Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore องค์ประกอบของดนตรีในสังคมและวัฒนธรรม

องค์ประกอบของดนตรีในสังคมและวัฒนธรรม

Published by pie.pimlapas, 2020-01-26 20:06:32

Description: สื่อประกอบการสอน_เรื่อง__องค์ประกอบของดนตรี_ในสังคมและวัฒนธรรม

Search

Read the Text Version

รายวชิ า ดนตรี เร่ือง องค์ประกอบของดนตรี ในสังคมและวฒั นธรรม รหัสวชิ า ศ21103 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 ผู้สอน ครูนนั ทวัน ทองทพิ ย์

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 มี 4 เร่ือง องค์ประกอบของดนตรี ดนตรีสังคมและ ปจั จยั ในการสรา้ งสรรค์ จากแหลง่ วฒั นธรรมตา่ ง ๆ วฒั นธรรม บทเพลง อาชพี และบทบาทของดนตรี การบรรยายอารมณ์ และความร้สู กึ ในบทเพลง 2

ชว่ั โมงท่ี 1 องคป์ ระกอบของดนตรใี นสังคมและวัฒนธรรม 3

นกั เรยี นคิดวา่ องค์ประกอบของดนตรี ในภาพนี้คอื อะไร แนวคาตอบ: เสยี งท่เี กดิ จากการเป่าป่ใี นทีม่ รี ะดับ เสียงสงู และยาว

1. องคป์ ระกอบของดนตรจี ากแหลง่ วฒั นธรรมต่าง ๆ รูปแบบหรือ เสียง คตี ลกั ษณ์ จงั หวะ สีสันของ องค์ประกอบ เสียง ของดนตรีไทย ทานอง พืน้ ผวิ ของ เสียง ดนตรี ประสาน 5

องค์ประกอบของดนตรีไทย เสียง เกดิ จากการดดี สี ตี เป่ า และขบั ร้อง หรือ วธิ ีการอ่ืน ๆ

ขล่ยุ เป็ นเคร่ืองดนตรีทม่ี รี ะดบั เสียงสูง ระนาดทุ้มเป็นเคร่ืองดนตรีท่มี รี ะดบั เสยี งทุ้มตา่ องคป์ ระกอบของดนตรไี ทย ระดับเสียง หมายถงึ ระดับความสูง–ตา่ ของเสยี ง สังเกตได้จากเสียงของเครอ่ื งดนตรที ม่ี ี เสียงสงู แหลม หรอื เสียงของเคร่ือง-ดนตรที ม่ี เี สียงทุม้ ตา่

บูรณาการอาเซียน เคร่ืองดนตรีท่ีเรียกว่า “Dizi”เป็นเครื่องดนตรีของประเทศ สิงคโปร์ทีร่ บั วัฒนธรรมมาจากประเทศจีน เป็นเคร่ืองดนตรีท่ีมีระดับเสียงสูง และสดใสคล้ายกับ เสียงนกรอ้ งในยามเช้า

การลากคนั ชักยาว ๆ ในการสีซออู้ การกรอระนาดเอกให้เสียงรัวตดิ ต่อกนั องคป์ ระกอบของดนตรีไทย ความส้ัน–ยาวของเสียง หมายถงึ ระยะของเสียงแต่ละเสียงท่ีมีการบรรเลงในแต่ละคร้งั สามารถสังเกตได้จากลลี าการกรอระนาดเอก การสีซอท่มี ลี ักษณะการลากคนั ชักยาว ๆ หรือการร้องเอ้ือนเสยี ง

บรู ณาการอาเซียน ประเทศกัมพชู ามีเคร่ืองดนตรีทที่ า่ มาจาก กะลามะพรา้ วปลายข้างหน่งึ ขึงดว้ ยหนังสัตว์ สายทัง้ สามทา่ มาจากเสน้ ไหม และมวี ธิ กี าร บรรเลงคล้ายกับซอของประเทศไทยเรียกว่า “ซอตรวั ”

ความเขม้ ของเสยี ง หมายถงึ นา่้ หนักหรอื ความดงั –เบาของเสยี งดนตรที ่ี บรรเลงออกมา คุณภาพของเสยี ง หมายถึง สสี ันของเสยี งที่เกดิ จากแหล่งกา่ เนิดเสยี งที่ แตกตา่ งกนั ไม่ว่าจะเปน็ วธิ กี ารบรรเลง วัสดุทใ่ี ชท้ ่าเครื่องดนตรี หรอื ขนาดและ รปู ทรงของเครอ่ื งดนตรที ตี่ ่างกนั เปน็ ต้น ซึ่งปัจจัยตา่ ง ๆ เหลา่ น้ีสามารถ ก่อใหเ้ กดิ ลักษณะของคุณภาพของเสยี งได้ 11

จงั หวะ การแบ่งส่วนของท่านองเพลงท่ดี ่าเนนิ ไปอยา่ งสม่าเสมอ ออกเป็นสว่ นเท่า ๆ กนั จงั หวะภายใน เป็นจังหวะทเ่ี กือ้ หนุนและแฝงอยู่ในลลี าทา่ นอง ได้แก่ ความชา้ –เร็ว และลีลาจงั หวะ

จังหวะหนา้ ทับ จงั หวะฉิง่ จงั หวะภายนอก จังหวะภายนอก เป็นจังหวะทีเ่ สริมเพ่ิมเติมจากภายนอก ทา่ ให้ลีลาทา่ นองมสี สี นั มาก ข้ึน ได้แก่ จงั หวะหนา้ ทับและจงั หวะฉิ่ง

นกั เรยี นคดิ วา่ องคป์ ระกอบดา้ นจงั หวะ ในภาพนีเ้ กิดจากอะไร แนวคาตอบ: เกิดจากการตีกลองแขก ที่มคี วามช้า–เรว็ ของจงั หวะ

ทานอง เสยี งสูง ๆ ตา่ ๆ เรียงสลับกนั ไป ท่านองเพลงไทยเกิดจากการน่าเอาเสยี ง ต่าง ๆ ที่เกิดจากการบรรเลงเครอ่ื งดนตรีไทยมาเรียบเรยี งเข้าด้วยกัน

ทานองหลักหรอื ลกู ฆ้อง (basic melody) ท่านองหลักหรือลกู ฆอ้ ง (basic melody) หมายถงึ ท่านองทเ่ี ปน็ เนื้อแท้ จริง ๆ ของเพลงไทย ท่ีเรียกว่าลูกฆ้องเพราะยึดลีลาของท่านองฆ้องวงใหญ่ เปน็ หลัก ท่านองทเ่ี ปน็ เน้ือแทจ้ ริง ๆ ของเพลงไทย จะยดึ ลลี าของทา่ นองฆอ้ งวงใหญ่เป็นหลกั

บรู ณาการอาเซียน ประเทศบรไู นดารสุ ซาลามมเี ครอื่ งดนตรีท่ีประกอบไปดว้ ยลูกฆ้อง 7 ลูกวางเรียงกนั เพือ่ ใช้ บรรเลงเปน็ ท่านองหลกั รว่ มกับเครอ่ื งสายในงานเทศกาลพเิ ศษตา่ ง ๆ เครื่องดนตรีชิ้นน้นั มชี ่อื เรียกวา่ อะไร แนวคาตอบ: กุลิงตังกนั

ทานองตบแตง่ หรือแปรทานอง ทานองตบแต่งหรอื แปรทานอง หมายถงึ ท่านองทีเ่ กิดจากการประดษิ ฐ์ ท่านองตามลักษณะเฉพาะของเครื่องดนตรชี นิดนนั้ ๆ หรือแม้แตก่ ารขับร้อง เพื่อให้เกิดความไพเราะมากข้นึ

นกั เรียนคดิ ว่าองค์ประกอบดา้ นทานอง ในภาพน้เี กิดจากอะไร แนวคาตอบ: เกิดจากการตฆี อ้ งวงใหญ่ท่เี ปน็ ทานองหลัก

เสยี งประสาน ระดับเสียงตัง้ แตส่ องเสียงขึ้นไปทรี่ ้องหรอื เลน่ ในขณะเดียวกัน ลักษณะของ การประสานเสยี งมอี ยดู่ ว้ ยกนั หลายลักษณะ ในดนตรีไทยมีลกั ษณะการประสาน เสยี งในแนวนอนเรียกว่า “heterophony” ซึง่ เกิดจากการแปรทางจากทา่ นองหลกั การประสานเสียงระหวา่ งเครอ่ื งดนตรตี ่างชนิดกนั การบรรเลงดนตรีดว้ ยเครอื่ ง ดนตรตี า่ งชนิดกนั เสยี งท่ีออกมาย่อมไมเ่ หมือนกนั เช่น การบรรเลงเครอ่ื งดนตรี ในวงดนตรไี ทยแตล่ ะชนดิ เป็นตน้

การประสานเสียงในเคร่อื งดนตรชี นดิ เดยี ว การประสานเสียงในเคร่ืองดนตรีชนิดเดียว เครื่องดนตรีบางชนิดสามารถ บรรเลง 2 เสยี งพรอ้ มกันได้ เชน่ การใช้มอื ทงั้ 2 ตลี งไป 2 เสยี งพรอ้ มกนั บนระนาดหรือฆอ้ งวง จะเกดิ เป็นเสยี งประสานคู่ต่าง ๆ การประสานเสียงในเครื่องดนตรชี นิดเดียว

การประสานเสยี งโดยการประดิษฐ์ทาง การประสานเสียงโดยการประดิษฐ์ทาง ในการบรรเลงดนตรีไทย ซง่ึ อาจ จะบรรเลงโดยระนาดเอก ระนาดทุม้ จะเข้ ขล่ยุ เปน็ ต้น ตา่ งมอี สิ ระในการ ประดิษฐก์ ารบรรเลงของตนเองแต่จะตอ้ งอยใู่ นกรอบของท่านองหลกั (ลูกฆ้อง) รว่ มกัน เมอ่ื บรรเลงพร้อม ๆ กนั เสยี งก็จะประสานสอดแทรกกนั ดว้ ยความ กลมกลนื ท่าให้ฟังไพเราะ ถือเปน็ ตวั อยา่ งการประสานเสยี งแบบไทย และเป็นเอกลักษณ์ของ การบรรเลงดนตรีไทยมาแต่เดิม

นกั เรียนคดิ วา่ องคป์ ระกอบด้านเสียงประสาน ในภาพนเ้ี กิดจากอะไร แนวคาตอบ: เกิดจากการตฆี อ้ งวงใหญ่ทเี่ ปน็ ทานอง หลัก

พ้นื ผวิ ของดนตรี เสยี งทีเ่ กดิ จากแนวทา่ นองหลายแนวมาผสมกนั ซึ่งมที ง้ั ท่านองในแนวตง้ั และ แนวนอน พื้นผวิ แบบทานองเดียว (monophony) ลกั ษณะของดนตรที ่ีมที ่านองเดยี ว ไมม่ ีเสียงประสาน เช่น การขับรอ้ งเพลงไทย การเด่ียวป่ี การเดีย่ วซอ เป็นตน้

พ้นื ผิวแบบทานองสอดประสาน (polyphony) ลักษณะของดนตรีท่ีมี ทา่ นองหลายแนวทา่ นองเขา้ ด้วยกัน น่ามารอ้ งหรือบรรเลงพรอ้ มกัน เพอ่ื ให้ เกิดเสยี งประสานของแนวทา่ นองเพิ่มความไพเราะให้กับบทเพลงยงิ่ ขน้ึ พนื้ ผิวแบบแปรทานอง (heterophony) ลกั ษณะของดนตรีที่มีการ ผสมผสานหลากหลายแนวท่านอง เชน่ การบรรเลงดนตรีไทยโดยระนาดเอก ระนาดทมุ้ ขลยุ่ แต่ละเครอ่ื งดนตรีสามารถตบแต่งท่านองหรือประดษิ ฐท์ าง ต่าง ๆ โดยยึดทา่ นองหลกั เขา้ ดว้ ยกัน

สีสนั ของเสียง คณุ ลักษณะของเสียงทแี่ ตกต่างกนั ซง่ึ เกดิ จากปจั จัยหลายประการ วิธีการบรรเลง หมายถึง วธิ ีการทา่ ให้เคร่ืองดนตรีแต่ละชนิดเกดิ เสยี งขึ้น เช่น การตี การเปา่ การดดี การสี หรอื วิธกี ารอนื่ ๆ

วัสดทุ ี่ใชท้ าเครื่องดนตรี หมายถึง ส่ิงท่ีน่ามาท่าเคร่อื งดนตรชี นิดตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ วัสดทุ ีม่ าจากธรรมชาติ หรือวสั ดทุ ี่มนษุ ยส์ งั เคราะหข์ น้ึ ขนาดและรูปทรง หมายถึง ความสั้น–ยาว เลก็ –ใหญ่ บาง–หนา เบา–หนัก ตงึ –หย่อน แข็ง–นม่ิ เป็นต้น ซึง่ ขนาด รูปทรง และลกั ษณะ ต่าง ๆ เหลา่ น้ี สามารถส่งผลต่อการเกดิ ลกั ษณะของเสยี งที่แตกตา่ งกันได้

นกั เรียนคดิ วา่ องค์ประกอบด้านสสี ันของเสียง ในภาพนีเ้ กิดจากอะไร แนวคาตอบ: เกดิ จากวิธีการทาใหเ้ คร่ือง ดนตรีแต่ละชนดิ เกิดเสยี งขึ้น ทัง้ การดดี การตี และการเปา่

รูปแบบหรือคตี ลักษณ์ ลักษณะรูปแบบหรอื ลกั ษณะโครงสร้างของเพลงไทยซ่งึ มรี ปู แบบใหญ่ ๆ ดงั น้ี รูปแบบของเพลง เช่น ท่อนเพลง อัตราจังหวะ เป็นต้น รูปแบบของเพลงแบ่ง ออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ • เพลงประเภท 3 ชน้ั • เพลงประเภท 2 ชัน้ • เพลงประเภทช้ันเดียว

ลลี าของเพลง ลีลาของเพลง หมายถึง การสร้างสรรค์เพลงออกมาให้มีรูปแบบของลีลาเพลงท่ี ตา่ งกันออกไป เชน่ • เพลงลกู ล้อลูกขัด • เพลงทางพ้ืน • เพลงทางกรอ • การเดยี่ วเพลง เปน็ ตน้ การกรอระนาด

นกั เรยี นคิดว่าองค์ประกอบด้านรูปแบบหรือคีต ลกั ษณใ์ นภาพนีเ้ กดิ จากอะไร แนวคาตอบ: เกดิ จากลีลาการกรอระนาด

นกั เรียนคิดว่าเครื่องดนตรใี นภาพเกดิ เสยี งได้โดยวิธกี ารใด การเป่า การสี การตี

การมอบหมายงาน ให้นกั เรยี นศึกษาองค์ประกอบของดนตรีสากลจากบทเพลงทน่ี กั เรียน ชืน่ ชอบหรอื จากอนิ เทอร์เนต็ เวบ็ ไซต์ตา่ ง ๆ เช่น www.youtube.com โดยบนั ทึกขอ้ มูลลงในแบบบนั ทกึ ขอ้ มลู การมอบหมายงาน แลว้ นา่ มา อภิปรายให้เพอื่ น ๆ ฟังในชน้ั เรียน 33


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook