Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 33 ผักสวนครัวรั้วกินได้ นางกาญจนา สุครีพ

33 ผักสวนครัวรั้วกินได้ นางกาญจนา สุครีพ

Published by artaaa143, 2019-05-09 08:27:01

Description: 33 ผักสวนครัวรั้วกินได้ นางกาญจนา สุครีพ

Search

Read the Text Version

ภมู ิปัญญาศึกษา เร่อื ง การปลูกผกั สวนครัวรว้ั กนิ ได้ โดย 1. นางกาญจนา สุครีพ (ผูถ้ า่ ยทอดภูมปิ ญั ญา) 2. นางสาวนวลจนั ทร์ คาสี (ผ้เู รยี บเรียงภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น) เอกสารภมู ิปญั ญาศกึ ษาน้ีเปน็ ส่วนหนง่ึ ของการศกึ ษา ตามหลกั สูตรโรงเรียนผู้สงู อายเุ ทศบาลเมืองวังนา้ เยน็ ประจาปกี ารศึกษา 2561 โรงเรียนผ้สู งู อายุเทศบาลเมอื งวังน้าเยน็ สังกดั เทศบาลเมอื งวังน้าเยน็ จงั หวดั สระแก้ว

คานา ภมู ิปญ๎ ญาท๎องถนิ่ หรอื เรยี กชอ่ื อกี อยํางหนึง่ วาํ ภูมปิ ๎ญญาชาวบา๎ น คือองคค์ วามรท๎ู ช่ี าวบ๎านได๎ สั่งสมจากประสบการณ์จริงท่ีเกิดข้ึนหรือจากบรรพบุรุษท่ีได๎ถํายทอดสืบกันมาตั้งแตํในอดีตมาจนถึงป๎จจุบัน เพอื่ นามาใชแ๎ กป๎ ญ๎ หาในชีวิตประจาวัน การทามาหากิน การประกอบการงานเล้ียงชีพ หรือกิจกรรมอ่ืนๆ เป็น การผํอนคลายจากการทางาน หรือการย๎ายถ่ินฐานเพื่อมาต้ังถ่ินฐานใหมํแล๎วคิดค๎นหรือค๎นหาวิธีการดังกลําว เพือ่ การแก๎ป๎ญหา โดยสภาพพ้ืนท่ีน้ัน ชุมชนวังน้าเย็นแหํงนี้ เกิดขึ้นเมื่อราว ๆ 50 ปีท่ีผํานมา จากการอพยพ ถิ่นฐานของผ๎ูคนมาจากทุกๆ ภาคของประเทศไทย แล๎วมากํอต้ังเป็นชุมชนวังน้าเย็น ซ่ึงบางคนได๎นาองค์ ความรูม๎ าจากถ่นิ ฐานเดิมแล๎วมีการสบื ทอดสืบสานมาจนถึงป๎จจุบัน เชํนเดียวกับ การปลูกผักสวนครัวร้ัวกินได๎ โดย นางกาญจนา สุครีพ ได๎รวบรวมเรียบเรียงถํายทอดประสบการณ์ให๎คนรุํนหลังได๎สืบค๎น หรือค๎นคว๎าเป็น ภูมปิ ญ๎ ญาศึกษา ของเทศบาลเมืองเมืองวงั น้าเย็น จงั หวดั สระแก๎ว ผ๎ูศึกษาขอขอบพระคุณ นายวันชัย นารีรักษ์ นายกเทศมนตรีเมืองวังน้าเย็น และนายคนองพล เพ็ชรรื่น ปลัดเทศบาลเมืองวังน้าเย็น คณะกรรมการโรงเรียนผู๎สูงอายุ กองสวัสดิการ กองสาธารณสุขและส่ิงแวดล๎อม เทศบาลเมืองวังน้าเย็น โรงเรียนมิตรสัมพันธ์วิทยา โรงเรียนอนุบาลเทศบาลเมืองวังน้าเย็น หนํวยงานอ่ืนๆที่ เก่ียวข๎อง และขอขอบพระคุณ นางสาวนวลจันทร์ คาสี ท่ีได๎เป็นที่ปรึกษาดูแลรับผิดชอบด๎านงานธุรการ บันทึกเรื่องราวและจัดทารูปเลํมท่ีสมบูรณ์ครบถ๎วนความร๎ูอันใดหรือกุศลอันใดที่เกิดจากการรํวมมือรํวมแรง รํวมใจรํวมพลังจนเกิดมีภูมิป๎ญญาศึกษาฉบับนี้ ขอกุศลผลบุญนั้นจงเกิดมีแกํผ๎ูเกี่ยวข๎องดังที่กลําวมาทุกๆทําน เพ่ือสรา๎ งสงั คมแหํงการเรยี นตํอไป กาญจนา สคุ รพี นวลจันทร์ คาสี ผ๎ูจาทา

ทีม่ าและความสาคัญของภูมิปัญญาศึกษา จากพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทวี่ ํา “ประชาชนนนั่ แหละ ท่ีเขามคี วามรู๎เขาทางานมาหลายชัว่ อายคุ น เขาทากันอยาํ งไรเขามคี วามเฉลยี วฉลาด เขารู๎วาํ ตรงไหน ควรทากสิกรรมเขารู๎วําตรงไหนควรเก็บรักษาไว๎แตํท่ีเสียไปเพราะพวกไมํรู๎เรื่องไมํได๎ทามานานแล๎วทาให๎ลืมวํา ชีวิตมันเป็นไปโดยการกระทาท่ีถูกต๎องหรือไมํ” พระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอ ดลุ ยเดชทสี่ ะทอ๎ นถงึ พระปรชี าสามารถในการรบั รู๎และความเขา๎ ใจหย่ังลึกท่ที รงเห็นคุณคาํ ของ ภมู ิป๎ญญาไทยอยาํ งแทจ๎ รงิ พระองค์ทรงตระหนักเป็นอยํางยิ่งวํา ภมู ิป๎ญญาทอ๎ งถ่ินเปน็ ส่ิงท่ีชาวบา๎ น มอี ยูแํ ลว๎ ใช๎ประโยชนเ์ พอ่ื ความอยูรํ อดกันมายาวนาน ความสาคัญของภูมิป๎ญญาท๎องถ่ินซ่ึงความรู๎ท่ีส่ังสมจาก การปฏบิ ัตจิ รงิ ในห๎องทดลองทางสงั คมเปน็ ความรูด๎ ั้งเดิมทีถ่ กู คน๎ พบ มกี ารทดลองใช๎แก๎ไขดัดแปลงจนเป็นองค์ ความรู๎ท่ีสามารถแก๎ป๎ญหาในการดาเนินชีวิตและถํายทอดสืบตํอกันมาภูมิป๎ญญาท๎องถ่ินเป็นขุมทรัพย์ทาง ป๎ญญาท่ีคนไทยทุกคนควรรู๎ควรศึกษาปรับปรุงและพัฒนาให๎สามารถนาภูมิป๎ญญาท๎องถ่ินเหลําน้ันมาแก๎ไข ป๎ญหาให๎สอดคล๎องกับบริบททางสังคมวัฒนธรรมของกลํุมชุมชนน้ัน ๆอยํางแท๎จริง การพัฒนาภูมิป๎ญญา ศึกษานับเป็นสิ่งสาคัญตํอบทบาทของชุมชนท๎องถ่ินที่ได๎พยายามสร๎างสรรค์เป็นน้าพักน้าแรงรํวมกันของ ผ๎สู ูงอายุและคนในชมุ ชนจนกลายเป็นเอกลกั ษณ์และวัฒนธรรม ประจาถ่ินท่ีเหมาะตํอการดาเนินชีวิตหรือภูมิป๎ญญาของคนในท๎องถ่ินนั้น ๆแตํภูมิป๎ญญาท๎องถ่ินสํวนใหญํเป็น ความร๎ูหรือเป็นสิ่งท่ีได๎มาจากประสบการณ์หรือเป็นความเชื่อสืบตํอกันมาแตํยังขาดองค์ความร๎ูหรือขาด หลักฐานยนื ยันหนักแนนํ การสร๎างการยอมรบั ทเ่ี กิดจากฐานภูมิป๎ญญาท๎องถ่นิ จึงเปน็ ไปได๎ยาก ดงั นนั้ เพอื่ ใหเ๎ กดิ การสํงเสริมพฒั นาภมู ปิ ญ๎ ญาทเี่ ปน็ เอกลักษณ์ของท๎องถ่ินกระตุ๎นเกิดความภาคภูมิใจ ในภูมิป๎ญญาของบุคคลในท๎องถ่ิน ภูมิป๎ญญาไทยและวัฒนธรรมไทยเกิดการถํายทอดภูมิป๎ญญาสํูคนรุํนหลัง โรงเรียนผู๎สูงอายุเทศบาลเมืองวังน้าเย็นได๎ดาเนินการจัดทาหลักสูตรการเ รียนการสอนเพ่ือพัฒนาศักยภาพ ผ๎ูสูงอายุในท๎องถิ่นท่ีเน๎นให๎ผู๎สูงอายุได๎พัฒนาตนเองให๎มีความพร๎อมสํูสังคมผู๎สูงอายุที่มีคุณภาพในอนาคต รวมท้ังสืบทอดภูมิป๎ญญาในการดารงชีวิตของนักเรียนผู๎สูงอายุที่ได๎ส่ังสมมา เกิดจากการสืบทอดภูมิป๎ญญา ของบรรพบุรุษ โดยนักเรียนผ๎ูสูงอายุจะเป็นผู๎ถํายทอดองค์ความร๎ู และมีครูพี่เล้ียงซ่ึงเป็นคณะครูของ โรงเรยี นในสงั กดั เทศบาลเมืองวังนา้ เย็น เป็นผู๎เรียบเรียงองค์ความร๎ูไปสกํู ารจดั ทาภูมปิ ญ๎ ญาศึกษา ให๎ปรากฏออกมาเป็นรูปเลํมภูมิป๎ญญาศึกษา ใช๎เป็นสํวนหน่ึงในการจบหลักสูตรการศึกษาของโรงเรีย น ผ๎ูสูงอายุ ประจาปีการศึกษา 2561พร๎อมท้ังเผยแพรํและจัดเก็บคลังภูมิป๎ญญาไว๎ในห๎องสมุดของโรงเรียน เทศบาลมิตรสัมพันธ์วิทยา เพ่อื ให๎ภมู ิป๎ญญาท๎องถิน่ เหลาํ นีเ้ กดิ การถาํ ยทอดสูคํ นรนํุ หลังสบื ตํอไป จากความรํวมมือในการพัฒนาบุคลากรในหนํวยงานและภาคีเครือขํายท่ีมีสํวนรํวมในการผสมผสาน องคค์ วามร๎ู เพือ่ ยกระดับความรู๎ของภมู ปิ ๎ญญานั้น ๆเพื่อนาไปสูํการประยุกต์ใช๎และผสมผสานเทคโนโลยีใหมํ ๆให๎สอดรบั กับวถิ ีชวี ติ ของชมุ ชนได๎อยํางมปี ระสิทธิภาพการนาภูมิป๎ญญาไทยกลับสํูการศึกษา สามารถสํงเสริม ให๎มีการถํายทอดภูมิป๎ญญาในโรงเรียนเทศบาลมิตรสัมพันธ์วิทยาและโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองวังน้าเย็น เกิดการมีสํวนรํวมในกระบวนการถํายทอด เช่ือมโยงความร๎ูให๎กับนักเรียนและบุคคลท่ัวไปในท๎องถิ่น โดยการ นาบุคลากรทม่ี คี วามรู๎ความสามารถในทอ๎ งถ่ินเขา๎ มาเป็นวทิ ยากรให๎ความรู๎กับนักเรียนในโอกาสตําง ๆหรือการ ท่ีโรงเรียนนาองค์ความรู๎ในท๎องถ่ินเข๎ามาสอนสอดแทรกในกระบวนการจัดการเรียนร๎ู สิ่งเหลํานี้ทาให๎การ พัฒนาภมู ปิ ๎ญญาท๎องถ่ิน นาไปสํกู ารสบื ทอดภมู ปิ ญ๎ ญาศึกษา

เกิดความสาเร็จอยํางเป็นรูปธรรมนักเรียนผ๎ูสูงอายุเกิดความภาคภูมิใจในภูมิป๎ญญาของตนท่ีได๎ถํายทอดสูํคน รุํนหลังให๎คงอยํูในท๎องถิ่น เป็นวัฒนธรรมการดาเนินชีวิตประจาท๎องถ่ิน เป็นวัฒนธรรมการดาเนินชีวิตคํู แผํนดนิ ไทยตราบนานเทาํ นาน นิยามคาศัพทใ์ นการจดั ทาภมู ปิ ญั ญาศกึ ษา ภูมิปัญญาศึกษา หมายถึง การนาภูมิป๎ญญาการดาเนินชีวิตในเร่ืองท่ีผู๎สูงอายุเช่ียวชาญที่สุด ของ ผ๎สู งู อายุที่เข๎าศึกษาตามหลักสูตรของโรงเรียนผู๎สูงอายุเทศบาลเมืองวังน้าเย็น มาศึกษาและสืบทอดภูมิป๎ญญา ในรปู แบบตําง ๆ มีการสืบทอดภูมิป๎ญญาโดยการปฏิบัติและการเรียบเรียงเป็นลายลักษณ์อักษรตามรูปแบบท่ี โรงเรียนผ๎ูสูงอายุกาหนดข้ึนใช๎เป็นสํวนหน่ึงในการจบหลักสูตรการศึกษาเพื่อให๎ภูมิป๎ญญาของผ๎ูสูงอายุได๎รับ การถาํ ยทอดสูคํ นรุํนหลังและคงอยใูํ นทอ๎ งถนิ่ ตํอไป ซ่งึ แบงํ ภูมปิ ๎ญญาศึกษาออกเป็น 3 ประเภท ได๎แกํ 1.ภมู ปิ ญ๎ ญาศกึ ษาท่ีผส๎ู งู อายุเปน็ ผู๎คิดคน๎ ภมู ปิ ๎ญญาในการดาเนินชวี ิตในเรื่องทีเ่ ช่ียวชาญท่สี ดุ ดว๎ ยตนเอง 2. ภูมิป๎ญญาศึกษาที่ผู๎สูงอายุเป็นผู๎นาภูมิป๎ญญาที่สืบทอดจากบรรพบุรุษมาประยุกต์ใช๎ในการดาเนิน ชีวติ จนเกิดความเชี่ยวชาญ 3. ภูมิป๎ญญาศึกษาท่ีผู๎สูงอายุเป็นผ๎ูนาภูมิป๎ญญาที่สืบทอดจากบรรพบุรุษมาใช๎ในการดาเนินชีวิตโดย ไมํมกี ารเปลยี่ นแปลงไปจากเดิมจนเกดิ ความเชยี่ วชาญ ผถู้ ่ายทอดภูมิปัญญา หมายถึง ผ๎ูสูงอายุที่เข๎าศึกษาตามหลักสูตรของโรงเรียนผู๎สูงอายุเทศบาลเมือง วังน้าเย็นเป็นผู๎ถํายทอดภูมิป๎ญญาการดาเนินชีวิตในเร่ืองท่ีตนเองเชี่ยวชาญมากที่สุด นามาถํายทอดให๎แกํผู๎ เรยี บเรียงภูมปิ ญ๎ ญาท๎องถ่นิ ได๎จดั ทาข๎อมูลเป็นรปู เลํมภูมิปญ๎ ญาศึกษา ผู้เรียบเรียงภูมิปัญญาท้องถ่ิน หมายถึง ผ๎ูที่นาภูมิป๎ญญาในการดาเนินชีวิตในเร่ืองท่ีผู๎สูงอายุ เช่ียวชาญที่สุดมาเรียบเรียงเป็นลายลักษณ์อักษร ศึกษาหาข๎อมูลเพิ่มเติมจากแหลํงข๎อมูลตําง ๆ จัดทาเป็น เอกสารรปู เลมํ ใช๎ชอื่ วํา “ภมู ิป๎ญญาศกึ ษา”ตามรปู แบบทโี่ รงเรยี นผู๎สงู อายเุ ทศบาลเมืองวงั น้าเย็นกาหนด ครูที่ปรึกษา หมายถึง ผู๎ท่ีปฏิบัติหน๎าท่ีเป็นครูพี่เล้ียง เป็นผู๎เรียบเรียงภูมิป๎ญญาท๎องถ่ิน ปฏิบัติ หนา๎ ท่เี ป็นผป๎ู ระเมนิ ผล เปน็ ผ๎ูรับรองภูมิป๎ญญาศึกษา รวมท้ังเป็นผ๎ูนาภูมิป๎ญญาศึกษาเข๎ามาสอนในโรงเรียน โดยบรู ณาการการจดั การเรียนร๎ตู ามหลักสตู รทอ๎ งถ่ินที่โรงเรยี นจดั ทาข้นึ

ภูมปิ ญั ญาศกึ ษาเชอื่ มโยงสู่สารานุกรมไทยสาหรบั เยาวชนฯ 1. ลกั ษณะของภูมปิ ัญญาไทย ลกั ษณะของภมู ิปญ๎ ญาไทย มีดังนี้ 1. ภูมปิ ญ๎ ญาไทยมลี กั ษณะเป็นทั้งความร๎ู ทักษะ ความเช่ือ และพฤติกรรม 2. ภูมปิ ญ๎ ญาไทยแสดงถึงความสมั พนั ธ์ระหวํางคนกับคน คนกับธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ๎ ม และคนกบั สิง่ เหนือธรรมชาติ 3. ภูมิป๎ญญาไทยเป็นองคร์ วมหรอื กจิ กรรมทกุ อยํางในวิถีชวี ติ ของคน 4. ภมู ิป๎ญญาไทยเปน็ เร่อื งของการแกป๎ ๎ญหา การจัดการ การปรับตวั และการเรยี นรู๎ เพ่อื ความอยูรํ อดของบุคคล ชมุ ชน และสงั คม 5. ภูมิป๎ญญาไทยเปน็ พน้ื ฐานสาคัญในการมองชวี ิต เป็นพน้ื ฐานความรใ๎ู นเรื่องตํางๆ 6. ภมู ปิ ญ๎ ญาไทยมีลกั ษณะเฉพาะ หรือมีเอกลกั ษณ์ในตวั เอง 7. ภมู ปิ ญ๎ ญาไทยมีการเปลย่ี นแปลงเพ่ือการปรบั สมดุลในพัฒนาการทางสงั คม 2. คุณสมบัตขิ องภูมปิ ัญญาไทย ผ๎ูทรงภูมิปญ๎ ญาไทยเปน็ ผ๎มู ีคุณสมบัติตามท่ีกาหนดไว๎ อยาํ งน๎อยดังตํอไปนี้ 1.เป็นคนดมี ีคณุ ธรรม มคี วามร๎ูความสามารถในวิชาชีพตํางๆ มีผลงานด๎านการพัฒนาท๎องถ่ิน ของตน และไดร๎ ับการยอมรบั จากบุคคลท่ัวไปอยาํ งกว๎างขวาง ท้ังยงั เป็นผู๎ท่ใี ช๎หลักธรรมคาสอนทางศาสนาของ ตนเปน็ เคร่อื งยดึ เหนีย่ วในการดารงวิถชี วี ิตโดยตลอด 2.เป็นผ๎ูคงแกํเรียนและหมั่นศึกษาหาความร๎ูอยูํเสมอ ผ๎ูทรงภูมิป๎ญญาจะเป็นผู๎ที่หมั่นศึกษา แสวงหาความรู๎เพิ่มเติมอยูํเสมอไมํหยุดนิ่ง เรียนร๎ูทั้งในระบบและนอกระบบ เป็นผ๎ูลงมือทา โดยทดลองทา ตามที่เรยี นมา อีกทงั้ ลองผิด ลองถูก หรือสอบถามจากผ๎ูร๎ูอื่นๆ จนประสบความสาเร็จ เป็นผู๎เช่ียวชาญ ซ่ึงโดด เดํนเป็นเอกลักษณ์ในแตํละด๎านอยํางชัดเจน เป็นที่ยอมรับการเปล่ียนแปลงความร๎ูใหมํๆ ที่เหมาะสม นามา ปรบั ปรุงรบั ใชช๎ มุ ชน และสังคมอยเํู สมอ 3.เป็นผ๎ูนาของท๎องถ่ิน ผ๎ูทรงภูมิป๎ญญาสํวนใหญํจะเป็นผู๎ท่ีสังคม ในแตํละท๎องถ่ินยอมรับให๎ เป็นผู๎นา ทั้งผู๎นาท่ีได๎รับการแตํงต้ังจากทางราชการ และผ๎ูนาตามธรรมชาติ ซ่ึงสามารถเป็นผ๎ูนาของท๎องถ่ิน และชํวยเหลือผอู๎ นื่ ได๎เปน็ อยาํ งดี 4. เปน็ ผ๎ูทส่ี นใจป๎ญหาของท๎องถ่ิน ผู๎ทรงภูมิป๎ญญาล๎วนเป็นผู๎ท่ีสนใจป๎ญหาของท๎องถ่ิน เอาใจ ใสํ ศึกษาป๎ญหา หาทางแก๎ไข และชํวยเหลือสมาชิกในชุมชนของตนและชุมชนใกล๎เคียงอยํางไมํยํอท๎อ จน ประสบความสาเรจ็ เป็นทย่ี อมรับของสมาชิกและบคุ คลทว่ั ไป 5. เป็นผู๎ขยันหมนั่ เพยี ร ผทู๎ รงภูมปิ ญ๎ ญาเป็นผ๎ขู ยันหมน่ั เพยี ร ลงมือทางานและผลิตผลงานอยํู เสมอ ปรับปรงุ และพัฒนาผลงานให๎มคี ุณภาพมากขึน้ อกี ทงั้ มุํงทางานของตนอยาํ งตํอเนื่อง 6. เป็นนักปกครองและประสานประโยชน์ของท๎องถ่ิน ผ๎ูทรงภูมิป๎ญญา นอกจากเป็นผ๎ูที่ ประพฤตติ นเปน็ คนดี จนเป็นท่ียอมรับนับถือจากบุคคลท่ัวไปแล๎ว ผลงานที่ทํานทายังถือวํามีคุณคํา จึงเป็นผ๎ูที่ มที งั้ \"ครองตน ครองคน และครองงาน\" เปน็ ผป๎ู ระสานประโยชน์ให๎บุคคลเกิดความรัก ความเข๎าใจ ความเห็น ใจ และมีความสามัคคีกนั ซึ่งจะทาใหท๎ ๎องถ่ิน หรือสงั คม มคี วามเจริญ มีคุณภาพชวี ิตสูงขึน้ กวาํ เดมิ

7. มคี วามสามารถในการถํายทอดความรเู๎ ปน็ เลิศ เมื่อผทู๎ รงภูมิปญ๎ ญามีความร๎ูความสามารถ และประสบการณเ์ ปน็ เลิศ มีผลงานทีเ่ ปน็ ประโยชน์ตํอผ๎ูอน่ื และบคุ คลทวั่ ไป ทัง้ ชาวบา๎ น นักวิชาการ นกั เรียน นสิ ติ /นักศกึ ษา โดยอาจเขา๎ ไปศกึ ษาหาความรู๎ หรือเชญิ ทาํ นเหลาํ นน้ั ไป เป็นผ๎ถู ํายทอดความร๎ูได๎ 8.เป็นผ๎ูมีคูํครองหรือบริวารดี ผ๎ูทรงภูมิป๎ญญา ถ๎าเป็นคฤหัสถ์ จะพบวํา ล๎วนมีคูํครองที่ดีท่ี คอยสนับสนุน ชํวยเหลือ ให๎กาลังใจ ให๎ความรํวมมือในงานท่ีทํานทา ชํวยให๎ผลิตผลงานท่ีมีคุณคํา ถ๎าเป็น นักบวช ไมวํ าํ จะเป็นศาสนาใด ต๎องมีบริวารท่ดี ี จงึ จะสามารถผลติ ผลงานท่มี ีคณุ คําทางศาสนาได๎ 9. เป็นผม๎ู ปี ๎ญญารอบรแู๎ ละเช่ียวชาญจนได๎รับการยกยํองวําเป็นปราชญ์ ผ๎ทู รงภูมิป๎ญญา ต๎อง เป็นผ๎ูมีป๎ญญารอบรู๎และเช่ียวชาญ รวมทั้งสร๎างสรรค์ผลงานพิเศษใหมํๆ ที่เป็นประโยชน์ตํอสังคมและ มนุษยชาติอยาํ งตอํ เนื่องอยูํเสมอ 3. การจัดแบง่ สาขาภมู ิปัญญาไทย จากการศกึ ษาพบวาํ มีการกาหนดสาขาภมู ปิ ญ๎ ญาไทยไว๎อยาํ งหลากหลาย ข้นึ อยํกู บั วัตถุประสงค์ และ หลักเกณฑ์ตํางๆ ท่ีหนํวยงาน องค์กร และนักวิชาการแตํละทํานนามากาหนด ในภาพรวมภูมิป๎ญญาไทย สามารถแบงํ ไดเ๎ ป็น 10 สาขาดังนี้ 1. สาขาเกษตรกรรมหมายถึง ความสามารถในการผสมผสานองค์ความร๎ู ทักษะ และเทคนิคด๎าน การเกษตรกบั เทคโนโลยี โดยการพัฒนาบนพืน้ ฐานคณุ คําด้ังเดิม ซึง่ คนสามารถพ่ึงพาตนเองในภาวการณ์ตํางๆ ได๎ เชนํ การทา การเกษตรแบบผสมผสาน วนเกษตร เกษตรธรรมชาติ ไรํนาสวนผสม และสวนผสมผสาน การ แก๎ป๎ญหาการเกษตรด๎านการตลาด การแก๎ป๎ญหาด๎านการผลิต การแก๎ไขป๎ญหาโรคและแมลง และการรู๎จัก ปรับใชเ๎ ทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมกบั การเกษตร เปน็ ตน๎ 2. สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม หมายถึง การรู๎จักประยุกต์ใช๎เทคโนโลยีสมัยใหมํในการแปรรูป ผลิตผล เพื่อชะลอการนาเข๎าตลาด เพื่อแก๎ป๎ญหาด๎านการบริโภคอยํางปลอดภัย ประหยัด และเป็นธรรม อัน เป็นกระบวนการที่ทาให๎ชุมชนท๎องถิ่นสามารถพึ่งพาตนเองทางเศรษฐกิจได๎ ตลอดท้ังการผลิต และการ จาหนาํ ย ผลติ ผลทางหัตถกรรม เชํน การรวมกลุมํ ของกลุมํ โรงงานยางพารา กลํมุ โรงสี กลมํุ หัตถกรรม เป็นต๎น 3. สาขาการแพทย์แผนไทย หมายถึง ความสามารถในการจัดการปูองกัน และรักษาสุขภาพของคนใน ชุมชน โดยเน๎นให๎ชุมชนสามารถพ่ึงพาตนเอง ทางด๎านสุขภาพ และอนามัยได๎ เชํน การนวดแผนโบราณ การ ดูแลและรักษาสุขภาพแบบพื้นบ๎าน การดแู ลและรกั ษาสุขภาพแผนโบราณไทย เป็นตน๎ 4. สาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมายถึง ความสามารถเกี่ยวกับการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อม ท้ังการอนุรักษ์ การพัฒนา และการใช๎ประโยชน์จากคุณคําของ ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ๎ ม อยํางสมดุล และยงั่ ยนื เชํน การทาแนวปะการงั เทียม การอนุรักษ์ปุาชาย เลน การจัดการปุาต๎นนา้ และปาุ ชมุ ชน เป็นตน๎ 5. สาขากองทุนและธุรกิจชุมชน หมายถึง ความสามารถในการบริหารจัดการด๎านการสะสม และ บริการกองทนุ และธุรกจิ ในชมุ ชน ทง้ั ทีเ่ ปน็ เงนิ ตรา และโภคทรพั ย์ เพอ่ื สํงเสริมชีวติ ความเปน็ อยูํของสมาชิกใน ชุมชน เชนํ การจดั การเร่อื งกองทุนของชุมชน ในรูปของสหกรณอ์ อมทรพั ย์ และธนาคารหมูํบา๎ น เป็นต๎น 6. สาขาสวัสดกิ ารหมายถงึ ความสามารถในการจัดสวัสดิการในการประกันคุณภาพชีวิตของคน ให๎เกิด ความม่นั คงทางเศรษฐกจิ สงั คมและวัฒนธรรม เชํน การจัดต้ังกองทุนสวัสดิการรักษาพยาบาลของชุมชน การ จัดระบบสวัสดิการบรกิ ารในชมุ ชน การจัดระบบสง่ิ แวดล๎อมในชุมชน เป็นตน๎ 7. สาขาศิลปกรรม หมายถึง ความสามารถในการผลิตผลงานทางด๎านศิลปะสาขาตํางๆ เชํน จติ รกรรม ประตมิ ากรรม วรรณกรรม ทศั นศิลป์ คตี ศิลป์ ศิลปะมวยไทย เปน็ ต๎น

8. สาขาการจัดการองค์กร หมายถึง ความสามารถในการบริหารจัดการดาเนินงานขององค์กรชุมชน ตํางๆ ให๎สามารถพฒั นา และบริหารองคก์ รของตนเองได๎ ตามบทบาท และหน๎าที่ขององค์การ เชํน การจัดการ องคก์ รของกลมํุ แมบํ ๎าน กลุํมออมทรพั ย์ กลุํมประมงพืน้ บา๎ น เป็นตน๎ 9. สาขาภาษาและวรรณกรรม หมายถึง ความสามารถผลติ ผลงานเกย่ี วกับดา๎ นภาษา ท้ังภาษาถ่ิน ภาษาโบราณ ภาษาไทย และการใช๎ภาษา ตลอดทั้งด๎านวรรณกรรมทุกประเภท เชํน การจัดทา สารานกุ รมภาษาถนิ่ การปริวรรต หนังสือโบราณ การฟ้นื ฟูการเรียนการสอนภาษาถิน่ ของท๎องถนิ่ ตํางๆ เป็นตน๎ 10. สาขาศาสนาและประเพณี หมายถึง ความสามารถประยุกต์ และปรับใช๎หลักธรรมคาสอนทาง ศาสนา ความเชื่อ และประเพณีด้ังเดิมที่มีคุณคําให๎เหมาะสมตํอการประพฤติปฏิบัติ ให๎บังเกิดผลดีตํอบุคคล และสิ่งแวดล๎อม เชํน การถํายทอดหลักธรรมทางศาสนา ลักษณะความสัมพันธ์ของภูมิป๎ญญาไทยภูมิ-ป๎ญญา ไทยสามารถสะทอ๎ นออกมาใน 3 ลกั ษณะท่สี ัมพันธ์ใกลช๎ ดิ กัน คอื 10.1 ความสัมพนั ธ์อยาํ งใกลช๎ ิดกนั ระหวํางคนกับโลก ส่งิ แวดล๎อม สตั ว์ พืช และธรรมชาติ 10.2 ความสมั พันธข์ องคนกับคนอ่นื ๆ ที่อยรูํ ํวมกนั ในสงั คม หรอื ในชุมชน 10.3 ความสัมพันธ์ระหวํางคนกับส่ิงศักด์ิสิทธ์ิส่ิงเหนือธรรมชาติ ตลอดท้ังสิ่งท่ีไมํสามารถสัมผัสได๎ ทั้งหลาย ท้ัง 3 ลักษณะน้ี คือ สามมิติของเรื่องเดียวกัน หมายถึง ชีวิตชุมชน สะท๎อนออกมาถึงภูมิป๎ญญาใน การดาเนินชวี ติ อยาํ งมเี อกภาพ เหมือนสามมุมของรูปสามเหลี่ยม ภูมิป๎ญญา จึงเป็นรากฐานในการดาเนินชีวิต ของคนไทย ซ่งึ สามารถแสดงให๎เห็นไดอ๎ ยาํ งชัดเจนโดยแผนภาพ ดังน้ี ลักษณะภูมิป๎ญญาท่ีเกิดจากความสัมพันธ์ ระหวํางคนกับธรรมชาติสิ่งแวดล๎อม จะแสดงออกมา ในลักษณะภูมิป๎ญญาในการดาเนินวิถีชีวิตข้ันพื้นฐาน ด๎านป๎จจัยสี่ ซ่ึงประกอบด๎วย อาหาร เครื่องนํุงหํมท่ี อยํูอาศัย และยารักษาโรค ตลอดท้ังการประกอบ อาชพี ตํางๆ เปน็ ต๎น ภูมิป๎ญญาที่เกิดจากความสัมพันธ์ ระหวํางคนกับคนอ่ืนในสังคม จะแสดงออกมาใน ลักษณะ จารีต ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ และ นันทนาการ ภาษา และวรรณกรรม ตลอดทั้งการ สอื่ สารตํางๆ เปน็ ต๎น แผนภาพแสดงความสมั พันธร์ ะหวาํ งคนกบั ธรรมชาตสิ ่งิ แวดลอ๎ ม ภูมิป๎ญญาท่ีเกิดจากความสัมพันธ์ระหวํางคนกับสิ่งศักดิ์สิทธ์ิ ส่ิงเหนือธรรมชาติ จะแสดงออกมาใน ลกั ษณะของสิ่งศักดิส์ ทิ ธิ์ ศาสนา ความเชือ่ ตํางๆ เป็นตน๎ 4. คุณคา่ และความสาคัญของภูมปิ ัญญาไทย คุณคําของภูมิป๎ญญาไทย ได๎แกํ ประโยชน์ และความสาคัญของภูมิป๎ญญา ท่ีบรรพบุรุษไทย ได๎ สร๎างสรรค์ และสืบทอดมาอยํางตํอเนื่อง จากอดีตสูํป๎จจุบัน ทาให๎คนในชาติเกิดความรัก และความภาคภูมิใจ ท่ีจะรํวมแรงรํวมใจสบื สานตอํ ไปในอนาคต เชํน โบราณสถาน โบราณวัตถุ สถาป๎ตยกรรม ประเพณีไทย การมี น้าใจ ศกั ยภาพในการประสานผลประโยชน์ เปน็ ตน๎ ภมู ปิ ญ๎ ญาไทยจึงมีคุณคํา และความสาคญั ดังนี้ 1. ภูมิป๎ญญาไทยชํวยสรา๎ งชาตใิ หเ๎ ป็นปกึ แผนํ

พระมหากษัตริย์ไทยได๎ใช๎ภูมิป๎ญญาในการสร๎างชาติ สร๎างความเป็นปึกแผํนให๎แกํ ประเทศชาติมาโดยตลอด ตั้งแตํสมัยพํอขุนรามคาแหงมหาราช พระองค์ทรงปกครองประชาชน ด๎วยพระ เมตตา แบบพํอปกครองลูก ผ๎ูใดประสบความเดือดร๎อน ก็สามารถตีระฆัง แสดงความเดือดร๎อน เพื่อขอรับ พระราชทานความชํวยเหลือ ทาให๎ประชาชนมีความจงรักภักดีตํอพระองค์ ตํอประเทศชาติรํวมกันสร๎าง บ๎านเรอื นจนเจรญิ รงํุ เรอื งเปน็ ปึกแผนํ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระองค์ทรงใช๎ภูมิป๎ญญากระทายุทธหัตถี จนชนะข๎าศึกศัตรู และทรงกอบก๎ูเอกราชของชาติไทยคืนมาได๎ พระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยูํหัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลป๎จจุบัน พระองคท์ รงใชภ๎ ูมิป๎ญญาสร๎างคุณประโยชน์แกํประเทศชาติ และเหลําพสกนิกรมากมายเหลือคณานับ ทรงใช๎ พระปรชี าสามารถ แก๎ไขวิกฤตการณ์ทางการเมือง ภายในประเทศ จนรอดพ๎นภัยพิบัติหลายครั้ง พระองค์ทรง มีพระปรีชาสามารถหลายด๎าน แม๎แตํด๎านการเกษตร พระองค์ได๎พระราชทานทฤษฎีใหมํให๎แกํพสกนิกร ทั้ง ด๎านการเกษตรแบบสมดุลและยั่งยืน ฟื้นฟูสภาพแวดล๎อม นาความสงบรํมเย็นของประชาชนให๎กลับคืนมา แนวพระราชดาริ \"ทฤษฎีใหม\"ํ แบงํ ออกเป็น 2 ขั้น โดยเริม่ จาก ขั้นตอนแรก ให๎เกษตรกรรายยํอย \"มีพออยูํพอ กิน\" เป็นขั้นพ้ืนฐาน โดยการพัฒนาแหลํงน้า ในไรํนา ซึ่งเกษตรกรจาเป็นที่จะต๎องได๎รับความชํวยเหลือจาก หนํวยราชการ มูลนิธิ และหนํวยงานเอกชน รํวมใจกันพัฒนาสังคมไทย ในขั้นที่สอง เกษตรกรต๎องมีความ เข๎าใจ ในการจดั การในไรนํ าของตน และมกี ารรวมกลุํมในรปู สหกรณ์ เพ่ือสร๎างประสิทธิภาพทางการผลิต และ การตลาด การลดรายจํายด๎านความเป็นอยูํ โดยทรงตระหนักถึงบทบาทขององค์กรเอกชน เมื่อกลํุ มเกษตร วิวฒั น์มาขั้นท่ี 2 แลว๎ ก็จะมีศักยภาพ ในการพัฒนาไปสํูข้ันที่สาม ซ่ึงจะมีอานาจในการตํอรองผลประโยชน์กับ สถาบันการเงินคือ ธนาคาร และองค์กรท่ีเป็นเจ๎าของแหลํงพลังงาน ซ่ึงเป็นป๎จจัยหน่ึงในการผลิต โดยมีการ แปรรปู ผลติ ผล เชํน โรงสี เพื่อเพิ่มมลู คําผลิตผล และขณะเดียวกันมีการจัดตั้งร๎านค๎าสหกรณ์ เพ่ือลดคําใช๎จําย ในชีวิตประจาวัน อันเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลในสังคม จะเห็นได๎วํา มิได๎ทรงทอดท้ิงหลักของ ความสามัคคีในสังคม และการจัดตั้งสหกรณ์ ซึ่งทรงสนับสนุนให๎กลํุมเกษตรกรสร๎างอานาจตํอรองในระบบ เศรษฐกจิ จงึ จะมคี ณุ ภาพชีวิตท่ีดี จึงจัดได๎วํา เป็นสังคมเกษตรท่ีพัฒนาแล๎ว สมดังพระราชประสงค์ท่ีทรงอุทิศ พระวรกาย และพระสตปิ ญ๎ ญา ในการพัฒนาการเกษตรไทยตลอดระยะเวลาแหงํ การครองราชย์ 2. สรา๎ งความภาคภูมิใจ และศักด์ิศรี เกียรตภิ ูมิแกํคนไทย คนไทยในอดีตท่ีมีความสามารถปรากฏในประวัติศาสตร์มีมาก เป็นท่ียอมรับของนานา อารยประเทศ เชํน นายขนมต๎มเป็นนักมวยไทย ท่ีมีฝีมือเกํงในการใช๎อวัยวะทุกสํวน ทุกทําของแมํไม๎มวยไทย สามารถชกมวยไทย จนชนะพมําได๎ถึงเก๎าคนสิบคนในคราวเดียวกัน แม๎ในป๎จจุบัน มวยไทยก็ยังถือวํา เป็น ศิลปะชั้นเยี่ยม เป็นที่ นิยมฝึกและแขํงขันในหมูํคนไทยและชาวตําง ประเทศ ป๎จจุบันมีคํายมวยไทยทั่วโลกไมํ ต่ากวาํ 30,000 แหํง ชาวตํางประเทศทีไ่ ดฝ๎ ึกมวยไทย จะร๎ูสึกยินดีและภาคภูมิใจ ในการท่ีจะใช๎กติกา ของมวย ไทย เชํน การไหว๎ครูมวยไทย การออก คาส่ังในการชกเป็นภาษาไทยทุกคา เชํน คาวํา \"ชก\" \"นับหน่ึงถึงสิบ\" เป็นต๎น ถือเป็นมรดก ภูมิป๎ญญาไทย นอกจากน้ี ภูมิป๎ญญาไทยท่ีโดด เดํนยังมีอีกมากมาย เชํน มรดกภูมิ ป๎ญญาทาง ภาษาและวรรณกรรม โดยที่มีอักษรไทยเป็นของ ตนเองมาตั้งแตํสมัยกรุงสุโขทัย และวิวัฒนาการ มาจนถึงป๎จจุบัน วรรณกรรมไทยถือวํา เป็นวรรณกรรมที่มีความไพเราะ ได๎อรรถรสครบทุกด๎าน วรรณกรรม หลายเรอื่ งได๎รบั การแปลเปน็ ภาษาตํางประเทศหลายภาษา ด๎านอาหาร อาหารไทยเป็นอาหารที่ปรุงงําย พืชที่ ใช๎ประกอบอาหารสํวนใหญํเป็นพืชสมุนไพร ที่หาได๎งํายในท๎องถ่ิน และราคาถูก มี คุณคําทางโภชนาการ และ

ยังปูองกันโรคได๎หลายโรค เพราะสํวนประกอบสํวนใหญํเป็นพืชสมุนไพร เชํน ตะไคร๎ ขิง ขํา กระชาย ใบ มะกรูด ใบโหระพา ใบกะเพรา เป็นตน๎ 3. สามารถปรับประยุกต์หลักธรรมคาสอนทางศาสนาใช๎กบั วิถีชวี ติ ได๎อยํางเหมาะสม คนไทยสํวนใหญนํ ับถือศาสนาพุทธ โดยนาหลักธรรมคาสอนของศาสนา มาปรับใช๎ในวิถีชีวิต ได๎อยํางเหมาะสม ทาให๎คนไทยเป็นผู๎อํอนน๎อมถํอมตน เอ้ือเฟ้ือเผ่ือแผํ ประนีประนอม รักสงบ ใจเย็น มีความ อดทน ให๎อภัยแกํผส๎ู านึกผิด ดารงวิถีชีวิตอยาํ งเรียบงําย ปกติสุข ทาให๎คนในชุมชนพึ่งพากันได๎ แม๎จะอดอยาก เพราะ แห๎งแล๎ง แตํไมํมีใครอดตาย เพราะพึ่งพาอาศัย กัน แบํงป๎นกันแบบ \"พริกบ๎านเหนือเกลือบ๎านใต๎\" เป็น ตน๎ ท้งั หมดนี้สบื เนอ่ื งมาจากหลกั ธรรมคาสอนของพระพทุ ธศาสนา เป็นการใช๎ภูมิป๎ญญา ในการนาเอาหลักขอ พระพุทธศาสนามา ประยกุ ตใ์ ช๎กบั ชวี ิตประจาวัน และดาเนินกุศโลบาย ด๎านตํางประเทศ จนทาให๎ชาวพุทธทั่ว โลกยกยํอง ให๎ประเทศไทยเป็นผู๎นาทางพุทธศาสนา และเป็น ที่ต้ังสานักงานใหญํองค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์ แหํงโลก (พสล.) อยํูเยื้องๆ กับอุทยานเบญจสิริ กรุงเทพมหานคร โดยมีคนไทย (ฯพณฯ สัญญา ธรรมศักด์ิ องคมนตรี) ดารงตาแหนํงประธาน พสล. ตอํ จาก ม.จ.หญิงพนู พิศมยั ดิศกุล 4. สร๎างความสมดลุ ระหวาํ งคนในสงั คม และธรรมชาติได๎อยาํ งย่ังยืน ภูมิป๎ญญาไทยมีความเดํนชัดในเร่ืองของการยอมรับนับถือ และให๎ความสาคัญแกํคน สังคม และธรรมชาติอยํางยิ่ง มีเครอื่ งช้ีท่ีแสดงให๎เหน็ ได๎อยํางชดั เจนมากมาย เชํน ประเพณีไทย 12 เดือน ตลอดทั้งปี ล๎วนเคารพคุณคําของธรรมชาติ ได๎แกํ ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีลอยกระทง เป็นต๎น ประเพณีสงกรานต์ เป็นประเพณีท่ีทาใน ฤดูร๎อนซ่ึงมีอากาศร๎อน ทาให๎ต๎องการความเย็น จึงมีการรดน้าดาหัว ทาความสะอาด บ๎านเรือน และธรรมชาติส่ิงแวดล๎อม มีการแหํนางสงกรานต์ การทานายฝนวําจะตกมากหรือน๎อยในแตํละปี สํวนประเพณีลอยกระทง คุณคําอยํูท่ีการบูชา ระลึกถึงบุญคุณของน้า ท่ีหลํอเล้ียงชีวิตของ คน พืช และสัตว์ ให๎ได๎ใช๎ทั้งบริโภคและอุปโภค ในวันลอยกระทง คนจึงทาความสะอาดแมํน้า ลาธาร บูชาแมํน้าจากตัวอยําง ขา๎ งต๎น ล๎วนเป็น ความสัมพันธร์ ะหวํางคนกับสังคมและธรรมชาติ ทั้งสนิ้ ในการรกั ษาปุาไมต๎ ๎นน้าลาธาร ไดป๎ ระยกุ ตใ์ ห๎มีประเพณีการบวชปุา ให๎คนเคารพส่ิงศักดิ์สิทธิ์ ธรรมชาติ และสภาพแวดล๎อม ยังความอุดมสมบูรณ์แกํต๎นน้า ลาธาร ให๎ฟื้นสภาพกลับคืนมาได๎มาก อาชีพ การเกษตรเป็นอาชีพหลักของคนไทย ทีค่ านงึ ถึงความสมดลุ ทาแตนํ ๎อยพออยพูํ อกิน แบบ \"เฮ็ดอยูํเฮ็ดกิน\" ของ พอํ ทองดี นนั ทะ เมือ่ เหลือกิน ก็แจกญาตพิ ่นี ๎อง เพ่อื นบ๎าน บ๎านใกล๎เรือนเคียง นอกจากน้ี ยังนาไปแลกเปล่ียน กับส่ิงของอยาํ งอื่น ทต่ี นไมํมี เมื่อเหลือใชจ๎ รงิ ๆ จงึ จะนาไปขาย อาจกลําวได๎วํา เป็นการเกษตรแบบ \"กิน-แจก- แลก-ขาย\" ทาให๎คนในสังคมได๎ชํวยเหลือเกื้อกูล แบํงป๎นกัน เคารพรัก นับถือ เป็นญาติกัน ท้ังหมํูบ๎าน จึงอยูํ รวํ มกนั อยํางสงบสุข มีความสมั พนั ธ์กันอยาํ งแนบแนํน ธรรมชาติไมํถูกทาลายไปมากนัก เน่ืองจากทาพออยูํพอ กนิ ไมโํ ลภมากและไมทํ าลายทุกอยาํ งผดิ กบั ในปจ๎ จบุ นั ถอื เปน็ ภูมปิ ญ๎ ญาทส่ี รา๎ งความ สมดุลระหวํางคน สังคม และธรรมชาติ 5. เปลยี่ นแปลงปรบั ปรงุ ไดต๎ ามยคุ สมัย แมว๎ ํากาลเวลาจะผาํ นไป ความร๎ูสมัยใหมํ จะหลงั่ ไหลเข๎ามามาก แตํภูมิป๎ญญาไทย ก็สามารถ ปรับเปลี่ยนใหเ๎ หมาะสมกบั ยคุ สมยั เชนํ การร๎จู ักนาเครอ่ื งยนต์มาติดตั้งกับเรือ ใสํใบพัด เป็นหางเสือ ทาให๎เรือ สามารถแลํนได๎เร็วข้ึน เรียกวํา เรือหางยาว การรู๎จักทาการเกษตรแบบผสมผสาน สามารถพลิกฟื้นคืน ธรรมชาติให๎ อุดมสมบูรณ์แทนสภาพเดิมท่ีถูกทาลายไป การรู๎จักออมเงิน สะสมทุนให๎สมาชิกกู๎ยืม ปลดเปล้ือง หนีส้ นิ และจดั สวัสดิการแกํสมาชกิ จนชุมชนมีความมนั่ คง เขม๎ แข็ง สามารถชวํ ยตนเองได๎หลายร๎อยหมูํบ๎านท่ัว

ประเทศ เชํน กลํุมออมทรัพย์คีรีวง จังหวัดนครศรีธรรมราช จัดในรูปกองทุนหมุนเวียนของชุมชน จนสามารถ ชวํ ยตนเองได๎ เม่ือปุาถูกทาลาย เพราะถูกตัดโคํน เพ่ือปลูกพืชแบบเด่ียว ตามภูมิป๎ญญาสมัยใหมํ ท่ีหวัง ร่ารวย แตใํ นทสี่ ุด กข็ าดทุน และมีหน้ีสิน สภาพแวดล๎อมสูญเสียเกิดความแห๎งแล๎ง คนไทยจึงคิดปลูกปุา ที่กิน ได๎ มีพืชสวน พืชปุาไม๎ผล พืชสมุนไพร ซ่ึงสามารถมีกินตลอดชีวิตเรียกวํา \"วนเกษตร\" บางพื้นท่ี เมื่อปุาชุมชน ถูกทาลาย คนในชุมชนก็รวมตัวกัน เป็นกลํุมรักษาปุา รํวมกันสร๎างระเบียบ กฎเกณฑ์กันเอง ให๎ทุกคนถือ ปฏิบัติได๎ สามารถรักษาปุาได๎อยํางสมบูรณ์ดังเดิม เมื่อปะการังธรรมชาติถูกทาลาย ปลาไมํมีที่อยูํอาศัย ประชาชนสามารถสร๎าง \"อูหยัม\" ข้ึน เป็นปะการังเทียม ให๎ปลาอาศัยวางไขํ และแพรํพันธ์ุให๎เจริญเติบโต มี จานวนมากดงั เดมิ ได๎ ถอื เป็นการใช๎ภมู ิป๎ญญาปรับปรุงประยุกต์ใชไ๎ ด๎ตามยุคสมยั สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ เลํมที่ 19 ให๎ความหมายของคาวํา ภูมิป๎ญญาชาวบ๎าน หมายถึง ความรู๎ของชาวบ๎าน ซ่ึงได๎มาจากประสบการณ์ และความเฉลียวฉลาดของชาวบ๎าน รวมทั้งความรู๎ที่ ส่ังสมมาแตํบรรพบุรษุ สืบทอดจากคนรํุนหนึ่งไปสูํคนอีกรํุนหน่ึง ระหวํางการสืบทอดมีการปรับ ประยุกต์ และ เปลยี่ นแปลง จนอาจเกดิ เปน็ ความรู๎ใหมํตามสภาพการณท์ างสงั คมวฒั นธรรม และ ส่ิงแวดลอ๎ ม ภมู ิปญ๎ ญาเป็นความรู๎ท่ีประกอบไปด๎วยคุณธรรม ซึ่งสอดคล๎องกับวิถีชีวิตดั้งเดิมของชาวบ๎าน ในวถิ ีดั้งเดิมน้ัน ชีวิตของชาวบ๎านไมํได๎แบํงแยกเป็นสํวนๆ หากแตํทุกอยํางมีความสัมพันธ์กัน การทามาหากิน การอยํูรํวมกันในชุมชน การปฏิบัติศาสนา พิธีกรรมและประเพณี ความร๎ูเป็นคุณธรรม เม่ือผ๎ูคนใช๎ความร๎ูน้ัน เพื่อสร๎างความสัมพันธ์ท่ีดีระหวําง คนกับคน คนกับธรรมชาติ และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ ความสัมพันธ์ท่ีดี เป็นความสัมพันธ์ที่มีความสมดุล ที่เคารพกันและกัน ไมํทาร๎ายทาลายกัน ทาให๎ทุกฝุายทุกสํวนอยูํรํวมกันได๎ อยํางสันติ ชุมชนด้ังเดิมจึงมีกฎเกณฑ์ของการอยํูรํวมกัน มีคนเฒําคนแกํเป็นผู๎นา คอยให๎คาแนะนาตักเตือน ตัดสิน และลงโทษหากมีการละเมิด ชาวบ๎านเคารพธรรมชาติรอบตัว ดิน น้า ปุา เขา ข๎าว แดด ลม ฝน โลก และจกั รวาล ชาวบ๎านเคารพผห๎ู ลักผใ๎ู หญํ พํอแมํ ปูุยาํ ตายาย ท้ังท่ีมชี วี ติ อยูํและลํวงลับไปแล๎วภูมิป๎ญญาจึงเป็น ความร๎ทู ่ีมีคุณธรรม เป็นความร๎ูที่มีเอกภาพของทุกสิ่งทุกอยําง เป็นความรู๎วํา ทุกส่ิงทุกอยํางสัมพันธ์กันอยํางมี ความสมดุล เราจึงยกยํองความรู๎ข้ันสูงสํง อันเป็นความรู๎แจ๎งในความจริงแหํงชีวิตน้ีวํา \"ภูมิป๎ญญา\"ความคิด และการแสดงออกเพื่อจะเข๎าใจภูมิป๎ญญาชาวบ๎าน จาเป็นต๎องเข๎าใจความคิดของชาวบ๎านเก่ียวกับโลก หรือท่ี เรียกวํา โลกทัศน์ และเก่ียวกับชีวิต หรือท่ีเรียกวํา ชีวทัศน์ สิ่งเหลํานี้เป็นนามธรรม อันเกี่ยวข๎องสัมพันธ์ โดยตรงกับการแสดงออกใน ลักษณะตํางๆ ท่ีเป็นรูปธรรม แนวคิดเร่ืองความสมดุลของชีวิต เป็ นแนวคิด พ้นื ฐานของภูมิป๎ญญาชาวบ๎าน การแพทย์แผนไทย หรือท่ีเคยเรียกกันวํา การแพทย์แผนโบราณนั้นมีหลักการ วํา คนมีสุขภาพดี เม่ือรํางกายมีความสมดุลระหวํางธาตุทั้ง ๔ คือ ดิน น้า ลม ไฟ คนเจ็บไข๎ได๎ปุวยเพราะธาตุ ขาดความสมดุล จะมีการปรับธาตุ โดยใช๎ยาสมุนไพร หรือวิธีการอ่ืนๆ คนเป็นไข๎ตัวร๎อน หมอยาพื้นบ๎านจะให๎ ยาเย็น เพอ่ื ลดไข๎ เป็นต๎น การดาเนินชีวิตประจาวันก็เชํนเดียวกัน ชาวบ๎านเชื่อวํา จะต๎องรักษาความสมดุลใน ความสมั พนั ธ์สามด๎าน คอื ความสัมพันธก์ ับคนในครอบครวั ญาตพิ ีน่ ๎อง เพ่ือนบ๎านในชุมชน ความสัมพันธ์ที่ดีมี หลักเกณฑ์ ที่บรรพบุรุษได๎ส่ังสอนมา เชํน ลูกควรปฏิบัติอยํางไรกับพํอแมํ กับญาติพ่ีน๎อง กับผ๎ูสูงอายุ คนเฒํา คนแกํ กับเพ่ือนบ๎าน พํอแมํควรเล้ียงดูลูกอยํางไร ความเอ้ืออาทรตํอกันและกัน ชํวยเหลือเก้ือกูลกัน โดยเฉพาะในยามทุกข์ยาก หรือมีป๎ญหา ใครมีความสามารถพิเศษก็ใช๎ความสามารถน้ันชํวยเหลือผู๎อ่ืน เชํน บางคนเป็นหมอยา ก็ชวํ ยดแู ลรักษาคนเจบ็ ปุวยไมสํ บาย โดยไมํคิดคํารักษา มีแตํเพียงการยกครู หรือการราลึก

ถงึ ครบู าอาจารย์ที่ประสาทวิชามาให๎เทํานั้น หมอยาต๎องทามาหากิน โดยการทานา ทาไรํ เล้ียงสัตว์เหมือนกับ ชาวบ๎านอน่ื ๆ บางคนมคี วามสามารถพิเศษดา๎ นการทามาหากิน ก็ชวํ ยสอนลกู หลานให๎มวี ชิ าไปด๎วย ความสัมพันธ์ระหวํางคนกับคนในครอบครัว ในชุมชน มีกฎเกณฑ์เป็นข๎อปฏิบัติ และข๎อห๎ามอยําง ชัดเจน มีการแสดงออกทางประเพณี พิธีกรรม และกิจกรรมตํางๆ เชํน การรดน้าดาหัวผ๎ูใหญํ การบายศรีสํู ขวัญ เป็นต๎น ความสมั พนั ธก์ บั ธรรมชาติ ผ๎ูคนสมัยกํอนพ่ึงพาอาศัยธรรมชาติแทบทุกด๎าน ตั้งแตํอาหารการกิน เครื่องนํุงหํม ทอ่ี ยํอู าศยั และยารักษาโรค วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยียังไมํพัฒนาก๎าวหน๎าเหมือนทุกวันนี้ ยัง ไมํมีระบบการค๎าแบบสมัยใหมํ ไมํมีตลาด คนไปจับปลาลําสัตว์ เพื่อเป็นอาหารไปวันๆ ตัดไม๎ เพื่อสร๎างบ๎าน และใช๎สอยตามความจาเป็นเทํานั้น ไมํได๎ทาเพื่อการค๎า ชาวบ๎านมีหลักเกณฑ์ในการใช๎สิ่งของในธรรมชาติ ไมํ ตดั ไมอ๎ อํ น ทาให๎ต๎นไมใ๎ นปาุ ขนึ้ แทนต๎นที่ถูกตัดไปได๎ตลอดเวลาชาวบ๎านยังไมํร๎ูจักสารเคมี ไมํใช๎ยาฆําแมลง ฆํา หญา๎ ฆาํ สัตว์ ไมํใช๎ป๋ยุ เคมี ใช๎สิ่งของในธรรมชาตใิ ห๎เกอื้ กลู กัน ใช๎มูลสัตว์ ใบไมใ๎ บ หญา๎ ท่ีเนําเป่ือยเป็นปุ๋ย ทาให๎ ดินอุดมสมบูรณ์ นา้ สะอาด และไมํเหอื ดแห๎ง ชาวบ๎านเคารพธรรมชาติ เช่ือวํา มีเทพมีเจ๎าสถิตอยูํในดิน น้า ปุา เขา สถานท่ีทุกแหํง จะทาอะไรต๎องขออนุญาต และทาด๎วยความเคารพ และพอดี พองาม ชาวบ๎านรู๎คุณ ธรรมชาติ ท่ีได๎ให๎ชีวิตแกํตน พิธีกรรมตํางๆ ล๎วนแสดงออกถึงแนวคิดดังกลําว เชํน งานบุญพิธี ที่เก่ียวกับ น้า ข๎าว ปุาเขา รวมถึงสัตว์ บ๎านเรือน เคร่ืองใช๎ตํางๆ มีพิธีสํูขวัญข๎าว สํูขวัญควาย สูํขวัญเกวียน ทางอีสานมีพิธี แฮกนา หรือแรกนา เลยี้ งผีตาแฮก มงี านบญุ บ๎าน เพอื่ เล้ียงผี หรือส่ิงศกั ด์สิ ิทธป์ิ ระจาหมูบํ า๎ น เป็นต๎น ความสัมพันธ์กับส่ิงเหนือธรรมชาติ ชาวบ๎านร๎ูวํา มนุษย์เป็นเพียงสํวนเล็กๆ สํวนหน่ึง ของ จักรวาล ซ่ึงเต็มไปด๎วยความเร๎นลับ มีพลัง และอานาจ ท่ีเขาไมํอาจจะหาคาอธิบายได๎ ความเร๎นลับดังกลําว รวมถึงญาตพิ ี่น๎อง และผ๎คู นทล่ี ํวงลับไปแล๎ว ชาวบา๎ นยังสมั พันธก์ ับพวกเขา ทาบญุ และราลึกถึงอยํางสม่าเสมอ ทุกวัน หรือในโอกาสสาคัญๆ นอกนั้นเป็นผีดี ผีร๎าย เทพเจ๎าตํางๆ ตามความเช่ือของแตํละแหํง ส่ิงเหลําน้ีสิง สถติ อยํใู นสง่ิ ตํางๆ ในโลก ในจกั รวาล และอยูบํ นสรวงสวรรคก์ ารทามาหากนิ แม๎วิถีชีวิตของชาวบ๎านเม่ือกํอนจะดูเรียบงํายกวําทุกวันนี้ และยังอาศัยธรรมชาติ และ แรงงานเป็นหลัก ในการทามาหากิน แตํพวกเขาก็ต๎องใช๎สติป๎ญญา ที่บรรพบุรุษถํายทอดมาให๎ เพ่ือจะได๎อยํู รอด ท้งั นเ้ี พราะป๎ญหาตํางๆ ในอดตี กย็ งั มไี มํนอ๎ ย โดยเฉพาะเม่อื ครอบครัวมีสมาชิกมากข้ึน จาเป็นต๎องขยายท่ี ทากิน ต๎องหกั รา๎ งถางพง บุกเบิก พน้ื ทีท่ ากินใหมํ การปรับพ้ืนท่ีป้๎นคันนา เพ่ือทานา ซ่ึงเป็นงานท่ีหนัก การทา ไรํทานา ปลูกพืชเลี้ยงสัตว์ และดูแลรักษาให๎เติบโต และได๎ผล เป็นงานท่ีต๎องอาศัยความรู๎ความสามารถ การ จบั ปลาลาํ สตั วก์ ็มวี ิธกี าร บางคนมีความสามารถมากรูว๎ ํา เวลาไหน ท่ีใด และวิธีใด จะจับปลาได๎ดีที่สุด คนท่ีไมํ เกํงกต็ ๎องใชเ๎ วลานาน และได๎ปลานอ๎ ย การลําสตั ว์ก็เชํนเดยี วกนั การจัดการแหลํงน้า เพ่ือการเกษตร ก็เป็นความร๎ูความสามารถ ที่มีมาแตํโบราณ คนทาง ภาคเหนือร๎ูจักบริหารน้า เพื่อการเกษตร และเพื่อการบริโภคตํางๆ โดยการจัดระบบเหมืองฝาย มีการจัด แบํงป๎นน้ากันตามระบบประเพณีท่ี สืบทอดกันมา มีหัวหน๎าที่ทุกคนยอมรับ มีคณะกรรมการจัดสรรน้าตาม สดั สํวน และตามพืน้ ทีท่ ากนิ นบั เปน็ ความรู๎ที่ทาให๎ชุมชนตํางๆ ที่อาศัยอยํูใกล๎ลาน้า ไมํวําต๎นน้า หรือปลายน้า ไดร๎ บั การแบํงปน๎ นา้ อยํางยุติธรรม ทุกคนไดป๎ ระโยชน์ และอยูํรํวมกนั อยาํ งสันติ ชาวบ๎านรูจ๎ ักการแปรรูปผลิตผลในหลายรูปแบบ การถนอมอาหารให๎กินได๎นาน การดองการ หมกั เชํน ปลาร๎า น้าปลา ผกั ดอง ปลาเค็ม เนือ้ เคม็ ปลาแห๎ง เนือ้ แห๎ง การแปรรปู ข๎าว ก็ทาได๎มากมายนับร๎อย ชนิด เชํน ขนมตํางๆ แตํละพิธีกรรม และแตํละงานบุญประเพณี มีข๎าวและขนมในรูปแบบไมํซ้ากัน ต้ังแตํ

ขนมจีน สังขยา ไปถึงขนมในงานสารท กาละแม ขนมครก และอื่นๆ ซึ่งยังพอมีให๎เห็นอยํูจานวนหน่ึง ใน ปจ๎ จบุ นั สวํ นใหญํปรับเปลีย่ นมาเปน็ การผลติ เพื่อขาย หรอื เป็นอุตสาหกรรมในครัวเรือน ความร๎ูเร่ืองการปรุงอาหารก็มีอยูํมากมาย แตํละท๎องถิ่นมีรูปแบบ และรสชาติแตกตํางกันไป มมี ากมายนับร๎อยนับพันชนิด แม๎ในชีวิตประจาวัน จะมีเพียงไมํกี่อยําง แตํโอกาสงานพิธี งาน เลี้ยง งานฉลอง สาคัญ จะมีการจัดเตรียมอาหารอยํางดี และพิถีพิถันการทามาหากินในประเพณีเดิมน้ัน เป็นท้ังศาสตร์และ ศิลป์ การเตรียมอาหาร การจัดขนม และผลไม๎ ไมํได๎เป็นเพียงเพื่อให๎รับประทานแล๎วอรํอย แตํให๎ได๎ความ สวยงาม ทาใหส๎ ามารถสัมผสั กบั อาหารน้ัน ไมํเพียงแตํทางปาก และรสชาติของล้ิน แตํทางตา และทางใจ การ เตรียมอาหารเป็นงานศิลปะ ท่ีปรุงแตํด๎วยความต้ังใจ ใช๎เวลา ฝีมือ และความร๎ูความสามารถ ชาวบ๎าน สมยั กอํ นสวํ นใหญํจะทานาเปน็ หลัก เพราะเม่ือมขี า๎ วแลว๎ กส็ บายใจ อยํางอ่ืนพอหาได๎จากธรรมชาติ เสร็จหน๎า นาก็จะทางานหัตถกรรม การทอผ๎า ทาเสื่อ เล้ียงไหม ทาเครื่องมือ สาหรับจับสัตว์ เครื่องมือการเกษตร และ อปุ กรณ์ตํางๆ ท่จี าเปน็ หรอื เตรยี มพืน้ ที่ เพอื่ การทานาครั้งตอํ ไป หัตถกรรมเป็นทรัพย์สิน และมรดกทางภูมิป๎ญญาท่ียิ่งใหญํท่ีสุดอยํางหนึ่งของบรรพบุรุษ เพราะเป็นส่อื ท่ถี ํายทอดอารมณ์ ความรู๎สึก ความคิด ความเช่ือ และคุณคําตํางๆ ท่ีส่ังสมมาแตํนมนาน ลายผ๎า ไหม ผา๎ ฝาู ย ฝีมอื ในการทออยาํ งประณตี รปู แบบเครือ่ งมอื ท่สี านดว๎ ยไมไ๎ ผํ และอุปกรณ์ เคร่ืองใช๎ไม๎สอยตํางๆ เครื่องดนตรี เครื่องเลํน ส่ิงเหลํานี้ได๎ถูกบรรจงสร๎างข้ึนมา เพื่อการใช๎สอย การทาบุญ หรือการอุทิศให๎ใครคน หน่ึง ไมํใชํเพ่ือการค๎าขาย ชาวบ๎านทามาหากินเพียงเพื่อการยังชีพ ไมํได๎ทาเพื่อขาย มีการนาผลิตผลสํวนหนึ่ง ไปแลกสิ่งของที่จาเป็น ที่ตนเองไมํมี เชํน นาข๎าวไป แลกเกลือ พริก ปลา ไกํ หรือเสื้อผ๎า การขายผลิตผลมีแตํ เพียงสํวนน๎อย และเมื่อมีความจาเป็นต๎องใช๎เงิน เพื่อเสียภาษีให๎รัฐ ชาวบ๎านนาผลิตผล เชํน ข๎าว ไปขายใน เมอื งใหก๎ บั พอํ คา๎ หรอื ขายใหก๎ ับพอํ ค๎าทอ๎ งถิน่ เชนํ ทางภาคอีสาน เรียกวํา \"นายฮ๎อย\" คนเหลําน้ีจะนาผลิตผล บางอยําง เชนํ ขา๎ ว ปลาร๎า วัว ควาย ไปขายในทไี่ กลๆ ทางภาคเหนอื มพี อํ ค๎าววั ตํางๆ เป็นต๎น แม๎วาํ ความรเ๎ู รอ่ื งการค๎าขายของคนสมัยกํอน ไมํอาจจะนามาใช๎ในระบบตลาดเชํนป๎จจุบันได๎ เพราะสถานการณ์ได๎เปล่ียนแปลงไปอยํางมาก แตํการค๎าท่ีมีจริยธรรมของพํอค๎าในอดีต ท่ีไมํได๎หวังแตํเพียง กาไร แตคํ านงึ ถงึ การชํวยเหลอื แบํงป๎นกนั เปน็ หลกั ยงั มีคุณคําสาหรับป๎จจุบัน นอกนั้น ในหลายพ้ืนที่ในชนบท ระบบการแลกเปล่ยี นส่งิ ของยงั มีอยํู โดยเฉพาะในพน้ื ทยี่ ากจน ซงึ่ ชาวบา๎ นไมํมีเงินสด แตํมีผลิตผลตํางๆ ระบบ การแลกเปล่ียนไมํได๎ยึดหลักมาตราชั่งวัด หรือการตีราคาของสิ่งของ แตํแลกเปลี่ยน โดยการคานึงถึง สถานการณ์ของผู๎แลกทั้งสองฝุาย คนท่ีเอาปลาหรือไกํมาขอแลกข๎าว อาจจะได๎ข๎าวเป็นถัง เพราะเจ๎าของข๎าว คานึงถงึ ความจาเป็นของครอบครัวเจา๎ ของไกํ ถา๎ หากตีราคาเปน็ เงิน ขา๎ วหนง่ึ ถงั ยอํ มมคี าํ สงู กวาํ ไกหํ น่ึงตัว การอยู่ร่วมกันในสงั คม การอยํูรํวมกันในชุมชนดั้งเดิมนั้น สํวนใหญํจะเป็นญาติพ่ีน๎องไมํกี่ตระกูล ซึ่งได๎อพยพย๎ายถ่ินฐานมา อยูํ หรือสืบทอดบรรพบุรุษจนนับญาติกันได๎ท้ังชุมชน มีคนเฒําคนแกํที่ชาวบ๎านเคารพนับถือเป็นผู๎นาหน๎าท่ี ของผู๎นา ไมํใชํการสั่ง แตํเป็นผ๎ูให๎คาแนะนาปรึกษา มีความแมํนยาในกฎระเบียบประเพณีการดาเนินชีวิต ตัดสินไกลํเกล่ีย หากเกิดความขัดแย๎ง ชํวยกันแก๎ไขป๎ญหาตํางๆ ท่ีเกิดข้ึน ป๎ญหาในชุมชนก็มีไมํน๎อย ป๎ญหา การทามาหากิน ฝนแล๎ง น้าทํวม โรคระบาด โจรลักวัวควาย เป็นต๎น นอกจากน้ัน ยังมีป๎ญหาความขัดแย๎ง ภายในชุมชน หรือระหวํางชุมชน การละเมิดกฎหมาย ประเพณี สํวนใหญํจะเป็นการ \" ผิดผี\" คือ ผีของบรรพ บุรุษ ผู๎ซ่ึงได๎สร๎างกฎเกณฑ์ตํางๆ ไว๎ เชํน กรณีท่ีชายหนํุมถูกเนื้อต๎องตัวหญิงสาวที่ยังไมํแตํงงาน เป็นต๎น หาก

เกิดการผิดผีขึ้นมา ก็ต๎องมีพิธีกรรมขอขมา โดยมีคนเฒําคนแกํเป็นตัวแทนของบรรพบุรุษ มีการวํากลําวสั่ง สอน และชดเชยการทาผิดน้ัน ตามกฎเกณฑ์ท่ีวางไว๎ ชาวบ๎านอยูํอยํางพึ่งพาอาศัยกัน ยามเจ็บไข๎ได๎ปุวย ยาม เกิดอุบัติเหตุเภทภัย ยามที่โจรขโมยวัวควายข๎าวของ การชํวยเหลือกันทางานที่เรียกกันวํา การลงแขก ท้ัง แรงกายแรงใจท่ีมีอยํูก็จะแบํงป๎นชํวยเหลือ เอื้ออาทรกัน การ แลกเปล่ียนส่ิงของ อาหารการกิน และอื่นๆ จึง เก่ียวข๎องกับวิถีของชุมชน ชาวบ๎านชํวยกันเก็บเกี่ยวข๎าว สร๎างบ๎าน หรืองานอื่นที่ต๎องการคนมากๆ เพื่อจะได๎ เสร็จโดยเร็ว ไมํมกี ารจ๎าง กรณตี วั อยาํ งจากการปลกู ข๎าวของชาวบา๎ น ถา๎ ปหี นงึ่ ชาวนาปลูกข๎าวได๎ผลดี ผลิตผลที่ได๎จะใช๎เพ่ือการ บริโภคในครอบครวั ทาบญุ ที่วดั เผอ่ื แผใํ ห๎พ่ีนอ๎ งทขี่ าดแคลน แลกของ และเก็บไว๎ เผ่ือวําปีหน๎าฝนอาจแล๎ง น้า อาจทํวม ผลิตผล อาจไมํดีในชุมชนตํางๆ จะมีผ๎ูมีความร๎ูความสามารถหลากหลาย บางคนเกํงทางการรักษา โรค บางคนทางการเพาะปลูกพืช บางคนทางการเลี้ยงสัตว์ บางคนทางด๎านดนตรีการละเลํน บางคนเกํง ทางด๎านพิธีกรรม คนเหลํานี้ตํางก็ใช๎ความสามารถ เพื่อประโยชน์ของชุมชน โดยไมํถือเป็นอาชีพ ท่ีมี คาํ ตอบแทน อยํางมากกม็ ี \"คําคร\"ู แตเํ พียงเลก็ น๎อย ซ่ึงปกติแล๎ว เงินจานวนน้ัน ก็ใช๎สาหรับเครื่องมือประกอบ พธิ ีกรรม หรือ เพือ่ ทาบุญที่วัด มากกวําท่ีหมอยา หรอื บุคคลผูน๎ ั้น จะเก็บไว๎ใช๎เอง เพราะแท๎ท่ีจริงแล๎ว \"วิชา\" ท่ี ครูถํายทอดมาให๎แกํลูกศิษย์ จะต๎องนาไปใช๎ เพ่ือประโยชน์แกํสังคม ไมํใชํเพ่ือผลประโยชน์สํวนตัว การตอบ แทนจึงไมํใชํเงินหรือส่ิงของเสมอไป แตํเป็นการชํวยเหลือเก้ือกูลกันโดยวิธีการตํางๆด๎วยวิถีชีวิตเชํนนี้ จึงมี คาถาม เพอื่ เป็นการสอนคนรุนํ หลังวาํ ถ๎าหากคนหนง่ึ จบั ปลาชํอนตัวใหญํได๎หน่ึงตัว ทาอยํางไรจึงจะกินได๎ทั้งปี คนสมยั นี้อาจจะบอกวาํ ทาปลาเค็ม ปลาร๎า หรือเกบ็ รกั ษาด๎วยวิธีการตาํ งๆ แตํคาตอบที่ถูกต๎อง คือ แบํงป๎นให๎ พี่น๎อง เพ่ือนบ๎าน เพราะเมื่อเขาได๎ปลา เขาก็จะทากับเราเชํนเดียวกัน ชีวิตทางสังคมของหมูํบ๎าน มีศูนย์กลาง อยทํู วี่ ดั กิจกรรมของสํวนรวม จะทากนั ทวี่ ดั งานบญุ ประเพณีตาํ งๆ ตลอดจนการละเลํนมหรสพ พระสงฆ์เปน็ ผนู๎ าทางจติ ใจ เปน็ ครูที่สอนลูกหลานผูช๎ าย ซึ่งไปรบั ใช๎พระสงฆ์ หรอื \"บวชเรยี น\" ทง้ั น้เี พราะกํอนนยี้ ังไมํมี โรงเรียน วัดจึงเปน็ ท้งั โรงเรียน และหอประชุม เพื่อกิจกรรมตาํ งๆ ตํอเม่ือโรงเรียนมขี ้ึน และแยกออกจากวดั บทบาทของวัด และของพระสงฆ์ จึงเปลยี่ นไป งานบุญประเพณีในชุมชนแตํกํอนมีอยูํทุกเดือน ตํอมาก็ลดลงไป หรือสองสามหมูํบ๎านรํวมกันจัด หรือ ผลัดเปล่ียนหมุนเวียนกัน เชํน งานเทศน์มหาชาติ ซ่ึงเป็นงานใหญํ หมูํบ๎านเล็กๆ ไมํอาจจะจัดได๎ทุกปี งาน เหลํานมี้ ีทง้ั ความเช่ือ พิธีกรรม และความสนุกสนาน ซง่ึ ชุมชนแสดงออกรํวมกัน

ระบบคุณคา่ ความเช่ือในกฎเกณฑ์ประเพณี เป็นระเบียบทางสังคมของชุมชนด้ังเดิม ความเช่ือน้ีเป็นรากฐานของ ระบบคุณคําตํางๆ ความกตัญํูร๎ูคุณตํอพํอแมํ ปุูยําตายาย ความเมตตาเอ้ืออาทรตํอผ๎ูอ่ืน ความเคารพตํอส่ิง ศักดส์ิ ิทธใิ์ นธรรมชาตริ อบตวั และในสากลจกั รวาล ความเชื่อ \"ผี\" หรือสิ่งศักด์ิสิทธิ์ในธรรมชาติ เป็นท่ีมาของการดาเนินชีวิต ท้ังของสํวนบุคคล และของ ชมุ ชน โดยรวมการเคารพในผีปุูตา หรือผีปุูยํา ซึ่งเป็นผีประจาหมํูบ๎าน ทาให๎ชาวบ๎านมีความเป็นหน่ึงเดียวกัน เปน็ ลกู หลานของปุูตาคนเดยี วกัน รกั ษาปาุ ทม่ี ีบ๎านเลก็ ๆ สาหรับผี ปลูกอยูํติดหมํูบ๎าน ผีปุา ทาให๎คนตัดไม๎ด๎วย ความเคารพ ขออนุญาตเลอื กตัดตน๎ แกํ และปลกู ทดแทน ไมทํ ้งิ ส่ิงสกปรกลงแมํน้า ด๎วยความเคารพในแมํคงคา กนิ ขา๎ วดว๎ ยความเคารพ ในแมํโพสพ คนโบราณกนิ ขา๎ วเสรจ็ จะไหว๎ขา๎ ว พิธีบายศรีสูํขวัญ เป็นพิธีร้ือฟื้น กระชับ หรือสร๎างความสัมพันธ์ระหวํางผ๎ูคน คนจะเดินทางไกล หรือ กลับจากการเดินทาง สมาชิกใหมํ ในชุมชน คนปุวย หรือกาลังฟ้ืนไข๎ คนเหลํานี้จะได๎รับพิธีสํูขวัญ เพื่อให๎เป็น สริ ิมงคล มคี วามอยํูเย็นเปน็ สุข นอกนั้นยงั มพี ธิ สี ืบชะตาชีวิตของบคุ คล หรือของชมุ ชน นอกจากพิธีกรรมกับคนแล๎ว ยังมีพิธีกรรมกับสัตว์และธรรมชาติ มีพิธีสูํขวัญข๎าว สํูขวัญควาย สูํขวัญ เกวียน เปน็ การแสดงออกถึงการขอบคุณ การขอขมา พิธีดงั กลาํ วไมํได๎มีความหมายถึงวํา ส่ิงเหลํานี้มีจิต มีผีใน ตัวมันเอง แตํเป็นการแสดงออก ถึงความสัมพันธ์กับจิตและสิ่งศักดิ์สิทธ์ิ อันเป็นสากลในธรรมชาติทั้งหมด ทา ให๎ผ๎ูคนมีความสัมพันธ์อันดีกับทุกสิ่ง คนขับแท็กซี่ในกรุงเทพฯ ท่ีมาจากหมํูบ๎าน ยังซื้อดอกไม๎ แล๎วแขวนไว๎ท่ี กระจกในรถ ไมํใชํเพ่ือเซํนไหว๎ผีในรถแท็กซี่ แตํเป็นการราลึกถึงส่ิงศักดิ์สิทธ์ิ ใน สากลจักรวาล รวมถึงที่สิงอยูํ ในรถคันนั้นผ๎ูคนสมัยกํอนมีความสานึกในข๎อจากัดของตนเอง ร๎ูวํา มนุษย์มีความอํอนแอ และเปราะบาง หาก ไมํรักษาความสัมพนั ธอ์ ันดี และไมคํ งความสมดลุ กบั ธรรมชาติรอบตัวไว๎ เขาคงไมํสามารถมีชีวิตได๎อยํางเป็นสุข และยืนนาน ผู๎คนทั่วไปจึงไมํมีความอวดกล๎าในความสามารถของตน ไมํท๎าทายธรรมชาติ และส่ิงศักดิ์สิทธิ์ มี ความออํ นนอ๎ มถํอมตน และรกั ษากฎระเบียบประเพณอี ยาํ งเครํงครดั ชีวิตของชาวบ๎านในรอบหนึ่งปี จึงมีพิธีกรรมทุกเดือน เพ่ือแสดงออกถึงความเช่ือ และความสัมพันธ์ ระหวํางผ๎ูคนในสังคม ระหวํางคนกับธรรมชาติ และระหวํางคนกับสิ่งศักด์ิสิทธิ์ตํางๆ ดังกรณีงานบุญประเพณี ของชาวอสี านทเ่ี รียกวาํ ฮตี สิบสอง คอื เดือนอ๎าย (เดือนที่หนึ่ง) บุญเข๎ากรรม ให๎พระภิกษุเข๎าปริวาสกรรมเดือน ยี่ (เดือนที่สอง) บุญคูณลาน ให๎นาข๎าวมากองกันที่ลาน ทาพิธีกํอนนวด เดือนสาม บุญข๎าวจ่ี ให๎ถวายข๎าวจี่ (ข๎าวเหนียวป้๎นชุบไขํทาเกลือนาไปยํางไฟ)เดือนส่ี บุญพระเวส ให๎ฟ๎งเทศน์มหาชาติ คือ เทศน์เรื่องพระ เวสสนั ดรชาดก เดือนหา๎ บญุ สรงนา้ หรือบุญสงกรานต์ ให๎สรงนา้ พระ ผู๎เฒาํ ผ๎แู กํ เดอื นหก บุญบั้งไฟ บูชาพญา แถน ตามความเช่ือเดิม และบุญวิสาขบูชา ตามความเช่ือของชาวพุทธ เดือนเจ็ด บุญซาฮะ (บุญชาระ) ให๎บน บานพระภูมิเจ๎าที่ เล้ียงผีปูุตา เดือนแปด บุญเข๎าพรรษา เดือนเก๎า บุญข๎าวประดับดิน ทาบุญอุทิศสํวนกุศลให๎ ญาติพี่น๎องผ๎ูลํวงลับ เดือนสิบ บุญข๎าวสาก ทาบุญเชํนเดือนเก๎า รวมให๎ผีไมํมีญาติ (ภาคใต๎มีพิธีคล๎ายกัน คือ งานพิธีเดือนสิบ ทาบุญให๎แกํบรรพบุรุษผ๎ูลํวงลับไปแล๎ว แบํงข๎าวปลาอาหารสํวนหน่ึงให๎แกํผีไมํมีญาติ พวก เดก็ ๆ ชอบแยํงกนั เอาของทีแ่ บงํ ให๎ผีไมํมญี าตหิ รือเปรต เรียกวํา \"การชงิ เปรต\") เดือนสบิ เอ็ด บญุ ออกพรรษา เดือนสิบสอง บญุ กฐิน จัดงานกฐนิ และลอยกระทง ภูมิป๎ญญาชาวบ๎านในสังคมป๎จจุบันภูมิป๎ญญาชาวบ๎านได๎กํอเกิด และสืบทอดกันมาในชุมชนหมํูบ๎าน เม่ือหมูํบ๎านเปล่ียนแปลงไปพร๎อมกับสังคมสมัยใหมํ ภูมิป๎ญญาชาวบ๎านก็มีการปรับตัวเชํนเดียวกัน ความร๎ู

