Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 13E3ACE3-BFDE-4F49-8EBD-159F62B7BC71

13E3ACE3-BFDE-4F49-8EBD-159F62B7BC71

Published by kunyanut1579, 2021-12-11 09:11:45

Description: 13E3ACE3-BFDE-4F49-8EBD-159F62B7BC71

Search

Read the Text Version

ม4/6 ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ า ง ว ร ร ณ ค ดี กั บ ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ไ ท ย กั ญ ณั ฏ ฐ์ 6

ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดี กับสถาปัตยกรรมไทย ความหมายของ สถาปัตยกรรมไทย หมายถึง ศิลปะการก่อสร้างของไทย เช่น อาคาร บ้านเรือน วัดโบสถ์วิหาร เเละสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ เเละเเต่ละท้องถิ่น จะมีความเเตกต่างกันไปบ้าง ตามสภาพภูมิ อากาศ เเต่สิ่งต่อสร้างในเรื่องของ ศาสนาพุทธจะมีความเหมือนกัน เนื่องจาก มีความเชื่อเเละความศรัทธาที่เหมือนกัน เเละสถาปัตยกรรมที่นิยมใช้ในการศึกษา มักจะเป็นโบสถ์วัด วิหารหรือพระราชวัง เนื่องจาก ได้รับการสร้างจาก ผู้เชี่ยวชาญ เเละะมีวามสำคัญ ควรคู่ที่จะทำการศึกษา

สถาปัตยกรรมไทย สามารถเเบ่งได้ 2 ประเภท คือ ๑ สถาปัตยกรรมที่ใช้เป็นที่อยู่อาศัย เช่น บ้านเรือน วัง เเละพระราชวัง บ้านเรืออนที่เป็นที่อยู่อาศัยของผู้คน มีทั้งบ้านที่ทำมาจากไม้ ปูน ส่นนเรือนไม้ มีด้วยกัน2 ชนิด คือ เรือนเครื่องผูก เป็นเรือนไม้ไผ่ หลังคามุงด้วย ใบ หญ้าคา หรือ ใบไม้ อีกอย่างหนึ่งเรียกว่า “เรือนเครื่อง สับ ” เป็นไม้ทั้งเนื้ออ่อนเเละเเข็ง หลังคามุงด้วย กระเบื้องดินเผา ๒ สถาปัตยกรรมที่เกี่ยวข้องกกับศาสนา ส่วนใหญ่อยู่บริเวณวัด ประกอบด้วยสถาปัตยกรรม หลายรูปเเบบ เช่นโบสถ์ กุฎิ หอระฆัง เเละหอกลอง เเบ่งได้ ๔ ประเภทคือ ๑ ธาตุเจดีย์ หมายถึง พระบรมธาตุ ๒ ธรรมเจดีย์ หมายถึง พระธรรมพระวินัย ๓ บริโภคเจดีย์ หมายถึง สิ่งของเครื่องใช้ของ พระพุทธเจ้า หรือ พระภิกษุสงฆ์ ๔ อุเทสิกเจดีย์ หมายึง สิ่งก่อสร้างที่เป็นที่ระลึกถึง พระพุทธเจ้า เช่น พระพุทธเจ้า สถูปเจดีย์ ธรรมจักร เรือนเครื่องสับ

ความสัมพันธ์ของวรรณคดี กับสถาปัตยกรรมไทย ตำนานวรรณคดีไทยสู่สถาปัตยกรรม สมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยรัชกาล ที่ ๒ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ได้รับยกย่องให้เป็น กษัตริย์นักประพันธ์ผู้ทำให้ช่วงเวลานั้นเป็นยุค ทองของวรรณคดีไทยเมื่อว่างเว้นจากการ สงครามพระองค์จะทรงทำนุบำรุงประเทศชาติใน ด้านศิลปะวรรณคดีและสถาปัตยกรรมดังเป็นที่ ปรากฏว่าวรรณคดีในสมัยของพระองค์รุ่งเรือง ถึงขีดสุดด้านพระปรีชาสามารถพระองค์ทรงมี พระอัจฉริยภาพด้านต่างๆโดยเฉพาะด้าน วรรณศิลป์วรรณคดีในสมัยของพระองค์ถือเป็น แบบฉบับอันยอดเยี่ยมไม่ว่าจะเป็นคำกลอนละคร นอกละครในเสภานิราศกาพย์ฉันท์ลิลิตโครงสี่ สุภาพอาทิบทละครเรื่องอิเหนาเสภาเรื่องขุนช้าง ขุนแผนบทพากย์โขนบทละครเรื่องไชยเชษฐ์สังข์ ทองคาวีไกรทองมณีพิชัยด้านศิลปกรรมพระองค์ ทรงดำเนินการปฏิสังขรณ์วัดอรุณราชวราราม ทรงปั้ นหุ่นพระพักตร์พระพุทธรูปพระประธาน ด้วยฝีพระหัตถ์ของพระองค์เองหรือทรงแกะสลัก บานประตูบาทกลางพระวิหารวัดสุทัศนเทพวรา รามเป็นลายสลักซับซ้อน

วิธีการอนุรักษ์ สืบสาน และเผยแพร่ ๑ การอนุรักษ์ โดยการปลุกจิตสำนึกให้คนในท้อง ถิ่นตระหนักถึงคุณค่าแก่นสาระและความสำคัญของ วรรคดี เเละภูมิปัญญาท้องถิ่น ๒ การฟื้ นฟู โดยการเลือกสรรภูมิปัญญาที่กำลัง สูญหาย หรือที่สูญหายไปแล้วมาทำให้มีคุณค่าและมี ความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตในท้องถิ่น ๓ การพัฒนา ควรริเริ่มสร้างสรรค์และปรับปรุง ภูมิปัญญาให้เหมาะสมกับยุคสมัยและเกิดประโยชน์ใน การดำเนินชีวิตประจำวัน ๔ การถ่ายทอด โดยการนำภูมิปัญญาที่ผ่านมา เลือกสรรกลั่นกรองด้วยเหตุและผลอย่างรอบคอบ และรอบด้าน แล้วไปถ่ายทอดให้คนในสังคมได้รับรู้ เกิดความเข้าใจ ตระหนักในคุณค่า คุณประโยชน์และ ปฎิบัติได้อย่างเหมาะสม ๕ ส่งเสริมกิจกรรม โดยการส่งเสริมและสนับสนุน ให้เกิดเครือข่ายการสืบสานและพัฒนาภูมิปัญญาของ ชุมชนต่างๆ เพื่อจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรมและ ภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง ๖ การเผยแพร่แลกเปลี่ยน โดยการส่งเสริมและ สนับสนุนให้เกิดการเผยแพร่และแลกเปลี่ยน ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมอย่างกว้างขวาง โดยให้มี การเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นต่างๆ ด้วยสื่อและวิธี การต่างๆ อย่างกว้างขวาง รวมทั้งกับประเทศอื่นๆ ทั่วโลก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook