกปอ้ งสาธารณชน” ภายใตห้ วั ขอ้ การอพยพ-กรณหี กรวั่ ไหล • หากไม่ปรากฏข้อความดังกล่าวแสดงว่าหมวดค�ำแนะน�ำนั้นส�ำหรับสารเคมี/วัตถุ อนั ตรายที่ไมเ่ ป็น TIH ยกตวั อยา่ งเช่น หมวดค�ำแนะน�ำ No. 128 365
การระบรุ ะยะกน้ั เขตและระยะปกปอ้ งสาธารณชนทเี่ หมาะสม มวี ธิ คี ดิ ดงั น้ี หากด�ำเนินการเกี่ยวข้องกับสารเคมี/วัตถุอันตรายที่เป็นพิษหากสูดหายใจเข้าไป/ท�ำ ปฏกิ ริ ยิ ากบั นำ�้ แลว้ ใหก้ า๊ ซพษิ /สารเคมที น่ี �ำมาใชใ้ นสงคราม (TIH/WRM/Chemical Warfare) ซง่ึ ไดแ้ ก่ สารเคมที ม่ี แี รเงาในดชั นเี ลขรหสั สหประชาชาติ (UN/ID No.) และดชั นชี อื่ วตั ถอุ นั ตราย ระยะก้ันเขตเบื้องต้นและระยะอพยพให้ดูในแถบสีเขียว และหมวดค�ำแนะน�ำ (แถบสีส้ม) จะแนะน�ำใหผ้ ใู้ ชเ้ ปดิ ดขู อ้ มลู จากแถบสเี ขยี วส�ำหรบั ระยะอพยพของสารเคมที ม่ี กี ารแรเงา หากด�ำเนนิ การเกย่ี วขอ้ งกบั สารเคม/ี วตั ถอุ นั ตรายทเี่ ปน็ non-TIH แตใ่ นหมวดค�ำแนะน�ำ อา้ งถงึ ทง้ั พวก TIH และ non-TIH ใหด้ ขู อ้ มลู ระยะกน้ั เขตจากหวั ขอ้ ความปลอดภยั ตอ่ สาธารณะชน ซง่ึ เปน็ มาตรการปอ้ งกนั การบาดเจบ็ ส�ำหรบั พวก TIH เทา่ นน้ั ส�ำหรบั ระยะอพยพ ภายใต้หวั ขอ้ การอพยพ-กรณหี กรว่ั ไหล จะบอกใหผ้ ใู้ ชพ้ จิ ารณาขยายระยะกน้ั เขตในทศิ ใตล้ ม (ตามความจ�ำเปน็ ) ตวั อย่างเชน่ หมวดค�ำแนะน�ำ 131 ของเหลวไวไฟ - เปน็ พษิ หากเกดิ การหกรวั่ ไหลใหก้ น้ั เขต ทนั ทอี ยา่ งนอ้ ย 50 - (150 ฟตุ ) ในทกุ ทศิ ทาง หากหกรวั่ ไหลในปรมิ าณมากควรเพมิ่ ระยะกนั้ เขต มากกวา่ 50 เมตร ทง้ั นี้ ขนึ้ กบั ดลุ พนิ จิ ของผบู้ ญั ชาการ ณ ทเ่ี กดิ เหตแุ ละเจา้ หนา้ ทป่ี ฏบิ ตั กิ าร ฉกุ เฉนิ หากด�ำเนินการเกีย่ วข้องกับสารเคมี/วตั ถอุ นั ตรายท่ีไม่เป็น TIH และหมวดค�ำแนะน�ำ อ้างถึงพวก non-TIH เท่านั้น ระยะก้ันเขตและระยะอพยพจะแสดงในแถบสีส้ม และไม่ต้อง เปิดดแู ถบสีเขยี ว หมายเหตุ 1 : หากรายชอ่ื สารมแี ถบแรงเงาสเี ขยี วทงั้ ในหนา้ แถบสเี หลอื งและหนา้ แถบสฟี า้ และ ไมม่ เี พลงิ ไหมใ้ หใ้ ชข้ อ้ มลู จากตารางท่ี 1 (หนา้ แถบสเี ขยี ว) และใหม้ องหาเลขรหสั สหประชาชาติ (ID number) และชอ่ื สารเพอื่ หาขอ้ มลู ระยะกนั้ เขตเบอื้ งตน้ และเขตปอ้ งกนั สาธารณชน แตห่ ากเปน็ เหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเพลิงไหม้ ให้ใช้ข้อมูลในหมวดค�ำแนะน�ำ (หน้าแถบสีส้ม) และ พิจารณาอพยพประชาชนอย่างเหมาะสมในสว่ น ความปลอดภยั ตอ่ สาธารณชน 366
หมายเหตุ 2: หากชอื่ สารใน ตารางท่ี 1 มขี อ้ ความวา่ “When Spiled In Water”, สารเหลา่ น้ี จะท�ำใหเ้ กิดกา๊ ซพษิ รา้ ยแรงทางการหายใจ (TIH) ปรมิ าณมาก เม่อื สัมผัสนำ้� มวี ัตถอุ ันตราย บางชนิดทท่ี �ำปฏกิ ริ ยิ ากับนำ้� จัดว่าเปน็ วัตถุท่เี ปน็ พษิ รา้ ยแรงทางการหายใจ (TIH) ด้วยตัวเอง (เชน่ Bromine trifluoride (UN1746) Thionyl chloride (UN1836) เปน็ ตน้ ) ในกรณนี ว้ี ตั ถอุ นั ตราย ทั้ง 2 ชนิด จะมีขอ้ มลู ในตารางที่ 1 ทง้ั กรณกี ารรั่วไหลบนพืน้ ดิน และ การร่วั ไหลลงแหลง่ นำ้� แตห่ ากวตั ถอุ นั ตรายทท่ี �ำปฏกิ ริ ยิ ากบั นำ้� แตไ่ มจ่ ดั วา่ เปน็ วตั ถทุ เ่ี ปน็ พษิ รา้ ยแรงทางการหายใจ (TIH) และวตั ถนุ น้ั มิไดร้ ่ัวไหลลงแหลง่ น้�ำกไ็ มจ่ �ำเป็นตอ้ งใช้ ตารางท่ี 1 และ ตารางท่ี 2 โดยระยะ ปลอดภัยสามารถหาข้อมูลได้จาก หมวดค�ำแนะน�ำ ในหนา้ แถบสสี ้ม 367
ชดุ ปอ้ งกันสารเคมี ชุดตรวจการและเครอื่ งแบบท�ำงาน ชุดดงั กลา่ ว ได้แก่ เคร่อื งแบบปฏิบัตงิ านของต�ำรวจและ หน่วยพยาบาลฉุกเฉิน ซึ่งแทบจะไม่สามารถใช้ป้องกันอันตรายจากสารอันตรายได้เลย ชดุ ผจญเพลงิ ส�ำหรบั เจา้ หนา้ ทดี่ บั เพลงิ (Structural Fire Fighters’ Protective Clothing : SFPC) เปน็ ชดุ ปอ้ งกนั ภยั ทพ่ี นกั งานดบั เพลงิ สวมใสใ่ นขณะผจญเพลงิ ในอาคาร ประกอบดว้ ย หมวก นิรภยั เสื้อคลมุ กางเกง รองเท้าบทู๊ ถงุ มอื และท่คี ลุมศีรษะเพอื่ ปิดคลุมบรเิ วณทีห่ มวกนริ ภัย และหน้ากากป้องกนั ไมส่ ามารถป้องกนั ได้ ชดุ ชนดิ นต้ี อ้ งใชร้ ว่ มกบั อปุ กรณช์ ว่ ยหายใจชนิดมี ถังอากาศในตัว (Self-Contained Breathing Apparatus : SCBA) แบบมีหนา้ กากป้องกัน เต็มหน้าและอยา่ งนอ้ ย ควรเปน็ ไปตามมาตรฐานของ OSHA Fire Brigades (29 CFR 1910.156) ชดุ ผจญเพลงิ จะสามารถปอ้ งกนั ความรอ้ นและความเยน็ ไดใ้ นระดบั ทจ่ี �ำกดั และไมส่ ามารถปอ้ งกนั ไอสารเคมหี รอื ของเหลวอนั ตรายทเ่ี กดิ ขนึ้ ในอบุ ตั ภิ ยั สารเคมไี ดเ้ พยี งพอ หมวดค�ำแนะน�ำ (แถบสสี ม้ ) จะระบุถึงความเหมาะสมในการใช้ชดุ ผจญเพลิง (SFPC) ในอบุ ัติภัยสารเคมี บางกรณหี มวด ค�ำแนะน�ำ จะระบุว่าชุดผจญเพลิง (SFPC) น้ีสามารถป้องกันสารเคมีได้ในระดับที่จ�ำกัด กรณดี งั กลา่ วเจา้ หนา้ ทป่ี ฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ ซงึ่ สวมชดุ ผจญเพลงิ แบบ SFPC ร่วมกบั อุปกรณ์ชว่ ย หายใจชนดิ SCBA สามารถปฏบิ ตั กิ ารแบบรวดเรว็ ได้ ซง่ึ หมายถงึ การปฏบิ ตั ิงานแบบ “เข้า-ออก อยา่ งรวดเรว็ ” อยา่ งไรกต็ าม การปฏบิ ตั กิ ารแบบนส้ี ามารถท�ำใหเ้ จา้ หนา้ ทปี่ ฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ เสยี่ งตอ่ การไดร้ บั สมั ผสั สารซงึ่ อาจท�ำใหไ้ ดร้ บั บาดเจบ็ หรอื เสยี ชวี ติ ได้ ผบู้ ญั ชาการ ณ ที่เกิดเหตุ (Incident Commander: IC) จะเปน็ ผตู้ ดั สนิ ใจใชว้ ธิ กี ารแบบนเี้ ฉพาะทเี่ หน็ วา่ ปฏบิ ตั กิ ารดงั กลา่ วเปน็ ประโยชน์ มากกวา่ ไมด่ �ำเนนิ การใดๆ (เชน่ การปฏบิ ตั กิ ารชว่ ยชวี ติ อยา่ งเรง่ ดว่ น หรอื การปดิ วาลว์ เพอ่ื ควบคมุ การรว่ั ไหล เป็นต้น) ชดุ ปอ้ งกนั แบบปดิ คลุมทั้งตัวท่ีใช้ผจญไฟป่าไม่จัดว่าเป็นชุดผจญเพลิง แบบ SFPC และไมแ่ นะน�ำใหใ้ ชใ้ นสถานการณท์ เ่ี กยี่ วขอ้ งกบั สารอนั ตราย รวมทง้ั ไมไ่ ดก้ ลา่ วถงึ ในคู่มือเลม่ น้ี อปุ กรณช์ ว่ ยหายใจแบบมถี งั อากาศทมี่ คี วามดนั ขา้ งในสงู กวา่ บรรยากาศทวั่ ไป (Positive Pressure Self-Contained Breathing Apparatus : SCBA) อปุ กรณด์ งั กลา่ วสามารถจา่ ยอากาศทมี่ กี ารไหล อย่างคงที่เข้ามาในหน้ากากช่วยหายใจแบบเต็มหน้าแม้ว่าผู้สวมใส่จะหายใจแบบยาวๆ 368
ในขณะท�ำงานหนักระหว่างปฏบิ ัติการกภู้ ัย อุปกรณด์ ังกล่าวควรได้รบั การรับรองจาก NIOSH และ Department of Labor/Mine Safety and Health Administration ที่เป็นไปตาม ข้อก�ำหนด 42 CFR Part 84 และขอ้ ก�ำหนดส�ำหรบั การป้องกนั ระบบทางเดินหายใจที่ระบไุ วใ้ น OSHA 29 CFR 1910.134 (Respiratory Protection) และ/หรือ 29 CFR 1910.156 (f) (Fire Brigades Standard) อุปกรณ์ช่วยหายใจแบบกรองสารเคมหี รือหน้ากากกรองชนิดอ่นื ๆ ไมส่ ามารถน�ำมาใชแ้ ทนอปุ กรณช์ ว่ ยหายใจชนดิ มถี งั อากาศในตวั ได้ ส�ำหรบั SCBA แบบทจี่ ดั ท�ำขนึ้ ตามแบบท่ลี ูกคา้ ตอ้ งการ (Demand-type) จะไมไ่ ดม้ าตรฐานตาม OSHA 29 CFR 1910.156 (f)(1)(i) Fire Brigade Standard. อุปกรณป์ กปอ้ งระบบทางเดนิ หายใจ หนา้ กากกรองฝนุ่ ชนดิ N95 ทใ่ี ชก้ นั ทวั่ ไปมดี ว้ ยกนั 7 ประเภท ซึ่งสามารถกรองอนภุ าคในอากาศ (0.3 ไมครอน) ไดอ้ ยา่ งนอ้ ย 95% แตไ่ มส่ ามารถปอ้ งกนั นำ้� มนั แกส๊ และไอระเหยสารเคมไี ด้ เครอ่ื งกรองอากาศ (PAPR: Powered Air-Purifying Respirator) เป็นอุปกรณ์ซึ่งใช้พัดลมดึงอากาศผ่านตลับกรองเข้าสู่ภายในหน้ากาก แต่ไมไ่ ดใ้ ช้ออกซิเจน หรอื อากาศจากแหล่งอนื่ (เชน่ ถังอากาศ) ชุดป้องกันสารเคมีและอุปกรณ์ท่ีเก่ียวข้อง การใช้ชุดป้องกันสารเคมีและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง อย่างปลอดภัยต้องอาศัยความช�ำนาญเฉพาะด้านซ่ึงจะได้จากการฝึกอบรมและประสบการณ์ ในการปฏิบตั งิ าน โดยท่ัวไปเจ้าหน้าที่ระงบั เหตุชุดแรกจะไม่ใช้ชุดดังกลา่ ว ชุดปอ้ งกันสารเคมี ชนิดพเิ ศษนอี้ าจปอ้ งกนั สารเคมไี ดเ้ พียงชนดิ เดียว แต่สารเคมีชนดิ อน่ื อาจสามารถซึมผา่ นได้ โดยงา่ ยเน่ืองจากไมไ่ ดอ้ อกแบบมาให้ใช้ปอ้ งกันสารเคมชี นิดอืน่ ดังนั้น ไมค่ วรน�ำชดุ ป้องกัน สารเคมมี าใช้ถา้ ไม่สามารถปอ้ งกนั สารเคมที ่ีรว่ั ไหลได้จริง ชดุ ป้องกนั สารเคมีชนิดพิเศษนี้ ใชป้ อ้ งกนั ความรอ้ นและ/หรอื ความเยน็ ไดเ้ ลก็ นอ้ ยหรอื ไมไ่ ดเ้ ลย ตวั อยา่ งของชดุ ปอ้ งกนั สารเคมี และอปุ กรณช์ นดิ นไี้ ดแ้ ก่ (1) ชดุ ปอ้ งกนั ไอสารเคมี (NFPA 1991) หรอื ทร่ี จู้ กั กนั วา่ เปน็ ชดุ ปอ้ งกนั สารเคมชี นิดคลุมท้งั ตัว (Totaly-Encapsulating Chemical Protective : TECP Suits) หรอื ชดุ ปอ้ งกนั สารเคมรี ะดับ A (OSHA 29 CFR 1910.120, Appendix A & B) และ (2) ชดุ ป้องกนั (ของเหลว) การกระเซ็น (Liquid-Splash Protective Suits) (NFPA 1992) หรือเปน็ ท่ีรูจ้ ักกันว่า เปน็ ชดุ ปอ้ งกนั สารเคมรี ะดบั B หรอื C (OSHA 29 CFR 1910.120, Appendix A & B) หรอื ชุดปอ้ งกนั การกอ่ การร้ายทางเคม/ี ชวี ภาพ (NFPA 1994) ระดับ 1 หรอื 2 หรือ 3 ทั้งน้ีไม่มี 369
วสั ดทุ ี่ใช้ท�ำชดุ ปอ้ งกันภัยชนิดใดเพยี งชนิดเดียวท่สี ามารถป้องกันสารอันตรายไดท้ กุ ชนดิ และ อย่าตง้ั สมมตฐิ านวา่ ชดุ ปอ้ งกันสารเคมีจะสามารถทนต่อความเย็น และ/หรือความรอ้ นหรอื เปลวไฟได้ ยกเวน้ ผผู้ ลติ ได้ให้การรบั รอง (NFPA 1991 5-3 Flammability Resistance Test and 5-6 Cold Temperature Performance Test) *ดคู �ำอธบิ ายในอภธิ านศพั ทห์ วั ขอ้ “ชดุ ปอ้ งกนั ” ส�ำหรบั ค�ำอธบิ ายเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั ระดบั การปอ้ งกนั การควบคุมเพลงิ ไหม้และสารเคมรี ั่วไหล การควบคมุ เพลงิ ไหม้ น�้ำเป็นสารดับเพลิงท่ีมีการใช้กันอยู่ท่ัวไปและหาได้ง่ายท่ีสุด อย่างไรก็ตาม แต่ละ อุบัติภัยมีหลายปัจจัยที่แตกต่างกันไปจึงต้องระมัดระวังในการเลือกใช้วิธีดับเพลิงให้เหมาะกับ สถานการณ์ โดยนำ�้ อาจใช้ไม่ได้ผลในการดบั เพลงิ ท่ีเกดิ จากสารเคมบี างชนิด และวิธีการใช้น้ำ� มผี ลอยา่ งมากต่อความสามารถในการดบั เพลิง เพลงิ ไหมท้ ี่เกี่ยวขอ้ งกับของเหลวไวไฟ สว่ นมากจะดบั ไดด้ ว้ ยการใช้โฟม โดยฉีดโฟม ไปทพี่ นื้ ผวิ ของวสั ดทุ กี่ �ำลงั ลกุ ไหม้ การดบั เพลงิ ทเ่ี กดิ จากของเหลวไวไฟจะตอ้ งใชโ้ ฟมเขม้ ขน้ ที่มี ความเข้ากันได้ในทางเคมกี ับวสั ดทุ ีก่ �ำลังลุกไหม้ มีการผสมกันในสดั สว่ นที่เหมาะสมระหว่าง โฟมเขม้ ข้น กับน�้ำและอากาศ รวมท้งั ต้องฉีดโฟมคลุมวสั ดทุ ลี่ กุ ไหม้อย่างระมดั ระวังและให้ คลุมไวต้ ลอด โดยท่วั ไปโฟมทีใ่ ช้ในการดับเพลิงมี 2 ชนิด ได้แก่ 1) โฟมดบั เพลงิ ทวั่ ไป (Regular foam) ไดแ้ ก่ โฟมจ�ำพวก Protein-base ฟลอู อโรโปรตนี และโฟมชนดิ aqueous film forming foam (AFFF) ซง่ึ สามารถใชค้ วบคมุ เพลงิ ไหมท้ เี่ กดิ จาก ของเหลวไวไฟบางชนดิ ได้ ซงึ่ รวมถงึ กลมุ่ ผลติ ภณั ฑป์ โิ ตรเลยี ม 2) โฟมดบั เพลิงทท่ี นต่อสารกลุม่ แอลกอฮอล์ (Alcohol-resistant foam) สามารถใช้ ดับเพลิงท่ีเกิดจากตวั ท�ำละลายแบบมขี ั้ว (ของเหลวไวไฟท่ีละลายนำ้� ได)้ เชน่ แอลกอฮอล์ และคีโตน เปน็ ต้น ซึ่งมคี ุณสมบัติทางเคมีทแ่ี ตกตา่ งออกไป การดบั เพลงิ ชนิดน้ีจะยากตอ่ การ ควบคมุ หากใช้โฟมดบั เพลงิ ทว่ั ไป และจ�ำเปน็ ตอ้ งใชโ้ ฟมแบบ Alcohol-resistant ทง้ั นี้ เพลงิ ไหม้ ที่เกิดกบั ตวั ท�ำละลายทล่ี ะลายนำ�้ ไดด้ มี กั ยากตอ่ การควบคมุ และตอ้ งใชโ้ ฟมในปรมิ าณทม่ี ากกว่า ที่ต้องใชก้ บั เพลิงไหม้ทเ่ี กิดจากของเหลวไวไฟชนิดอน่ื (ดูมาตรฐาน NFPA/ANSI Standards 11 และ 11A ประกอบ) 370
ให้ดูหมวดค�ำแนะน�ำ (หน้าที่มีแถบสีส้ม) ที่เหมาะสมเพื่อเลือกชนิดของโฟมท่ีใช้ใน การดบั เพลงิ แมว้ า่ จะไมส่ ามารถใหค้ �ำแนะน�ำเฉพาะส�ำหรบั เพลงิ ไหมจ้ ากของเหลวไวไฟทคี่ วามเปน็ อนั ตรายรองเป็นสารกดั กรอ่ นหรือเปน็ พษิ ได้ แต่โฟมแบบ Alcohol-resistant อาจใช้ไดผ้ ลกับ การดับเพลงิ ท่ีเกดิ จากสารกลุ่มนี้ ใหต้ ดิ ตอ่ หมายเลขโทรศพั ท์ฉกุ เฉนิ ทป่ี รากฏอยู่ในเอกสาร ก�ำกบั การขนสง่ หรอื ตดิ ตอ่ หนว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบการตอบโตเ้ หตฉุ กุ เฉนิ ใหเ้ รว็ ทส่ี ดุ เทา่ ทจ่ี ะท�ำได้ เพ่อื ขอค�ำแนะน�ำในการใช้สารดับเพลงิ ที่ถูกตอ้ ง การเลอื กใชว้ ธิ แี ละสารดบั เพลงิ ขน้ึ อยกู่ บั ปจั จยั หลายประการ ไดแ้ ก่ สถานทเ่ี กดิ เหตุ ระดบั ความเปน็ อนั ตราย ขนาดของเพลิงไหม้ ผลกระทบ ตอ่ สิ่งแวดล้อม รวมท้งั สารดับเพลงิ และอปุ กรณ์ที่สามารถหาไดใ้ นพื้นที่เกดิ เหตุ สารทีท่ �ำปฏกิ ริ ิยากบั นำ�้ เม่ือเกิดเหตสุ ารเคมหี กรว่ั ไหลและมกี ารใชน้ ำ้� ชะลา้ งและลด/เปลย่ี นทศิ ทางของไอสารเคมี บางชนิดสามารถท�ำปฏกิ ริ ยิ าอยา่ งรุนแรงหรือเกดิ ระเบิดข้ึนได้เมอ่ื ถกู น�้ำ (ดังทป่ี รากฏในตาราง แสดงรายช่อื สารทีส่ ามารถท�ำปฏิกิรยิ ากบั นำ้� ) ในกรณีเช่นน้ี ควรปล่อยให้ไฟลุกไหมห้ รือปลอ่ ย ให้สารทหี่ กรั่วไหลอยู่อยา่ งเดิม (ยกเว้นวา่ ตอ้ งป้องกันการแพร่กระจายโดยการสร้างท�ำนบก้ัน) จนกวา่ จะไดร้ บั ค�ำแนะน�ำจากผเู้ ชยี่ วชาญ สารตา่ งๆ เหลา่ นจี้ �ำเปน็ ตอ้ งไดร้ บั ค�ำแนะน�ำทางเทคนคิ เน่ืองจาก (1) นำ้� ท่เี ข้าไปในภาชนะบรรจทุ ี่แตกรา้ วหรือรัว่ ไหลอาจท�ำใหเ้ กดิ การระเบดิ ได้ (2) น้�ำอาจเป็นสง่ิ จ�ำเปน็ ส�ำหรับการหล่อเย็นภาชนะบรรจุสารอนั ตรายทอ่ี ย่ตู ดิ กัน เพอื่ ปอ้ งกนั การแตกร้าว (การระเบิด) หรอื การลกุ ลามของเพลงิ ไหม้ (3) นำ้� อาจใชไ้ ดผ้ ลในการลดความรนุ แรงของอบุ ตั ภิ ยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั สารทที่ �ำปฏกิ ริ ยิ า กบั น้ำ� ได้ หากใช้ในปริมาณทีม่ ากเพยี งพออยา่ งตอ่ เน่อื ง และ (4) ผลิตภัณฑท์ ่ไี ดจ้ ากการท�ำปฏิกริ ยิ ากบั น�้ำอาจเป็นพษิ และมฤี ทธก์ิ ัดกรอ่ นมากขน้ึ หรือเปน็ ผลติ ภัณฑท์ ีไ่ ม่พงึ ประสงคม์ ากกว่าผลิตภณั ฑท์ ่ีเกดิ จากเพลิงไหม้โดยไม่ใชน้ ้�ำดับเพลิง เมื่อท�ำการตอบโต้อุบัติภัยที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีท่ีท�ำปฏิกิริยากับน�้ำได้ ให้พิจารณา สถานการณ์ท่ีเป็นอยู่ในขณะน้ัน เช่น ลม ฝน สถานท่ีเกิดเหตุ ความสามารถในการเข้าถึง พื้นที่เกิดเหตุ รวมถึงสารดับเพลิงท่ีจะใช้ควบคุมเพลิงไหม้หรือการหกร่ัวไหลท่ีสามารถหาได้ 371
เป็นต้น เน่ืองจากมตี วั แปรที่ตอ้ งพิจารณาหลายประการ การตัดสนิ ใจท่ีจะใช้น�้ำในการควบคมุ เพลิงไหม้หรือการหกร่ัวไหลท่ีเกี่ยวข้องกับสารที่ท�ำปฏิกิริยากับน้�ำควรขึ้นอยู่กับข้อมูลจาก แหล่งท่ีน่าเช่อื ถือ เชน่ ผผู้ ลิตสารเคมีที่สามารถตดิ ต่อไดท้ างหมายเลขโทรศพั ทฉ์ ุกเฉิน หรอื หนว่ ยงานตอบโต้เหตุฉกุ เฉนิ ท่เี หมาะสม การควบคุมไอระเหยสารเคมี การควบคุมปริมาณไอระเหยจากแอ่งของเหลวไวไฟหรือของเหลวกัดกร่อนเป็นการ ปฏิบตั ทิ ่ีจ�ำเปน็ ตอ้ งใช้ชดุ ปอ้ งกันสารเคมีทีเ่ หมาะสม อุปกรณ์ทีอ่ อกแบบเป็นพเิ ศษ ใช้สารเคมี ระงบั ภยั ทเี่ หมาะสม และเจา้ หนา้ ทป่ี ฏบิ ตั กิ ารทมี่ ที กั ษะ ทงั้ น้ี กอ่ นด�ำเนนิ การควบคมุ ไอระเหยสาร เคมี ตอ้ งขอค�ำแนะน�ำเกยี่ วกบั วธิ ปี ฏบิ ตั ทิ ถี่ กู ตอ้ งจากหนว่ ยงานทม่ี อี �ำนาจหนา้ ทที่ เี่ กยี่ วขอ้ ง วิธีทสี่ ามารถลดปรมิ าณไอระเหยทม่ี าจากของเหลวท่ีหกร่วั ไหลมีหลายวธิ ี ไดแ้ ก่ การใช้ โฟมชนิดพิเศษ สารดูดซับ สารดูดซมึ และสารปรับสภาพให้เปน็ กลาง เป็นตน้ เพอื่ ให้การลด ปรมิ าณไอระเหยสารเคมเี กิดประสทิ ธผิ ล จ�ำเป็นต้องเลือกวิธกี ารควบคมุ ไอระเหยให้เหมาะสม กับสารเคมีแต่ละชนิด และด�ำเนินการในลักษณะที่จะช่วยลดความรุนแรงของอุบัติภัย โดย ไมท่ �ำให้เหตุการณ์เลวร้ายไปกว่าเดิม ส�ำหรบั สถานทที่ ท่ี ราบชอื่ สารเคมที ม่ี อี ยู่ เชน่ ในโรงงานผลติ หรอื สถานทจ่ี ดั เกบ็ สารเคมี ทีมตอบโต้เหตุฉุกเฉินจากสารเคมีควรมีการเตรียมการล่วงหน้าร่วมกับเจ้าหน้าท่ีจากสถานท่ี ดังกล่าว เพอื่ เลอื กและจัดเตรียมสารส�ำหรับควบคมุ การหกร่ัวไหลไว้ล่วงหนา้ และเมื่อเกิดเหตุ ขน้ึ จรงิ เจา้ หนา้ ทร่ี ะงบั เหตเุ บอ้ื งตน้ อาจจะไมม่ สี ารควบคมุ ไอระเหยทใ่ี ชไ้ ดผ้ ลกบั สารทห่ี กรวั่ ไหล ส่วนใหญ่จะมเี พียงนำ้� และโฟมส�ำหรับดับเพลงิ ชนิดเดียวเท่านน้ั หากโฟมทมี่ อี ยไู่ มเ่ หมาะสมที่ จะใช้ ส่วนใหญ่จะใช้วิธีฉีดน�้ำเป็นฝอยแทนและเม่ือมีการใช้น�้ำในการปิดคลุมไอระเหย ตอ้ งระวงั ไมใ่ ห้สารทีห่ กรว่ั ไหลเปล่ียนทศิ ทางหรอื แพรก่ ระจายออกไประหวา่ งการใชน้ �ำ้ ไอระเหยสารเคมที ไี่ มท่ �ำปฏิกิรยิ ากับน�้ำอาจสามารถน�ำพาใหอ้ อกไปจากพน้ื ทเี่ กดิ เหตุไดโ้ ดยใช้ แรงลมก�ำกับละอองนำ้� ทั้งน้ี ก่อนเลือกใชว้ ธิ ฉี ีดน้ำ� เป็นฝอยหรอื วิธอี น่ื ๆ เพือ่ ควบคุมไอระเหย จากแหลง่ ก�ำเนิดหรอื เพอื่ ยบั ยั้งการจดุ ติดไฟ จะตอ้ งคน้ หาค�ำแนะน�ำทางเทคนิค ทต่ี รงกบั ชอ่ื เฉพาะของสารเคมนี นั้ 372
การลุกไหม้อย่างรุนแรงของกา๊ ซเหลว (Boiling Liquid Expanding Vapor Explosion: BLEVE) หมวดนแี้ สดงขอ้ มลู พน้ื ฐานเกยี่ วกบั BLEVEs และมขี อ้ มลู ส�ำคญั ส�ำหรบั ใชต้ อบโตเ้ หตทุ เ่ี กยี่ วขอ้ ง กับสาร Liquefied Petroleum Gases (LPG),UN1075. LPGs หมายถึงก๊าซไวไฟ ไดแ้ ก่ Butane (UN1011) Butylene (UN1012) Isobutylene (UN1055) Propylene (UN2077) Isobutane (UN1969) และ Propane (UN1978) อันตรายหลักของ BLEVE อนั ตรายหลักเนอื่ งจาก Propane หรือ LPG BLEVE ไดแ้ ก่: - เพลิงไหม้ - รงั สีความรอ้ นจากเพลิงไหม้ - ระเบิด - สะเก็ดระเบิด อนั ตรายจากสารเหล่าน้ลี ดลงหากท่านออกห่างจากศนู ย์กลางของ BLEVE โดยสะเก็ดระเบิด จะเป็นอันตรายที่ไปได้ไกลท่สี ดุ BLEVE – ขอ้ ควรระวงั ความปลอดภยั ใชด้ ว้ ยความระมดั ระวัง ตารางตอ่ ไปใหข้ อ้ มูลสรปุ ของลักษณะสมบตั ขิ องแทง็ กบ์ รรจุ เวลาวกิ ฤต ระยะวกิ ฤติ และการอัตราการฉีดนำ้� หล่อเยน็ ส�ำหรบั ขนาดแท็งก์บรรจแุ ต่ละขนาด ตารางนใี้ หข้ อ้ มลู นกั ตอบโตเ้ หตเุ กย่ี วกบั แนวทางการปฏบิ ตั งิ าน แตต่ อ้ งด�ำเนนิ การอยา่ ระมดั ระวงั ขนาดรปู ทรงแทง็ กบ์ รรจไุ ดจ้ ากการประมาณการ และแตกตา่ งกนั ขนึ้ อยกู่ บั การออกแบบ และการใชง้ านแท็งก์ เวลาขัน้ ต่�ำทจี่ ะแตกร่ัว จะขึน้ อย่กู ับความรนุ แรงของเปลวเพลงิ ในพนื้ ท่กี ลุม่ ไอระเหย สารเคมี ของแทง็ กบ์ รรจุทอี่ ยใู่ นสภาพทีด่ ี และใกลเ้ คียง แท็งกบ์ รรจุอาจแตกมากอ่ นหน้านี้ หากได้รบั ความเสยี หายหรือสึกกรอ่ น แทง็ ก์บรรจอุ าจแตกรั่วนะยะเวลาคิดเปน็ นาทหี รือชัว่ โมง ช้ากว่าเวลาขั้นต�่ำที่ก�ำหนดขึ้นอยู่เง่ือนไขหลายประการ โดยสนั นิษฐานแท็งกบ์ รรจุไม่มฉี นวน กนั ความร้อนหรือไม่ได้รับการฉีดน�้ำหลอ่ เยน็ 373
เวลาต่ำ� สดุ ทส่ี ารจะหมด ข้ึนอย่กู ับเพลงิ ไหม้ที่ลอ้ มรอบ และลักษณะของวาลว์ ระบาย ความดนั นริ ภยั หากแทง็ กบ์ รรจถุ กู เพลงิ ไหมแ้ คบ่ างสว่ นจะท�ำใหร้ ะยะเวลาทส่ี ารจะหมดเพมิ่ ขนึ้ (เชน่ หากแทง็ กบ์ รรจถุ กู เพลงิ ไหมล้ กุ ทว่ ม 50% ดงั นนั้ จะตอ้ งใชเ้ วลาเปน็ สองเทา่ กวา่ สารจะหมด) โดยประเมินวา่ แทง็ กบ์ รรจุไม่มีฉนวนกันความรอ้ นหรอื ไม่ถูกฉีดน�ำ้ หล่อเยน็ แท็งก์บรรจุทมี่ ีฉนวนกนั ความรอ้ นหรอื ถูกฉดี นำ้� หล่อเย็น จะเพิ่มระยะเวลาข้นั ต่�ำทถ่ี งั จะแตกรวั่ และระยะเวลาทสี่ ารจะหมด ฉนวนกนั ความรอ้ นจะลดความรอ้ นทถ่ี งั จะไดร้ บั อยา่ งนอ้ ย 10 เทา่ ซ่งึ หมายความวา่ ตอ้ งใช้ระยะเวลามากกว่าเดมิ อย่างนอ้ ย 10 เทา่ ท่ีสารจะถูกปลอ่ ย ผา่ นวาล์วระบายความดนั นริ ภยั (Pressure Relief Valve :PRV) รัศมีลกู ไฟและระยะการตอบโตเ้ หตฉุ กุ เฉนิ ข้นั อย่กู ับผลการค�ำนวณทางคณติ ศาสตร์ โดยคาดวา่ เป็นไฟลูกกลม ซง่ึ เหตุการณ์อาจไมเ่ ป็นแบบนเ้ี สมอไป ระยะปลอดภยั ส�ำหรบั การอพยพประชาชน 2 ระยะ ระยะทางขน้ั ตำ่� จะขน้ึ อยกู่ บั แทง็ ก์ บรรจทุ พี่ งุ่ ดว้ ยมมุ เงยเลก็ นอ้ ย (เชน่ มมุ เงยเลก็ นอ้ ยจากพนื้ ) ซง่ึ พบโดยดว้ ยทว่ั ส�ำหรบั แทง็ กบ์ รรจุ แนวนอน ระยะปลอดภยั ส�ำหรบั การอพยพจะมคี วามปลอดภยั สูงกว่าหากแทง็ กบ์ รรจุ ถูกค�ำนวณว่ามกี ารปลอ่ ยพุ่งจากแนวราบในมุม 45 องศา ซ่ึงนา่ จะเป็นการค�ำนวณทเี่ หมาะสม หากเปน็ แทง็ ก์บรรจแุ นวต้งั เข้าใจไดว้ า่ ระยะน้ีจะไกลมากและเปน็ ไดย้ ากหากตอ้ งด�ำเนินการ ในพ้ืนทชี่ มุ ชนหนาแนน่ อย่างไรก็ตาม ต้องเข้าใจว่าความเสีย่ งท่เี พิ่มขึน้ ขน้ึ กบั ระยะทใ่ี กล้กับ BLEVE โปรดระลกึ ว่าสะเกด็ ระเบดิ มีแนวโน้มท่จี ะพุ่งไปได้ไกลทสี่ ดุ หากแท็งกบ์ รรจุตงั้ อยใู่ นมมุ 45 องศา ในแต่ละด้านของปลายถัง อตั ราการฉดี นำ้� ค�ำนวณจากสตู ร 5(√capacity (USgal) = แกลลอน/นาที ทต่ี อ้ งใชใ้ นการฉีด หล่อเย็นแทง็ กบ์ รรจุทีท่ �ำจากเหลก็ ค�ำเตอื น ขอ้ มลู ทีใ่ ห้เปน็ การใช้ตัวเลขคาดการณ์ และควรใชอ้ ย่างระมัดระวังสูงสุด ตัวอย่างเช่น เวลาที่ให้ส�ำหรับการแตกรั่วของแท็งก์บรรจุหรือเวลาที่สารถูกปล่อยผ่านวาล์ว นริ ภัยจนหมด–เวลาเหลา่ นส้ี ามารถเปลย่ี นแปลงไดต้ ามสถานการณ์ ดงั นน้ั อย่าเอาชีวติ ไปเส่ียงกบั เวลาท่ีระบุ 374
ค�ำ เตอื นWARโNดIยNเปG็น:ทที่ รา:TLบPhขeกGอ้ นัdมtaaวูลnt่าaทkถsgใ่ีังiชhvLe้เaปPnvGe็นaตbreมeัวeaคีเnลpา่ pขkrBnกooLาxEwiรmVnคEaาttoeดทBกaีส่ LnาาEdรมVณsาEh์รoคถwuวเiltกdhรดิiนonnขำ�mlไึน้yปiไnbใดueชt้ภeu้อsาsย.ยeTา่dใhงนweรไrะitมehมf่กoัดerี่นxeรtา,ะreทnวmeีงั vดสeeงังูrcนสariuุดนั้stkอioทlยinfง้ัeา่.นTงbเh้ีaอeเsวาseลชedาีวtoiอติmnาไeปtจshเเeปcสsaลย่ีenงีย่ tvกiนmaับแreyเปsว.fลลroงาmไทดีร่sต้ iะtuาบaมุ tสioถnาtoนกsiาtuรaณtio์ n. BLEVE (USE WITH CAUTION) Capacity Diameter Length Propane Minimum time Approximate Fireball Emergency Minimum Preferred Cooling water Mass to failure for time to empty radius response evacuation evacuation flow rate severe for engulfing distance distance distance torch fire Litres (Gallons) Meters (Feet) Meters (Feet) Kilograms (Pounds) Minutes Minutes Meters (Feet) Meters (Feet) Meters (Feet) Meters (Feet) Litres/min USgal/min 100 (26.4) 0.3 (1) 1.5 (4.9) 40 (88) 4 8 10 (33) 90 (295) 154 (505) 307 (1007) 94.6 25 400 (106) 0.61 (2) 1.5 (4.9) 160 (353) 4 12 16 (53) 90 (295) 244 (801) 488 (1601) 189.3 50 2000 (528) 0.96 (3.2) 3 (9.8) 800 (1764) 5 18 28 (92) 111 (364) 417 (1368) 834 (2736) 424 112 4000 (1057) 1 (3.3) 4.9 (16.1) 1600 (3527) 5 20 35 (115) 140 (459) 525 (1722) 1050 (3445) 598 158 8000 (2113) 1.25 (4.1) 6.5 (21.3) 3200 (7055) 6 22 44 (144) 176 (577) 661 (2169) 1323 (4341) 848 224 22000 (5812) 2.1 (6.9) 6.7 (22) 8800 (19400) 7 28 62 (203) 247 (810) 926 (3038) 1852 (6076) 1404 371 42000 (11095) 2.1 (6.9) 11.8 (38.7) 16800 (37037) 7 32 77 (253) 306 (1004) 1149 (3770) 2200 (7218) 1938 512 375 82000 (21662) 2.75 (9) 13.7 (45) 32800 (72310) 8 40 96 (315) 383 (1257) 1435 (4708) 2200 (7218) 2710 716 Page 369140000 (36984) 3.3 (10.8) 17.2 (56.4) 56000 (123457) 9 45 114 (374) 457 (1499) 1715 (5627) 2200 (7218) 3539 935
การใชส้ ารเคม/ี สารชวี ภาพ/วตั ถกุ ัมมนั ตรังสีในทางอาชญากรรม/ก่อการรา้ ย ขอ้ มลู ต่อไปน้มี วี ัตถปุ ระสงค์เพอ่ื ใหเ้ จ้าหนา้ ทต่ี อบโต้เหตฉุ กุ เฉินระดับเบอื้ งตน้ สามารถ น�ำไปใช้ในการประเมินสถานการณ์ข้ันต้นท่ีสงสัยว่าเกี่ยวข้องกับการใช้สารเคมี สารชีวภาพ (CB agent) และ/หรอื วตั ถกุ มั มนั ตรงั สใี นการกอ่ อาชญากรรม/การกอ่ การรา้ ย ขอ้ มลู ตอ่ ไปนี้ จะแสดงถงึ สง่ิ บง่ ชท้ี ส่ี ามารถสงั เกตไดว้ า่ มกี ารใชแ้ ละ/หรอื มสี าร CB agent หรอื วตั ถกุ มั มนั ตรังสี ปรากฏอยู่ เพื่อช่วยในการประเมินสถานการณด์ ังกลา่ ว ขอ้ แตกตา่ งระหว่างสารเคมี สารชวี ภาพและวัตถกุ ัมมันตรงั สี สารเคมี สารชีวภาพ และวตั ถุกัมมันตรงั สี สามารถแพร่กระจายไปในอากาศท่เี รา หายใจเขา้ ไป ในน้�ำทเ่ี ราดื่ม หรือบนพ้นื ผวิ ทเี่ ราสัมผสั ได้ วิธกี ารแพรก่ ระจายอาจเป็นวิธงี า่ ยๆ ตง้ั แตก่ ารเปดิ ภาชนะบรรจุ การใชอ้ ปุ กรณพ์ น่ สารเคมี (แบบทใ่ี ชใ้ นสวน) หรอื อาจเปน็ วธิ ที ซี่ บั ซอ้ น จนถงึ การจดุ ระเบิดจากวัตถุระเบิด อบุ ัตภิ ยั ที่เกยี่ วข้องกับสารเคมี จะเห็นได้จากระยะเวลาท่ีเกิดอาการแสดงทางสขุ ภาพ อยา่ งรวดเรว็ (ระยะเวลาไมก่ น่ี าทถี งึ หลายชวั่ โมง) และตรวจสอบร่องรอยไดง้ ่าย (สีจากสารเคมี ทห่ี ลงเหลืออยู่ ใบไม้ทต่ี ายร่วง กลนิ่ ทร่ี นุ แรง สตั ว์และแมลงตาย) อุบัติภัยที่เก่ียวข้องกับสารชีวภาพ จะเห็นได้จากระยะเวลาที่เกิดอาการแสดงทาง สขุ ภาพทเี่ กดิ ขน้ึ ภายในหลายชวั่ โมงจนถงึ หลายวนั โดยทวั่ ไปจะไมส่ ามารถตรวจหารอ่ งรอยได้ เพราะสารชวี ภาพมกั จะไมม่ กี ลน่ิ และไมม่ สี ี เนอ่ื งจากอาการแสดงทเ่ี กดิ จากสารชวี ภาพกนิ เวลานาน ดังน้ันพื้นท่ีที่ได้รับผลกระทบจากสารชีวภาพจึงอาจมีขนาดใหญ่กว่าพ้ืนที่ที่ได้รับผลกระทบ จากสารเคมี เนอื่ งจากผทู้ ตี่ ดิ เชอื้ มกี ารเคลอ่ื นทแี่ ละจะน�ำพาเอาสารไปตดิ ตอ่ ผอู้ นื่ ได้ อุบัติภัยที่เกย่ี วขอ้ งกบั วตั ถกุ มั มนั ตรงั สี จะเหน็ ไดจ้ ากระยะเวลาทเี่ กดิ อาการแสดง (ถา้ ม)ี ซ่ึงเกิดขึ้นในระยะเวลาหลายวันจนถึงหลายสัปดาห์หรือนานกว่านั้น โดยท่ัวไปจะไม่สามารถ ตรวจสอบหารอ่ งรอยได้เนือ่ งจากวัตถกุ มั มันตรังสมี ักไม่มีกลน่ิ และไมม่ สี ี และต้องใช้อปุ กรณ์ พเิ ศษในการตรวจสอบขนาดของพนื้ ทท่ี ไ่ี ดร้ บั ผลกระทบ และตรวจประเมนิ ระดบั ความเขม้ ขน้ ของ กมั มนั ตรงั สวี า่ อยใู่ นระดบั ทเี่ ปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพแบบเฉยี บพลนั หรอื แบบเรอื้ รงั และจากการท่ี ตอ้ งใชอ้ ปุ กรณพ์ เิ ศษในการบง่ ชพ้ี นื้ ทที่ ไี่ ดร้ บั ผลกระทบ พน้ื ทที่ ไี่ ดร้ บั ผลกระทบจงึ อาจมขี นาดใหญ่ เน่อื งจากมกี ารเคลอ่ื นท่ขี องผ้ไู ดร้ บั รงั สี 376
ระดับกัมมันตรังสีที่ปลดปล่อยออกมาจากแหล่งก�ำเนิดที่อาจพบได้ทั่วไปมักอยู่ใน ระดบั ทไี่ มส่ งู พอทจี่ ะท�ำใหผ้ ไู้ ดร้ บั เสยี ชวี ติ หรอื บาดเจบ็ อยา่ งรนุ แรง ในขณะทีอ่ ุบัติภัยท่เี กี่ยวขอ้ ง กบั วตั ถุกัมมนั ตรังสที ่ีเกดิ จาก “ระเบิดรงั สี” หรือ Radiological Dispersal Device (RDD) ใชก้ ารจดุ ระเบดิ ของวตั ถรุ ะเบดิ เปน็ ตวั ชว่ ยในการแพรก่ ระจายของกมั มนั ตรงั สี โดยอันตรายหลัก มาจากการระเบิด อย่างไรก็ตาม วัตถุกัมมันตรังสีบางชนิดที่แพร่ไปในอากาศสามารถปน เปอื้ นกนิ พืน้ ทเ่ี ปน็ บริเวณกวา้ ง กอ่ ใหเ้ กดิ ความวิตกกงั วลและต้องใชง้ บประมาณสูงในการขจัด การปนเป้อื น ดชั นีบง่ ชี้อุบตั ิภยั ที่เก่ียวข้องกบั สารเคมี สตั ว/์ นก/ปลา ตาย ไมใ่ ช่แคส่ ตั วท์ ีถ่ ูกรถชนตายบนถนนเปน็ คร้งั คราวแต่หมาย ถงึ สัตว์ (สตั ว์ป่าและสตั ว์เลีย้ งท้ังขนาดใหญแ่ ละเล็ก) นก และปลา ตายเป็นจ�ำนวนมากในพน้ื ทีเ่ ดียวกนั ไมม่ ีสิ่งมีชวี ติ ประเภทแมลง ถา้ ไม่พบเหน็ การด�ำเนินชีวติ ตามปกติของแมลง (บนดนิ ในอากาศและ/หรอื ในนำ้� ) ใหต้ รวจพนื้ ดนิ /นำ�้ ผวิ ดนิ และแนวชายฝง่ั เพ่อื หาแมลงตาย หากอยู่ใกล้แหล่งน้�ำ ใหต้ รวจซากปลาและนกน�้ำ กล่ินทไ่ี มส่ ามารถอธิบายได้ กลิ่นอาจมตี ัง้ แต่กลิ่นผลไม้ กลิ่นของดอกไม้กลิ่นฉุนของ กระเทียม กลนิ่ อัลมอนด์ กลิน่ ลกู พชี กลน่ิ หญา้ กล่ินฟางตดั ใหม่ ซึ่งต้องบง่ ชีว้ า่ กล่ินเฉพาะดงั กลา่ วไมเ่ ขา้ กับลกั ษณะแวดลอ้ มในพ้นื ท่ี จ�ำนวนคนตายหรอื ป่วย ปญั หาดา้ นสขุ ภาพทปี่ ระกอบไปดว้ ยอาการ คลน่ื ไส้ เวยี นหวั ท่ีมากผดิ ปกติ คลนื่ ไส้ เวียนหัว หายใจล�ำบาก ชกั กระตกุ ทผี่ ิดปกติ เหงอ่ื ออกเฉพาะท่ี ตาแดง อาการทเี่ กดิ จากสารท�ำลาย ระบบประสาทและตาย 377
รูปแบบของการตาย ผู้เสียชวี ติ มีแนวโนม้ ทีจ่ ะอยูใ่ นทิศทางใต้ลม หรอื ผา่ นระบบหมุนเวยี นอากาศถ้าอยู่ในอาคาร ตุม่ /ผนื่ คนจ�ำนวนมากเป็นตุ่มน�ำ้ ใสทไี่ ม่สามารถอธบิ ายท่มี าได้ เปน็ ตุม่ (คลา้ ยผึ้งตอ่ ย) และ/หรือเป็นผื่นคัน การปว่ ยในพื้นทีอ่ บั อากาศ อตั ราการตายที่แตกต่างกันส�ำหรับผู้ทที่ �ำงานในอาคาร กบั ผ้ทู ่ที �ำงานนอกอาคาร ข้ึนอยู่กับวา่ สารเคมนี นั้ ถูกปลดปล่อยบรเิ วณใด หยดของเหลวแปลกปลอม บนพ้ืนผิวหลายแห่งมีหยด/แผน่ ฟิลม์ มนั ๆ หรือพื้นผิวน้ำ� หลายจุดมแี ผ่นฟลิ ม์ น�ำ้ มันปรากฏอยู่ (โดยไม่มีฝนตกในระยะเวลาใกล้เคียง) พ้ืนทดี่ เู ปลย่ี นไป ไมใ่ ช่เพยี งแค่การตายของกลุ่มวัชพชื แตก่ ม็ ีตน้ ไม้ พุ่มไม้ พืชเกษตรกรรม และ/หรือทงุ่ หญ้าที่ตาย เปลีย่ นสี หรือ เห่ียวเฉา (ไม่มภี าวะแหง้ แล้งในขณะน้นั ) เมฆลอยในระดับต่�ำ ลักษณะคล้ายเมฆ/หมอกทล่ี อยอย่ใู นระดับตำ�่ ซึง่ ไม่สอดคลอ้ งกบั สภาพบรรยากาศโดยรอบ เศษซากโลหะแปลกปลอม วสั ดทุ ่ีมีลักษณะคลา้ ยเศษซากวตั ถุระเบดิ อุปกรณท์ ใ่ี ช้ ในสงครามท่ไี ม่สามารถอธิบายทม่ี าได้ โดยเฉพาะอย่างย่ิง ถ้าอุปกรณเ์ หลา่ น้ันบรรจขุ องเหลว ดัชนบี ่งชี้อบุ ัติภยั ท่เี ก่ียวกับสารชีวภาพ อาจเกิดอาการในรูปแบบตา่ ง ๆ กัน โดยอาจ จ�ำนวนคนหรือสตั วท์ ป่ี ่วย เกิดการเสยี ชวี ิตในระยะเวลาหลายช่ัวโมง หรอื ตายมากผดิ ปกต ิ จนถึงหลายวันหลังจากเกดิ เหตกุ ารณ์ขึ้น ระยะเวลาท่ีจะสังเกตเหน็ อาการแสดงขน้ึ อยู่ กบั สารชวี ภาพทใ่ี ช้ 378
การพ่นสเปรยแ์ บบผิดปกต ิ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทีเ่ กิดขน้ึ ในพืน้ ที่โล่งใน หรอื นอกแผนด�ำเนินการชว่ งเวลากลางคืน อปุ กรณ์พ่นสเปรยท์ ี่ถูกท้ิงไว ้ อปุ กรณพ์ น่ สเปรยด์ งั กลา่ วอาจไมม่ กี ลิ่นเฉพาะ ดชั นีบง่ ชอ้ี ุบัติภยั ที่อาจเกยี่ วกับวัตถุกมั มันตรงั สี สัญลกั ษณ์วัตถุกมั มนั ตรังส ี ภาชนะบรรจุอาจมสี ญั ลกั ษณ์ “ใบพัด 3 แฉก” แสดงถึงการแผ่รังสตี ิดอยู่ เศษซากโลหะแปลกปลอม วตั ถทุ ีม่ ีลกั ษณะคล้ายเศษซากวัตถรุ ะเบดิ /อุปกรณท์ ใ่ี ชใ้ นสงคราม ทไ่ี ม่สามารถ อธบิ ายที่มาได้ วตั ถุทีป่ ลดปล่อยความรอ้ น วตั ถทุ ี่ร้อนหรอื ดเู หมือนจะปลดปลอ่ ย ความร้อนไดโ้ ดยไม่พบวา่ มแี หล่ง ให้พลงั งานความรอ้ น วตั ถุทส่ี อ่ งประกาย วตั ถกุ มั มนั ตรังสบี างชนิดสามารถปลดปลอ่ ย หรือท�ำให้เกดิ การเปลง่ แสง ประชาชน/สตั วเ์ จ็บป่วย ในสถานการณ์ท่ไี มน่ า่ เป็นไปไดแ้ ตพ่ บว่า มปี ระชาชนหรือสัตว์เจบ็ ป่วยเป็นจ�ำนวนมาก ผ้บู าดเจ็บ/เสียชีวติ อาจเกดิ ขึ้นภายใน ระยะเวลาไมก่ ี่ชวั่ โมง หรอื หลายวันหรอื หลายสัปดาห์หลงั จากเกดิ เหตรุ ่ัวไหล โดยระยะเวลาท่ีจะเกิดอาการแสดงนั้นขึ้นอยู่ กับชนดิ ของวัตถุกัมมันตรงั สีและปรมิ าณรังสี ที่ไดร้ บั อาการแสดงทพ่ี บจะรวมถึงการเกดิ ผืน่ แดงหรอื อาเจยี น 379
การพจิ ารณาเรือ่ งความปลอดภัยส่วนบุคคล เม่ือเข้าไปยังพ้ืนที่เกิดเหตุที่อาจมีสารเคมี/สารชีวภาพ (CB agent) หรือวัตถุ กมั มนั ตรังสมี าเกีย่ วข้อง ส่ิงที่ส�ำคัญทสี่ ดุ ที่ตอ้ งพิจารณาได้แก่ ความปลอดภยั ส่วนบคุ คลและ ความปลอดภัยของเจ้าหน้าท่ีตอบโต้เหตุฉุกเฉินคนอ่ืนๆ ดังน้ันการสวมใส่ชุดป้องกันภัยและ อุปกรณ์ป้องกันระบบทางเดินหายใจในระดับท่ีเหมาะสมกับสถานการณ์น้ันๆจึงเป็นสิ่งที่ จ�ำเป็น ในขณะเดยี วกนั ควรตระหนกั ไวเ้ สมอวา่ อาจไมส่ ามารถพสิ จู นไ์ ดว้ า่ อบุ ตั ภิ ยั นน้ั เกย่ี วขอ้ ง กบั สารเคม/ี สารชวี ภาพ (CB agent) หรอื วตั ถกุ มั มนั ตรงั สหี รอื ไม่ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในกรณี ของสารชวี ภาพหรอื วัตถกุ ัมมันตรงั สี ทง้ั น้ี มาตรการท่ีสามารถใชไ้ ดก้ ับอบุ ัตภิ ัยทเี่ กีย่ วข้องกับ สารเคม/ี สารชวี ภาพและวตั ถกุ มั มนั ตรงั สี มดี งั ตอ่ ไปนี้ (เปน็ ค�ำแนะน�ำแบบทวั่ ไปทอี่ าจไมค่ รอบคลมุ ทงั้ หมด และการน�ำไปใชค้ วรมกี ารประเมนิ เปน็ รายกรณีไป) กลยุทธ์ในการเข้าพื้นท่แี ละตอบโต้เหตุ ปกปอ้ งตนเองและใชว้ ธิ ีการเขา้ ไปยังพ้ืนที่เกดิ เหตุอย่างปลอดภัย (ลดระยะเวลาการได้รับสัมผัสสารให้น้อยท่ีสุด อยู่ห่างจากสิ่งที่จะเป็น อันตรายให้ไกลท่ีสุด ใช้ที่ก�ำบังเป็นการป้องกัน รวมทั้งใส่อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลและ อปุ กรณป์ ้องกนั ระบบทางเดินหายใจท่ีเหมาะสม) บง่ ชแ้ี ละประเมินความเปน็ อนั ตรายทเี่ กดิ ขน้ึ โดยใช้ดชั นีบง่ ชีท้ ีร่ ะบไุ วด้ า้ นบน กัน้ แยกและควบคุมไม่ให้มผี ู้คนเขา้ ไปในพ้นื ทเี่ กิดเหตุ แยกผู้ที่คาดว่าได้รับการปนเปื้อนและท�ำการขจัดการปนเปื้อนให้เร็วที่สุดเท่าท่ีจะเป็นไปได้ และจ�ำกัดการแพร่กระจายของสารปนเปอื้ นในระดับสูงสดุ เท่าที่สามารถท�ำได้ ส�ำหรับอบุ ตั ิภัย ท่เี ก่ยี วกับสารเคมี กลนิ่ ของสารเคมีทเ่ี จือจางลงไมจ่ �ำเป็นต้องหมายถึง การลดลงของความ เข้มขน้ ไอสารเคมี สารเคมบี างชนดิ ท�ำให้การรบั รู้เสอ่ื มสภาพและผดิ เพยี้ นไป โดยท�ำใหเ้ ขา้ ใจ ว่าไม่มีสารเคมีอยู่ในบรรยากาศแล้ว ถา้ หากมขี ้อบง่ ชีว้ า่ พื้นท่ีดังกล่าวอาจมีการปนเปื้อนกัมมนั ตรังสี เชน่ พบการระเบดิ ที่ ไม่ใชอ่ ุบตั ิเหตุ เจา้ หนา้ ท่ีปฏบิ ัตกิ ารฉุกเฉนิ ควรเตรยี มอปุ กรณ์ตรวจสอบกัมมันตรังสที สี่ ามารถ แจ้งเตือนหากเข้าไปในพื้นที่ท่ีมีการปนเปื้อนกัมมันตรังสีและควรได้รับการฝึกอบรมการใช้ อุปกรณด์ งั กล่าว อปุ กรณต์ รวจสอบการปนเปอ้ื นกมั มนั ตรงั สคี วรออกแบบใหส้ ามารถแจง้ เตอื น เจา้ หน้าทป่ี ฏิบตั กิ ารฉกุ เฉนิ หากระดับความเขม้ ของรงั สี (dose rate) หรือปริมาณรังสี ในบรรยากาศ (Ambient Dose) สูงเกินระดับความปลอดภัย 380
การด�ำเนนิ การเบอื้ งตน้ ทค่ี วรพจิ ารณา กรณอี าจเปน็ เหตกุ อ่ การรา้ ย CBRN / วตั ถอุ นั ตราย : • หลีกเลี่ยงการใชโ้ ทรศัพทม์ อื ถือ, วิทยุ ฯลฯ ในระยะ 100 เมตร (300 ฟตุ ) จากอปุ กรณต์ อ้ งสงสัย • แจง้ ต�ำรวจ โทร. 191 • ตง้ั ศนู ย์บญั ชาการเหตุการณ์ เหนอื ลมและบนพ้นื ที่สูง • อยา่ สมั ผสั หรอื เคลื่อนยา้ ยกลอ่ ง/ภาชนะบรรจุ ท่ีน่าสงสัย • ระมดั ระวงั เกย่ี วกบั วา่ มอี ปุ กรณร์ องทที่ �ำใหเ้ กดิ ระเบดิ เชน่ มกี ารวางระเบดิ แสวงเครอ่ื ง (Improvised Explosive Devices :IEDs) • หลีกเลย่ี งการปนเปอ้ื น • จ�ำกดั การเขา้ พน้ื ทเี่ ฉพาะผทู้ รี่ บั ผดิ ชอบในการชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั หรอื ผตู้ รวจสอบ ชนิดวัสดุหรอื อุปกรณต์ ้องสงสยั • อพยพประชาชน และคดั แยกบคุ คลทสี่ มั ผสั กับวตั ถอุ นั ตราย • กนั้ แยกพืน้ ที่ปนเปื้อนและรักษาความปลอดภยั ท่เี กดิ เหตุส�ำหรับการวิเคราะห์ ของวตั ถตุ อ้ งสงสัย มาตรการขจดั การปนเปอื้ น เจา้ หน้าท่ตี อบโตเ้ หตฉุ ุกเฉินควรด�ำเนินการตามขัน้ ตอน การขจัดสงิ่ ปนเป้อื นทเ่ี ป็นมาตรฐาน (ฉดี นำ้� -ถอดชดุ -ฉดี น�้ำ) การขจดั การปนเปื้อนใหก้ บั ผู้ได้รับบาดเจ็บจ�ำนวนมาก ควรด�ำเนินการให้เร็วท่ีสุดเท่าท่ีจะท�ำได้ โดยการถอดเสื้อผ้า ท้งั หมดและล้างตัวโดยใช้นำ้� และสบู่ • หากเปน็ อบุ ตั ภิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งหรอื สงสยั วา่ จะเกยี่ วขอ้ งกบั สารชวี ภาพ ใหท้ �ำการชะลา้ ง ด้วยน้�ำอยา่ งระมดั ระวงั และการใชแ้ ปรงขดั ถูจะท�ำให้เกิดผลดีมากขนึ้ • หากเป็นอุบัติภัยที่สงสัยว่าเกี่ยวข้องสารเคมี การขจัดการปนเปื้อนท่ีส�ำคัญและ มปี ระสทิ ธภิ าพท่ีสุดควรท�ำภายใน 1-2 นาทแี รก ถ้าเป็นไปได้ ให้ชะล้างสารปนเปอ้ื นขน้ั ต่อไป โดยใชส้ ารละลายไฮโปคลอไรท์ (hypochlorite) 0.5% (1 ส่วน ของน�้ำยาซกั ผ้าขาวตามบา้ น ผสมกับน�้ำ 9 ส่วน) • หากสงสยั ว่าเปน็ สารชวี ภาพ ทิง้ ระยะเพื่อให้เวลาที่สารละลายไฮโปคลอไรท์สัมผสั กบั พ้นื ผวิ ทต่ี อ้ งการขจดั การปนเปอ้ื นประมาณ 10-15 นาที กอ่ นทจ่ี ะลา้ งออก สารละลายดงั กลา่ ว 381
สามารถใช้ได้กับบาดแผลที่บริเวณเนื้อเยื่ออ่อน แต่ต้องไม่สัมผัสกับตาหรือแผลเปิดภายใน บรเิ วณทอ้ ง หนา้ อก สมอง หรอื กระดกู สนั หลงั ส�ำหรบั ขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ ใหต้ ดิ ตอ่ หนว่ ยงานทม่ี รี ายช่อื ในค่มู ือเลม่ นี้ ส�ำหรับผทู้ ไี่ ด้รับสมั ผัสกบั วตั ถกุ ัมมันตรังสี ใหพ้ าออกไปอย่ใู นบริเวณทีม่ ีปรมิ าณรังสี น้อยลง ถอดเส้ือผา้ แลว้ น�ำไปใส่ในภาชนะทีป่ ิดมิดชดิ เช่น ถงุ พลาสตกิ และติดสัญลักษณ์ ชดั เจนเพอื่ การตรวจสอบในภายหลงั ใหใ้ ชว้ ธิ กี ารขจดั ปนเปอ้ื นตามทอ่ี ธบิ ายไวข้ า้ งตน้ แตห่ ลกี เลยี่ ง การท�ำให้ผิวหนัง ฉีกขาด เชน่ การโกนผม/ขน หรอื การขัดถอู ยา่ งรุนแรง การได้รบั สัมผัส กัมมันตรังสีที่บริเวณผิวภายนอกมักท�ำให้ปริมาณรังสีที่ได้รับสูงไม่พอที่จะก่อให้เกิดอันตราย ต่อผู้ท่ีได้รับรังสีหรือเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการฉุกเฉินระดับเบ้ืองต้น ด้วยเหตุนี้ (ยกเวน้ ในกรณี พเิ ศษ) ผทู้ ไี่ ด้รบั บาดเจบ็ และไดร้ บั สมั ผสั กมั มนั ตรังสตี อ้ งรกั ษาอาการใหค้ งท่ี ดแู ลใหม้ ีการลด ขอบเขตการปนเปอ้ื นไปยงั พนื้ ทอ่ี น่ื กอ่ นเรมิ่ กระบวนการขจดั การปนเปอ้ื น (Decontamination) ตอ่ ไป หมายเหต:ุ ข้อมลู ขา้ งต้นจัดท�ำโดย The Department of National Defence (Canada) และ The U.S. Department of the Army, Edgewood Arsenal 382
ระเบดิ แสวงเคร่ือง (Improvised Explosive Device :IED) ระเบดิ แสวงเครือ่ ง (Implosive Device : IED) ระยะห่างทีป่ ลอดภัย (SAFE STAND OFF DISTANCE)Threat Description Explosives Capacity1 EvacuMataionndaDtoisrtyance2 Shelter-in-Place Zone EvacuaPtrieofnerDreisdtance3 Pipe Bomb 5 lbs 2.3 kg 70 ft 21 m 71-1,199 ft 22-365 m +1,200 ft 366 m Suicide Bomber 20 lbs 9 kg 110 ft 34 m 111-1,699 ft 35-518 m +1,700 ft 519 m Briefcase/Suitcase 50 lbs 23 kg 150 ft 46 m 151-1,849 ft 47-563 m +1,850 ft 564 m Car 500 lbs 227 kg 320 ft 98 m 321-1,899 ft 99-579 m +1,900 ft 580 m SUV/Van 1,000 lbs 454 kg 400 ft 122 m 401-2,399 ft 123-731 m +2,400 ft 732 m Small Deilivery Truck 4,000 lbs 1,814 kg 640 ft 195 m 641-3,799 ft 196-1,158 m +3,800 ft 1,159 m Container/Water Truck 10,000 lbs 4,536 kg 860 ft 263 m 861-5,099 ft 264-1,554 m +5,100 ft 1,555 m Semi-Trailer 60,000 lbs 27,216 kg 1,570 ft 475 m 1,571-9,299 ft 476-2,834 m +9,300 ft 2,835 m 1 ข้ึนอยู่กับปริมาณสงู สดุ ของวัสดทุ ใี่ ส่ลงในภาชนะบรรจุหรอื ยานพาหนะ รปู แบบทีเ่ ปน็ ไปได้มีหลายแบบ 2 ขนึ้ กบั ความสามารถของอาคารทไ่ี มม่ โี ครงสรา้ งทแ่ี ขง็ แรงทจี่ ะทนตอ่ ความเสยี หายอยา่ งรนุ แรงหรอื การถลม่ 3 ข้นึ กบั ระยะทเ่ี ศษชน้ิ ส่วนระเบิดพงุ่ ออกจากพ้นื ท่ีหรือระยะอันตรายจากเศษแก้ว/กระจกทแ่ี ตกกระจาย ระยะทางเหลา่ นอี้ าจลดลงหากมกี ารสวมชดุ ปอ้ งกนั ระเบดิ พงึ ระลกึ วา่ ระเบดิ ทอ่ (Pipe Bomb) ระเบิดพลีชพี (suicide bomb) และ กระเป๋าบรรจรุ ะเบิดแสวงเคร่อื งจะตอ้ งสนั นษิ ฐานไวว้ า่ จะมกี ารพงุ่ ออกมาของ เศษชนิ้ สว่ นจงึ ตอ้ งยนื ใหห้ า่ งกวา่ กรณที ร่ี ะเบดิ ปรมิ าณเทา่ กันแตอ่ ยู่บนยานพาหนะ ระเบิดแสวงเคร่อื ง (Improsived Explosive Device : IED) ระยะห่างท่ีปลอดภยั (SAFE STAND-OFF DISTANCE) Small LPG Tank Large LPG Tank Commercial/Residential LPG Tank Small LPG Truck Semitanker LPG 1 ขึ้นอย่กู บั ปริมาณสงู สุดของวัสดุท่ีใส่ลงไปในภาชนะบรรจหุ รอื ยานพาหนะ รูปแบบทีเ่ ป็นไปได้มีหลายแบบ 2 สมมติว่าการผสมทม่ี ีประสทิ ธิภาพของก๊าซไวไฟกับอากาศโดยรอบ 3 การปฏบิ ตั กิ ารของหนว่ ยดบั เพลงิ ของสหรฐั อเมรกิ าก�ำ หนดระยะหา่ งทป่ี ลอดภยั ประมาณ 4 เทา่ ความสงู เปลวไฟ หมายเหตุ: ถังแอลพีจีทม่ี วี ตั ถุระเบิดใสจ่ นเต็มจะตอ้ งก�ำ หนดระยะปลอดภัยเกินกว่าถังท่ีบรรจุเฉพาะแอลพจี ี 383
Adsorption อภิธานศัพท์ ในคู่มือเล่มนี้หมายถึงกระบวนการท่ีก๊าซติดอยู่กับพ้ืนผิว AEGL(s) ของของแขง็ แตไ่ มซ่ มึ ผา่ น เชน่ การดดู ซบั กา๊ ซดว้ ยถา่ นกมั มนั ต์ Acute Exposure Guideline Level(s), AEGLs แสดงระดับ ความเขม้ ขน้ ข้นั ตำ่� ของสารเคมีที่ประชาชนท่วั ไปสามารถ รับสัมผัสได้ และน�ำไปใช้กับกรณีเกิดเหตุฉกุ เฉินใน ช่วงเวลารบั สมั ผัส 10 นาที ถงึ 8 ชั่วโมงระดับ AEGL-1 AEGL-2 และ AEGL-3 ถูกพัฒนาขึ้นส�ำหรับ ช่วงเวลารบั สัมผสั 5 ช่วงเวลา (10 และ 30 นาที 1 ชม. 4 ชม. และ 8 ชม.) โดยจ�ำแนกความรนุ แรงของผลกระทบ AEGL-1 จากการเกดิ พิษ โปรดดู AEGL-1 AEGL-2 และ AEGL-3. ระดับความเข้มขน้ ของสารในอากาศ (หน่วย ppm หรอื mg/m3) ซ่ึงคาดว่าประชาชนทั่วไป รวมทั้งผทู้ ีไ่ ดร้ ับ ผลกระทบจะเกดิ ความไม่สบาย ระคายเคอื ง หรือ ผลกระทบทไ่ี มแ่ สดงอาการ อยา่ งไรก็ตาม ผลกระทบ จะไม่กอ่ ใหเ้ กิดการพกิ ารและเกดิ เพยี งช่ัวคราวรวมทงั้ AEGL-2 กลบั เป็นปกตไิ ด้หากหยดุ การรับสมั ผสั ระดบั ความเข้มขน้ ของสารในอากาศ (หนว่ ย ppm หรอื mg/m3)ซง่ึ คาดว่าประชาชนท่ัวไป รวมทั้งผ้ทู ไ่ี ด้รับ ผลกระทบจะเกดิ ผลกระทบต่อสุขภาพทไ่ี ม่สามารถ 384 กลับเป็นปกติได้ หรือความรนุ แรงเกิดเป็นระยะเวลานาน หรือท�ำให้ไม่สามารถหนีออกจากทีเ่ กดิ เหตุได้
AEGL-3 ระดบั ความเขม้ ขน้ ของสารในอากาศ (หนว่ ย ppm หรอื mg/m3) ซง่ึ คาดว่าประชาชนทว่ั ไป รวมทง้ั ผูท้ ไี่ ดร้ บั ผลกระทบจะเกิดผลกระทบทเี่ ปน็ อันตรายต่อ สขุ ภาพหรือท�ำใหเ้ สยี ชีวติ ได้ Alcohol Resistant Foam โฟมที่สามารถตา้ นทานตอ่ สารเคมีมี “ข้วั ” เชน่ คโี ตน และเอสเตอร์ เป็นต้น ซงึ่ สารเคมี กลมุ่ นส้ี ามารถสลายโฟมชนดิ อื่นได้ Biological agents สง่ิ มชี วี ติ ทท่ี �ำ ใหม้ นษุ ยเ์ ปน็ โรค เจบ็ ปว่ ย และตาย สารชีวภาพ เช่น เชอื้ แอนแทร็กซ์และเชอ้ื อีโบลา่ ใหด้ หู มวด คำ�แนะน�ำ 158 Blister agents (vesicants) สารซงึ่ ท�ำใหผ้ วิ หนังเกิดแผลพพุ อง สารอาจ สารท�ำใหเ้ กดิ แผลพุพอง อย่ใู นรปู ของเหลวหรอื ไอระเหย ซงึ่ อาจรบั สัมผสั ได้ทางเนือ้ เย่ือตา่ ง ๆ (ตา ผวิ หนงั ปอด) สารเคมกี ลุ่มนีไ้ ด้แก่ Mustard (H) Distiled Mustard (HD) Nitrogen Mustard (HN) และ Lewisite (L) อาการ : ตาแดง ผิวหนงั ระคายเคอื ง ผิวหนงั ไหม้ แผลพพุ อง ระบบการหายใจ สว่ นบนถกู ท�ำลาย ไอ เสียงแหบ 385
Blood agents สารทที่ �ำให้คนเจบ็ ปว่ ย โดยเขา้ ไปรบกวน สารทมี่ ีผลตอ่ เลอื ด ระบบการหายใจระดับเซลล์ (กระบวนการ แลกเปล่ยี นออกซเิ จนและคารบ์ อนไดออกไซด์ ระหวา่ งเลือดและเน้อื เยือ่ ) ได้แก่ ไฮโดรเจน ไซยาไนด์ (Hydrogen Cyanide: AC) และ ไซยาโนเจน คลอไรด์ (Cyanogen chloride: CK) อาการ : หายใจล�ำบาก ปวดศรีษะ ไม่รูส้ ึกตวั เปน็ ลมชัก โคมา่ Burn เปน็ แผลไหมจ้ ากสารเคมีหรืออณุ หภมู ิสงู /ตำ่� แผลไหม ้ แผลไหม้ที่เกิดจากสารเคมอี าจเกิดจากสาร ทม่ี ีฤทธิ์กดั กรอ่ น และแผลไหมท้ ่เี กดิ จาก อุณหภูมิสงู /ต่ำ� อาจเกดิ จากก๊าซเหลวอณุ หภมู ิ ตำ่� มาก (Liquefied Cryogenic gases) หรอื สารหลอมเหลวท่มี คี วามร้อนสงู หรอื เปลวไฟ Carcinogen สารหรือของผสมท่ีก่อให้เกิดมะเร็งหรือเพ่ิม สารกอ่ มะเร็ง โอกาสในการก่อให้เกิดโรคมะเร็ง Category A สารติดเช้ือที่มีความเสี่ยงสูงต่อสุขภาพของ สารกล่มุ A บุคคล และ/หรือสัตว์ หรือด้านการสาธารณสุข ซึ่งสารเหล่าน้ีจะไม่ทำ�ให้เกิดโรคร้ายแรง หากได้รับการรักษาและมาตรการป้องกัน ท่มี ปี ระสิทธิภาพ 386
Category B สารติดเชื้อท่ีมีความเสี่ยงต่�ำถึงปานกลางต่อ สารกล่มุ B บคุ คล และ/หรอื สตั ว์ และ/หรอื ดา้ นการสาธารณสขุ ซ่ึงสารเหล่าน้ีจะไม่ท�ำให้เกิดโรคร้ายแรง หากได้รับการรักษาและมาตรการป้องกันที่มี ประสทิ ธภิ าพ CBRN อาวธุ เคมี ชวี ะ รังสี นวิ เคลียร์ Choking agents สารซึ่งท�ำใหป้ อดเสยี หายทางกายภาพจาก สารที่ท�ำให้ปอดเสียหายและ การหายใจเอาสารเขา้ ไป ในกรณที ีร่ นุ แรง หายใจไมอ่ อก เยอ่ื หมุ้ ปอดจะบวมและเกิดอาการปอดบวมนำ�้ (Pulmonary Edema) ผทู้ ่ไี ดร้ บั สารจะส�ำลัก และขาดออกซิเจนจนถงึ แกค่ วามตาย สารจ�ำพวกนี้ไดแ้ ก่ Phosgene (CG) อาการ : ระคายเคืองตอ่ ตา/จมกู /คอ หายใจขดั คล่ืนไส้ อาเจียน และผิวหนงั ไหม้ CO2 ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ Cold Zone พนื้ ทซ่ี ง่ึ เปน็ ทตี่ ง้ั ของศนู ยบ์ ญั ชาการ ณ ทเ่ี กดิ เหตุ เขตสนบั สนุนการปฏิบตั กิ าร และหนว่ ยสนับสนนุ ทจี่ �ำเปน็ ในการควบคมุ ฉกุ เฉนิ อบุ ตั ิภยั ฉุกเฉินในเอกสารเลม่ อืน่ ๆ อาจเรยี กว่า Clean Zone, Green Zone หรือ Support Zone (EPA Standard Operating Safety Guidelines, OSHA 29 CFR 1910. 120, 387
Combustible Liquid เป็นของเหลวทีม่ จี ุดวาบไฟอยูร่ ะหวา่ ง ของเหลวทตี่ ิดไฟได้ 60.5 องศาเซลเซยี ส (141 องศาฟาเรนไฮท)์ และ 93 องศาเซลเซยี ส (200 องศาฟาเรนไฮท)์ (อย่างไรกต็ าม ประเทศสหรัฐอเมริกาก�ำหนด ให้ของเหลวไวไฟ (flammable liquid) ทม่ี ีจดุ วาบไฟอยู่ระหว่าง 38 องศาเซลเซียส (100 องศาฟาเรนไฮท)์ และ 60.5 องศาเซลเซียส (141 องศาฟาเรนไฮท)์ จัดอยู่ในกลุ่มของของเหลวท่ตี ดิ ไฟได้ Compatibility Group ตัวอักษรระบวุ ตั ถุระเบิดกลุม่ ทถี่ อื ว่าสามารถ กลมุ่ ที่อยรู่ ว่ มกนั ได้ ขนสง่ รว่ มกันไดว้ ตั ถุอนั ตรายประเภทท่ี 1 จะได้รบั การพจิ ารณาว่า “ขนส่งรว่ มกนั ได”้ หากสามารถขนส่งดว้ ยกันโดยไม่เพมิ่ โอกาส เสีย่ งที่จะเกดิ อบุ ตั ิภยั หรือเพ่มิ ความรุนแรง ของผลกระทบทจี่ ะเกิดข้นึ จากอุบตั ภิ ัยนนั้ ณ ปรมิ าณของสารที่ระดับใดระดับหน่ึง A สารทีค่ าดว่าจะเกิดระเบดิ อยา่ ง รุนแรงในทันทีเมอื่ สัมผัสกบั ไฟ B วตั ถุทีค่ าดว่าจะเกิดระเบิดอย่าง รนุ แรงในทนั ทีเมอ่ื สมั ผัสกับไฟ C สารหรอื วตั ถซุ งึ่ อาจตดิ ไฟอยา่ งรวดเรว็ และเผาไหม้ อยา่ งรนุ แรงโดยอาจไมม่ กี ารระเบดิ D สารหรือวตั ถซุ ึ่งอาจเกดิ ระเบิด อยา่ งรุนแรงเมือ่ สัมผสั กับไฟ (โดยมีอนั ตราย จากแรงระเบิดและ/หรือสะเกด็ ระเบดิ ) 388
E&F วตั ถุที่อาจระเบิดอยา่ งรนุ แรง ในเพลงิ ไหม้ G สารหรือวตั ถทุ ่อี าจระเบดิ อย่าง รนุ แรงและปลอ่ ยควันหรอื ก๊าซพษิ H วตั ถุซ่งึ เม่ืออยู่ในเพลงิ ไหม้อาจขับ ดนั ช้นิ สว่ นที่เป็นอันตรายออกมา และเกิดควนั หนาสขี าว J วัตถุซ่งึ อาจระเบดิ อย่างรนุ แรง K วตั ถซุ ง่ึ เมอ่ื เมอื่ อยใู่ นเพลงิ ไหมอ้ าจขบั ดนั ชิ้นส่วนทีเ่ ปน็ อนั ตรายและก๊าซพษิ ออกมา L สารและวตั ถุทีม่ ีความเสีย่ งจ�ำเพาะ และสามารถถกู กระตุน้ ไดจ้ ากการสมั ผัส กับอากาศหรอื น�ำ้ N วตั ถุท่บี รรจุสารท่ีมีความไวต่อการระเบดิ ต่ำ� มาก และมโี อกาสนอ้ ยมากทจ่ี ะเกิดการ จุดระเบิดหรอื การแพร่กระจายไดอ้ ย่างไมต่ ัง้ ใจ S หบี ห่อบรรจสุ ารหรือวตั ถุที่หากได้ รบั กระตุน้ อยา่ งไม่ไดต้ ั้งใจ มักจะเกิดผล กระทบเฉพาะบริเวณโดยรอบหีบหอ่ เท่าน้ัน Control Zones พ้ืนท่ีซ่ึงถูกก�ำหนดในระหว่างการควบคุมเขต ควบคุมอุบตั ภิ ัยจาก โดยพิจารณาจากระดบั ความเปน็ อนั ตรายและ สารเคมแี ละวตั ถอุ ันตราย และความปลอดภยั โดยอาจเรยี กไดห้ ลายแบบ อย่างไรก็ตาม ในค่มู อื เลม่ น้ี จะหมายถงึ เขตอนั ตราย (hot/exclusion/restricted zone), เขตลดการปนเป้อื น (warm/contamination 389
reduction/limited access zone) และเขต สนับสนุน (cold/support/clean zone) อ้างอิงจาก EPA standard Operating Safety หมวดค�ำแนะน�ำlines (OSHA 29 CFR 1910.120, NFPA 472) Cryogenic liquid กา๊ ซท่อี ัดความดนั ให้อยู่ในสถานะของเหลว ของเหลวอณุ หภมู ิต�่ำมาก ทอ่ี ุณหภมู ติ ่�ำมาก ได้แกก่ ๊าซทีม่ จี ดุ เดือด ตำ่� กวา่ -90 องศาเซลเซยี ส (-130 องศาฟาเรนไฮท)์ ที่ความดนั บรรยากาศปกติ Decomposition products ผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการแตกตัวของสาร ผลติ ภณั ฑจ์ ากการสลายตัว ด้วยปฏิกริ ยิ าเคมหี รอื ด้วยความร้อน Decontamination การชะล้างสารอันตรายออกจากเจา้ หนา้ ท่ี การชะลา้ งสารปนเป้อื น และอปุ กรณ์ในระดบั เพยี งพอที่จะปอ้ งกัน การเกดิ ผลร้ายต่อสุขภาพ หา้ มสมั ผัสกับสาร อนั ตรายทงั้ ทางตรงและทางออ้ ม อยา่ งไรกต็ าม หากสัมผสั กับสารเคมตี ้องท�ำการชะล้างสาร ปนเปอ้ื นโดยเรว็ ทส่ี ดุ วธิ กี ารชะลา้ งสารอนั ตราย ออกจากเจา้ หน้าท่ีและอปุ กรณ์จะแตกต่าง กันตามชนดิ ของสารเคมีท่เี ก่ียวข้อง จึงตอ้ ง ตดิ ตอ่ กบั ผู้ผลติ สารเคมผี ่านหนว่ ยงาน ทร่ี ะบุช่ือไวท้ ่ีปกหลังด้านในของค่มู อื เลม่ นี้ เพอ่ื หาวธิ กี ารด�ำเนินการท่เี หมาะสม ควรถอดเสือ้ ผ้าและอปุ กรณท์ ่มี ีการปนเปื้อน 390
ออกหลังจากผ่านการใชง้ านแลว้ และเกบ็ ไว ้ในพน้ื ทคี่ วบคมุ -เขตลดการปนเปอื้ น (Warm/Contamination/reduction/ limited access zone) จนกว่าจะเริม่ กระบวนการ Cleanup ได้ บางกรณี เสอ้ื ผา้ และอปุ กรณ์อาจไมส่ ามารถชะลา้ ง สารอนั ตรายออกได้ จึงตอ้ งน�ำไปก�ำจัด ด้วยวธิ ีท่ถี ูกตอ้ ง Dry Chemical สารผสมที่ออกแบบมาส�ำหรับการผจญเพลิงผง เคมีแหง้ ท่ีเกีย่ วข้องกบั ของเหลวไวไฟ สารทีส่ ามารถลกุ ติดไฟไดเ้ องในอากาศและอปุ กรณ์ไฟฟ้าโดย ทว่ั ไปจะประกอบด้วยโซเดียมไบคาร์บอเนต หรอื โปแตสเซยี มไบคาร์บอเนต Edema การสะสมของของเหลวปรมิ าณมากในเซลล์ อาการบวมน้ำ� และเนอ้ื เยอ่ื และอาการปอดบวมนำ�้ (Pulmonary Edema) แสดงถงึ การสะสมนำ้� ปริมาณมาก ในปอด เช่น อาการหลังจากการหายใจ เอาก๊าซทม่ี ฤี ทธก์ิ ัดกรอ่ นเข้าไปยงั เนอื้ เยือ่ ปอด ERPG (s) คา่ ความเขม้ ข้นสารเคมใี นบรรยากาศที่เชอื่ ว่า (Emergency Response หากสงู เกนิ คา่ นนั้ มักพบวา่ กอ่ ให้เกิดอนั ตราย Planning Guidelines) ตอ่ สุขภาพ ดู ERPG-1, ERPG-2, ERPG-3 ERPG-1 ค่าความเขม้ ข้นสารเคมีสงู สุดในบรรยากาศ 391
ท่ีเชื่อว่า ประชาชนทีไ่ ดร้ ับสารไม่เกนิ 1 ช่ัวโมง จะไม่เกดิ อาการต่อสขุ ภาพอยา่ งไม่รุนแรง /หรือเกดิ เพยี งชัว่ คราว หรอื ได้กลิน่ ทฉี่ นุ รุนแรง ERPG-2 คา่ ความเขม้ ข้นสารเคมีสงู สดุ ในบรรยากาศ ทเ่ี ชื่อวา่ ประชาชนท่ไี ด้รบั สารไม่เกิน 1 ชัว่ โมง จะไมเ่ กดิ อันตรายร้ายแรงหรอื อาการที่ ไมส่ ามารถดกี ลบั คืนได้ หรืออาการอ่ืนใด ที่ท�ำใหไ้ มส่ ามารถป้องกนั อนั ตรายตอ่ ตนเองได้ ERPG-3 คา่ ความเขม้ ขน้ สารเคมีสงู สดุ ในบรรยากาศ ท่ีเชอ่ื วา่ ประชาชนท่ไี ด้รับสารไมเ่ กิน 1 ช่วั โมง จะไม่เกดิ อาการร้ายแรงถึงชวี ิต Flammable Liquid ของเหลวทม่ี จี ดุ วาบไฟท่ี 60.5 องศาเซลเซียส ของเหลวไวไฟ (141 องศาฟาเรนไฮท์) หรอื ตำ�่ กวา่ Flash point อุณหภูมติ ำ่� สุดท่ขี องเหลวหรอื ของแข็งจะ จุดวาบไฟ ปลดปลอ่ ยไอระเหยที่มคี วามเข้มข้นในระดับ ที่เมื่อผสมกับอากาศใกลบ้ รเิ วณพืน้ ผวิ ของ ของแขง็ หรือของเหลวนนั้ จะเกดิ เปน็ ก๊าซไวไฟ ข้นึ ดงั นั้น วตั ถทุ ่ีมีจดุ วาบไฟต�ำ่ มาก แสดงว่ามคี วามไวไฟมาก Hazard Zones ขอบเขตอันตราย A ได้แก่พ้ืนท่ีท่ีมี (Inhalation Hazard Zones) - ก๊าซ : LC50 ≤ 200 ppm; เขตอนั ตราย - ของเหลว : ความเข้มขน้ ไอระเหยใน 392
(ทางการหายใจ) บรรยากาศ ณ จุดสมดุล ≥ 500 เท่า LC50 และมคี ่า LC50 ≤ 200 ppm ขอบเขตอนั ตราย B ได้แก่ พ้นื ท่ที ี่มี - ก๊าซ :200 ppm LC50 ≤ 1000 ppm - ของเหลว : ความเข้มขน้ ไอระเหย ในบรรยากาศ ณ จุดสมดลุ ≥ 10 เท่า LC50 และมีคา่ LC50 ≤ 1,000 ppm ขอบเขตอันตราย C ได้แก่ พ้นื ทีท่ ีม่ ี - 1000 ppm LC50 ≤ 3000 ppm ขอบเขตอันตราย D ได้แก่ พ้ืนท่ีทม่ี ี - 3000 ppm LC50 ≤ 5000 ppm Hot Zone พ้นื ท่ีโดยรอบท่ตี ิดกบั บริเวณที่เกิดอุบตั ิภัย เขตอนั ตรายจากสินค้าอนั ตราย ซง่ึ มขี อบเขต กวา้ งพอทจ่ี ะป้องกนั ไมใ่ ห้เกดิ ผลกระทบ จากสนิ คา้ อันตรายแกผ่ ูท้ ่อี ย่นู อกเขต เขตน้ีอาจถกู เรียกว่า exclusion zone, red zone หรอื restricted zone (EPA standard Operating Safety หมวดค�ำแนะน�ำlines, OSHA 29 CFR 1910.120,NFPA 472) IED ดู “Improvised Explosive Device” 393
Immiscible ในคมู่ อื เล่มน้ี หมายถึงวัตถทุ ่ผี สมกับนำ�้ ไดผ้ สมกับน้�ำได้ยาก Improvised Explosive Device ระเบิดทผ่ี ลิตเพ่ือการค้า การทหาร หรอื ประกอบขึ้นเอง Large Spil การหกรวั่ ไหลท่ีมีปรมิ าณมากกว่า 208 ลิตร (55 แกลลอน) กรณขี องเหลว และ 300 ลติ ร (660 แกลลอน) กรณีของแข็ง LC50 Lethal Concentration 50 หมายถงึ ความเขม้ ขน้ ของสารอันตรายที่ไดร้ บั สมั ผสั ทางการหายใจ ซงึ่ ท�ำใหป้ ระชากรของสตั ว์ ทดลองตายรอ้ ยละ 50 (หนว่ ย ppm หรอื mg/m3) Mass Explosion การระเบดิ ซ่งึ กระทบต่อมวลสารระเบดิ เกือบ การระเบิดอยา่ งรุนแรง ท้งั หมด เกือบจะทันทที ันใด MAWP ค่าความดันในการท�ำงานสูงสุดที่อนุญาต (Maximum Alowable Working Pressure) คอื ความดันภายในถังสูงสุดที่ถังสามารถทนได้ใน ระหวา่ งการท�ำงานในภาวะปกติ mg/m3 มิลลิกรมั ของสารตอ่ อากาศ 1 ลกู บาศก์เมตร Miscible ในคูม่ อื เล่มนี้ หมายถงึ วัตถุทีผ่ สมกับน�้ำได้ง่าย ผสมกับน้�ำไดง้ ่าย 394
mL/m3 วตั ถอุ นั ตราย 1 มลิ ลเิ มตรตอ่ อากาศ 1 ลูกบาศก์เมตร (1 mL/m3 เท่ากบั 1 ppm) Mutagen สารทก่ี ่อให้เกดิ หรอื เพม่ิ การกลายพนั ธ์ขุ องเซลล์ สารก่อการกลายพนั ธ ์ุ และ / หรือสิ่งมชี ีวิต การกลายพนั ธ์ุ หมายถงึ การเปลย่ี นแปลงจ�ำ นวนหรอื โครงสรา้ งของยนี ในระดบั เซลลอ์ ยา่ งถาวร Narcotic สารกดระบบประสาทส่วนกลางมีผลให้เกิด ยานอนหลับ อาการ เชน่ เซ่ืองซมึ ง่วงนอน ลดความตืน่ ตัว การสญู เสยี การตอบสนองและอาการเวยี นศรี ษะ รวมทั้งอาการปวดศีรษะรุนแรงหรือคลื่นไส้ และอาจนำ�ไปสูก่ ารตัดสินใจท่ชี า้ ลงเวยี นศีรษะ หงดุ หงดิ ออ่ นเพลยี ความจ�ำ บกพรอ่ ง ขาดการรบั รู้ ลดการตอบสนอง และมอี าการง่วงนอน Nerve agents สารทร่ี บกวนการท�ำงานของระบบประสาท สารท่ีท�ำลายระบบประสาท สว่ นกลางโดยรับสารจากการสัมผสั กบั ของเหลว (ผา่ นผวิ หนงั และตา) เปน็ หลกั และจากการหายใจเอาไอสารเขา้ ไปเป็นรอง สารกล่มุ นี้ได้แก่ Tabun (GA) Sarin (GB) Soma(GD) และ VX อาการ : เจบ็ รมู า่ นตา (pinpoint pupils) ปวดหัวอยา่ งรุนแรง แนน่ หนา้ อกอยา่ งรนุ แรง หายใจล�ำบาก (dyspnea) น้ำ� มกู ไหล ไอ น�้ำลายฟูมปาก ไมร่ ้สู ึกตวั เป็นลมชกั 395
n.o.s ยอ่ มาจาก “Not otherwise specified” ทไ่ี มไ่ ดร้ ะบุไว้เปน็ อยา่ งอน่ื รายชื่อวัตถอุ ันตรายทม่ี ตี ัวอกั ษรนี้เปน็ การระบุ ชอ่ื แบบไมเ่ จาะจง เชน่ “Corrosive liquid, n.o.s” หมายความวา่ ช่ือทางเคมีของของเหลวทมี่ ี ฤทธกิ์ ัดกร่อนไมม่ รี ะบุไว้ในข้อก�ำหนด ดงั น้นั จะตอ้ งใช้ชอ่ื แบบไมเ่ จาะจงในเอกสารก�ำกบั การขนส่ง Noxious ในค่มู อื เล่มนี้ หมายถึงวสั ดุท่ีอาจเป็น เป็นอันตราย อันตรายหรอื ท�ำใหส้ ุขภาพเสยี หายหรอื ท�ำให้รา่ งกายบาดเจ็บ Oxidizer สารเคมีท่สี ามารถให้ออกซิเจน และชว่ ยท�ำ สารออกซไิ ดส ์ ใหว้ ัสดตุ ดิ ไฟอืน่ ลุกไหม้ได้ง่ายขึน้ P ดรู ายละเอยี ด “การเกดิ พอลเิ มอร์ (Polymerization)” Packing Group กลมุ่ บรรจภุ ณั ฑ์ (PG) ถกู ก�ำหนดขนึ้ ตามระดบั กลุ่มบรรจภุ ณั ฑ ์ ความเป็นอันตรายของวตั ถอุ นั ตราย: PG | : อนั ตรายมาก (Great danger) PG || : อนั ตรายปานกลาง (Medium danger) PG ||| : อันตรายนอ้ ย (Minor danger) PG ดรู ายละเอยี ด “กลมุ่ บรรจภุ ณั ฑ์ (Packing Group)” pH 396 pH เป็นค่าที่แสดงความเปน็ กรดหรือด่าง
คา่ pH สารละลายนำ�้ น�ำ้ บรสิ ุทธิม์ คี ่า pH = 7 คา่ pH ทต่ี ำ�่ กวา่ 7 หมายถงึ สารละลายทเี่ ปน็ กรด (คา่ pH = 1 ถอื เป็นกรดแก)่ คา่ pH สงู กวา่ 7 หมายถึง สารละลายทีเ่ ป็นดา่ ง (คา่ pH = 14 ถือเปน็ ด่างแก่) โดยทว่ั ไปกรดและดา่ ง (เบส) ถือวา่ เปน็ วัสดุทม่ี ฤี ทธ์กิ ัดกรอ่ น PIH เปน็ ศพั ทท์ แ่ี สดงวา่ กา๊ ซและของเหลวระเหยงา่ ย (Poison Inhalation Hazard) (Volatile liquid) ดังกลา่ วมีความเป็นพิษ เมอ่ื หายใจเขา้ ไป (เหมอื นกับ TIH) Polar (ดู “Miscible : ผสมกับน้�ำได้ง่าย”) ประจุ ปฏิกิริยาเคมีที่คายความร้อนและความดัน Polymerization เมื่อเริ่มเกิดปฏิกิริยาจะถูกเร่งด้วยความร้อน ปฏกิ ิรยิ าโพลิเมอรไ์ รซ ์ ที่เกิดขึ้น การสะสมความร้อนและความดันที่ ควบคุมไม่ได้อาจทำ�ให้เกิดเพลิงไหม้หรือ การระเบดิ หรือ ภาชนะแตกออกได้ ตวั อกั ษร “P” ทต่ี ามหลงั หมายเลขหมวดค�ำ แนะน�ำ ในคมู่ อื แถบสีเหลืองและแถบสีฟ้าจะบ่งช้ีว่าสารน้ัน อาจเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าโพลเิ มอรไ์ รซอ์ ยา่ งรนุ แรงภายใต้ อุณหภูมิสูงหรือมีการปนเป้อื นกับผลิตภัณฑ์อ่นื นอกจากน้ี ยงั ใชใ้ นการบง่ ชส้ี ารทม่ี โี อกาสในการ เ กิ ด ป ฏิ กิ ริ ย า สู ง ใ น ก ร ณี ท่ี ไ ม่ มี ส า ร ยั บ ย้ั ง เนอ่ื งจากอบุ ตั เิ หตทุ ีท่ �ำ ให้ตัวยบั ยั้งลดลง 397
ppm 1 ส่วนในล้านส่วน (1 ppm เท่ากบั 1mL/m3 Protective Clothing ประกอบด้วยการปกป้องระบบทางเดินหายใจ ชดุ ป้องกัน และรา่ งกายท้งั หมดไม่มใี ครสามารถก�ำหนด ระดบั การปกป้องของชุดปอ้ งกันภัยและ อุปกรณ์ปอ้ งกันระบบทางเดนิ หายใจ แยกจากกนั ได้ ระดับการปกป้องเหล่านี้ ได้รับการก�ำหนดและยอมรับโดยองค์การ ตอบโต้เหตุฉกุ เฉนิ ได้แก่ U.S. Coast Guard, NIOSH และ U.S.EPA ระดับ A : เครือ่ งช่วยหายใจชนดิ มีถงั อากาศ ในตัว (SCBA) กับชดุ ป้องกันสารเคมีชนิด ปดิ คลุมท้ังตัว (ปอ้ งกันการซึมผ่าน) ระดบั B : เครือ่ งช่วยหายใจชนิดมถี งั อากาศ ในตัว (SCBA) กบั ชุดป้องกนั สารเคมีชนดิ ท่ี มีท่ีคลุมศรี ษะ (ชุดปอ้ งกนั การกระเซ็น) ระดับ C : เครอื่ งชว่ ยหายใจแบบเต็มหน้าหรือ ครึง่ หน้ากบั ชดุ ป้องกันสารเคมชี นดิ ที่มี ท่คี ลุมศีรษะ (ชุดปอ้ งกันการกระเซ็น) ระดบั D : ชุดป้องกันแบบคลมุ ทั้งตัวแต่ ไม่มเี ครอ่ื งปอ้ งกันระบบทางเดินหายใจ Pyrophoric วัสดซุ ึง่ สามารถตดิ ไฟได้เองเม่ือสัมผัสกับ สารท่ีสามารถลุกติดไฟได้เอง อากาศ ในอากาศ 398
Radiation Authority ดังท่อี า้ งถงึ ใน หมวดค�ำแนะน�ำ (Guide) หนว่ ยงาน/พนกั งานเจ้าหน้าที ่ ที่ 161 ถึง 166 ส�ำหรบั วัสดกุ ัมมันตรงั สี รบั ผดิ ชอบทางรังสี (Radiation Authority) เป็นหนว่ ยงานในระดับ ประเทศ/จงั หวัด/ท้องถิ่น หรอื พนกั งาน เจา้ หนา้ ที่ ทีไ่ ด้รับมอบหมายจากหน่วยงาน จงั หวดั /ทอ้ งถิน่ ซง่ึ มีหนา้ ที่รบั ผดิ ชอบในการ ประเมนิ สภาพความเปน็ อนั ตรายของรงั สี ทง้ั ระหวา่ งสถานการณป์ กตแิ ละขณะเกดิ เหตฉุ กุ เฉนิ หากผู้ตอบโต้เหตฉุ ุกเฉนิ ไม่ทราบช่ือหรือ หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อของหน่วยงาน หรอื ชอื่ หรือหมายเลขโทรศพั ทน์ ้ไี มไ่ ด้ รวมอยูใ่ นแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉนิ ของท้องถ่ิน ขอ้ มูลทเ่ี กี่ยวขอ้ งสามารถหาไดจ้ ากรายชื่อ หนว่ ยงานทีร่ ะบุไวด้ ้านในของปกหลังของค่มู ือ น้ี ซึ่งจะมีการปรับปรุงรายชือ่ หน่วยงาน ให้ทนั สมยั อยเู่ สมอ Radioactivity คณุ สมบตั ขิ องสารบางชนดิ ซง่ึ สามารถปลดปลอ่ ยรงั สี กัมมันตรงั สี ทไี่ มส่ ามารถมองเหน็ ไดแ้ ละเปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ Refrigerated liquid ดู “Cryogenic liquid” : ของเหลวอณุ หภมู ติ ำ่� มาก Respiratory sensitizer สารทกี่ ่อใหเ้ กดิ อาการแพเ้ ม่อื สูดดม อาการแพ้เก่ยี วกับระบบ ทางเดนิ หายใจ 399
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409