จานวนมากได๎สูญหายไป เพราะไมํมีการปฏบิ ตั ิสบื ทอด เชนํ การรักษาพื้นบ๎านบางอยําง การใช๎ยาสมุนไพรบาง ชนิด เพราะหมอยาที่เกํงๆ ได๎เสียชีวิต โดยไมํได๎ถํายทอดให๎กับคนอื่น หรือถํายทอด แตํคนตํอมาไมํได๎ปฏิบัติ เพราะชาวบ๎านไมํนิยมเหมือนเมื่อกํอน ใช๎ยาสมัยใหมํ และไปหาหมอ ท่ีโรงพยาบาล หรือคลินิก งํายกวํา งาน หันตถกรรม ทอผ๎า หรือเคร่ืองเงิน เครื่องเขิน แม๎จะยังเหลืออยํูไมํน๎อย แตํก็ได๎ถูกพัฒนาไปเป็นการค๎า ไมํ สามารถรักษาคุณภาพ และฝีมือแบบด้ังเดิมไว๎ได๎ ในการทามาหากินมีการใช๎เทคโนโลยีทันสมัย ใช๎รถไถแทน ควาย รถอแี ตน๋ แทนเกวยี น การลงแขกทานา และปลูกสร๎างบ๎านเรือน ก็เกือบจะหมดไป มีการจ๎างงานกันมากข้ึน แรงงานก็หา ยากกวําแตกํ อํ น ผูค๎ นอพยพยา๎ ยถ่ิน บ๎างกเ็ ข๎าเมอื ง บ๎างก็ไปทางานที่อื่น ประเพณีงานบุญ ก็เหลือไมํมาก ทาได๎ กต็ อํ เมื่อ ลกู หลานที่จากบ๎านไปทางาน กลับมาเย่ียมบ๎านในเทศกาลสาคัญๆ เชํน ปีใหมํ สงกรานต์ เข๎าพรรษา เป็นต๎น สงั คมสมยั ใหมมํ รี ะบบการศกึ ษาในโรงเรยี น มีอนามัย และโรงพยาบาล มีโรงหนัง วิทยุ โทรทัศน์ และ เคร่ืองบันเทิงตํางๆ ทาให๎ชีวิตทางสังคมของชุมชนหมูํบ๎านเปลี่ยนไป มีตารวจ มีโรงมีศาล มีเจ๎าหน๎าท่ีราชการ ฝุายปกครอง ฝาุ ยพัฒนา และอืน่ ๆ เขา๎ ไปในหมํูบ๎าน บทบาทของวัด พระสงฆ์ และคนเฒําคนแกํเร่ิมลดน๎อยลง การทามาหากินก็เปล่ียนจากการทาเพ่ือยังชีพไปเป็นการผลิตเพ่ือการขาย ผู๎คนต๎องการเงิน เพื่อซื้อเคร่ือง บริโภคตํางๆ ทาให๎ส่ิงแวดล๎อม เปลี่ยนไป ผลิตผลจากปุาก็หมด สถานการณ์เชํนนี้ทาให๎ผ๎ูนาการพัฒนาชุมชน หลายคน ท่ีมีบทบาทสาคัญในระดับจังหวัด ระดับภาค และระดับประเทศ เริ่มเห็นความสาคัญของภูมิป๎ญญา ชาวบา๎ น หนํวยงานทางภาครัฐ และภาคเอกชน ให๎การสนับสนุน และสํงเสริมให๎มีการอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู ประยุกต์ และคน๎ คดิ สิง่ ใหมํ ความรู๎ใหมํ เพ่อื ประโยชน์สุขของสังคม

ความเป็ นมาและความสาคญั ของผกั ผกั เป็ นอาหารประจาวนั ของมนษุ ย์ เป็ นแหลง่ อาหารให้แร่ธาตวุ ติ ามนิ ทม่ี ีคณุ คา่ ทางอาหารสงู มรี าคาถกู เมอ่ื เปรียบเทยี บ กบั เนอื ้ สตั ว์จากข้อมลู วจิ ยั กลา่ ววา่ มนษุ ยเ์ ราควรบริโภคผกั วนั ละประมาณ 200 กรัม เพือ่ ให้ร่างกายได้รับแร่ธาตแุ ละ วิตามินอยา่ งเพียงพอผลการวจิ ยั ของศนู ย์วจิ ยั และพฒั นาพชื ผกั แหง่ เอเชีย ชใี ้ ห้เห็นวา่ ประชากรของประเทศไทย โดยเฉพาะ สตรีมคี รรภ์และพวกเดก็ ๆ มกั ขาดแคลนแร่ธาตวุ ติ ามนิ กนั มาก ประกอบกบั ปัญหาด้านเศรษฐกิจที่สง่ ผลกระทบ ทาให้มคี า่ ครองชีพสงู ขนึ ้ ดงั นนั้ กรมสง่ เสริมการเกษตร จึงได้มกี ารรณรงค์ให้มีการปลกู ผกั สวนครัวไว้รับประทานเองใน ครอบครัว โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์เพอื่ ให้มพี ืชผกั เพยี งพอแก่การบริโภคในครัวเรือน ทาให้ได้รับสารอาหารครบตามความ ต้องการของร่างกาย และชว่ ยลดภาวะคา่ ครองชีพการปลกู พืชสวนครัวนนั้ ไมย่ ากเลย ถ้ามองไปรอบด้านภมู ภิ าค ไมว่ ่าจะ เป็ นบ้านในเมืองใหญ่ เมอื งหลวง หรือบ้านในหมบู่ ้าน ตาบล อาเภอ ล้วนละลานตาไปด้วย \"บ้านไทย\" ซงึ่ ไมต่ ้องอาศยั เคร่ืองปรับอากาศ ไมต่ ้องอาศยั เทคโนโลยีเหมือนทกุ วนั นี ้ซงึ่ ฝร่ังท่ตี งั้ ใจมาเมืองไทยเพราะต้องการ ดกู าร\"บรรยากาศไทยๆ\" ดงั ทเี่ คยเหน็ ในหนงั สอื ตอนนเี ้ขาบอกวา่ บรรยากาศอยา่ งนี ้ต้องไปดู ที่ลาว ทเ่ี ขมรแทน เพราะเมอื งไทยไมต่ า่ งจากเมอื งเขา เทา่ ไหร่นกั บางแหง่ ดจู ะยง่ิ กวา่ ด้วยซา้ ฝร่ัง คนนนั้ จงึ ต้องกลบั ไปเทยี่ ว-นอนทเี่ ขมร ลาวแทน เขาบอกวา่ บ้านไทย ย้ายไป อยู่ ท่ีนน่ั ด้วยเหตนุ จี ้ งึ เกิดความคดิ วา่ นา่ จะบอกเลา่ เรื่องนีใ้ ห้เกษตรกรไทยฟัง ให้เขารือ้ ฟืน้ ความเป็ นไทยกลบั ขนึ ้ มาใหม่ เพือ่ เป็ นทางออก พ้นจากความเป็ นหนี ้นน่ั คอื เร่ือง \"รัว้ กินได้-สวนครัวทาเอง\" ทเี่ ราเคยพบเคยเหน็ ความเป็ นมาแล้วในอดตี สมยั เดก็ ๆ เพอื่ ล้างและป้ องกนั นสิ ยั ชอบไปซอื ้ กิน เอาอยา่ งความเจริญด้านวตั ถุ คอื แทนท่ี จะปลกู เอง ทงั้ ๆ ที่มีทดี่ ิน เพาะปลกู อยแู่ ล้ว กลบั นิยมไปซือ้ ตามห้าง ศนู ย์การค้า ฯลฯ ทารวั้ อลั ลอยด์ รัว้ เหลก็ รัว้ ปนู ฯลฯ แทนรัว้ ไม้ รัว้ พชื ยนื ต้น พืช กินได้ ผกั สวนครัว หรือพืชสวนครัว เชน่ พริก กระเพรา โหระพา แมงลกั ตะไคร้ มะกรูด พริกไทย มะอกึ มะนาว (กะปิ นา้ ปลา นา้ ตาล) รัว้ กินได้เช่น ตาลงึ ขจร โสน ถว่ั พู มนั ปู กระถิน มะขามเทศ บวบ ฟักเขยี ว มะระ มะเขือเครือ ไผ่ นา้ เต้า ฟักข้าว การปลกู พืชสวนครัวเหลา่ นี ้คือแนวทางประกอบการพจิ ารณาเลอื กปลกู พืชผสม พชื หลายชนิดใช้ทาประโยชน์ได้ มากกวา่ หนง่ึ อยา่ งหรือเอนกประสงค์ หากเลอื กปลกู พชื ผสมหลายอยา่ งในพนื ้ ทเี่ ดยี วกนั ต้องอาศยั คาแนะนาทางวชิ าการ และประสบการณ์ หรือภมู ิปัญญาชาวบ้าน เพราะพชื บางชนิดจะปลกู ร่วมกนั ได้ บางชนดิ ไมไ่ ด้ การประกอบอาชีพแบบ เศรษฐกิจพอเพียง ปลกู ผกั สวนครัวลดรายจ่ายด้านอาหารในครอบครัว เศรษฐกจิ พอเพยี งเป็ นกาดาเนินชีวติ ทางสายกลาง ยดึ หลกั การพง่ึ พาตนเองการเกษตรดงั้ เดมิ ของไทย ท่ีปฏิบตั ิกนั มานานชวั่ ลกู หลาน ก็คอื การเกษตรธรรมชาติ การเกษตร อนิ ทรีย์ การเกษตรชีวภาพ การวนเกษตร ซงึ่ อา่ นดชู ื่อแล้วเราอาจจะไมค่ ้นุ เคย หรือไมเ่ ข้าใจ จึงขอสรุปให้ทราบวา่ เป็ น การเกษตรแบบโบราณเรานน่ั เอง คอื ใช้แรงงานจากคน จากสตั ว์เลยี ้ ง ป๋ ยุ ทไ่ี ด้ก็เกิดจากมลู สตั ว์ ใบไม้ใบตองนามากองสมุ หมกั ไว้เมอ่ื เนา่ เปื่ อยก็นาไปใสต่ ้นไม้ หรือไร่นา สว่ นพืชทปี่ ลกู ก็คอื พืชท่เี ป็ นอาหารประจาวนั เช่น ข้าว ข้าวโพด ถวั่ งา การ ปลกู ผกั สวนครัวรัว้ กินได้

ความสาคญั ของพืชผกั สวนครัว 1.ความสาคัญในด๎านคุณคําทางอาหาร เป็นแหลํงอาหารที่สาคัญของมนุษย์ ให๎สิ่งตํางๆท่ีจาเป็นตํอ รํางกายซึ่ง อาหารชนิดอื่นๆมีไมํเพียงพอหรือไมํมี ผักสวนครัวมีคุณสมบัติชํวยให๎ระบบยํอยอาหารของ รํางกายลดสภาพความ เป็นกรดโดยสาเหตุจากยํอยอาหารประเภทเน้ือสัตว์ เนย และอื่นๆ เย่ือใยของพืชผัก สวนครัว ชํวยระบบขับถาํ ยเปน็ ไปอยาํ งปกตลิ ดการเปน็ โรคลาไส๎ และมะเรง็ ในลาไส๎ ลดปริมาณคลอเรสตอรอล ลดความอ๎วน ผกั สวนครัวอดุ มไปด๎วยธาตแุ คลเซียมและธาตุเหลก็ ผักสเี ขียวและเหลืองให๎ วิตามินเอ ซี สาหรับ ถ่วั ตํางๆจะให๎โปรตนี ประเภทหัว เชํน มนั ฝร่งั มันเทศ ให๎คาร์โบไฮเดรต 2.ความสาคัญในดา๎ นคุณคาํ ทางเศรษฐกิจ เพื่อใชป๎ ระโยชน์ในดา๎ นการบริโภคการอตุ สาหกรรมเกษตร และการผลิตเมลด็ พันธ์ุ ซง่ึ มีทั้งใช๎บรโิ ภคภายใน และสงํ ไปจาหนาํ ย จึงทาให๎พชื ผักสวนครัวมีแนวโน๎มท่จี ะเปน็ เศรษฐกิจในอนาคต ประเภทของผกั พชื ผกั สวนครัว หมายถงึ พชื ผักทป่ี ลกู ในพน้ื ที่วํางในบรเิ วณบ๎านหรือหนวํ ยงาน อาจปลูก ลงแปลงหรอื ใน ภาชนะตาํ ง ๆ เพื่อใชบ๎ รโิ ภคในครอบครวั หากมจี านวนมากเหลือจากการบรโิ ภค ก็สามารถนาไปจาหนํายได๎ การแบํงประเภทของพืชผักสวนครวั 1. ผักกินใบกนิ ตน๎ เชํน คะน๎า ผักบ๎งุ กะหล่าปลี ผักกาดขาว ( ทีม่ าhttps://sites.google.com/a/bswschool.ac.th/phak-swn-khraw/khwam-sakhay-khxng-phak)

2. ผกั กินฝักกินผล เช่น พริก มะเขอื ถว่ั ฝักยาว ถว่ั แขก ถวั่ พู ( ทีม่ าhttps://sites.google.com/a/bswschool.ac.th/phak-swn-khraw/khwam-sakhay-khxng-phak )

3. ผกั กนิ หวั กินราก เชนํ ผกั กาดหวั กระเทยี ม กระชาย ขมิน้ ( ทีม่ าhttps://sites.google.com/a/bswschool.ac.th/phak-swn-khraw/khwam-sakhay-khxng-phak)

สภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมกับการปลูกพชื ผักสวนครวั สภาพแวดล๎อมทเ่ี หมาะสมกับการปลูกพชื ผักสวนครวั ประกอบดว๎ ยสง่ิ ตอํ ไปน้ี 1. ทีต่ ้งั แหลงํ ชมุ ชน ผักหลายชนิดโดยเฉพาะผกั กนิ ใบ และผักตาํ งๆแปลงควรต้ังอยํูในเขตชานเมือง เพือ่ ลดการสญู เสยี และรักษาความสดระหวาํ งการขนสงํ อีกทั้งลดตน๎ ทุนในการขนสงํ อีกด๎วย 2. ดนิ ถึงแม๎เทคโนโลยีไดอ๎ านวยการผลติ พชื ผกั สวนครัว ไมํจาเปน็ ต๎องพ่ึงพาอาศัยดินก็ตามแตํยังเปน็ ปจ๎ จัย สาคัญและค๎ุมคําทาง เศรษฐกิจ ในการใช๎ผลติ พชื ผักสวนครวั อยํูในป๎จจุบนั ดนิ ที่เหมาะตํอการปลูก พืชผกั สวนครวั ควรมีชนั้ หนา๎ ดินลึกอุดมสมบรู ณ์ระบายนา้ ได๎ดี เนือ้ ดนิ รํวนซุย 3. แหลงํ น้า ต๎องมอี ยํางเพียงพอแกํความต๎องการโดยเฉพาะในระยะท่ีแหง๎ แลง๎ ที่สุดของปี พชื ผักสวน ครัวเป็นที่ ตอ๎ งการน้ามากและสมา่ เสมอ การใชฝ๎ นเพียงอยํางเดยี วไมเํ พียงพอควรมีการคานวณการใช๎นา้ อยําง ครําวๆ 4. ความลาดเทของพืน้ ท่ี ทางเขตอบอุํนทางซีกโลกเหนือ ความลาดเทของพน้ื ทีม่ ีผลตอํ การผลติ ผกั ให๎ สาเรจ็ อยาํ งยงิ่ โดยทั่วไปความลาดเท ของภูเขาทางด๎านใต๎ จะได๎รับแสงแดดมากกวํา จงึ อบอุนํ มากกวาํ ด๎าน เหนอื การท่ีพนื้ ท่ีมี ความลาดเทสงู เป็นอุปสรรคตํอการเตรียมดินและการปลกู พชื ผักสวนครัว เกดิ การชะลา๎ ง ผวิ หนา๎ ดินไปได๎งําย จึงจาเป็น ต๎องหามาตรการท่เี หมาะสมเพือ่ อนรุ ักษด์ ินไว๎ โดยท่ัวไปพื้นที่ราบมีความ เหมาะสมในการปลูกพชื ผักสวนครัวมากกวาํ แตํถ๎าพ้นื ทีม่ ีความลาดเทเลก็ น๎อยจะเหมาะสมทสี่ ดุ เพราะจะชวํ ย ให๎ดินระบายน้า ได๎ดี และสะดวกตอํ การใหน๎ า้ ตามรอํ ง 5. ความสูงของพืน้ ทจ่ี ากระดบั นา้ ทะเล มผี ลกระทบทางอ๎อมตํอผลผลติ ของพชื ผกั สวนครวั เนอื่ งจาก ความสงู ของพืน้ ท่ีมคี วามสมั พันธโ์ ดยตรงกับปจ๎ จยั ท่สี าคญั ตํอการเจรญิ เติบโตของพืชคืออุณหภมู ิความชน้ื 6. ภูมอิ ากาศของท๎องถิ่น 6.1 อณุ หภูมิ ในบ๎านเราอุณหภมู เิ ปลย่ี นแปลงไมํเปน็ ผลตํอการเจรญิ เติบโตของพชื ถา๎ มีน้า เพียงพอ แตํถา๎ ผักหลายชนิดทีน่ ามาจากประเทศจะเกิดปญ๎ หา ความเยน็ ไมํพอตํอการกระต๎นุ ในการสร๎างดอก 6.2 ปรมิ าณนา้ ฝน ในเขตเอเชีย ฝนเปน็ ผลมาจากมรสุม ปริมาณน้าฝนมกั จะมีมากในชวํ งฤดูฝนมัก ขาดแคลน ในฤดแู ล๎ง แตํละภมู ภิ าคมกี ารกระจายตวั ของปริมาณน้าฝน ในแตลํ ะเดือนแตํละปแี ตกตํางกนั ออกไป การทราบสถติ ิขอ๎ มูลน้าฝนจากกรมอุตุนยิ มวิทยา เพื่อใช๎ประกอบการพจิ ารณาในการใช๎น้าอยํางมี ประสทิ ธภิ าพมากขึ้น ระหวํางฤดูปลกู พชื ผักสวนครัวท่ีมีปริมาณน้าฝนเพียงพอ อาจไมจํ าเปน็ ให๎น้าเพ่ิมเตมิ 6.3 ชํวงวันบ๎านเราตงั้ อยูใํ นเขตร๎อน มีความแตกตํางของชวํ งวนั น๎อยมากคอื ไมนํ ๎อยกวํา 30 นาที/วัน พนั ธ์พชื ผกั สวนครัวท่สี ามารถเจรญิ เตบิ โตได๎ดใี นบา๎ นเราเสมอมา ถือวําเป็นพชื ผักสวนครัวประเภทวันสัน้ หรือ ชํวงวนั กลาง สามารถปรับตวั เจริญไดด๎ เี ม่ือมีความยาวของวนั ประมาณ 2ชว่ั โมงตอํ วนั พันธ์ุผักตาํ งประเทศ หลายชนิด เชํน หอมหวั ใหญํบางพนั ธ์ุ ซงึ่ เปน็ พืชชวํ งวันยาว ตอ๎ งการแสงอยํางน๎อย 14-16 ชว่ั โมง/วัน ไมํ สามารถปลกู ให๎สร๎างหวั ได๎ 6.4 ลมในท่เี ปดิ โลํง ลมแรงสามารถทาอนั ตรายตํอพืชผกั สวนครัวได๎โดยตรง ลมแรงเกิดจากพายุโซน รอ๎ นสามารถสรา๎ งความเสียหายไดอ๎ ยํางมาก ถา๎ ไมํมีการสร๎างฉากกาบงั โดยเฉพาะพืชตระกูลถ่วั เปน็ ตน๎ ออํ นแอตํอสภาพลมแรงโดยเฉพาะระยะออกดอกและผล การเตรียมดนิ ปลกู แปลงเพาะ แปลงปลูก การเตรยี มดินเพอ่ื ปลกู พืชผกั สวนครัวการเตรียมดนิ มี 2 อยําง คอื การเตรียมดินเพ่ือเพาะกล๎า กบั การเตรียม ดนิ เพ่ือปลูกพืชผักสวนครวั การเตรียมดิน หมายถงึ การทาใหด๎ ินเหมาะสมกํอนการปลูกพืช การเตรียมดินเพ่ือ เพาะกล๎า กบั การเตรยี มดนิ เพื่อเพาะปลูกน้นั มีดงั น้ี 1. กาจดั วชั พืช ในพืน้ ท่จี ะทาการเตรียมดินควรใช๎จอบถากหรือขุดเพือ่ ใหว๎ ัชพืชตาย หรอื ใชส๎ ารเคมีจดั ใหต๎ าย

2. กาหนดพืน้ ทป่ี ลูก 2.1 แปลงเพาะ ต๎องกาหนดบรเิ วณทจ่ี ะเพาะลงไปแนํนอน ซึง่ ขนาดของแปลงเพาะจะกว๎างยาว ขึน้ อยูกํ ับความต๎องการของผู๎ท่ีจะเพาะ 2.2 แปลงปลูก ตอ๎ งใช๎ไม๎ปลักท้ัง4 มมุ โดยวัดความกว๎างยาวตามความต๎องการซง่ึ วธิ ีทัว่ ไปแปลงปลูก จะมคี วามกว๎าง 1 เมตร ยาว 4 เมตร 3. ขดุ บรเิ วณท่ีกาหนดไว๎ ถ๎าเป็นแปลงผกั ลึกประมาณ 15 ซม. พลิกดินด๎านลํางขึ้นมาดา๎ นบนตากหนา๎ ดนิ ไว๎ให๎แห๎งประมาณ 2-3 วัน จากนั้นทาการยํอยดินและเก็บเศษหญ๎าออกท้งิ 4.ตกแตํงรํองให๎เปน็ รูปทรงตามท่ีกาหนด พรวนดนิ อีกครั้ง ถ๎าดินเปน็ กรดใสปํ ูนขาวโรยบางๆผสม คลุกเคลา๎ พรอ๎ มปุ๋ยคอก ป๋ยุ หมกั ท้งิ ไว๎อยาํ งน๎อย 1 สปั ดาห์ ถา๎ พืชท่ีปลกู จะใชป๎ ลูกเปน็ หลมุ เชนํ พรกิ มะเขือ ควรใสปํ ๋ยุ คอก ป๋ยุ หมัก รองก๎นหลมุ ในวนั ปลูกการเตรียมแปลงเพาะปลกู พชื ผักสวนครัว ปฏิบตั ิดังนี้ 1. วัดขนาดของพ้นื ทท่ี จี่ ะทาแปลงเพาะ โดยวดั ความกว๎างความยาวตามความต๎องการ 2. ใช๎จอบถากหญา๎ หรือวัชพชื ออกจากบรเิ วณที่จะทาแปลงเพาะ 3. ทาการเก็บเศษหรือวัชพืชออกโดยการใชค๎ ราด คราดออกแล๎วเกบ็ ท้ิง 4. เม่อื บริเวณพนื้ ท่ีสะอาดเรียบร๎อยแล๎ว ใชจ๎ อบขุดดินลึกประมาณ 15 ซม. เพอ่ื พลกิ หนา๎ ดินลงไป ขา๎ งลํางและดนิ ลํางข้ึนมาด๎านบน 5. ตากดนิ ที่ขุดไว๎ประมาณ 2-3 วนั แล๎วทาการยอํ ยดินใหล๎ ะเอียด 6. เกบ็ เศษวชั พชื ออกให๎หมด แล๎วนาปยุ๋ คอก ปยุ๋ หมัก ใสํลงไป ผสมคลุกเคลา๎ ดินให๎เขา๎ กับปุย๋ ให๎ดีที่สุด 7. ทาการตกแตํงแปลงใหเ๎ ป็นรูปส่เี หล่ยี มผนื ผ๎า ความต๎องการ พร๎อมทจ่ี ะทาการเพาะเมล็ดตํอไป วิธกี ารปลูกพืชผักสวนครวั พนั ธุ์พืชสวนครัวที่ปลูกกันมากในปจ๎ จบุ นั มวี วิ ัฒนาการเป็นไปอยาํ งรวดเรว็ มนุษย์เรารู๎จกั คัดเลือกพันธ์ได๎ ตํางกันคือ 1. การหวําน พชื ผกั กินใบพวกผักบ๎ุง ซ่งึ เป็นพชื อายุส้ัน การหวํานที่จะให๎ผลดีควรจะนาเมล็ดไปแชํน้า ท้งิ ไว๎ 1 คืน ให๎เมล็ดขยายตวั เกดิ การงอกข้ึนกํอน แล๎วจึงนาไปหวาํ นบนพื้นที่ๆเตรยี มไว๎ การปลกู โดยการหวําน น้ี ควบคมุ การงอกของเมลด็ ได๎ยาก และจะไดร๎ ะยะท่ปี ลกู ไมํแนํนอนจะมีข๎อดีในเร่ืองของตน๎ ที่ได๎จากการหวําน ปลูก แตํงใหมํ ในปจ๎ จุบนั นี้บริษัทบางแหํงซึง่ เป็นผ๎ผู ลิตเมลด็ พันธ์ุ ได๎ผลิตแผนํ เทปยาวๆที่มีเมล็ดจดั วางอยูํตาม ลกั ษณะระยะปลูกของผักแตํละชนดิ เมอ่ื นาไปปลกู ลงดินแผนํ เทปก็จะเป่ือยยยํุ ผสมกับดินไป เมลด็ กจ็ ะงอกขน้ึ ตามระยะท่จี ดั ไว๎ เป็นเร่ืองที่ทันสมยั แตไํ มปํ ระหยดั การหวํานเมลด็ ลงแปลงกลางแจง๎ โดยตรง จะใชไ๎ มํได๎กับเมลด็ พันธ์ทม่ี ีขนาดเล็กมากๆ ซึง่ เมล็ดพนั ธท์ ีม่ ีขนาด เลก็ มากนั้นสํวนมากจะมรี าคาแพง ต๎องการการเตรียมดินท่ีละเอียด มีการปูองกันแสงแดด ลมแรงและฝนไดด๎ ี 2. การหวํานเมล็ดแลว๎ ถอนแยก เปน็ วิธกี ารท่นี ยิ มมาก ในแหลงํ ปลูกพืชผกั สวนครวั ในภาคกลาง ผักที่ นยิ มปลกู โดยวธิ ีน้ีได๎แกํ คะน๎า ผักกาดขาว ผักกาดเขียวปลี ผกั กาดหอม ผกั กาดหัว วธิ ีการนก้ี ารเตรียมดินก็ เหมือนกับการหวาํ นกลางแจง๎ ปกติ แตเํ มื่อตน๎ กลา๎ งอกแล๎วประมาณ 2 สปั ดาห์ หลงั จากหวาํ นกท็ าการถอน แยกตน๎ กลา๎ เพ่ือจัดระยะปลูกใหเ๎ หมาะสมใหมํ 3. การหยอดเปน็ หลุม วิธกี ารหยอดเปน็ หลุมนี้ นยิ มใช๎กบั พชื ผกั ที่มีเมล็ดโต ปลูกแลว๎ จะได๎ต๎นกล๎าทมี่ ี การเจรญิ เตบิ โตเรว็ เชํน ขา๎ วโพด ถ่วั ชนดิ ตาํ งๆแตงไทย ฯลฯ วิธีนีท้ าไดโ๎ ดยการเตรยี มหลุมใหไ๎ ด๎ระยะปลูกที่

เหมาะสม กับเมลด็ พนั ธแ์ ตํละชนิด แลว๎ หยอดหลมุ ๆละ 1-3 เมลด็ หลงั จากงอกแล๎วก็ถอนแยกใหเ๎ หลือต๎นกล๎า ที่โตแขง็ แรงตามจานวนที่ต๎องการ 4. การปลูกดว๎ ยวิธยี ๎ายกล๎า กล๎าผักคือพืชต๎นอํอนท่ีใบจรงิ 2-3 ใบ มคี วามสงู 5-10 ซม. หรอื อายุ 21-30 วนั ทัง้ น้แี ล๎วแตํชนิดของผัก การปลูกพชื ดว๎ ยการเพาะกล๎านี้มีขอ๎ ดีคือ สามารถกาหนดระยะเวลาในการ ปลูกไดต๎ ามต๎องการ พชื ท่ีปลูกด๎วยกลา๎ มีเวลาอยํูในแปลงน๎อย ดแู ลได๎ทั่วถงึ 5. การปลกู ด๎วยการใช๎สวํ นตํางๆ เชนํ ต๎น ราก และหวั ได๎แกํ หอมแบํง กระเทียม ขิงขาํ ตะไคร๎ การดแู ลพืชผักสวนครวั 1. การใหน๎ ้า เป็นการรักษาความชุํมชืน้ การรักษาความชมุํ ช้นื หมายถึง การให๎น้าแกํพืชซงึ่ ตอ๎ งคานึงถึงการ ทดน้าและระบายนา้ การทดนา้ เป็นการเอานา้ เขตในแปลงเพาะปลูกแตเํ มื่อน้าทํวมสวนและขังนานๆพืช หายใจไมํไดก๎ ็อาจจะตายในที่สดุ จึงตอ๎ งขดุ รํองระบายนา้ ใหร๎ ะดบั นา้ ลดลง สาหรับการให๎นา้ มหี ลักเกณฑ์ปฏิบัติดังน้ี 1.1 รดน้าตน๎ ไมใ๎ นตอนเชา๎ และตอนเยน็ ซ่ึงฝนไมํตก ใหค๎ วามชํุมช้นื อยูํเสมอ 1.2 อปุ กรณท์ ใี่ ชร๎ ดน้า ถา๎ ต๎นพืชยงั เลก็ ควรใชบ๎ ัวฝอยละเอยี ดๆ แตเํ ม่ือต๎นโตขน้ึ จะใชบ๎ ัวฝอยหยาบข้ึน 1.3 รดนา้ ให๎ชํมุ ชน้ื พอดี ไมรํ ดจนดินแฉะ และดินแข็งจนเกนิ ไป หรือรดนอ๎ ยจนต๎นไมเ๎ ห่ยี วเฉาตาย 1.4 ไมํรดน้าแรงจนเกินไป เพราะอาจทาให๎ยอดต๎นลม๎ หรือหักและพืชพบั ใบ 1.5 รดน้าใหท๎ วํ มแปลง เพอ่ื วํารากพชื ซง่ึ กระจายอยํูทั่วไปจะได๎ดูดแรธํ าตุอาหารไดท๎ ัว่ ถึง 1.6 หลงั จากรดน้าแลว๎ เอาหญา๎ หรอื ฟางคลุมดนิ ไว๎ให๎ชํุม พืชจะได๎มีน้าใช๎นานๆ 2. การพรวนดิน วิธกี ารพรวนดนิ ที่ถกู ต๎องปฏิบัตดิ งั น้ี 2.1 ควรพรวนดนิ เมือ่ พืชทปี่ ลกู ตงั้ ตัวได๎แลว๎ 2.2 ครัง้ ตอํ ไปพรวนดินเมื่อดินแนํนหรือเวลาใสํปยุ๋ 2.3 อยาํ ใหก๎ ระทบกระเทือนตน๎ พชื อยํางัดโคนตน๎ ขึ้น 2.4 ควรพรวนรอบๆ บริเวณต๎น โดยถือหลกั วาํ ใบไปไหน รากไปถงึ นนั่ ประโยชน์ของการพรวนดนิ 1. ทาให๎ดินรํวนซยุ 2. ทาใหอ๎ ากาศถํายเทไดส๎ ะดวก 3. ชวํ ยเกบ็ ความช้นื ในดนิ 4. ทาลายวชั พชื 5. ชวํ ยทาลายโรคบางอยําง 6. ทาให๎เกดิ รากงอกใหมํ 7. ชํวยรากดดู น้าแรํธาตุของอาหารพชื 3. การใสํปุ๋ย พืชท่ีเจริญงอกงามผลิดอกออกผล ยํอมแสดงถึงความอุดมสมบรู ณ์ของดินและของพชื แตเํ ม่อื ต๎นพชื เหย่ี วเฉาหรือเตบิ โตชา๎ ก็แสดงวาํ ดินขาดธาตุอาหาร การใสํปยุ๋ มีหลักการดังน้ี 1. การใสปํ ุ๋ยอนิ ทรยี ์ ปุ๋ยหมัก ให๎ใสรํ ะหวาํ งตน๎ หรือหลงั จากพรวนดินใช๎ป๋ยุ เคลา๎ ให๎ท่ัว 2. การใสํปุ๋ยอนินทรยี ์ ปุ๋ยเคมี หรอื ป๋ยุ วิทยาศาสตร์ ต๎องดวู ธิ ีการใสเํ สียกํอนโดยอํานข๎างกระสอบปุย๋ ป๋ยุ อนนิ ทรยี ท์ ี่สาคญั ได๎แกํ ปุ๋ยไนโตรเจน ปุ๋ยฟอสฟอรัส ปุ๋ยโพรแทสเซียม – ปยุ๋ ไนโตรเจน ได๎แกํ ปยุ๋ แอมโมเนียมซัลเฟต ปยุ๋ ยเู รยี

– ปุ๋ยฟอสฟอรัส ได๎แกํ ปุ๋ยฟอสเฟต – ป๋ยุ โพรแทสเซียม ได๎แกํ ปยุ๋ โพรแทสเซยี มคลอไรด์ ป๋ยุ โพรแทสเซียมซัลเฟต 4. การกาจัดวัชพชื วชั พชื เป็นพชื ที่เราไมํต๎องการ เปน็ พืชทค่ี อยแยงํ ธาตอุ าหารพืชและแสงสวํางที่ใดมีวัชพชื ข้นึ รก เปน็ ท่ีอยํอู าศยั ของเช้ือโรคและศัตรูพชื ทาใหผ๎ ลผลิตน๎อยลง วัชพืชขึน้ อยูํทวั่ ไปแบํงตามอายกุ าร เจรญิ เตบิ โตได๎ 3 ประเภท 1. ประเภทล๎มลกุ คอื พวกทีอ่ อกดอกออกผลแลว๎ ตายไปภายใน 1 ปี ขยายพันธ์โดยเมล็ด เชํน หญา๎ ยาง หญ๎านกสีชมพู ผักโขมหนาม หญ๎าขจรจบ เป็นตน๎ 2. ประเภทที่มอี ายุขา๎ มฤดู คือ พวกท่เี ตบิ โตแตกกิง่ ก๎านภายในปีแรก แล๎วจงึ ออกดอกออกผลและตาย ภายในปีท่ี 2 ขยายพันธโ์ ดยเมลด็ 3. ประเภทท่ีมีอายุมากกวํา 3 ปี พวกนี้สํวนมากมรี ากเหง๎าซึ่งอยูํใตด๎ นิ ขยายพันธ์โดยเมล็ด เชนํ หญา๎ คา กระทกรก ตูดหมูตูดหมา หญ๎าพง แหว๎ หมู เป็นตน๎ การกาจดั วัชพชื หมายถงึ การคอยดแู ลตัดหรือถอนวชั พืชทขี่ น้ึ แซมพืชทีเ่ ราปลูกออกทิ้งโดยไมใํ หม๎ าแยํง อาหารพืช เชํน น้า แรธํ าตอุ าหารตํางๆ ข๎อควรปฏบิ ตั ใิ นการปูองกนั และกาจัดวชั พืช มีดงั ตํอไปนี้ 1. ใช๎เมล็ดพันธท์ ่สี ะอาดปราศจากวัชพืชและสง่ิ เจือปน 2. หมั่นตรวจแปลง ขยายพนั ธห์ รือเรือนเพาะ เพราะอาจมีวชั พชื ตดิ มากบั กิง่ ต๎นอํอน ดิน หรอื ภาชนะที่ หอํ หม๎ุ 3. ไมเํ ล้ียงสตั วด์ ว๎ ยเมลด็ พืชหรอื หญ๎าฟางที่มีเมลด็ วัชพืชปนอยูํ เพราะเมื่อสตั ว์กินเข๎าไปกจ็ ะถํายออกมา ทาใหว๎ ัชพืชแพรํหลายไปได๎ 4. ไมคํ วรใช๎ปุ๋ยคอกสด เพราะอาจมีเมล็ดวชั พชื ติดอยูใํ นมลู สตั ว์ ควรหมกั ไว๎เสียกํอน 1 เดือน 5. ดินท่ใี ช๎สาหรบั การเพาะปลูก การปราศจากเมลด็ เหง๎าหรือหวั วัชพชื 6. เครื่องมือท่ใี ช๎ในการเกษตรควรสะอาด ไมํมสี ํวนตํางๆ ของวชั พชื หรอื เมลด็ วชั พืชท่ีตดิ อยํู 7. ตอ๎ งดายหญ๎าทกุ ๆ 15 วัน ในบรเิ วณท่ีปลกู พืชผกั สวนครัว 8. ควรถอนวชั พืชท่เี ป็นต๎นออํ น เพราะรากหยัง่ ดินยงั ไมํลึก งาํ ยตอํ การถอน 5. การเด็ดหรือการตกแตงํ 5.1 การเด็ด เป็นการตัดหรอื เด็ดสํวนทเ่ี กนิ หรือสวํ นท่ีเป็นโรคของพืชทง้ิ เพือ่ ไมใํ ห๎เกิดโรคตดิ ตํองําย 5.2 การตกแตํง เป็นการตกแตงํ พืช เพื่อความสวยงาม เพือ่ ความเจรญิ เตบิ โต ตามต๎องการ เชํน ตดั ยอด ไมใํ หส๎ งู ขนึ้ แตํใหแ๎ ผํกระจายไปดา๎ นข๎าง วิธกี ารตกแตงํ ปฏิบตั ดิ ังน้ี 1. เครือ่ งมือทีใ่ ชต๎ ๎องคมและสะอาด 2. เลือกตดั เฉพาะก่งิ บางกงิ่ เทําน้นั และคงไวแ๎ ตกํ ่ิงท่ีงามใหผ๎ ลดก 3. ตดั ก่ิงอยาํ งปราณตี เพ่ือรกั ษาพชื ให๎อยํูในสภาพดีและมีข๎อเสียนอ๎ ยที่สดุ 4. ต๎องคอยตดั กิ่งก๎านท่ีไมํต๎องการเปน็ ประจา 5. หลงั จากตัดกง่ิ ใหญํทุกคร้งั ใชน๎ า้ มนั ขี้โลท๎ าลงบนแผลกิ่งนน้ั เพื่อปูองกันโรคพชื 6. การทาคา๎ งหรือหลักราว พชื บางชนิดลาตน๎ อํอนจาเป็นต๎องทาคา๎ ง หรอื หลักราวจงึ จะออกดอกออกผล จงึ จะทาให๎ไดผ๎ ลผลิตสงู ถ๎าไมํทาค๎างหรือหลกั ราว อาจเนาํ เสยี ผลไมนํ าํ รับประทาน ราคาไมดํ ี เชํน แตงตาํ งๆ ถว่ั ฝก๎ ยาว มะเขือเทศ เปน็ ต๎น

6. การปอู งกนั และกาจัดศัตรูพชื ศัตรูพืช หมายถึง สิง่ ท่มี ชี ีวติ จาพวกจลุ ินทรยี ร์ วมทง้ั ภยั ธรรมชาตทิ ่ีทาให๎พชื ผลเสยี หาย หยุดการ เจรญิ เตบิ โตหรอื ตายในทสี่ ดุ 6.1 ศัตรูมหี ลายชนดิ เกดิ จากสง่ิ สาคญั 4 อยําง ได๎แกํ 1. มนษุ ย์ เกิดจากการลักขโมยหรอื เหยยี บย่า ทาลายใหเ๎ สียหาย 2. สัตว์ เชํน หนู กระรอก นก แมลง คอยกัดกินเมล็ดผล 3. ภัยธรรมชาติ ได๎แกํ – อทุ กภยั หมายถงึ ภยั ทเ่ี กิดจากน้าทํวม เน่ืองจากฤดฝู นมีฝนตกหนัก ทาให๎พืชเสยี หาย – วาตภยั หมายถงึ ภยั ทีเ่ กดิ จากลม เชนํ ลมมรสุม ลมพายุ ซ่ึงเกดิ ขนึ้ ไดท๎ ุกฤดู 4. โรคตํางๆ – โรคท่เี กดิ จากเชอื้ รา ได๎แกํ โรคโคนเนําของต๎นกล๎า – โรคทเี่ กดิ จากเชอ้ื แบคทเี รยี ได๎แกํ โรคเนําดาของผกั – โรคทีเ่ กิดจากเชอ้ื ไวรสั ไดแ๎ กํ โรคใบหดยาสบู 6.2 วธิ ปี ูองกนั และกาจดั ศัตรพู ืช 1. รักษาบรเิ วณ ไรํ สวน ใหส๎ ะอาด 2. ขดุ ไถ พรวนดนิ 3. เมื่อสิ้นฤดูเกบ็ เกย่ี ว ควรขุดดนิ ตากแดด เพื่อฆาํ เชือ้ โรค 4. สร๎างเครอ่ื งกีดขวาง เชนํ สร๎างร้วั รอบบริเวณ ปลูกแนวตน๎ ไผบํ ังลม 5. สรา๎ งเขอ่ื นปูองกนั นา้ ทวํ ม 6. บารงุ รักษาพืชให๎แขง็ แรง 7. ปลูกต๎นพืชที่แข็งแรง 8. ฉดี ยา พนํ ยา ปูองกันโรค 9. ปลกู พชื หมนุ เวยี น ควรปลกู สลบั อยาํ ปลูกซา้ ชนิดกนั เพราะโรคบางอยาํ งจะเป็นกับพืชบางชนิด เทําน้ัน 10. เม่ือพืชเรมิ่ เป็นโรค ใหร๎ ีบรักษาหรือทาลาย เพื่อไมํใหล๎ กุ ลามตํอไป

ประโยชนข์ องพืชผักสวนครัว 1. ประโยชน์โดยตรง มโี ปรตีน แปูง ไขมัน แรํธาตุ 2. ประโยชน์ทางออ๎ ม เปน็ อาหารชรู ส เพราะมรี ปู ราํ ง สี กลิ่นและรสตํางๆ ทาให๎เลือกรบั ประทาน ตามใจชอบ ทาใหเ๎ กดิ ความอยากอาหารและรับประทานได๎มาก เป็นยาเจรญิ อาหาร ย่ิงกวํานั้นกากและ โครงสรา๎ งของผักมสี ํวนหยาบออํ น เหมาะแกํการชาระลา๎ งลาไส๎ ชวํ ยปอู งกนั ท๎องผกู ภาพผกั สวนครัวรว้ั กินได้ 1. มะเขือ 2. ผกั กาดแก๎ว 3. กะหลา่ ปลี 4.ผักกาดขาว (ทีม่ าhttps://sites.google.com/a/bswschool.ac.th/phak-swn-khraw/khwam-sakhay-khxng-phak )

5. ผักตาลึง 6. ผักบ๎ุง 7. หวั ไซเท๎า 8. มะเขือมวํ งยาว 9. พริก 10. ถ่วั ฟก๎ ยาว (ที่มาhttps://sites.google.com/a/bswschool.ac.th/phak-swn-khraw/khwam-sakhay-khxng-phak)

การนาภมู ิปัญญาการปลูกผักสวนครวั ไปใชใ้ นการดาเนนิ ชีวิต 1. เพ่ือสบื สานภูมิปญ๎ ญาทอ๎ งถน่ิ เรอื่ งการปลูกผกั สวนครวั รั้วกินไดเ๎ พื่อนาไปใช๎ในชวี ติ ประจาวันและ นาไปสบื ทอดสํูลกู หลานสบื ตํอไป 2. เพ่ือนาความร๎ูทีไ่ ด๎มาประกอบอาชีพดา๎ นการเกษตร 3. เพื่อใหผ๎ ๎สู งู อายุได๎ใช๎เวลาวํางใหเ๎ กิดประโยชน์

ภาคผนวก - ประวัติผู้จัดทาภูมิปญั ญาศึกษา - ภาพประกอบ

ประวัติผ้ถู า่ ยทอดภูมิปัญญา ชอ่ื : นางกาญจนา สคุ รีพ เกดิ : 6 ตุลาคม 2495 อายุ 66 ปี ภูมลิ าเนา : บ๎านกดุ เต๋า ตาบลนามมะเฟือง อาเภอโนนสังฆ์ จังหวัดอดุ รธานี ทอ่ี ยู่ปจั จบุ นั : บ๎านเลขท่ี 313 หมํู 18 ตาบลวงั นา้ เยน็ อาเภอวังนา้ เย็น จงั หวัดสระแก๎ว สถานภาพ: โสด มีบตุ รด๎วยกนั จานวน 3 คน ดังนี้ 1.นางสาวธิติมา สุครพี 2.นายพิชติ สุครพี 3.นายพชรกฤต สุครีพ การศกึ ษา: ประถมศกึ ษาปีที่ 4 โรงเรียนบา๎ นหนองแวงจมุ พล ตาบลกบุ มุง อาเภอหนองววั ซอ จังหวัดอดุ รธานี ปัจจบุ ัน ประกอบอาชีพ : แมบํ า๎ น ประวตั ิผเู้ รียบเรยี งภูมปิ ัญญาศกึ ษา ช่อื : นางสาวนวลจันทร์ คาสี เกิด : 14 ธันวาคม 2523 อายุ 38 ปี ภมู ลิ าเนา: ตาบลวงั นา้ เย็น อาเภอวังนา้ เย็น จงั หวัดปราจนี บรุ ี ที่อยู่ปัจจุบัน: ตาบลวังนา้ เย็น อาเภอวงั นา้ เย็น จังหวดั สระแก๎ว สถานภาพ: โสด การศึกษา: ปรญิ ญาโท ปจั จบุ นั ประกอบอาชีพ : รบั ราชการครู

ภาพประกอบการจัดทาภมู ิปัญญาศึกษา เรอื่ ง การปลกู ผกั สวนครัวรั้วกนิ ได้

เตรยี มแปลงผกั ให๎มขี นาดพอเหมาะและนาตน๎ กล๎าผักมาลงหลมุ ระยะหาํ งพอดี

นาผา๎ มาคมุ กนั แดดจนกวําผกั จะแขง็ แรง รดนา้ ใสํป๋ยุ บารงุ ผัก

ผกั พรอ๎ มไปรบั ประทานและประกอบอาหาร

ผักชีลาว มะเขือ ตน๎ แมงลกั ตน๎ หอม ผกั กาดเขยี ว

อา้ งอิง ความสาคญั ของผัก - ผักสวนครวั - Google Sites https://sites.google.com/a/bswschool.ac.th/phak-swn-khraw/khwam-sakhay-khxng- phak{Online}.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook