Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการดำเนินงาน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพฯ

รายงานผลการดำเนินงาน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพฯ

Published by neopoint9, 2021-09-14 06:26:09

Description: รายงานผลการดำเนินงาน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพฯ

Search

Read the Text Version

รายงานผลการดำเนนิ งาน โครงการอนรุ ักษพ นั ธกุ รรมพืชอันเนอ� งมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ประจำปงบประมาณ 2563 RA2NE5PNO6URA3TL มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรวี ิชยั Rajamangala University of Technology Srivijaya

รายงานผลการดำเนินงาน โครงการอนุรักษพ์ ันธุกรรมพชื อันเนอ่ื งมาจากพระราชดำริ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ประจำปงี บประมาณ 2563 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรวี ชิ ัย Rajamangala University of Technology Srivijaya

คำ� นำ� โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) เป็นโครงการท่ีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสืบสานพระราชปณิธานและพระราชภารกิจ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงอนุรักษ์ต้นยางนา ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2503 ทรงเห็นความส�ำคัญของการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ทรงด�ำเนินโครงการอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพ ในปี พ.ศ. 2535 สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราชด�ำริกับนายแก้วขวัญ วัชโรทัย เลขาธิการพระราชวัง ให้ด�ำเนินการ อนุรักษ์พชื พรรณของประเทศและดำ� เนินการเปน็ ธนาคารพืชพรรณ และจัดสรา้ งธนาคารพชื พรรณข้ึนในพน้ื ท่โี ครงการสว่ นพระองคฯ์ สวนจติ รลดาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 เป็นตน้ มา ปัจจุบัน การด�ำเนินโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ได้มีการด�ำเนินงานทั้ง 3 พื้นที่ ได้แก่ พ้ืนที่สงขลา วทิ ยาเขตตรัง และวทิ ยาเขตนครศรีธรรมราช ทีส่ อดคลอ้ งกับกรอบการเรยี นรทู้ รัพยากร 8 กจิ กรรม โดยแบง่ ตามกรอบการด�ำเนนิ งาน 3 กรอบ ไดแ้ ก่ กรอบการเรียนร้ทู รัพยากร กรอบการใชป้ ระโยชน์ และกรอบการสรา้ งจิตส�ำนกึ ดังน้ัน รายงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) ประจ�ำปีงบประมาณ 2563 ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ฉบับน้ี จะเป็นส่วนส�ำคัญ ในการผลกั ดนั ใหโ้ ครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� ริ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (อพ.สธ.) เห็นความส�ำคัญของพันธุกรรมพืช เกิดแนวคิดร่วมปฏิบัติในการอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรพันธุกรรมพืช เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล การดำ� เนนิ กจิ กรรมดงั กลา่ ว ไดร้ บั ความรว่ มมอื จากทกุ สว่ นทเี่ กย่ี วขอ้ งเปน็ ผลใหง้ าน สำ� เรจ็ ลลุ ว่ งตามวตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการทกี่ ำ� หนด ไว้อันเปน็ การรว่ มตอบสนองพระราชด�ำริฯ ต่อไป มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ชิ ยั ปงี บประมาณ 2563 | 1 โครงการอนรุ ักษ์พนั ธุกรรมพืชอันเนอ่ื งมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สนองพระราชดำริ โดย มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ยั บทนำ ปปรระะเทเทศศไทไทยยเปเป็นน็ ปปรระะเเททศศหน่ึงท่ีมีความหลากหลายททาางงชชีวีวภภาาพพแลแะลมะีมคีวคาวมาเมสเี่ยสง่ียทงีท่ รี่ทัพรยัพายการกธรธรรมรชมาชตาิถตูกิ ถคูกุกคคุกาคมาในมใหนลหาลยาๆยลๆักลษักณษะณกะารกสารร้าสงรค้าวงาคมวตารมะตหรนะักหแนลักะแใลหะ้ทใุหกภ้ทาุกคภสา่วคนสไ่วดน้รไับดร้รู้ถับึงรปู้ถญั ึงปหัญาแหลาะแรละะดรับะคดับวาคมวราุนมแรรุนงแทรี่เงกทิดี่เขกึ้ินดขก้ึนับ ก สกทอาบั่งนรรผทัพรุ อลักรยนตัพษาุร่อกย์ทักกรารษตากัพท์รา่รยดงรตาๆพั�ำ่ากรงยทรงๆาธ่ีกชกดรทำีวดรร้วลิตกี่ ธม้วยังแำ�รยชสสลลรสาูญภงัมะตภสาชสกิอาูญพา้นิายพตเรสไา่ ศเปบอินิ้งศรยยรไรแษปิ่งัโา่ษลภยฐงฐะแยนืคกกมลัง่ิทจยิจสีะแ่ีเืนแมนว่ ลนลีส้นะระว่คสว่สนวังมังรคาใค่วมมนมมสทกใทะานี่เี่ดปเรกปอวลาลนกี่ยรี่ยสุรอนนักบนแษแาุรปปย์แักลลษลงระง์แอวใอลยชดยะ่้าปเ่าใรงรชง็วระรป้ วโวรแดยดะลชเเโระรนย็วม็ว์ชจีกนพาพา์กรรรจ้ทอแ้อามรกขมัพกท่งกขยับรับาันัพกกกสยาารูงารรธขกขขรึ้นรยยรธามารทยยชรต�ำตามใตัวัวชหขินขา้ทออำตรไงงินปัพสสำ�สััยงงไูก่คคปาากมมสรรเเู่กจมมธาดั ืืออรรกรงงจามททัดรช�ำกำกาใใาาหหตรริ้้ แสล่งะผภลูมติป่อัญกญาราดถำูกรลงะชเีวลิตยไแมล่มะีกกาารรพบัฒรนิโภาตค่อยทอี่เนดค้นวคาวมารมู้ สจะึงมดีคววกาสมบเสา่ียงสรูงวตด่อเรก็วารเสปูญ็นสปิ้นัจเทจั้งกชนแิดลพะมันีธกุ์พารืชแลขะ่งภขูมันิปสัญูงขญึ้นาในทกำาใหร้ ดทำ� รเัพนยินาชกีวรติ ธรรมชาติและภูมิปัญญา ถูกละเลย ไม่มกี ารพัฒนาต่อยอดความรู้ จงึ มีความเสย่ี งสงู ต่อการสูญส้ิน ทั้งชนิดพันธ์ุพืช ว2เ แเททิท.ลวคคยะทิ โโภานยนศูมาโโลาเลิปขสยยญั ตีรตีรญนาารชคชา์แมรมใลนศงงะคกครเธีาลลมทรรใมใหคนดรนหาโมำกกนาวเรลลนวิทโาุ่ม่มุิทลนิชยภภยยชาาาี(กาีวลไคคลิตาสัยใใัยรใเตตหทปเ้้ทญคร55คะโ)่ หโนมหนจนโงนงัโล่วลห่วยยจยยวงีรังงีรัดาาหาานนชนวชเคมัดขเมขรงา้ตงศค้าดครดรล้วังลีธ้วยรรรยากแรากชันลมชันมะรมไงางดไคช5คดแ้ ล,.ล้แกวศ3กศ่ิทร1.่รวยีว.1ีวคทิ ิาช.ิชณยคเัยขัยาณะตเซเขะซกภึ่งตเึ่งษกาเศเกคตษกริดรใิดตีวตศจชิจร้าาศยัาสกจกา(ขตังกสกนหราตา์อรวรร(รัทมด์รว(ว)่งุสทมใมงจหุ่งคขคังใญณหลณห่)าญวะะัดจแแ่)โงันลลดจหคะะยังวรววหมัดศิทิทวีคนรยัดยวคีธาานารรเเรมคศขขมรตรตตรศธีรขขารระออชรีธหงง,มรนสสรร4ถัมถกา.คชาราแณบาบ,ลชันั2นะะ,. ใวหิทค้ ยวาาเมขสตำ�นคคญั รกศบัรีธกรารมอรนารุ ชกั ษ(แ์ไสลใะหใชญป้ ่)รจะังโยหชวนัดจ์นาคกรทศรรพั ีธยรรามกรธารชร,ม3ช.วาิทตยอิ ายเา่ ขงตยศง่ั ยรีนืวิชแัยล(ขะกนาอรมอ)นจรุ ังกั หษวภ์ ัดมู นปิ คญั รศญราีธทรอ้ รงมถรน่ิ าชจ,งึ 4ได.คร้ ณว่ มะ สวนิทอยงาพศราะสรตาชร์แดลำ� ระโิ เคทรคงโกนาโรลอยนีกรุ กัารษปพ์ รนั ะธมกุ งรรจมังพหชื วอัดนั ตเรนังอ่ื งแมลาะจา5ก.วพิทระยราาเชขดตำ�ภราิ สคมใเตด้ จ็ พังหระวเัดทสพงรขตั ลนาราโชดสยดุ มาีคฯวสายมาตมรบะรหมนรักาชแกลมุะาใหรี ้ ก ตอสคกายานุมวรมา่าาอทงแมรงต�ำนีสอพ่องวำยารเพคน่านะรัญงร่ือะต3างกร่อชบัากแเดชนกรลำดาือ่อะรร�ำบงโิไโอรคดคแทินร้จรมลงไี่งัดุรี ดกกะกั8ท้กาไาษ�ำดร�ำรกโ์แห้อจคิจอลนันดกรพะงทดรุรใก.รักไสชำวามโษธ้ปรใ้คห.น์พรตรละเปาันงขกัโมงีกธยา้ บแุากสบชผปรรู่แนนนตรรผ์จฐะมางนาาามมพกนแนแาืชมทททณผอ่บรรสี่นันพััพทพองเยยรดา.นศะาานคื่อกกย.ทลงะ2รร้อีม่สธ5ง3า5อร6กจรด3ฐบัปมาคากแชีทลนพนาี่ห้อตวรกไงิอทะดกยรา้แ(ับ1าง่ากแกชง่ตนยาด1ลุร่ังว.ำาดยทรทคำ�นืิาสรมเงนพัแมกินล2ยเาดง5ะารา็จ5กกดนพ9ราำทกรรเน–อีจ่าะยินะนเ3ทภนงุร0พาาำ�กั นพไรษกปทัต,นั์ภสนี่จ2ยูมจู่ ะร.าิปุดานยทมัญชำนรุ่งสไญพัหปุด2ายมสา5ทาาฯู่จ6ก้อย4ุดรสแง)มชถยลุ่โวีง่ินะาดหภมเยจปมาบมึงพา้ารไกีหยดมรแมแ้รรอลาล่วาบยะะมช 3เป. ้าทหรมัพายยตากามรแวัฒนวนพธรระรรมาแชลดะำรภิทูมไี่ ิปดญ้กำญหานดเไพวื่อใ้ นใหป้ปงี บรปะชระามชานณในพท.้อศง.ถ2ิ่น56แ3ละชุมชนเรียนรูทรัพยากรทองถ่ินว่ามีอะไรบ้างและ นำ� ไปส่กู ารอนรุ กั ษท์ โรคพั รยงากการรทออพงถ.สน่ิ ธแ. ลเขะา้ใสช่แู้ปผรนะโแยมช่บนทท์ รระัพยยะา5กรปนีทั้น่หี ใหกย้ (่งั1ยตนื ุลารคู้เทมา่ แ25ล5ะ9รทู้ –นั 3โ0ดกยนัไดยร้ าับยคนว2า5ม6ร4่ว)มมโดือยจมากี รทอกุ บภกาาคร สท่วำนงาทนี่เก3่ียวกขร้อองบทม้ังี ห8นก่วิจยกงรารนมภหาลยกั ในบแนลฐะาหนนท่วรยพั งยานากภราย3นฐอากนมห1า. วทิทรยัพายลาัยกรรกวามยถภึงาชพุม,ช2น.ใทนรพัพ้ืนยทาี่ดก�ำรเชนีวินภงาาพน แโคลระง3ก.ารทรอพั พย.าสกธร. จร หวทว่ึงัฒนรมเัพป่วนกยยรธันงียารากรบนมรเภสทแมาลอยือะงใถภนน่ินแูมแแกิปล1วล่นญะ.ตัะกหเญใถพลชนปุาาื่อ้ปว่ รงรยรเะกพวงะสาบาโื่อรงยนรใทคชหภว์ขำ�นมป้างอท์ยทรางนะรรนโัชพัพอทคากยยร่ีใชมหาางนกกกห้หใรราานนนธรว่วทรทิั้นยร้อยใงมหงาาชถย้ลนา่ินั่งยั ตตยแ่าิแืนรลงลวะๆมะรชูเทถุมรทงึร่วชา่ชพัมแนุมยบลเชราูระนียกณรในรทู นาภรันกพูมูทาืน้ปิโรรดทัพญังยดี่ายญไนำาดเากใน้รนรบันิ หทคงนอาว้างนาถทม่ินโี่รคสว่วรมา่นงมมอกอีืองาะพจรไารรอกะบพทร้า.าุกสงชภธแด.าล�ำคจะรงึสนิโเ่วดำปนยไรปทมียสี่เีวบกู่กัตเี่ยสถาวมรุปขออื ร้อนนะงุแสรักกงทค่นษั้ง์ ์ กลางการทำงานท่ีใ2ห.้หเนพ่วื่อยองนารุนักตษ่างแ์ ๆละรใ่วชม้ปบรูระณโยาชกนาร์พงันาธน์พุ ในืชหในนทา้ ้อทง่ี สถนิ่ องพระราชดำริโดยมวี ัตถุประสงคร์ ว่ มกัน วตั ถุประ3ส.งคเพ์ข่อื อจงัดโคระรบงกบาขรอ้ มลู ทรพั ยากรและภมู ิปัญญาในพื้นทโี่ ดยรอบมหาวทิ ยาลัย 1. เพอื่ รว4บ.รเวพม่ือทสรรพัา้ งยจาิตกสรธำ� นรรึกมในชากตาิแรอลนะทรุ ักรัพษย์ทารกพั รยภาูมกปิรแัญลญะาภูมิปัญญา 2. เพอ่ื อนุรักษ์และใช้ประโยชน์พนั ธ์พุ ชื ในท้องถนิ่ 3. เพ่อื จัดระบบข้อมูลทรพั ยากรและภูมิปญั ญาในพน้ื ที่โดยรอบมหาวทิ ยาลัย 4. เพอ่ื สร้างจติ สำนกึ ในการอนุรักษ์ทรัพยากรและภมู ิปญั ญา 1โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ชิ ยั ปีงบประมาณ ๒๕๖๓

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ได้ร่วมสนองพระราชด�ำริ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� ริ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี และไดจ้ ดั ทำ� โครงการตามแผนงานทส่ี อดคลอ้ ง กับแนวทางการด�ำเนินงานท่ีจะน�ำไปสู่จุดมุ่งหมายและเป้าหมายตามแนวพระราชด�ำริที่ได้ก�ำหนดไว้ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ไดด้ �ำเนนิ การโครงการต่างๆ ตามแผนแม่บททีม่ หาวทิ ยาลัยต้งั ไว้ โดยครอบคลุ มทัง้ 3 กรอบการเรียนรู้ ผลการด�ำเนินงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริฯ (อพ.สธ.) ประจ�ำปี งบประมาณ 2563 มีจ�ำนวนโครงการทั้งสิ้น 27 โครงการ จากหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย จ�ำนวน 17 หน่วยงาน ไดแ้ ก่ 1. พืน้ ที่ตรัง จ�ำนวน 11 โครงการ - คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารประมง 5 โครงการ - วทิ ยาลัยการโรงแรมและการทอ่ งเที่ยว 1 โครงการ - คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี 1 โครงการ - สถาบนั ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 1 โครงการ - สถาบนั วจิ ัยและพฒั นา 3 โครงการ 2. พื้นท่ีนครศรีธรรมราช จ�ำนวน 6 โครงการ - คณะเกษตรศาสตร์ 3 โครงการ - คณะอุตสาหกรรมเกษตร 1 โครงการ - คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 1 โครงการ - คณะเทคโนโลยีการจัดการ 1 โครงการ 3. พน้ื ที่สงขลา จ�ำนวน 10 โครงการ - วทิ ยาลัยรัตภูมิ 3 โครงการ - คณะศลิ ปศาสตร์ 2 โครงการ - คณะวิศวกรรมศาสตร์ 2 โครงการ - คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ 1 โครงการ - คณะครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรมและเทคโนโลยี 1 โครงการ - คณะบรหิ ารธรุ กจิ 1 โครงการ ซ่ึงมผี ลการด�ำเนินงานดังตอ่ ไปนี้ 2 โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวชิ ยั ปงี บประมาณ ๒๕๖๓

สารบัญ สารบญั หนา้ บทนำ ๑1 พ้นื ที่ตรัง ๕3 โครงการบริหารจดั การศูนยป์ ระสานงานโครงการ อพ.สธ. ภาคใต้ฝั่งอนั ดามนั มหาวทิ ยาลัย ๑1๑2 เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ๑1๔7 โครงการการเขา้ รว่ มจัดนทิ รรศการในงานประชมุ วชิ าการและนิทรรศการ อพ.สธ ๑2๖2 โครงการจดั ทำหนงั สือเผยแพรผ่ ลสำเรจ็ จากโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพ ๑3๘8 รัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ของ มทร.ศรวี ชิ ยั ๒4๑9 โครงการผลติ ภัณฑ์จากเปลือกไม้เสม็ดขาวและเสม็ดแดง (การสกัดสารสีจากเปลือกไม้เสมด็ แดง) ๒6๒5 โครงการการคดั แยกและเก็บรวบรวมสายพนั ธ์ุเช้อื ราไตรโคเดอรม์ าจากดนิ บริเวณรากเสม็ดแดง ๒7๕7 โครงการคัดเลือกสายพันธเุ์ หด็ เสมด็ เพ่อื นำไปใช้ในด้านผลิตภัณฑ์อาหาร และผลิตภัณฑเ์ ภสชั ๒9๗2 โครงการองค์ประกอบทางเคมแี ละฤทธทิ์ างชีวภาพของเสมด็ ขาวและเสม็ดแดง (การพฒั นาผลติ ภัณฑ์ เจลแอลกอฮอลล์ า้ งมือแบบไม่ตอ้ งใชน้ ้ำทมี่ สี ว่ นผสมของสารสกัดจากเสมด็ ขาว) 1๒0๙0 โครงการการผลติ ผลิตภัณฑ์ทางชวี ภาพจากพชื ในปา่ ชายหาด (ศกึ ษาการใชป้ ระโยชน์จากเปลอื กไม้ 1๓0๑9 เสม็ดขาวและเสม็ดแดง) 1๓1๓8 โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูลพนั ธ์พุ ืชป่าชายหาด บริเวณ มทร.ศรีวชิ ัย วทิ ยาเขตตรัง ผา่ นเวบ็ 1๓3๕5 แอปพลเิ คชัน 1๓4๘5 โครงการจัดทำแปลงพันธุ์ไม้ปา่ ชายเลนและสรา้ งจิตสำนึกการอนุรกั ษ์พันธไ์ุ ม้ป่าชายเลน 1๔6๐1 โครงการอบรมภาษาอังกฤษแก่แกนนำยุวมคั คเุ ทศกป์ า่ ชายเลน 1๔7๒4 พ้นื ที่นครศรธี รรมราช 1๔8๔2 โครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื สมนุ ไพรกระตุน้ ภูมคิ มุ้ กันและต้านเช้ือโรคในสภาพสวนปา่ ธรรมชาติ โครงการการใช้ประโยชนท์ เุ รยี นเทศเพ่อื การป้องกนั กำจัดศตั รูพืช (เหยื่อพษิ สำเร็จรปู ทีม่ ีส่วนผสม ของนำ้ มนั หอมระเหยจากใบทุเรยี นเทศกำจดั ปลวกใต้ดนิ ) โครงการการจำแนกพันธุกรรมทเุ รียนเทศด้วยเทคโนโลยีชวี ภาพ โครงการสรา้ งผลติ ภัณฑ์ทม่ี มี ูลค่าเพมิ่ จากสมุนไพรมะขามปอ้ ม โครงการการจัดทำฐานขอ้ มลู สมนุ ไพรมะขามป้อม โครงการการพฒั นาผลติ ภัณฑ์จากทุเรยี นเทศ : ทเุ รียนเทศเข้มขน้ บรรจุขวดและน้ำทุเรียนเทศพรอ้ ม ดมื่ เพ่ือสุขภาพรสชาตติ ่างๆ

สารบญั สารบญั หหนน้า้า พ้ืนที่สงขลา โครงการเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาติ อนรุ กั ษพ์ ันธุกรรมพชื รว่ ม และรกั ษาปา่ ต้นนำ้ ในเขตพน้ื ท่ปี กปกั 1๔9๖3 อพ.สธ. 1๔9๙8 โครงการปลกู รกั ษาพนั ธุกรรมกล้วยพน้ื เมืองที่ได้จากการสำรวจ (บำรุงรกั ษาและอนุรกั ษภ์ มู ิปญั ญา 2๕0๑3 ด้านพนั ธกุ รรมกลว้ ยพน้ื เมืองในพนื้ ท่ีปกปัก) 2๕1๔1 โครงการกล้วยครบวงจรโดยใชเ้ ทคโนโลยีสมาร์ทฟารม์ ในพนื้ ท่ีรวบรวมพนั ธกุ รรมกลว้ ยพ้นื เมอื ง 2๕1๗8 อพ.สธ 2๕2๙3 โครงการสรา้ งจิตสำนกึ ในการอนรุ กั ษพ์ ันธุกรรมพชื (กลว้ ย) 2๖3๑0 โครงการ “การทำบรรจภุ ัณฑจ์ ากผลิตภัณฑก์ ลว้ ย”สู่เชิงพาณิชย์ 2๖3๔9 โครงการพัฒนาเคร่อื งผลิตกล้วยแผ่นสำหรบั แปรรปู ผลติ ภัณฑ์กลว้ ย 2๖5๖0 โครงการงานอนรุ ักษ์และใช้ประโยชน์จากกลว้ ยพน้ื เมืองสกู่ ารเปน็ นวัตกรรมเพอ่ื ชมุ ชน 2๖6๘0 โครงการการทำผลิตภัณฑ์ใยกาบกลว้ ยสู่ชุมชน โครงการการสง่ เสริมการแปรรปู แป้งกลว้ ยจากกล้วยพน้ื เมืองภาคใตเ้ พ่ือใช้ประโยชน์ในผลิตภัณฑ์ อาหารม่งุ สคู่ วามยงั่ ยืนของชุมชน โครงการการศกึ ษาการใชป้ ระโยชน์จากกาบกล้วย

โครงการ บริหารจดั การศนู ย์ประสาโคนรงงากนารโคอพร.งสกธ.า–รมอทพร.ศ.สรีวธชิ .ัยภปาีงคบใปตระ้ฝมง่ั าอณัน2ด5า6ม3ัน -1- โครงการ บริหารจัดการศูนย์ปมรหะสาาวนทิงายนาโคลรัยงกาเทร อคพโ.นสธโ.ลภยารีคาใตช้ฝม่ังองันคดลาศมรันีวมชิ หยัาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล ศรวี ิชยั ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ หวั หน้าโครงการ ดร.วิกจิ ผินรบั รองผู้อำนวยการสถาบันวจิ ัยและพฒั นาฝ่ายสารสนเทศการวิจัย สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรวี ิชยั ลกั ษณะโครงการ ตรงตามกิจกรรมของโครงการอนรุ กั ษ์พันธกุ รรมพชื อันเนอ่ื งมาจากพระราชดำริฯ กจิ กรรมท่ี 7 กจิ กรรมสร้างจิตสำนึกในการอนรุ กั ษพ์ ันธุกรรมพชื กจิ กรรมท่ี 8 กิจกรรมพิเศษสนับสนนุ การอนุรักษ์พันธุกรรมพืช วัตถุประสงคข์ องโครงการ 4.1 เพ่อื สนองพระราชดำรโิ ครงการอนุรักษ์พันธกุ รรมพืชอันเน่อื งมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ.) 4.2 เพ่อื ประสานงาน ฝกึ อบรม จัดแสดงผลงาน ร่วมกบั เครือข่ายหน่วยงานทเ่ี ขา้ รว่ มสนอง พระราชดำริ ในพนื้ ทีช่ ายฝง่ั อันดามัน 4.3 เพอื่ ร่วมสรา้ งจิตสำนกึ ใหเ้ ข้าใจถึงความสำคญั และประโยชนข์ องพันธุกรรมพืช ให้รู้จกั หวงแหน รู้จักการนำไปใชป้ ระโยชนอ์ ย่างยั่งยนื สถานทีด่ ำเนนิ การ กจิ กรรมท่ี 2 การฝึกอบรมสำหรับหนว่ ยงานทีเ่ ขา้ รว่ มสนองพระราชดำริ ในพื้นท่ีชายฝงั่ อันดามัน (การฝกึ อบรมงานฐานทรพั ยากรท้องถ่ิน) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรวี ิชัย วทิ ยาเขตตรัง หรือจังหวัดในพืน้ ท่ีชายฝ่งั อันดามัน กิจกรรมท่ี 3 การเพาะชำกลา้ ไมป้ ่าชายหาดโครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวชิ ยั เพาะชำกลา้ ไม้ป่าชายหาดจำนวน 500 ต้น จดั ทำโรงเรอื นเพาะชำพร้อมติดต้งั ระบบรดน้ำ จำนวน 1 โรงเรอื น กจิ กรรมท่ี 4 การจดั ทำสื่อวดิ ที ศั นป์ ระชาสัมพนั ธผ์ ลการดำเนนิ งานโครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวชิ ยั ผลติ สอ่ื วดิ ีทัศน์ประชาสมั พนั ธผ์ ลการดำเนินงานโครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวิชัย กิจกรรมท่ี 1 จ้างเหมาเจ้าหนา้ ทีป่ ระจำโครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ิชยั เน่ืองจาก ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ. ภภาาคคใใตต้ฝ้ฝ่ังั่งออันันดดาามมันน มมีคีคววาามมจจำ�ำเเปป็น็นตต้อ้องงจจัดัดจจ้า้างงเเหหมมาเจ้าาหหน้าท่ีประจำ� ศูนย์ประสานงานน อพ.สธ. จำ� นวน 2 อัตรา ใในนตตำ�ำแแหหน่งง เเจจ้า้าหหนน้า้าทท่ีบ่ีบรริหิหาารรงงาานนทั่วไป เเปป็น็นรระะยยะะเเววลลา 112 เดือน (ตลอดปีงบประมาณณ)) เพเพอื่ ื่อดดำ�ำเนเนินินกกาารรงงาานนเกเกี่ยี่ยววกกบั ับโคโครงรกงการารอพอ.พส.ธส.ธ–. ม–ทมรท.ศรร.วีศิชรยัีวิชแัยละแเลปะ็นเหปน็ ่วหยนป่วรยะปสราะนสงานงกาานร จกดัารกจิจัดกกริจรกมรฝรมึกอฝบึกรอมบศรึกมษศาดึกูงษาานดตูง่านงๆต่าใงหๆ้แกใ่หน้แก่วย่หงนา่วนยภงายนใภตา้กยาใรตส้กนาอรสงพนรอะงรพารชะดรำารชิทด่ี�สำรนิทใจี่สจนะใจเรจียะนเรรียเู้ กนี่ยรวู้เกี่ยับวกกาับร ดกาำรเนดิน�ำเโนคินรโงคกรางรกดาังรกดลัง่ากวลข่าอวงขมอหงมาหวิทาวยิทายลาัยลเทัยเคทโคนโโนลโยลีรยาีรชามชงมคงลคศลศรีวริีชวิชัยัยโดโยดเยจเ้จาห้าหนน้า้ทาที่ป่ีปรระะจจำ�ำโโคครรงงกกาารรจจะะมมีหหน้าที่ ประสสาานนงงาานนเกเยี่กวี่ยกวบั กโับคโรคงกรางรกอานรุรอักนษุร์พักนั ษธ์พุกรันรธมุกพรชื รอมนั พเนืชือ่ องันมเานจ่ือากงมพาระจราากชพดรำ� ะริฯรามชหดาำวรทิ ิฯยามลหัยเาทวคิทโนยโาลลยัยีรเาทชคมโงนคโลลศยรีวรชิายัช มในงภคาลพศรรวีวมิชทยั ้ังใหนมภดาพรวมทั้งหมด 5โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวชิ ยั ปงี บประมาณ ๒๕๖๓

โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวชิ ยั ปีงบประมาณ 2563 -2- กจิ กกรรรรมมทท่ี ี่๒2กกาารรฝฝกึ กึอบอบรมรสม�ำสหำรหับรหบั นห่วนย่วงยานงาทนี่เขทา้ ่ีเรข่ว้ามรส่วนมอสงนพอรงะพรารชะดรา�ำรชิ ดในำรพิ ื้นในท่ีชพา้ืนยทฝีช่งั อายันฝดางั่ มอันดามนั (การฝกึ กออบบรรมมงงาานนฐฐาานนททรรัพัพยยากากรทรทอ้ ง้อถงนิ่ ถ)่ิน)ด ้วยด้เวหยตเหุผตลุผกลากราบรรบิหราิหราจรัดจกัดากราศรูศนูนยย์ป์ปรระะสสาานนงงาานนโโคครรงการอนุรักษ์ พพันันธธุกุกรรรรมมพพืชืชฯฯ ภภาาคคใใตต้ฝ้ฝ่ังั่งออันันดดาามมันัน มมีวีวัตัตถถุปุปรระะสสงงคค์เพ์เพื่อื่อสสนนอองงพพรระะรราาชชดดำ�ำรริ แิ ลและเะปเป็น็นศูนศูนย์ยป์ประรสะาสนานงางนานขขอองคงคณณะทะี่ ปทอรพขทฐขอปพมเพขานัณาี่ี่ปรณััฒหปนััฒงรช้มนะสงรึกาะรสะมนนแกงูาะทึวเกษเูงสงาขอจาดดริทคกษสดุาั็กบงียัพียลใใยแุรดแาษวไนนวยศและาปลกแ์ทกฐฐาระลบลดแะันล่ัวันาีวกาคัย่ี้วะมลไเิชนนะรเวตพเปยพปีปะัยาททะะคร่ือมเปอ่ืรผผรอ้ัคงวพอจเสะเูะู้้รรรงปึงาโง่ือปำ�สสัับบถนะสไคม็นคใ็นดติทน่ิหสผผ์กโาญัสเ้ดเูลลคิิดาข้เธดนาคำใป�ำยริรภนอชชนรกเคแ็นบือีนรองือาบอกัับลญเรขาภินพบขับรคบิะหชห่าหิาก่าใรโโหรายมจนคคยิคจืาอนะรในรนงรใกขใรบ่วสนนจตนคงรง่่าเว่ยวรกดัปก้อฝกรยกลยนิหกางมางั่ขง็นาาศงทราาอรฝรรอาทรารศรนจ้อังศึกจรงีวศนวี่ปึกัดดโงอทึจักดิชนูคมถทษราตบัษตดี่เัยยริ่ทนะม่ีาั้เงขรั้งาปง์กเขจวศใั้ันงม้ศกพาวรนาิจัภ้กูนาเาิรจูนะ่ือรกพัอยษรราย่สวยัยใศลันงื่อ่คว์์าทปมงห์ปาุ่มอูนพปนมาใรั่วน้สเพรจตนงบปรยะสไอะันงา.้จะปปอ์ส็สปนนหนนสัอกงนะาธเโรวอาุรหจอค.นคกงุรัดันะกงึงวพบรับกัรงทษสพไงงัดาือกไษภดร่ีมาก์าพปนรอขลนะู้เ์ดีรพานะักนโด่ืุ่นม่าะรรโำันคร็ตงธ้ยวคบหๆเาอรธาาุนกยขรบนชพแงกุชนพริงนอก่วก.ดลอรรสดกังโยกงาาระงำมงคธ�าำรโงริจมคาพร.พคราบรรกซิ์กพตนิื้นืรตชงรอกอง่ึราืชากฐงิหฯสาทพรพรรกามฯานาะม่ีม.บน.าสรขบรโสอโฝขรโงทรคธอคงี่ธาิดึหกออ.รพงตร.รนฝอฝยอังพาพรงรงัท่พงรั่งมอบะยังกอก.อส่ีเอร.สพีาจรขาพสาันา่วัสนกมำธ.้มรรชธ.สนดตรดสน.เแฯฯด.ธทาพูลทาธขวซำ�ท.ม้อม่ื.้ออรใ็งนึ่ใงแั่ีนมงในแโิันใงพนสผดนถลนีรลถพบู้พยเ่ินนะกจะจกะน่ิขื้มปนรื้ขึางนบมึองา้าใะหเรอเะรีปทนทงบรลลนนางนกพ่รว่ีก่ี็ชงชก็วงภอี้ ะ้ีับมเลทเิราาาสสงาหหสกทุ่มยะรยคยถถ็ิทน็นรลาบจ้ัใงรฝฝาาธถลวตถุ่สมงัาบบรั่ังิภ่ึมงยัง้ฝึหงิ้ินชหหันัอนเอาเทเั่งวทปดปจนพาัววนัอนั้งดัค้ิราจาิจ้าำ่วจังภดดโหงักยหดัยรยนภานาาาิแมาโแงมคเโเูน2มมปดมลาลกาลใาััท็นันนนตนยยย1ะ็ตยะ้ี่ี จหังนหว่ วยดั งอา่ืนนๆจแำลนะวพน้ืนท7ใ่ี0กลคเ้ นคยี ใงน รโะดหยมว่าีจง�ำวนันวทนผ่ี 4ู้เขา้–ร7ว่ มกทุม้ังสภิ้นาจพานั กธ๒์ 2๑5ห6น3ว่ ยณงามนหจา�ำวนทิ วยนาล๗ยั๐เทคคนโนในโลระยหรี าวช่างมวงันคทล่ี ศ๔รวี–ชิ ๗ัย กวมุิทภยาาพเขนั ตธ์ต๒ร๕ัง๖๓ศูนณยม์ปหราะวสทิ ายนาลงยัาเนทโคคโนรงโลกยารีราอชนมุรงคักลษศ์พรวัีนชิ ธยั ุกวรทิ รยมาพเขืชตฯตรใงันศพนู รยะป์ รราะชสดานำงราิ นภโาคครใงตกา้ฝรั่งออนันรุ ดกั ษามพ์ ันนั ธไกุ ดร้จรมัดพกชื าฯร ฝในึกพอรบะรรมาปชดฏำ� ิบรัติ ภกิ าาครใงตาฝ้ นง่ั ฐอานั นดทามรนัพยไดาจ้กดั รกทา้อรงฝถกึ นิ่อบ(6รมงปาฏนบิ )ตั รกิ ุ่นาทรงี่ า1น/ฐ2า5นท6ร3พั ยสาำกหรรทับอ้ หงถนนิ่วย(๖งางนาฐนา)นรนุ่ททร่ีัพ๑ย/๒าก๕ร๖ท๓้อสงำ�ถหิ่นรใบัน หพน้ืน่วทยี่ภงานคฐใตาน้ฝทั่งอรัพนยดาากมรันท้อโดงถย่ินไดใน้รพับ้ืนเกทีย่ีภราตคิจใตา้ฝกั่งผอันู้ช่ดวยามศันาสโตดรยาไจดา้รรับยเก์โกียรสตินิจทารก์ พผัฒู้ช่วนยมศณาสี ตรอรางจอาธริกยา์โรกบสินดทีปร์ะพจัฒำวนิทมยณาี รเขอตงอตธรกิ ังามรหบาดวีปิทรยะาจลำ� วยั ิทเทยคาเโขนตโตลรยงั ีรมาหชามวงทิ คยลาศลยัรเีวทิชคัยโนกโล่ายวีรเาปชิดมกงคาลรศฝรึกวี อชิ บัยรกมลใน่าวคเปรั้งดิ นก้ีการิจฝกกึ รอรบมรในมใชน่วคงรเงั้ชน้า้ีกเปิจ็กนรกรามรใอนบชรว่ มง เเชก้าี่ยเปวก็นับกาแรนอวบทรมาเงกก่ียาวรกดับำแเนนวินทงาางนกสารวดน�ำพเนฤินกงษานศสาวสนตพรฤ์โกรษงเศราียสนตแร์โลระงเงราียนนฐแาลนะงทารนัพฐยานาทกรรัพทย้อางกถริ่นทต้องาถมิ่นแตนาวมทแนางวขทอางง ขโคอรงงโคกรางรกอานรุรอักนษุรัก์พษัน์พธัุนกรธุรกมรรพมืชพอืชันอเันนเ่ือนงื่อมงามจาาจกาพกพระรระารชาชดดำ�ำรริฯิฯโดโดยยนนาายยมมรรกกตต ววัชัชรรมมุสุสิกิก ววิทิทยยาากกรรโโคครรงงกกาารรออนนุรุรักักษษ์ ์ ลเอกอปพตจอโอเพศกจบ�กีาำงรังนัาบรรันี่ย้ารเะสทหรชีัวธงภรธหวสจาู่ังุ้กิชทีพวมุกกอะำ�นณยรัดัยะัใใดบสโสรัง้ราคนนตเริเมัไงกมทโวลกรดทรมนชขดาพิทงี่ปา้ลังรพ้่ออ้ีวยกืชแยงร1ปงงาง4ืกชจอพะลาเรรถ.วังลอกนั.จนื้เะะเัหิ่นนออข่าุ่มันเยำทเกนพวแบตกขสโเ่ียเี่สอัดือ่คคกน.ุา้ตรดามส�ำบงตขรรร่ือมเรรธทชมอยื่อรองผวงังเ.า้มักงา่ีาชงยงจมจลจชชยอาแธิงมางาิต๒าุีมรพานีกกปขกจชกกน.ชสแงาอทฏาอพมลฐนไำ�อคลกง้ัพงิบพรมา้วนะบากพยะน.ัิ้ตฝยณพกั ภรสรรังารทิาพฉกิปธมูามธไระดราดชารบภเ.ูิมปอรพัชะบสรด้ลั้าจณ้าาัญบิงรยเัมำ�นงชากปาา3ฑรญรรพพแกดชี่ยกฏิฯ่วม.ส์สาส้ืันวนำรวิบมใไงเังัตำแรทธทกนยดจัตปนิฯลแว์้อับี่ี่ันสยท้ิกรลอะลัก์นงักทมำา้แอบ่กำอถะพ�้ำรรารลชงเวานิ่ยเรเรภวถ์รกรทิะมกใพาะอจิ่ปฝนอนีกยยี่ยกชรัน�ำงึกสกชราวาราาเมาอธกะิามุเภกรตรชนกงุ์ปบรรกฝชับอสิวจคาผผฐรูมนึกอสกัะงาช้ลูลมา้ตาิเอบจาสกว่กนิตแปลรัวังบอมยาตเลฏทปอหงผคขราขระสยิบรรวจอมู้รชชัองวะ่าู่ทััตพัด่ือังงีปพ่ วงงิทกหมกิ ะงตยโใเยฏแอยแาหดวกเนราศลลิบรบัดากยา่าังกชงกะาวตอัมงแตรา่ว2ทิสภสรราีกแกนิกทงังผูชตย.ตูิจมลขฐาว้อีพาู้ชรกอาิะรปรัอ4นลงโ่วรในบงเา.บังญถสยันเขรยาทจยรชร่ิเุนมดท้านขญทมรี่ยาุามกเทใ้ออพัฐคมรณเยานชาชง้งาาโยยชใี่ยรนถชนมนิงยนาม์อปมโ่ินุปมโหกขทดทธบลณชรกชรฏนาอยรย้รอมะทาวนิบักพามงรี งบรภพ้อิทคกาลดตัถตยผ้างชิพาายุา่งัมัว่ินิกลาถนรมศนราิธเอกิตา่นิกปคงแลอ้ีรภยรรกคาูม๑รสีัยบ(ทัเณ่ลารลื่อ๖ศ้าก.งเรง้้ผวอศทงจฑรี่ยอโมยรแงรลงีคัชดวนบ์ส่วาฉวไีถกิตโักยยดนมชิรัทตาิ่นงนเัมบมปยับ)้รคไวรโผมเัีบล(กก์โน์ลรวช6ู้ดออ้ฝ๓่อิ่ืาจอทิเย้ำิงยกาำำยรป.รกยงีรงเดเีนปยพแาาจาฏารภเสยชเรชรัา้นวนกรบิ ขอัมห่ีตยะมมมยธง)ัตตสพมิกนจุ์ปสงงกกิกตโิเัชคนคอาาู้ดตูมกาาราทมกลลธบร้ายงัรรรา์่ี ผสู้ชถ่วายบศันาวสิจตัยรแาลจะารพยัฒ์ปนระาภมหาศารวี ิทศยราีชลัยัยเผทู้อค�ำโนนวโยลกยาีรราสชถมางบคันลวศิจรัยีวแิชลัยะพกัฒล่านวาปมิดหกาวาิทรอยบาลรัยมเทแคลโะนมโอลบยีรปารชะมกงาคศลนศียรบีวิชัตัยร กพลรา่อ้ วมปกดิ บั กขารอองบทรี่ มะลแกึ ลใะหมก้ อับบหปนระว่ กยางศานยีทบ่เี ขตั ้ารอพบรอ้รมกในบั คขรอั้งนที้ร่ ะลึกใหก้ บั หนว่ ยงานท่ีเข้าอบรมในครงั้ นี้ กิจกรรมที่ 3 การเพาะชำกลา้ ไม้ปา่ ชายหาดโครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวิชยั กิจกรรมการเพาะชำกล้าไม้ป่าชายหาดโครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวิชัย ได้ดำเนินการเพาะชำต้นกล้าไม้ ปา่ ชายหาดจำนวน 500 ต้น โดยต้นกล้าท่ีเพาะชำมี 2 ชนิด คือ ต้นพังกา และต้นโกงกางคละกนั โดยเมื่อตน้ กล้า มสี ภาพแข็งแรงอายุครบ 3 เดือน จะประชาสัมพันธ์ให้บุคลากร ชาวบ้านรอบข้างมหาวิทยาลัย ท่ีสนใจนำไปปลูก เพือ่ เป็นการอนุรักษ์พันธกุ รรมพชื ไมป้ ่าชายเลน กจิ กรรมท่ี 4 การจดั ทำสอื่ วดิ ีทศั น์ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานโครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวิชัย การจัดทำส่ือวิดีทัศน์ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานโครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวิชัย ได้ดำเนินการ จดั ทำวดิ ีทศั น์ แนะนำ เผยแพร่ผลงานโครงการ อพ.สธ. - มทร.ศรีวิชัย ในรูปแบบสารคดีประกอบเสียงคำบรรยาย จำนวน 4 คลิป โดยคลิปที่ 1 เร่ืองกล้วย จังหวัดสงขลา คลิปที่ 2 เร่ืองเสม็ด จังหวัดตรัง คลิปท่ี 3 เรื่องมะข้าม 6 โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวิชัย ปีงบประมาณ ๒๕๖๓

โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ชิ ยั ปีงบประมาณ 2563 -3- ป้อม จังหวัดนครศรีธรรมราช และคลิปที่ 4 ภาพรวมโครงการทั้งหมด ซ่ึงสื่อวิดีทัศน์ที่จัดทำข้ึนเพื่อใช้ในการเป็น ส่ือประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานของโครงการอพ.สธ.ของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ิชัย ปัญหาและอปุ สรรคที่พบในระหว่างการดำเนนิ งาน 10.1 การติดต่อประสานงานระหว่างหน่วยงานฐานทรัพยากรท้องถ่ินที่เข้าร่วมสนองพระราชดำริ ค่อนข้างยาก เนื่องจากหน่วยงานส่วนใหญ่ได้รับหนังสือล่าช้าและพื้นที่จัดโครงการไกลจากท่ีตั้งหน่วยงานเกินไป จึงมีหนว่ ยงานเข้ารว่ มคอ่ ยขา้ งน้อย ใก ศเนฉลาพพุ่มสืน้าเตปะทร้ากีภ่โ์ หรลา1๑มงุ่มคเ0า๐ใรเยปต.ยี.2๒หฝ้้านัง่หนใเอเน่นวมนันยอื่พา่ือดงยงน้ืงาาจหจนทมาานฐัน่ีภกก่วาเจาจขยนคำ�ำ้างทนในราตรวว่วนัพ้ฝนมนฐ่งัยดงงาอาบบว้นกันยปปทรดรรรทาะะัพ้อมมมยงันาาถาณเณ่ินกขทรเทา้ ททร่ีมม่ี ่า่วีคอ้ีคนม่องอ่้ันดถนน้ว่นิขซขยเ้าึ่ง้าทงใงจ่านจน�ำปำกั้นกีถัดัดัดซทไทึง่�ำปใำใคนหใหาป้ศด้ศีถูนวูนัดย่ายไ์ปจปป์ะรคเะรปาะสิดดสาใวนาหา่นง้หจางนนะาเนส่วปยาสิดมงาาใามหนรา้หถสรจวนถนัดว่จพกยัดิจฤงกกาษจิ นรศกรสารมวสรในตมหพรใ้ไห์โดฤร้ไ้เษงดฉเพร้ ียานะ ผผลลกกาารรดดำ� ำเเนนนิ นิ งงาานน มมีกลีกุ่มลผุ่มู้มผา้มู เารเียรนียรนู้ทรั้งทู้ ในั้งใพน้ืนพทื้น่ีแทละแี่ นลอะกนพอื้นกทพ่ีมื้นีจทิต่ีมสจี �ำตินสึกำในนกึกาใรนอกนาุรรักอษน์พุรันกั ธษุก์พรนัรมธพุกรืชรฯมพแลชื ะฯใชแ้พลื้นะทใชี่ศพู้นนื้ย์ปทรี่ศะูนสยา์นงาน โปครระงกสาารนองพาน.สโธค.รภงากคาใรตฝ้ อง่ั พอนั.สดธา.มภนั าจคดั ใกตจิฝ้ ก่งั รอรันมดทาเี่ กมยี่นั วเจนัดอื่ กงจิกกบั รกรามรสทนเ่ี กอง่ียพวรเนะรื่อางชกดบั ำ� กรฯิารเสชน่นอกงจิ พกรรระมรกาาชรดฝำกึ รอิฯบรเชมน่ปฏบิ ตั กิ าร ฐกาิจนกทรรรพั มยกาากรรฝทึกอ้ องถบนิ่รมหปนฏว่ ยบิ งตั ากินารราฐชากนารทมรัพหายวาทิ กยราทล้อยั งอถงน่ิ คก์หานรว่ปยกงคารนอรงาสชว่ นกทารอ้ งมถหนิ่ าอวงิทคยก์ าาลรัยบรอหิ งาคร์กสาว่ รนปตกำ� บคลรแอลงะสเว่ ทนศบาล ผคใกภทกคมนเูุ้มวาวหา้อขกาภราค้างามลปามรถใวมุ่เพตว่ขรริท่นิ จมันู้แจ้ะา้ ยังใทอเังลธหาจมห์งั้งะลว๒นิสไควปดัยัด๕้นิโัดก์ รเ้คภ๖8ทาอะ๗ร6เูร๓น่ืคสกง๐.บ6บโๆก็ตณนร7คากพิหแโนรแามลลงัาดรลหจยงระ้าณะาาีรสาหนดกวาไ์ก่วนคา้ปิทชนร๒นวว่ใมยะต๑กชายบางำมา้ปงลค่ีหบรตาพัยรลนนนลระเงึศทำ�ัง่วแสพโรคยยคสลถอวีวงโชตะาชิใาานนนูลเจมนัยโท์ศลรแไไศโวแู้ยึกดดลดบิทลรีษะรร้้ยาาะยรอ้้อผาชลปะายยลมโในเรกลลดนขงะอาะะคยตกสงรลมตบล8ป8รศีจรุ่มกรว79รังำาะจมวี..นรเ59ังทชิมณวหั้ง44ัยินนไ์ภวโปวดัผใาดคิทในคเู้้ารชขภยกในงป้ต้าากเูาคกรรเจ้ารขะว่ว็ตังรจตโาหมดดัยมตพวทา้ชอรรดันังง้ันบังู้คงอคส์ารวไน่ืวน้ิ ดมาาๆกร้มวม7รอ้แนัเพะ0ขยลทึงบลา้ะพ่ีคใ่ีะห4ตอจนน8ใร–ไจ7ว่งัจด.ยา5ไ7ส้8งดก4าต6้รนใูล2้อกน.ส6ยุม1กแถล7ภาาละหรานะแจนพ๘ศรลดั ่วนั๙กึะะอยนษธ.ดบ๙ง์อา้ารา2๔งนมโน5ดดวกรย6นัโา้วาดมนท3รมยจีคน่ีท๔�ำผณวำัง้นลา–วม๗นรู้ ภาพประกอบการดำเนนิ โครงการ กจิ กรรมที่ 1 จ้างเหมาเจา้ หนา้ ที่ประจำโครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ิชัย นายเอกพจน์ แก่นเมือง เจา้ หนา้ ทบี่ ริหารงานท่ัวไป:โครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำรฯิ เบอร์โทรศัพท์: 0 7520 4070 โทรสาร 0 7520 4071 Email:[email protected] นางสาวยมลพร ธรี ะกิจไพศาล เจ้าหนา้ ท่ีบรหิ ารงานท่ัวไป:โครงการอนรุ กั ษพ์ ันธุกรรมพืช อนั เน่อื งมาจากพระราชดำริฯ เบอรโ์ ทรศัพท:์ 0 7520 4070 โทรสาร 0 7520 4071 Email:[email protected] 7โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ิชยั ปงี บประมาณ ๒๕๖๓

โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวชิ ัย ปีงบประมาณ 2563 -4- กิจกรรมที่ 2 การฝกึ อบรมสำหรบั หน่วยงานทเี่ ข้าร่วมสนองพระราชดำริ ในพืน้ ทชี่ ายฝง่ั อนั ดามัน (การฝกึ อบรมงานฐานทรพั ยากรท้องถิน่ ) 8 โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ชิ ยั ปีงบประมาณ ๒๕๖๓

โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวชิ ยั ปีงบประมาณ 2563 -5- กจิ กรรมท่ี 3 การเพาะชำกล้าไมป้ า่ ชายหาดโครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวชิ ัย 9โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวิชัย ปงี บประมาณ ๒๕๖๓

โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ชิ ัย ปีงบประมาณ 2563 -6- กจิ กรรมที่ 4 การจัดทำส่ือวิดที ศั นป์ ระชาสมั พนั ธ์ผลการดำเนินงานโครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวชิ ัย 10 โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ิชยั ปีงบประมาณ ๒๕๖๓

โครงการ การเข้ารว่ มจดั นทิ รรศการในงโคารนงปการระอชพุม.สวธชิ. –ากมาทรร.แศรลีวะชิ นยั ทิ ปรีงบรปศรกะามราณอ2พ5.6ส3ธ. -7- โครงการ การเขา้ ร่วมจัดนทิ รรศการในงานประชุมวิชาการและนทิ รรศการ อพ.สธ. ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ หัวหน้าโครงการ ดร.วิกิจ ผนิ รบั รองผู้อำนวยการฝ่ายสารสนเทศการวจิ ัย สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรวี ิชยั ลกั ษณะโครงการ ตรงตามกิจกรรมของโครงการอนรุ กั ษ์พนั ธกุ รรมพชื อนั เน่อื งมาจากพระราชดำริฯ กิจกรรมท่ี F3A8 กิจกรรมพิเศษสนบั สนนุ การอนรุ กั ษ์พนั ธกุ รรมพชื วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ เพือ่ สนองพระราชดำรโิ ครงการอนรุ ักษ์พันธุกรรมพชื อนั เน่ืองมาจากพระราชดำรสิ มเดจ็ พระเทพ รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) เพอ่ื เผยแพร่ผลงานทางวิชาการและนทิ รรศการการสนองพระราชดำริดา้ นการอนุรักษพ์ ันธกุ รรมพชื ของ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ยั เพื่อใหเ้ ยาวชน ประชาชนชาวไทย ได้เขา้ ใจถึงความสำคัญและประโยชน์ของทรัพยากร ใหร้ ้จู กั หวงแหน รู้จกั การนำไปใชป้ ระโยชน์อยา่ งย่งั ยนื สถานทดี่ ำเนินการ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน (ศนู ย์การศึกษาหนองระเวยี ง ตำบลหนองระเวียง อำเภอเมือง จังหวดั นครราชสมี า) ผลการดำเนนิ งานในโครงการ สถาบันวจิ ัยและพัฒนา ได้เข้าร่วมจัดนทิ รรศการในงานประชุมวิชาการและนิทรรศการ อพ.สธ. คร้ังที่ 10 ทรัพยากรไทย : ชาวบ้านไทยได้ประโยชน์ ระหว่างวันที่ 29 พฤศจิกายน - 5 ธันวาคม 2562 ณ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยี ราชมงคลอีสาน ศูนย์หนองระเวียง ตำบลหนองระเวียง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา เพ่ือเผยแพร่ ต่อสาธารณชน โดยในนิทรรศการมีการจัดโชว์ผลงานที่ได้จากโครงการ อพ.สธ. theme : วิถีกล้วยของพ้ืนท่ี สงขลาตามรูปแบบของการดำเนินงานสนองพระราชดำริซ่ึงสามารถตอบโจทย์หัวข้อนิทรรศการของงานในชื่อ “ทรพั ยากรไทย : ชาวบา้ นไทยได้ประโยชน์” ชดุ นิทรรศการประกอบการประชมุ วิชาการและนิทรรศการอพ.สธ. ชอื่ งาน : ทรัพยากรไทย : ชาวบา้ นไทยได้ประโยชน์ Theme นำเสนอ : วิถกี ล้วยของพ้ืนท่ี สงขลา ชุดชั้นวางผลิตภณั ฑ์ สำหรับวางผลติ ภัณฑ์ ดังน้ี - ผลผลิตจากโครงการ อพ.สธ. พืน้ ที่วทิ ยาสงขลา • นวตั กรรมการผลติ บรรจุภณั ฑ์อาหารจากใยกล้วย • ระบบรดน้ำและให้ป๋ยุ อัตโนมตั สิ ำหรบั การปลูกกล้วยโดยใชเ้ ทคโนโลยีอนิ เตอร์เน็ตในทุกสิ่ง • โครงการสำรวจและเก็บรวบรวมขอ้ มูลวัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาท้องถ่ินกล้วยพื้นเมืองภาคใต้ • การยอ้ มกาบกล้วยด้วยสีธรรมชาติ • การแปรรูปแป้งกลว้ ยดดั แปรจากกลว้ ยพ้นื เมืองภาคใต้ 11โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ิชยั ปงี บประมาณ ๒๕๖๓

โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ชิ ยั ปีงบประมาณ 2563 -8- ปญั หาและอปุ สรรคที่พบในระหวา่ งการดำเนนิ งาน ปัญหาเก่ียวกับการเดินทางและการขนส่งช้ินงานสำหรับ ประกอบการนำเสนอผลงานในนิทรรศการ เนอื่ งจากสถานท่จี ัดงานต้ังอยู่ห่างไกลจากมหาวิทยาลยั เป็นอย่างยิ่ง ทำใหก้ ารขนสง่ และการนำบคุ ลากรผู้เกยี่ วข้อง มีความยากลำบากและจำนวนจำกัด ทำให้ทางคณะดำเนินงานจำเป็นต้องเลือกผลงานท่ีมีขนาดกะทัดรัดสามารถ ขนถ่ายได้สะดวกและบุคลากรที่เก่ียวข้องกับการดำเนินงานโครงการในการเข้าร่วมงานนิทรรศการดังกล่าว และ เป็นเหตุใหต้ อ้ งจดั จา้ งเหมาออกแบบรปู แบบนทิ รรศการจากบริษทั ที่อยบู่ ริเวณใกล้พ้ืนทีจ่ ดั งานมากกว่า การถ่ายทอดองคค์ วามรู้สชู่ มชน  มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับชุมชน งานการประชุมวิชาการและนิทรรศการ คร้ังท่ี 10 ทรัพยากรไทย : ชาวบ้านไทยได้ประโยชน์ ระหว่างวันที่ 29 พฤศจิกายน - 5 ธันวาคม 2562 ณ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลอสี าน ศนู ย์หนองระเวยี ง ตำบลหนองระเวยี ง อำเภอเมอื ง จังหวัดนครราชสมี า  เปเป็น็นศศูนูนยย์ก์ ารเรียนนรรู้ใู้ใหห้ช้ชุมุมชชนนผลผงลานงกานารกนา�ำรเนสนำอเสดนูจอัดแดสูจดัดงแไวส้ ดณงไวพ้ ิพณิธภพัณิพฑิธ์ทภรัณัพยฑา์ทกรัพกายยาภการพกาชยีวภาพ ชวัฒวี ภนาธพรรวมัฒแนลธะรภรูมมิปแัญลญะาภทูม้อิปงัญถ่ินญาสทถ้อาบงถันนิ่ ทรสัพถยาาบกันรทธรรัพมยชาากตริแธลระรสม่ิงชแาวตดแิลล้อะมส่ิงมแหวาดวลิทอ้ยมาลมัยหเทาควโิทนยโลาลยีรยั าเทชมคงโคนลโลศยรีวริชาชัย มวทิงคยาลเศขรตวี ตชิ รยัง วทิ ยาเขตตรงั 1๑๖6.. ภภาาคคผผนนววกกภภาาพพปประรกะอกบอกบากราดร�ำดเนำนิเนโคินรโงคกรางรการ 12 โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวชิ ยั ปงี บประมาณ ๒๕๖๓

13โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวชิ ยั ปีงบประมาณ ๒๕๖๓

โครงการจัดท�ำหนังสือเผยแพรผ่ ลส�ำเรจ็ จากโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชด�ำริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ของ มทร.ศรวี ิชยั ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ หัวหน้าโครงการ ดร.วกิ ิจ ผนิ รับ รองผูอ้ �ำนวยการฝ่ายสารสนเทศการวจิ ยั สถาบนั วจิ ัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ยั ลกั ษณะโครงการ ตรงตามกจิ กรรมของโครงการอนุรักษพ์ นั ธกุ รรมพืชอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� รฯิ กจิ กรรมที่ F๓A๘ กิจกรรมพิเศษสนบั สนนุ การอนรุ ักษ์พนั ธกุ รรมพืช กิจกรรมที่ F๓A๗ กจิ กรรมสรา้ งจติ ส�ำนึกในการอนรุ กั ษพ์ นั ธุกรรมพชื วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ เพื่อสนองพระราชด�ำริโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) เพอื่ รวบรวมและเผยแพรแ่ นวทางปฏบิ ตั แิ ละผลสำ� เรจ็ ทดี่ ขี องการสนองพระราชดำ� รใิ นโครงการ อพ.สธ. สสู่ าธารณะ เพ่ือสนับสนุนให้หน่วยงานได้เผยแพร่ความรู้และประสบการณ์จากการสนองพระราชด�ำริในโครงการ อพ.สธ. สสู่ าธารณะ เพอื่ สง่ เสรมิ ให้บุคคลมจี ติ สำ� นกึ ท่ีดแี ละแสดงออกถึงความจงรกั ภักดตี ่อสถาบันพระมหากษัตริย์ สถานท่ดี �ำเนินการ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชยั ผลการด�ำเนนิ งานในโครงการ สถาบันวิจัยและพัฒนา ได้ด�ำเนินการตีพิมพ์หนังสือเพ่ือเผยแพร่ความส�ำเร็จของโครงการ อพ.สธ. ที่สนองพระราชด�ำริ โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ได้รวบรวมและเผยแพร่หนังสือเกี่ยวกับโครงการ อพ.สธ. สู่สาธารณะ อีกท้ังหน่วยงานได้เผยแพร่ความรู้และประสบการณ์จากการสนองพระราชด�ำริในโครงการ อพ.สธ. สู่สาธารณะโดยได้จัดพิมพ์หนังสือจ�ำนวน จ�ำนวน ๒ ผลงาน ได้แก่ หนังสือผลการด�ำเนินงานประจ�ำปีโครงการ อพ.สธ. ประจ�ำปงี บประมาณ ๒๕๖๒ และ หนงั สอื ผลงานโครงการ อพ.สธ. เรือ่ งเสม็ดขาวและมะขามป้อม โดยไดแ้ จกจ่าย ให้แกผ่ ู้สนใจและหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้องเพ่อื ประชาสมั พันธก์ ารดำ� เนินงานโครงการ อพ.สธ.ของ มหาวทิ ยาลยั ตอ่ ไป สรุปผลการประเมินด�ำเนินงานในโครงการดังกล่าวตามแบบประเมินที่แจกให้ผู้เข้าร่วมงาน พบว่า มีผู้คนสนใจ หนังสือดังกล่าวเป็นจ�ำนวนมาก และอยากให้มีการน�ำผลงานจากโครงการ อพ.สธ. มาเผยแพร่เป็นรูปเล่มหนังสือให้ หลากหลายมากย่ิงข้ึน ทางคณะผู้รับผิดชอบโครงการจะน�ำข้อคิดเห็นท่ีได้ไปปรับปรุงและจะพัฒนารูปแบบการจัดพิมพ์ หนังสอื ผลงานให้มีคุณภาพและให้เกิดประโยชน์มากขนึ้ 14 โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวชิ ัย ปีงบประมาณ ๒๕๖๓

มีผู้คนสนใจหนังสือดังกล่าวเป็นจำนวนมาก และอยากให้มีการนำผลงานจากโครงการ อพ.สธ. มาเผยแพร่เป็น รูปเล่มหนังสือให้หลากหลายมากย่ิงขึ้น ทางคณะผู้รับผิดชอบโครงการจะนำข้อคิดเห็นท่ีได้ไปปรับปรุงและจะ พัฒนารูปแบบการจดั พมิ พ์หนงั สอื ผลงานให้มีคณุ ภาพและให้เกดิ ประโยชนม์ ากขึน้ คป่อัญนหขา้าแงลปนะัญ้ออยหปุ แาสลเรกะร่ียขคว้อทกม่พี ับูลบขไใม้อน่คมร่อูละยเหนลว้ือะ่าหเงอกาียาเดรนดื่อจำงึงเจนตา้อนิ กงงโผใาคโชู้ดนคร้เำรงวเงกลนกาาินารใรโนอคอกพรพา.งสร.กสธราธ.วร.บ–ไ–มรมว่ไมทดมทร้มขร.ีศค้อ.ศรวมรีวาูลวีชิมชิัยแจยั ัดลปปะเีงตลีงบรบงปียพปรมร้ืนะขะมท้อมาี่เมาณพณูล่ือ2สท2ำ5ำ5ห6ก6ร3าับ3รตถี่พายิ-ม1-ภพ11า์ไ1-พว-้ สกกสำำำำหหหหนรนรับดับดไใวไสใวส้่ใ้น่ในเลเล่ม่มหหนนังังสสือือททำำใหให้ก้กาารรดดำำเนเนินินกกาารรตตีพีพิมิมพพ์เล์เล่ม่มหหนนังังสสือือลล่า่าชช้า้ากกวว่า่ารระะยยะะเวเวลลาากกาารรดดำำเนเนินินงงาานนโคโครรงงกกาารรทท่ี ่ี ภภาาพพปปรระะกกออบบกกาารรดดำำเนเนนิ นิ โคโครรงงกกาารร 15โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวชิ ยั ปีงบประมาณ ๒๕๖๓

โครงการผลิตภณั ฑ์จากเปลือกไม้เสม็ดขาวและเสม็ดแดง (การสกดั สารสีจากเปลือกไม้เสมด็ แดง) ผู้รับผดิ ชอบโครงการ หัวหน้าโครงการ นางสาวกัตตินาฏ สกลุ สวัสดิพันธ์ ผรู้ ่วมโครงการ ๑. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ฌานิกา แซแ่ ง่ ชูกล่ิน ๒. ผชู้ ่วยศาสตราจารยเ์ อนก สาวะอินทร์ ๓. นางสาวเตอื นใจ ปยิ ัง ๔. นางวรรณวภิ า ไชยชาญ ลักษณะโครงการ ตรงตามกจิ กรรมของโครงการอนุรักษพ์ ันธกุ รรมพชื อนั เนื่องมาจากพระราชดำ� รฯิ กจิ กรรมท่ี F๒ กรอบการใช้ประโยชน์ A๖ กจิ กรรมวางแผนพฒั นาทรพั ยากร รหสั โครงการ F๒A๖ วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ เพือ่ สนองพระราชด�ำริโครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืชอันเน่อื งมาจากพระราชด�ำรฯิ (อพ.สธ.) เพอ่ื ศึกษาแนวทางการสกดั สารสีจากเปลอื กไมเ้ สม็ดแดง เพื่อศกึ ษาการทำ� ผงสีจากสารสกัดทไ่ี ด้จากเปลอื กไมเ้ สมด็ แดง สถานที่ดำ� เนนิ การ คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารประมง มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรงั ผลการด�ำเนนิ งานโครงการ ผลิตภัณฑ์จากเปลือกไม้เสม็ดแดง (สารสีจากเปลือกไม้เสม็ดแดง) ท่ีท�ำการศึกษาในคร้ังน้ีใช้เป็นแนวทางในการ พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ หรือใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ เช่น สารให้สีเพื่อเพิ่มความเข้มสีไข่แดงของสัตว์ปีก สารให้สีเพื่อเร่ง สผี วิ ปลาสวยงาม สารเติมแตง่ สีในผลติ ภัณฑ์เครอ่ื งส�ำอาง เปน็ ตน้ ปญั หาและอุปสรรคที่พบในระหวา่ งการดำ� เนินงาน การแจง้ ผลการดำ� เนนิ โครงการและการจดั สรรงบประมาณโครงการในปี ๒๕๖๓ คอ่ นขา้ งล่าสุด สง่ ผลใหผ้ ู้ดำ� เนิน โครงการวางแผนงานคลาดเคล่อื น การท�ำผงสีแบบแช่แข็งระเหดิ แหง้ (Freeze Drying) ตอ้ งใช้ปรมิ าณสารสกัดในปรมิ าณมาก 16 โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ิชยั ปีงบประมาณ ๒๕๖๓

บรรจุภัณฑ์ผลิตภณั ฑจ์ ากเปลอื กไม้เสม็ดแดง ผลิตภณั ฑ์ผงสีจากเปลือกไมเ้ สมด็ แดง ผลติ ภณั ฑผ์ งสีจากเปลือกไมเ้ สม็ดแดง ผลติ ภัณฑผ์ งสีจากเปลือกไม้เสมด็ แดง 17โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวิชยั ปงี บประมาณ ๒๕๖๓

โครงการโโคคกรราโงงรคกกคราาัดงรรแกยกกากาารรรแคคลกัดดัะาแแเรกยยค็บกกดัรแแวแลลบะะยรเเกกกวมแบ็็บสลรราววะยบบเพกรรววนับ็ มมธรสสเุ์ ชวาาือ้ยยบโครพพรารนันัวไงตธธกมุเ์เุ์ราชชสโรคอ้ืื้อโโโาคคคอรรเยดาารรรพพอไไงงง.ตตกกกสรนั รร์มาาาธโโธรรร.าคคจเ์ุ–อออเเชาดดพพพมกอื้ออ...ทดสสสรรรริน์มม์ธธธา.บ...าาศไจจต–––รราาิเีวรวมมมกกชิ โณทททดดยัครรริินนรเป...าดบบศศศกีงรรอรรรบเเิเิวีีววีสรววปชชชิิิ มม์ณณรยัยยัั ็ดะารรแปปปมจาาดกกาีีีงงงางบบบณเเกสสปปปดมม2รรรด็ด็นิะะะ5แแมมมบ6ดดาาาร3งงณณณเิ ว222ณ555-ร1666า4333ก-เสม---111ด็ 444แ---ดง ผู้รบั ผิดชผโผผผหอครรููู้รู้้้รวั บรบัับบัว่หงโมผผผนคกโดิดดิิรา้าคชชชงรโรผผหหหผคกออองกูู้รร้้รูวััวัวราบบบกา่วว่่วงหหหราโโโรกมมมนนนคคครคาโโโรรรา้า้า้ัดคคครงงงโโโแรรรคคคกกกยงงงรรราาากกกกงงงรรราาาแกกกรรรลาาาะรรรเ2ผ1กศ็บ.. .นนรดวาารบงง.ฌสวรรผ2ผ11ผ12าวารวศศศมน.....ณก...สนนนนนิกดดดตั วาาาาาาารรรตยภิงงงงง...แฌฌฌนิวสสพสวาซรราาาันาาารแ่รวววฏนนนไธณณงกกกชุเ์กิิกิก่ชตัตัตัยววชสาาาื้อตตชติภภิูกกแแแราินินนิาลลุ าซซซญาาา่นิสไแ่่แแ่ฏฏฏไไตวงงงชชสัร่่่ ยยโชชชสสสดคชชกูกููกกกกพิ เาาลลลุลลุลุดันญญ่นิน่ิิ่นสสสอธวววร์ สสสััั์มดดดาจิิพพิพานันัันกธธธด์์์ นิ บรเิ วณรากเสม็ดแดง ลักษณะโลลลกรคหักกักัจิ รษษสัษกงโรกณณณคราะะะรมรโโโงรกรกกทคคคกตหหิจิจจิี่ รรรารัสัสกกกFงงงรงโโรรรกกก1ตคครรราาาาFรรมมมรรรม1กงงทททกกกตตตรAี่่ี่ี อาาิจรรร2FFFรรบงงงก111ตตตกราาาFFรามมม11รกกกเกกกขรรรAAรอออิิจจิจอ22ียบบบกกกงนโกกกรรรรครรราาาู้ทรมมมรรรร2งเเเขขขพัรรรก.อออีีียยยานงงงนนนราาโโโกอรรรงคคคูู้้ททู้ทรนวรรรรรรรรุงงงรพัพััพักกกณยยยษาาาAรรราาาว2์พกกกอออภิ นั รรรนนนากธุรุรรุ จิกุกกัััไกรชษษษAAAรรย222์์พพ์พรมชมนันัันพาสกกกญธธธืชำจจิิิจกุกุกุ อรกกกรรรนัวรรรรรรจเรรรมมมนเมมมกพพพอ่ื สสส็บืชชืชืงำำำรมอออรรรวานัันันวววบจจจจเเเรนนนาเเเวกกกกอ่่ืือือ่ ม็บบ็็บพงงงทรรรมมมรวววราาาะบบบัพจจจรรรรยาาาวววาชกกกมมมกพพดพทททรำรรรรรรระะะพพัััพฯิรรรยยยาาาาาาชชชกกกดดดรรรำำำรรริฯิฯิฯ วตั ถปุ ระวววเเเสพพพตตัััตงอืือ่่อ่ื ถถถคสเคปปุุปุ์ขกนดั อรรรบ็ แอะะะงรยงเรเเเเเเเสสสโวพพพพพพพพคหกงงงบ่ออ่ืื่่อื่ออืือื่่อือื่รรสคคคสั รสเสสเคคคงะา์ข์ขข์โวกกกนนนรคดัดัดัยอออม็บบ็ าาพแแแรออองงงสรชรรงยยยงงงันโโโาววดกพพพคคคกกกยธบบำารรรรรรสสส์เพรรรรชงงงะะะาาาววิโันกกก้ือรรรยยยคมมธาาาFราาาพพพรสส์เชชชารรร1งชนนัันั าาโดดดกA้อืตยยธธธำำำา2รเ์เ์เ์รพพรรรชชชาโโิิโโินันัอคื้ออื้ื้อโคคคตนธธรรรเรรรด์เ์เราาาุรงงงชชอโโโโักกกคือ้ื้อตตตรษาาาเรรรรร์มดรรร์พาาโโโาอออคคอคโโันจตตนนนรเเเธาดดดรร์มุุุรรรกกุ อออโโักักักาคคดรรรรจษษษรเเินม์์มม์าดด์์์พพพมบาาากออพันันันจจจรดรรชืธธธาาาเิิน์ม์มวกกกกุกุุกอบาาณดดดรรรันจจรรรรนิินนิรเาาเิมมมนาวบบบกกพพพกื่อณรรรดดเงืชชืืชิเิเิเินินสรวววมอออามบบณณณานนััันกด็รรจรรรเเเเิเเิแาสนนนาาาววกดมกกก่่ืืื่อออณณพงด็เเเงงงสสสรใรมมมรแนาามมมะาาาดกกพด็็ดด็รจจจงเเ้นืาแแแาาสสใชนกกกทดดดมมดพพพพงงง่ีป็ดด็ ำใใใรร้ืนรแแ่านนนระะะชทดดิฯพพพรรรางงีป่ ้ืนืน้นื้าาาย(ใใ่าอชชชนนทททหชพดดดพพี่ี่่ีปปปาาำำำ.ดน้ื้นื่่าา่ายสรรรชชชททหธิฯิฯิฯาาา.่ีปีป่า)ยยย(((ดา่่าอออหหหชชพพพาาาาา...ดดดยยสสสหหธธธ...าา)))ดด สวทิถยานาเทขดี่ตววสสสพำตททิิถถถืน้เรนยยาาาทงั นนนาาิ ่ีอเเทททกขขนาีดด่ี่ดี่ตตุรเพพพรำำำตตกัพนืื้้นืน้เเเรรษือ่นนนทททงังั ์ปเนิินินกี่ี่ี่อออ่ากกก็บนนนชาาารรรุุุรารรรวกัักักยบษษษหรป์ป์์ปาวด่่่าาามชชช(สาาาพายยยนื้ยหหหทพาาาีก่ันดดดรธณ(((เ์ พพพชีศนืื้น้้นือ้ื กึ รทททษาีกกี่่ก่ี โารรรต)ณณณรอโีีีศศศพคึกกึึกเ.ดสษษษธอาาา.ร)))ม์มอออาหพพพจา...าสสสวกิทธธธด...ยนิมมมาบลหหหัยราาาิเเววววทททิิิทณคยยยโราาานาลลลโกัยัยัยลเเเเสยทททมรี คคคาด็ โโโชแนนนมดโโโงลลลงคยยใยนลรรีีีรศพาาาชชชรืน้ ีวมมมทิชงงง่ีปัยคคคา่ลลลชศศศารรรยีวีววี หิชิชิชาัยัยัยด มหาวทิ ยมวมผาทิลหหลยัยาากเาววาทเิิททรขคดยยตโผผผตาาำนตลลเลลลวั โรนััยยอลกกกังินเเยยาาาททง่ารรรรี คคางดดดานโโเชตตตำำำชนนโมเเเััววัวื้อโโคนนนงอออลลรรนนิิินคยยยยยางลงงง่่่าาาไีรรีกาาาตศงงงาาานนนเเเรชชรชชชรโวีโโโมม้ืื้ื้อออคคคคิชงงรรรเรรรยัคคดาาางงงวลลอไไไกกกิทตตตศศราาายรรรรร์มรรรโโโีววีาาคคคเชชิิ ขเเเ3ัยยั ดดดตววอออตตทิทิ รรรรัวยย์์์มมมงัอาาาาายเเขข่า333ตตงตตตตตใรรนัััวววัังงอออพยยย้ืน่่่าาาทงงงี่อใใในนนนุรพพพักื้ื้้ืนนนษททท์ ปี่่ีี่อออนนน่าชุุุรรราััักกกยษษษห์์์ ปปปาด่่่าาาชชช(าาาพยยยื้นหหหทาาาี่กดดดร(((ณพพพีศื้ืื้้นนนึกทททษีี่่ี่กกการรร)ณณณอีีีศศศพึึึกกก.สษษษธาาา.))) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชัยวิทยาเขตตรงั ออพพ..สสธธ.. อพ.สธ. เทคโนโลเเเสยทททำรี คคคหา1โโโชรนนน.มบั โโโงขลลลอคสสส้อยยยุณลำำำมรีรรีี ศหหหหาาาูล11ชชชรรรรภป..วีมมมับบัับูมจั ชิ งงงขขขออจผิ ัยคคคอ้อ้อ้ ัยณุณุวิ ลลลมมมวทดศศศหหูลลูลูทิ าินรรรภภปปปยงีวีวีวแสูมมูจัจจััาิชิชชิลง่ิเจจจิผิผยัยัยัขะแยยยัััิวิวตอววววทททดดตณุดทททิิิ าาาิินนรลยยยงงงหังแแ้อสสสาาาภลลมผิงงิง่ิ่่เเเขขขูมะะแแแพลตตตออเิวววก้ืนหตตตุณุณดดดาทนรรรลลลหหี่อังงังัือศอ้้ออ้ ภภนดึกมมมผผผููมมรุินษพพพลลลักิเเิ กกกาืน้น้้ืนืหหษดาาาทททนน์ปรรรังอี่อีอ่ี่ืืออตศศศ่านนนดดช่อกกึกึึ ุรุรรุาินินไษษษััักกกปยาาาษษษหนดดด์์ปปป์า้ีงังงัั ดตตตา่า่า่ ชชช่ออ่่อ(าาาพไไไปปปยยย้นื หหหนนนทาาาีี้ี้้ ี่กดดดรณ(((พพพศี ้ื้้นืืนนึกทททษีี่่่ีกกการรร)ณณณอศีศีศี พึึึกกก.สษษษธาาา.))) มออหพพา..สสวิทธธ..ยมมาลหหยัาาววทิทิ ยยาาลลัยยั อพ.สธ. มหาวิทยาลัย 1. อณุ หภูมผิ ิวดินและอณุ หภูมิเหนือดิน 18 โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ชิ ัย ปงี บประมาณ ๒๕๖๓

เทคโนโลสยำีรหา1ชร.มบั งขอคอ้ ณุ ลมศหูลรภปวี ูมจั ิชจิผัยยัวิ วทดทิ าินยงแสาล่ิงเขะแตอวตณุดรลหงัอ้ ภมผูมพลเิ กื้นหาทนรีอ่ือศโโนดกึคคุรินษรรักงงาษกกดป์าางั รรต่าชอ่ออาไพพปย..หนสสาธธี้ ด.. ––(พมม้นื ทททรร่ีก..ศศรรรณีีววชชีศิิ ยัยัึกษปปาีีงง)บบอปปพรร.ะะสมมธาา. ณณมห22า55วิท66ย33าลัย -15- -15- จากการศึกษาพบว่าอุณหภูมิผิวดินจะมีค่าใกล้เคียงกัน โดยอุณหภูมิผิวดินเฉล่ีย 35.75 องศา เซลเซียส อุณหภจูมาิผกิวกดาินรมศีคึก่าษอายพู่รบะวห่าวอ่าุณงห3ภ5ูม.ิผ2ิว2ดิน–จ3ะ6มีค.6่า4ใกลอ้เงคศียางเซกัลนเซโดียยสอสุณำหหภรูับมิผอิวุณดหินภเฉูมลิเหี่ยน3ือ5ผ.ิว7ด5ินอเฉงลศ่ียา เ3ซ5ล.เ0ซ0ียสองอศุณาเหซภลูเมซิผียิวสดอินุณมีคห่าภอูมยเิ หู่รนะหอื ดว่ินางมคี3่า5อ.ย2ุ่ร2ะห–ว่า3ง63.654.00อง–ศา3เซ5ล.6เซ7ียอสงศสาำเหซรลับเซอยี ุณสหภูมิเหนือผิวดินเฉลี่ย 35.00 องศ2า.เซลคเวซาียมสเปอ็นณุ กหรภดูม-ดเิ หา่ นง(อื pดHิน)มคี า่ อยุร่ ะหวา่ ง 35.00 – 35.67 องศาเซลเซียส 2. คจวาากมกเปาร็นศกึกรษดา-ดคา่วงา(มpเปH็น) กรด-ด่างของดินในบริเวณที่ทำการศึกษา พบว่า ค่าความเป็นกรด-ด่าง ของดินมีค่าอยู่ระจหาวก่ากงา6รศ.8ึก0ษา–คว7า.ม0เ0ป็นโกดรยดม-ีคด่า่ เงฉขลอ่ียงอดยินู่ทใน่ี 6บ.ร9ิเว3ณจทะ่ีทเหำก็นาไรดศ้วึก่าคษ่าคพวบามว่าเปค็น่ากครวดา-มดเ่าปง็นขกอรดงด-ดิน่าทง่ี ขทอำกงดารินศมึกีคษ่าาอมยีสู่รภะาหพวด่าินงเป6น็.8ก0ลา–ง 7.00 โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 6.93 จะเห็นได้ว่าค่าความเป็นกรด-ด่าง ของดินที่ ทำการศกึ ษา3ม.ีสภคาวพาดมนิ ชเน้ืปใ็นนกดลนิ าง 3. คจวาากมกชาน้ื รใศนึกดษนิ าค่าปริมาณความช้ืนของดิน พบว่า ค่าความชื้นในดินมีค่าอยู่ระหว่าง 1.00 – 1.23 โดยมีค่าเฉลจ่ียากอยกู่ทารี่ 1ศึ.ก1ษ4าคแ่าลปะรพิมบาวณ่าคปวราิมมาชณื้นคขวอามงดชินื้ ใพนดบินวข่าอคง่าพค้ืนวทา่ีทม่ีทชำ้ืนกใานรดศินึกมษีคาม่าีปอยรมิู่ราะณหวค่าวงาม1ช.้ืน0ท0ี่ต่–ำ 1เน.2ื่อ3งจโาดกยชม่วีคง่าทเฉี่ทลำี่ยกอายรู่ทข่ี ้อ1ม.1ูล4อาแกลาะศพรบ้อวน่าทปำรใิมหา้คณวคาวมาชม้ืนช้ืนในในดดินินตข่ำอซงึ่งพห้ืนาทก่ีทคี่ทวำากมาชร้ืศนึกในษดามินีปตร่ำมิ จาะณมคีผวลาตม่อช้ืนคทวาี่ตม่ำ เหนลื่อางกจหาลกาชยข่วองทงพ่ีทันำธก์พุ าชื รใขน้อปม่าูลชาอยาหกาาดศร้อนทำให้ความช้ืนในดินต่ำซ่ึงหากความช้ืนในดินต่ำจะมีผลต่อความ หลากหลายข4อ.งพคนั วธา์พุมชื ใ้นื นใปนา่ อชาากยาหศาด 4จ.ากคกวาารมศชกึ ืน้ษใานคอวากมาชศ้ืนในอากาศ พบว่าม่ีค่าอยู่ระหว่าง 58.00 – 59.67 เปอรเ์ ซ็นต์ โดยมีคา่ เฉล่ีย อยทู่ ี่ 58.13จเาปกอกรา์เซรศน็ กึตษ์ าความช้ืนในอากาศ พบว่ามี่ค่าอยูร่ ะหว่าง 58.00 – 59.67 เปอร์เซ็นต์ โดยมีคา่ เฉล่ีย อยู่ที่ 58.135.เปอครวเ์าซมน็ เตข์ม้ แสง 5จ.ากคกวาารมศเึกขษ้มาแกสางรตรวจวัดด้านปัจจัยสิ่งแวดล้อม พบว่า ค่าความเข้มแสงอยู่ระหว่าง 4310.33 – 5240.33 ลจักาซก์ โกดายรมศีคึกา่ษเฉากลา่ียรอตยรูท่ วี่ จ4ว8ัด8ด0้าน.6ป7ัจจลัยกสซิ่ง์ แวดล้อม พบว่า ค่าความเข้มแสงอยู่ระหว่าง 4310.33 – 5240.33 ลักซ์ โอดยย่ามงคี ไร่าเกฉ็ตลาี่ยมอยป่ทู ัจ่ี จ4ัย8ท8า0ง.ส6่ิง7แวลดกั ลซ้อ์ มของพื้นที่อนุรักษ์ป่าชายหาด (พื้นที่กรณีศึกษา) อพ.สธ มหาวิทยาลัยเทคโอนยโล่างยไรี รากช็ตมางมคลปศัจรีวจชิัยยัทาวงิทสยิ่งาแเขวตดตลร้องั มดขงั อภงาพพ้ืนทท่ี 6่ีอนุรักษ์ป่าชายหาด (พ้ืนที่กรณีศึกษา) อพ.สธ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรวี ิชยั วิทยาเขตตรัง ดงั ภาพท่ี 6 ภาพ ปัจจยั ทางสง่ิ แวดล้อมบริเวณรากต้นเสมด็ แดงพืน้ ทอ่ี นุรักษ์ปา่ ชายหาด ปญั หาและอุปสรรคทพี่ ภบาใพนรปะหัจจวยัา่ ทงกาางสรดิ่งแำวเนดนิล้องามนบรเิ วณรากต้นเสม็ดแดงพน้ื ที่อนรุ กั ษ์ป่าชายหาด ปญั หาและอปุ สัญรหราคแทลพี่ ะบกาในรดรำะเหนวนิ ่าทงพี่กาบรใดนำรเะนหนิ วง่าางกนารดำเนินการวิจัย เกย่ี วกบั รายละเอยี ดการจดั ทำเอกสาร จดั ซอ้ื จัดจา้ งปแญั ลหะาใแนลสะ่วกนาขรอดงำกเานรินจทัด่พีทบำขใน้อรมะูลหในวา่กงากราดรำดเนำเนิ นงนิ ากนาเรปว็นจิ ัยตน้ เกีย่ วกบั รายละเอียดการจัดทำเอกสาร จัดซ้ือ จดั จา้ ง และในสว่ นของการจัดทำข้อมลู ในการดำเนินงาน เปน็ ต้น 19โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวชิ ัย ปงี บประมาณ ๒๕๖๓

โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวชิ ยั ปีงบประมาณ 2563 -16- ภาพประกอบการดำเนินโครงการ 20 โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวิชยั ปงี บประมาณ ๒๕๖๓

โครงการการคดั เลอื กสายพันแธลเ์ุ หะผโ็ดคลเรสติงกมภาด็ ณัรเอพฑพ่ือ์เ.สภนธสำ�. ัช–ไปมใทชร.ใ้ ศนรีวดชิ ้าัยนปผีงลบปติ รภะณัมาณฑอ์ 2า5ห6า3ร -17- โครงการ การคัดเลอื กสายพันธเุ์ หด็ เสม็ดเพ่ือนำไปใช้ในดา้ นผลิตภณั ฑ์อาหารและผลติ ภณั ฑเ์ ภสชั ผูร้ ับผดิ ชอบโครงการ หัวหน้าโครงการ ผศ.ดร.อมรรัตน์ องั อัจฉะรยิ ะ ผู้รว่ มโครงการ รศ.ชมพูนชุ โสมาลีย์ ผู้รว่ มโครงการ ดร. อนันตนิจ ชมุ ศรี ลักษณะโครงการ ตรงตามกิจกรรมของโครงการอนรุ ักษ์พันธุกรรมพชื อนั เน่ืองมาจากพระราชดำรฯิ กจิ กรรมที่ .......4........ กิจกรรมอนุรกั ษแ์ ละใชป้ ระโยชนพ์ ันธกุ รรมพชื รหัสโครงการ ..F2A4....... (โปรดระบุ รหสั โครงการ เชน่ F1A2/F2A4 เปน็ ต้น) วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อสนองพระราชดำรโิ ครงการอนรุ ักษ์พันธกุ รรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (อพ สธ.) เพ่ือถา่ ยทอดเทคโนโลยใี หก้ ับกลมุ่ แมบ่ ้านเพ่ือผลติ ภัณฑ์น้ำพรกิ ค่วั แห้งเหด็ เสมด็ สถานทด่ี ำเนินการ คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ัย วทิ ยาเขตตรัง และ กลุม่ วสิ าหกิจแม่บ้านเกษตรกรบา้ นปากคลอง ผลการดำเนนิ งาน โครงการ การคัดเลอื กสายพันธุ์เหด็ เสมด็ เพือ่ นำไปใชใ้ นด้านผลติ ภัณฑอ์ าหารและผลติ ภัณฑ์เภสัชประจำปี งบประมาณ 2563 เป็นโครงการ ทเี่ ก่ียวข้องกับ ฝกึ อบรมโดยจดั กิจกรรมกับ กล่มุ แม่บา้ นวสิ าหกิจแม่บา้ น เกษตรบา้ นปากคลอง ตำบลบ่อหิน อ.สเิ กา จ.ตรงั มแี มบ่ ้านของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเขา้ ร่วมประมาณ 17 คน ชาวบา้ น 12 คน การอบรมเกี่ยวกบั การถา่ ยทอดเรอื่ งการน้ำพรกิ ควั่ แหง้ เห็ดเสมด็ สูตรปลา กล่มุ แม่บ้านไดร้ ับ ความรูว้ ิธีการทำน้ำพรกิ ค่วั แห้งเหด็ เสม็ดสตู รปลา และได้ลงมอื ปฏบิ ตั ิดว้ ยตวั เองตั้งแต่การเตรียมส่วนประกอบ ของน้ำพริกคว่ั แห้งเห็ดเสม็ดสูตรปลา จนถึงกระบวนการปรงุ น้ำพริกคว่ั แห้งเห็ดเสมด็ เสม็ดสูตรปลา 21โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวิชัย ปงี บประมาณ ๒๕๖๓

โครงการองค์ประกอบทางเคมแี ละฤทธ์ทิ างชวี ภาพของเสม็ดขาวและเสมด็ แดง (การพฒั นาผลิตภณั ฑเ์ จลแอลกอฮอล์ล้างมอื แบบไมต่ ้องใช้น้�ำทมี่ สี ว่ นผสมของสารสกัดจากเสมด็ ขาว) ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุนันทา ข้องสาย หัวหน้าโครงการ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารยอ์ ไุ รวรรณ วฒั นกุล ผรู้ ว่ มโครงการ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ชาคริยา ฉลาด ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ลักษมี วิทยา ลกั ษณะโครงการ ตรงตามกิจกรรมของโครงการอนรุ ักษพ์ นั ธกุ รรมพชื อนั เนื่องมาจากพระราชด�ำริฯ กจิ กรรมที่ F๒ กรอบการใชป้ ระโยชน์ A๕ กจิ กรรมศนู ยข์ อ้ มูลทรัพยากร รหสั โครงการ F๒A๕ วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อสนองพระราชดำ� ริโครงการอนุรกั ษพ์ ันธกุ รรมพืชอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำรฯิ (อพ.สธ.) เพ่อื นำ� พชื ทอ้ งถ่ินมาใชป้ ระโยชน์เพือ่ เพ่มิ คุณค่าของผลติ ภัณฑ์ สถานทีด่ ำ� เนินการ ห้องปฏิบัติการเคมี สาขาศึกษาท่ัวไป คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลศรวี ิชยั วิทยาเขตตรงั ห้องปฏิบตั ิการจุลชีววทิ ยา สาขาศึกษาทั่วไป คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลศรวี ิชยั วทิ ยาเขตตรัง ผลการดำ� เนนิ งาน โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือเตรียมเจลแอลกอฮอล์ล้างมือแบบไม่ต้องใช้น้�ำที่มีส่วนผสมของสารสกัดจาก เสม็ดขาวซ่ึงเป็นพืชยืนต้นที่อยู่ในวงศ์ Myrtaceae โดยเก็บตัวอย่างใบเสม็ดขาวบริเวณมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ศรวี ชิ ยั วทิ ยาเขตตรงั ทำ� ความสะอาด ผง่ึ ลมใหแ้ หง้ บดหยาบ และเตรยี มสารสกดั โดยการสกดั ดว้ ยวธิ กี ารกลน่ั ดว้ ยไอนำ้� และ พฒั นาเปน็ ผลติ ภณั ฑเ์ จลแอลกอฮอล์ โดยดดั แปลงตามวธิ กี ารของกรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย,์ Guide to Local Production : WHO-recommended Handrub Formulations ผลติ ภัณฑท์ ่ไี ดม้ คี ณุ สมบัติทางกายภาพ ทางเคมี และทางจุลชีววทิ ยา ผ่านเกณฑม์ าตรฐานตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขก�ำหนด 22 โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ชิ ยั ปงี บประมาณ ๒๕๖๓

การถ่ายทอดองค์ความรสู้ ู่ชมชน มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับชุมชนโดยการถ่ายทอดองค์ความรู้ของการน�ำพืชสมุนไพรไปใช้ประโยชน์ กกาารรทเกด็บสตอัวบอปยร่าะงสิทเทธิภคานพิคเกบา้ือรงสตก้นัดขอตงลผอลดิตจภนัณกฑา์รใพหโัฒค้กรันบงาคกเณาประ็นคอผรพลูแิต.ลสภะธัณน. ัก–ฑเ์มทรียที่สนอรผ.ดศ่าครนลีวโชิ้อคัยงรกงปกับีงาสบรรปร“รพโะคคมรุณางณขกอา2รงพส5ัฒม6ุนน3ไาพครุณ-ภแ1าล9พะ- วเกกกกมดัาาาา่ือรกรรรวศะเถทันกึกพ่าดทษ็บงัยสี่สาต-ทม๒โุรอ✓✓ัวดอีกนิโบอกยคดาทยปันมรรอร่างีสถยร์งกงเถา่าะคมยายาสเ์คอ่ืรนบททิทววพนัคอันา๒ธัฒอนดทมิภ๕ุดนอิค่ีรา๖ม๑างูส้กพศ๓ค๖คู่ชากึเุ”ณ์ครบมกษวสภแ้ืชันอาากลาเยนงมปัดพะตารน็ยก้นู้ใ“ตพนาหขโลรเี่ค้กล๒ออศรับย้ี๕งึดกงงชผก๖ษจุมาล:๓นารชิพตโ”กบดนัฒภารยโัรกิณนมดพาาีสยฑรคัฒถกว์ราิชในาูสหบารผู่ากั้ถนกเู้เรปา่าัอบรียย็นุดทคนทมผกี่ณอทศลอ่ ะดึกิักตใหคอษษภ้เรงะาัณกคูแปเดิปฑ์คลฏไ็นดว์ทะิบพา้นตั่ีสโม่ีเคสิัอกลรู่กรดเ้ียู้ขงราคงกอีรยลาเงน:รรก้อยีผคพางน่า่ารกัฒรยนนับู้อบนโำสยรูคาพา่รณครงืชรรงายพสูสกกั่งมคู่ผยาาุนรุูืน้ณเรรไโียขโพ“รรนองรโงเคงไเรรปทสรยีียัมกใงนนชกษุนเบ้ปทาะไ้าศรรพปนะพบรฏหโาัฒิบยัวแลหัตชนล๒ินิสนะาู่์ กคาุณรเภรียานพรกู้อายร่าศงึกย่งัษยานื โดโยรงมเรีสยี ถนาบบา้ ันนอหุดัวมหนิศึกเมษ่ือาวเปนั ท็นี่พ๒ี่เลกี้ยนั งยา:ยพนัฒ๒น๕า๖ค๓รูสู่ผู้เรียน ทักษะปฏิบัติสู่การเรียนรู้อย่างยั่งยืน โรงเรียนบ้านหัวหิน เม่ือวันท่ี 2 กันยายน 2563” และ “โครงการบริการวิชาการท่ีก่อให้เกิดได้ โครงการค่าย บรู ณาการ โรงเรยี นเทศบาล ๒ วดั กะพังสุรินทร์ เม่ือวนั ที่ 16 กนั ยายน 2563” - โครงการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาโดยมสี ถาบันอุดมศกึ ษาเป็นพเ่ี ล้ยี ง : พฒั นาครูสู่ผูเ้ รียน ทักษะปฏิบัติ สู่การเรียนรู้อยา่ งย่ังยืน โรงเรียนบา้ นหวั หนิ เมอ่ื วนั ท่ี 2 กันยายน 2563 - โครงการบริการวิชาการที่ก่อให้เกิดได้ โครงการค่ายบูรณาการ โรงเรียนเทศบาล ๒ วัดกะพังสุรินทร์ เม่ือวนั ท่ี 16 กนั ยายน 2563 23โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ิชัย ปงี บประมาณ ๒๕๖๓

โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ชิ ัย ปีงบประมาณ 2563 -20- ผลติ ภัณฑ์เจลแอลกอฮฮล์ 24 โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ิชยั ปงี บประมาณ ๒๕๖๓

โครงการการผลติ ผลติ ภัณฑท์ างชีวภาพจากพชื ในปา่ ชายหาด (ศึกษาการใช้ประโยชนจ์ ากเปลอื กไมเ้ สม็ดขาวและเสม็ดแดง) ผ้รู ับผิดชอบโครงการ หวั หนา้ โครงการ ผศ. ชตุ นิ ชุ สจุ รติ . ผรู้ ว่ มโครงการ ผศ.วรสดุ า ขวัญสวุ รรณ นางวรรณวภิ า ไชยชาญ ลักษณะโครงการ ตรงตามกจิ กรรมของโครงการอนรุ กั ษ์พันธุกรรมพืชอนั เน่อื งมาจากพระราชดำ� รฯิ กจิ กรรมท่ ี F๒ กรอบการใชป้ ระโยชน์ กิจกรรมที่ A๔ กจิ กรรมอนุรกั ษ์และใช้ประโยชน์ทรพั ยากร วัตถุประสงค์ของโครงการ ๑. เพอ่ื สนองพระราชด�ำรโิ ครงการอนุรกั ษพ์ นั ธุกรรมพืชอันเน่อื งมาจากพระราชด�ำริฯ (อพ.สธ.) ๒. เพ่ือศึกษาการน�ำเปลอื กไมต้ น้ เสม็ดแดงมาใชเ้ ปน็ สียอ้ มผา้ ธรรมชาติ ๓. เพ่อื ศึกษาการนำ� เปลอื กไม้ตน้ เสมด็ ขาวมาใชเ้ ปน็ ภาชนะในการปลกู ต้นไม้ สถานที่ด�ำเนินการ คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยกี ารประมง ผลการประเมินด�ำเนนิ งานในโครงการ โครงการนสี้ ามารถเผยแพรส่ ชู่ มุ ชนทต่ี อ้ งการสนใจในการเรยี นรเู้ รอ่ื ง การยอ้ มสจี ากเปลอื กไม้ และ การทำ� กระถาง เพือ่ เปน็ วัสดใุ นการปลกู ต้นไม้ ทง้ั น้เี พือ่ เป็นการอนุรักษแ์ ละกอ่ ให้เกิดการใชป้ ระโยชน์ เหน็ ได้ว่าสามารถพฒั นาออกมาเปน็ ผลิตภณั ฑ์ได้อย่างชัดเจน และทำ� ไดจ้ ริง ปัญหาและอปุ สรรคท่ีพบในระหวา่ งการดำ� เนนิ งาน ปัญหาในการด�ำเนินการท�ำเพ่ือให้ได้เป็นผลิตภัณฑ์ไม่มี แต่มีปัญหาในกระบวนการด�ำเนินการเพื่อการซ้ือ การเคลียร์เอกสารเพราะ งานอพ.สธน้ี เป็นงานที่เสมือนบริการวิชาการ ไม่ใช่เป็นงานวิจัย แต่ต้องสร้างความตระหนัก และ เปน็ ผลติ ภัณฑท์ ่ีใหม่ เพอื่ ตอบสนองการท�ำงานของโครงการอนรุ ักษ์พนั ธกุ รรมพืช 25โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ิชัย ปงี บประมาณ ๒๕๖๓

26 โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ชิ ยั ปีงบประมาณ ๒๕๖๓

โครงการจัดท�ำระบบฐานข้อมูลพันธ์ุพืชปา่ ชายหาด บรเิ วณ มทร.ศรีวิชยั วิทยาเขตตรัง ผา่ นเว็บแอปพลิเคชนั ผู้รับผดิ ชอบโครงการ นางสาวศวรรณรศั ม์ อภยั พงค์ หัวหนา้ โครงการ นางสาวศริ นิ นั ทร์ นาพอ ผู้ร่วมโครงการ นายภูมนิ ทร์ อินทร์แป้น ลักษณะโครงการ ตรงตามกจิ กรรมของโครงการอนรุ ักษ์พนั ธกุ รรมพชื อันเนอื่ งมาจากพระราชด�ำริฯ กจิ กรรมท่ี F๒ กรอบการใช้ประโยชน์ กิจกรรมท่ ี A๕ กิจกรรมศนู ยข์ อ้ มลู ทรพั ยากร รหัสโครงการ F๒A๕ วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ ๑. เพอื่ สนองพระราชด�ำริโครงการอนรุ ักษ์พันธกุ รรมพืชอันเนอ่ื งมาจากพระราชด�ำรฯิ (อพ.สธ.) ๒. เพื่อจัดท�ำระบบจัดการขอ้ มลู พันธพ์ุ ชื ปา่ ชายหาด ในรูปแบบเวบ็ แอปพลิเคชนั ๓. เพ่อื ความสมบรู ณ์ของฐานขอ้ มูลทใี่ ช้เปน็ แหลง่ สืบคน้ พันธุ์พชื ในบรเิ วณ มทร.ศรวี ชิ ยั วิทยาเขตตรัง สถานทด่ี �ำเนินการ มทร.ศรีวชิ ัย วทิ ยาเขตตรัง ผลการดำ� เนนิ งาน ระบบฐานข้อมูลพันธุ์พืชป่าชายหาด บริเวณ มทร.ศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง ผ่านเว็บ แอปพลิเคชัน จัดเก็บข้อมูล พันธุ์พืชปา่ ชายหาด จำ� นวน ๖๖ ชนดิ ซ่ึงเผยแพรผ่ า่ นอินเทอรเ์ น็ต บนเว็บไซต์ https://waterplant.herokuapp.com ซ่ึงผูท้ มี่ คี วามสนใจสามารถเข้ามาศึกษาข้อมูลไดผ้ ่านอินเทอรเ์ นต็ ทุกทท่ี กุ เวลา 27โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวชิ ยั ปงี บประมาณ ๒๕๖๓

28 โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ชิ ยั ปีงบประมาณ ๒๕๖๓

โครงการจัดท�ำแปลงพนั ธุ์ไม้ปา่ ชายเลน และสร้างจิตส�ำนึกการอนุรกั ษ์พันธไ์ุ มป้ า่ ชายเลน ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ หัวหน้าโครงการ นายพงษพ์ นั ธ์ โชติพนั ธ์ ลักษณะโครงการ ตรงตามกิจกรรมของโครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธุกรรมพืชอนั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำริฯ กิจกรรมท่ี ๘ กิจกรรมสร้างจิตส�ำนึกในการอนรุ ักษ์ทรพั ยากร (F๓A๗) รหสั โครงการ F๓A๗ วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ ๑. เพอ่ื สนองพระราชด�ำรโิ ครงการอนุรักษพ์ นั ธุกรรมพชื อนั เน่ืองมาจากพระราชด�ำริฯ (อพ.สธ.) ๒. เพอื่ เปน็ แหลง่ เพาะพนั ธ์กล้าไม้โกงกาง ของมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ัย ตรงั ๓. เพอื่ เป็นแหล่งศกึ ษาเรยี นรแู้ ละสร้างจติ ส�ำนึกการอนรุ กั ษพ์ นั ธ์ไม้ปา่ ชายเลน สถานท่ดี ำ� เนินการ สถาบันทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรวี ชิ ัย วิทยาเขตตรงั ผลการด�ำเนินงาน - สถาบันทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้จัดท�ำโครงการจัดท�ำแปลงพันธุ์ไม้ป่าชายเลนและสร้าง จิตส�ำนึกการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ป่าชายเลน เพ่ือให้มีแปลงเพาะพันธุ์กล้าไม้ป่าชายเลนเกิดขึ้นภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง และอีกทั้งยังให้เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีจิตส�ำนึกและเห็นความส�ำคัญของการอนุรักษ์ พนั ธไ์ุ มป้ า่ ชายเลน และสามารถนำ� เอาองคค์ วามรทู้ ี่ไดจ้ ากการเข้ารว่ มโครงการไปถา่ ยทอดใหก้ ับบุคคลอื่นได้ 29โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวิชัย ปงี บประมาณ ๒๕๖๓

30 โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ชิ ยั ปีงบประมาณ ๒๕๖๓

โครงการอบรมภาษาองั กฤษ แกแ่ กนน�ำยุวมคั คุเทศก์ป่าชายเลน ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ หวั หน้าโครงการ นางสาวโอษฐ์สมุ า ชมุ พงศ์ ผรู้ ่วมโครงการ นักเรยี นจากโรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จ�ำนวน ๒๐ คน นักเรียนจากโรงเรยี นรัษฎานุประดษิ ฐอ์ นุสรณ์ จ�ำนวน ๑๙ คน นกั ศกึ ษาและคณาจารยแ์ ละเจา้ หนา้ ที่ของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ยั จ�ำนวน ๒๑ คน ลักษณะโครงการ ตรงตามกิจกรรมของโครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธุกรรมพชื อนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� รฯิ กจิ กรรมที่ ๗ กิจกรรมสรา้ งจิตส�ำนึกในการอนรุ กั ษท์ รพั ยากร รหสั โครงการ F๓A๗ กิจกรรมท่ี ๘ กจิ กรรมพเิ ศษสนบั สนนุ การอนรุ ักษ์ทรัพยากร รหัสโครงการ F๓A๘ วตั ถุประสงคข์ องโครงการ ๑. เพื่อสนองพระราชด�ำริโครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพืชอันเนอ่ื งมาจากพระราชดำ� รฯิ (อพ.สธ.) ๒. เพ่ือใหเ้ ยาวชนเกิดจิตส�ำนกึ รักในคณุ คา่ ของพันธกุ รรมพืชและทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสามารถเผยแพร่ความรู้ เกย่ี วกบั ความส�ำคญั ของทรพั ยากรทางธรรมชาตใิ หแ้ ก่บคุ คลทว่ั ไปและนักท่องเทย่ี วได้ ๓. เพื่อให้เยาวชนมีความสามารถในการน�ำเสนอข้อมูลด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติตามกรอบการสร้าง จติ ส�ำนกึ ๔. เพอ่ื ให้เยาวชนมที ักษะการบูรณาการความร้ใู นหลายศาสตร์วิชาเขา้ ดว้ ยกัน สถานทีด่ ำ� เนินการ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรวี ชิ ัย วทิ ยาเขตตรัง อ�ำเภอสเิ กา จังหวัดตรงั ผลการดำ� เนนิ งาน ๑. เยาวชนผู้เข้าร่วมโครงการอบรมภาษาองั กฤษแกแ่ กนนำ� ยุวมคั คุเทศกป์ ่าชายเลน จ�ำนวน ๕๐ คน มีจติ สำ� นึกใน การอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื ทรพั ยากรธรรมชาตปิ า่ ชายเลน และพนั ธไ์ มท้ พ่ี บในปา่ ชายเลนโดยการเรยี นรศู้ กึ ษาทางเดนิ ศกึ ษา ธรรมชาติป่าชายเลน ซง่ึ สอดคล้องกับเปา้ หมายและวัตถุประสงค์ของโครงการ ๒. เยาวชนผเู้ ขา้ รว่ มโครงการสามารถถา่ ยทอดความรทู้ ไี่ ดร้ บั จากโครงการ โดยใชภ้ าษาองั กฤษเปน็ สอ่ื ประชาสมั พนั ธ์ เผยแพร่ความรู้ สร้างจิตสำ� นกึ ดา้ นการอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ และพนั ธไ์ มท้ ่พี บในปา่ ชายเลนให้แก่บคุ ลทว่ั ไป รวมถงึ นกั ทอ่ งเทย่ี วเชงิ นเิ วศน์ได้ ๓. เยาวชนน�ำความรู้ที่ได้ไปปฎิบัติให้สอดคล้องกับแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และน�ำความรู้ มาประยุกต์ใช้ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ หรือผู้น�ำเท่ียวเชิงอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในทางเดินศึกษาธรรมชาติ ป่าชายเลน ได้ 31โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ชิ ัย ปีงบประมาณ ๒๕๖๓

โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ชิ ยั ปีงบประมาณ 2563 -28- การถา่ ยทอดองค์ความรู้สู่ชมชน เยาวชนในชุมชุนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ทรัพยากรธรรมชาติ และป่าชายเลน เยาวชนนำ ความรู้ภาษาอังกฤษมาใช้ในการอนุรักษ์ป่าชายเลน และใช้เป็นส่ือประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความสำคัญของการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ผู้รับผิดชอบโครงการได้บูรณาการโครงการอบรมและได้พัฒนางานวิจัยเพ่ือถ่ายทอด องค์ความรู้ที่สามารถนำไปพัฒนาศกั ยภาพของเยาวชนและทำให้ชมุ ขนเข้มแข็ง ไดร้ บั รางวลั หรือประกาศเกียรตคิ ณุ เเยยาาววชชนนผผเู้ ขูเ้ ขา้ ้ารรบั ับกการาอรบอรบมรจมะจไะดไร้ ดบั ร้ปับรปะกราะศกนายีศบนตั ยี รบกตั ารรเกขาา้ รรเว่ ขม้าโรค่วรมงกโคารรองกบารรมอภบาษรมาอภงั ากษฤาษอแังกกแ่ ฤกษนแนกำ� ย่แวุกมนคั นคำเุ ยทวุศก์ มปคั่าชคาุเยทเศลกนป์ ่าชายเลน 32 โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ิชัย ปีงบประมาณ ๒๕๖๓

โครงการอนรุ ักษพ์ ันธุกรรมพืชสมนุ ไพรกระต้นุ ภมู ิคมุ้ กนั และ ตา้ นเชอ้ื โรคในสภาพสวนป่าธรรมชาติ ผูร้ ับผดิ ชอบโครงการ หวั หน้าโครงการ นายชลชาสน์ ช่วยเมอื ง ทป่ี รึกษาโครงการ ผศ. สมคิด ชยั เพชร ผูร้ ว่ มโครงการ วา่ ท่รี ้อยตรธี งชัย น้ำ� ขาว นางสาวสุนยี ์ ศรชี ู นายเสกศักดิ์ น�ำ้ รอบ นางอรนชุ จิตตารมย์ นางศรีสดุ า ทองไชย นางพทิ ยา สบื ลักษณะโครงการ ตรงตามกิจกรรมของโครงการอนรุ กั ษ์พันธกุ รรมพชื อันเนอื่ งมาจากพระราชดำ� รฯิ กิจกรรมที่ A๒ ส�ำรวจเกบ็ รวบรวมทรพั ยากร พนั ธุพ์ ืชสมุนไพร กิจกรรมที่ A๓ กจิ กรรมปลกู รักษาทรัพยากร สมนุ ไพร กิจกรรมท่ี A๔ กิจกรรมอนรุ ักษ์และใช้ประโยชน์พืชสมุนไพร รหสั โครงการ F๑A๒/F๒A๓/ F๒A๔/ F๓A๗ วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ ๑. เพ่ือสนองพระราชดำ� ริโครงการอนุรักษพ์ ันธุกรรมพชื อันเน่อื งมาจากพระราชดำ� ริฯ (อพ.สธ.) โดย การรวบรวม พันธส์ุ มุนไพรที่มคี ณุ สมบัตใิ นการกระตนุ้ ภูมิคมุ้ กันร่างกาย รกั ษาโรค และตา้ นเช้ือโรค ๒. เพ่ือสรา้ งจติ ส�ำนึกในการอนรุ ักษ์และการใชป้ ระโยชนจ์ ากสมุนไพรใหแ้ กเ่ ยาวชน ๓. เพือ่ ศกึ ษาผลของการปลกู สมุนไพรแบบสวนป่าธรรมชาติตอ่ การเจริญเตบิ โต การให้ผลผลติ สถานที่ด�ำเนินการ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรวี ชิ ัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช 33โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวชิ ยั ปงี บประมาณ ๒๕๖๓

โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวชิ ยั ปีงบประมาณ 2563 -30- ผลการประเมนินดดำ� ำเเนนนิ ินงงาานนใในนโโคครรงงกกาารร ๑1. นกักศศกึ กึ ษษาาแแลละะบบคุ ุคลลกกรไรดไ้เดร้เยี รนยี รนแู้ รลู้แะลตะรตะรหะนหักนถักึงคถุณึงคุณา่ ขคอา่ งขสอมงุนสไมพนุรไพร ๒2. นักศกึ ษาไดร้รู้กู้กรระะบบววนนกกาารรผผลลิตติสมสุนมไุนพไรพแรบแบบยบั่งยง่ันื ยนื ๓3. ไไดดส้้สววนนปปา่ ่าสสมมนุ ุนไพไพรรททมี่ ม่ีพี ีพนั ธนั ส์ุ ธมุ์สนุ มไุนพไรพมรามกากกวา่กว2า่0 ช2น0ดิ ชจนำ� นิดวจนำมนากวนกวมา่ า2ก0ก0ว่าตน้ 2พ0ร0อ้ มตจน้ ดั ทพำ� รปอ้ า้ มยจบัดอทกำชปอ่ื า้สยมบนุ อไพกร ชแล่ือะสสมรุนรไพพครุณแรลกั ะษสาอรราพกาครณุ ต่ารงักษๆาชอว่ั าคกรารวตเพา่ อื่งพๆฒั ชน่ัวาคเปรน็าวปเ้าพย่ือทพีค่ ัฒงทนนาถเปาวน็ รปต้า่อยไปท่ีคงทนถาวรต่อไป ๔4. ออนนาคตอาจจะขขยยาายยเเปปน็ น็ แแหหลลง่ เ่งรเียรนยี นรู้สร่ชูส้ มุ ชู่ ชมุ นชนโดโยดมยีกมากีรจารดั จอดับอรมบครวมาคมวราอู้ มงรค้อู ร์ งวคมร์ขวอมงพขชือสงพมุนืชไสพมรุนใหไพช้ รุมใชหน้ เช่น ชกาุมรชปนลูกเชกน่ ารกขายราปยลพกู ันธกุ์ ากราขรยดาแู ยลพรักนษธา์ุ กกาารรดเกูแบ็ลเรกักย่ี ษวากการาแรปเกร็บรูปเกผยี่ ลวิตภกัณารฑแ์ ปกรารเปู พผ่ิมลมิตลู ภคณั่าใฑหก้์ กบั าสรมเพนุ ไ่ิมพมรลู คา่ ให้กบั ส มุนไพร๕. ในสว่ นของพื้นทีโ่ ครงการสวนสมนุ ไพรนา่ จะขยายพืน้ ท่ี และเพมิ่ ชนดิ พันธุแ์ ละจ�ำนวนสมนุ ไพรใหม้ ากขึน้ 5 ในส่วนของพน้ื ท่โี ครงการสวนสมนุ ไพรน่าจะขยายพ้นื ท่ี และเพ่ิมชนิดพนั ธุแ์ ละจำนวนสมนุ ไพรให้มาก ขน้ึ ปญั หาและอุปสรรคที่พบในระหวา่ งการดำเนินงาน 1 ในการรวบรวมพืชสมนุ ไพรกลุ่มกระตุ้นภมู คิ ุ้มกนั และตา้ นเชือ้ โรคมีปญั หาด้านการสั่งซ้ือโดยผู้ขายพันธ์ุ ไม้ไม่สามารถรวบรวมได้ครบตามชนดิ และจำนวนในเวลาที่กำหนด จงึ ทำใหส้ วนสมนุ ไพรมีพันธุ์ไม่ครบ และเกดิ ความลา่ ช้าต้องใชเวลาในการจดั หาเพมิ่ เติมสง่ ผลในการจดั แปลลงปลูกตามที่ไดร้ ะบชุ นิดพชื สมนุ ไพรทีต่ ้องการ รวบรวม 2 สภาพดนิ ฟา้ อากาศเปน็ อปุ สรรค โดยช่วงทปี่ ลกู เปน็ ชว่ งฤดูฝนทำให้การดแู ลรกั ษา เช่น การใหป้ ๋ยุ แก่ พืชโดนชะลา้ งไปทำใหพ้ ชื ไมไ่ ดร้ บั สารอาหารท่เี พียงพอและเตบิ โตช้า 34 โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวิชัย ปงี บประมาณ ๒๕๖๓

โครงการการใชป้ ระโยชนทเุ รียนเทศเพอ่ื การปองกันกำ� จัดศัตรูพืช (เหย่อื พิษส�ำเร็จรูปที่มีส่วนผสมของน้�ำมันหอมระเหยจากใบทุเรยี นเทศก�ำจัดปลวกใต้ดนิ ) ผู้รบั ผิดชอบโครงการ หวั หน้าโครงการ ผศ.ดร.พชั ราภรณ์ วาณิชยป์ กรณ์ ผู้รว่ มโครงการ ๑. ผศ.ดร.ยืนยง วาณิชยป์ กรณ์ ๒. ผศ.ดร.พรศิลป์ สีเผอื ก ลกั ษณะโครงการ ตรงตามกจิ กรรมของโครงการอนุรักษพ์ ันธกุ รรมพชื อันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริฯ กจิ กรรมที่ ๔ กิจกรรมอนรุ ักษแ์ ละใชป้ ระโยชนพ์ ันธกุ รรมพชื รหัสโครงการ F๒A๔ (โปรดระบุ รหัสโครงการ เช่น F๑A๒/F๒A๔ เปน็ ต้น) วตั ถุประสงคข์ องโครงการ ๑. เพือ่ สนองพระราชด�ำริโครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพชื อนั เนื่องมาจากพระราชดำ� ริ (อพ.สธ.) ๒. เพื่อพัฒนาและศึกษาประสิทธิภาพผลิตภัณฑ์เหยื่อพิษท่ีมีส่วนผสมของน�้ำมันหอมระเหยจากใบทุเรียนเทศใน การควบคุมปลวกใตด้ นิ ๓. เพ่ือเผยแพร่และส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากเหยื่อพิษท่ีมีส่วนผสมของน้�ำมันหอมระเหยจากใบทุเรียนเทศใน การควบคุมปลวกใตด้ ิน สถานทดี่ ำ� เนินการ สาขาวิทยาศาสตร์การเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตนครศรีธรรมราช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช- มงคลศรวี ิชัย อ�ำเภอทงุ่ ใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช ๙. สรปุ ผลการประเมินดำ� เนินงานในโครงการ เพ่อื น�ำไปสู่การพัฒนาในปถี ดั ไป (โปรดระบุรายละเอยี ดอย่างชัดเจน เชน่ พื้นท/ี่ กล่มุ เปา้ หมาย และ/หรือ เปา้ หมายในการด�ำเนินงาน) การใช้ประโยชน์จากทุเรียนเทศเพ่ือการควบคุมปลวกใต้ดินสายพันธุ์ C. curvignathus ซึ่งเป็นแมลงศัตรูส�ำคัญ ของสวนยาง โดยการน�ำน�้ำมันหอมระเหยจากใบทุเรียน ซ่ึงได้จากวิธีการกล่ันด้วยน้�ำและไอน้�ำ มาคัดเลือกอัตราส่วนที่ ผสมดว้ ยน้ำ� มนั หอมระเหยเปลอื กสม้ โอ หรือน�ำ้ มันหอมระเหยกานพลู และนำ� อัตราส่วนดังกล่าวทคี่ ัดเลอื กได้มาพัฒนาเปน็ ผลติ ภณั ฑเ์ หยอ่ื พษิ โดยพบนำ้� มนั หอมระเหยจากใบทเุ รยี นเทศผสมกบั นำ้� มนั หอมระเหยจากดอกกานพลใู นอตั ราสว่ น ๒๕:๗๕ มีพิษทางการกินและสัมผัสต่อปลวก C. curvignathus สูงสุด และปลวกที่ได้รับน้�ำมันหอมระเหยจากใบทุเรียนเทศผสม กับน�้ำมันหอมระเหยจากดอกกานพลูในอัตราส่วน ๒๕:๗๕ สามารถถ่ายทอดพิษไปสู่ปลวกงานปกติได้ เมื่อเปรียบเทียบ ประสทิ ธภิ าพของเหยอ่ื พษิ ทม่ี สี ว่ นผสมของนำ�้ มนั หอมระเหยจากใบทเุ รยี นเทศและดอกกานพลใู นอตั ราสว่ น ๒๕:๗๕ ระหวา่ ง เหย่ือพิษที่เป็นขี้เล่ือยอัดแท่งกับไม้ยาง พบว่า เหย่ือพิษที่เป็นไม้ยางมีประสิทธิภาพในการควบคุมปลวกใต้ดินสายพันธุ์ ดงั กล่าวสูงกวา่ เหยอ่ื พิษทีเ่ ปน็ ขเ้ี ลื่อยอดั แท่ง และยงั พบวา่ ผลิตภัณฑเ์ หยอื่ พิษไม้ยางท่ีเกบ็ รกั ษาไวเ้ ปน็ เวลา ๓ เดอื นยงั คงมี 35โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวิชยั ปงี บประมาณ ๒๕๖๓

ประสิทธิภาพในการควบคุมปลวกไดด้ ี เปา้ หมายการดำ� เนินงานในปีตอ่ ไป คอื ทดสอบประสทิ ธภิ าพของไม้ยางเหยื่อตอ่ การ ควบคุมปลวกในสภาพสวนยาง นอกจากน้ีศึกษาเพิ่มเติมเก่ียวกับกลไกการออกฤทธ์ิของน�้ำมันหอมระเหยต่อปลวกใต้ดิน สายพนั ธ์ุ C. curvignathus รวมไปถงึ การพฒั นาผลติ ภณั ฑก์ ำ� จดั ปลวกใหม้ รี ปู แบบทส่ี ามารถเกบ็ รกั ษาไดง้ า่ ย มปี ระสทิ ธภิ าพ คงทน สามารถนำ� มาเปน็ ผลติ ภณั ฑท์ เ่ี ทยี บเคยี งไดก้ บั ผลติ ภณั ฑจ์ ากสารเคมสี งั เคราะห์ เพอ่ื ชว่ ยใหเ้ กษตรกรและผใู้ ชส้ ามารถ หลกี เลย่ี งและมคี วามปลอดภยั จากการใชส้ ารฆา่ แมลง ซง่ึ อาจทำ� ใหช้ มุ ชนไดเ้ ลง็ เหน็ ถงึ ความสำ� คญั ในการเลอื กใชพ้ ชื ทอ้ งถนิ่ คอื ทเุ รยี น นำ� ไปสกู่ ารอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมทเุ รยี นเทศใหอ้ ยคู่ ชู่ มุ ชนอยา่ งยงั่ ยนื นอกจากนย้ี งั มเี ปา้ หมายการตพี มิ พเ์ ผยแพร่ เพอ่ื น�ำเสนอผลงานทางวิชาการ และจัดอบรมใหค้ วามรู้แกเ่ กษตรกร นกั เรียน นกั ศึกษา ที่สนใจ ปัญหาและอุปสรรคที่พบในระหว่างการด�ำเนนิ งาน เนอ่ื งจากแปลงปลกู ทุเรยี นเทศของคณะเกษตรศาสตร์เป็นแปลงขนาดเล็ก มีจำ� นวนต้นทุเรยี นเทศไม่มาก จ�ำเปน็ ต้องเก็บรวบรวมส่วนใบจากแปลงเกษตรกรและหน่วยงานราชการในพ้ืนที่ใกล้เคียงเพ่ือน�ำมาสกัดน้�ำมันหอมระเหย รวมท้ังผลผลิตน้�ำมันหอมระเหยท่ีได้จากการสกัดแต่ละคร้ังมีปริมาณน้อย (๐.๐๓%) ต้องสกัดน�้ำมันหอมระเหยหลายครั้ง เพอ่ื ทดสอบฤทธช์ิ วี ภาพของน้�ำมนั หอมระเหยต่อปลวก ทำ� ให้เกดิ ความลา่ ชา้ ต่อการปฏิบัตงิ าน ผลการด�ำเนนิ งาน ทเุ รียนเป็นพชื ทม่ี ีฤทธิ์ชีวภาพในการควบคุมปลวกใต้ดนิ สายพนั ธุ์ C. curvignathus ซ่ึงเปน็ ศตั รูสำ� คญั ของต้นยาง ทำ� ลายโดยการกัดกนิ สว่ นราก บรเิ วณโคนตน้ ทอ่ี ยูใ่ ต้ผวิ ดิน และกดั กินภายในล�ำตน้ ท�ำใหต้ น้ ยางยืนตน้ ตาย สำ� หรับการน�ำ น้�ำมันหอมระเหยทุเรียนเทศไปใช้ในการควบคุมปลวก จ�ำเป็นต้องน�ำมาพัฒนาสูตรและรูปแบบผลิตภัณฑ์ที่ง่ายต่อการใช้ จงึ นำ� มาผสมรว่ มกบั นำ�้ มนั หอมระเหยเปลอื กสม้ โอและนำ�้ มนั หอมระเหยกานพลู คดั เลอื กโดยการทดสอบพษิ ทางการกนิ และ สมั ผสั ซงึ่ สตู รทีไ่ ดค้ ือ น�ำ้ มันหอมระเหยจากใบทุเรยี นเทศต่อกานพลู อัตราส่วน ๒๕:๗๕ ความเขม้ ข้น ๓,๓๓๓ พีพเี อม็ ท�ำให้ ปลวกตาย ๑๐๐% ที่เวลา ๑ วนั ผลจากการทดสอบเหยื่อพษิ น�ำ้ มนั หอมระเหยทุเรยี นเทศ:กานพลู สามารถควบคุมปลวกได้ ๑๐๐% ตง้ั แตค่ วามเข้มข้น ๔,๐๐๐-๑๐,๐๐๐ พพี เี อ็ม และยงั พบวา่ ปลวกที่ไดร้ ับนำ้� มันหอมระเหย สามารถถ่ายทอดพษิ ไปยังปลวกงานปกติตัวอื่นๆ ซงึ่ ปลวกท่ีไดร้ ับน�้ำมันหอมระเหยนานสดุ ๕๐ นาที มผี ลทำ� ใหป้ ลวกตัวอื่นๆ ตายสูงสุด ๙๘% ท่ีเวลา ๗ วัน ส่วนการศึกษาระยะเวลาต่อประสิทธิภาพของเหยื่อพิษ พบว่า เหยื่อพิษท่ีน�ำมาใช้ทันที ท�ำให้ปลวกตาย ๑๐๐% ในขณะท่เี หย่ือพษิ ที่ถกู เก็บไว้เป็นระยะเวลา ๑, ๒ และ ๓ เดอื น ทำ� ให้ปลวกตาย ๙๗.๕๐, ๙๐.๐๐ และ ๗๘.๗๕% ตามล�ำดับ จากผลการทดสอบสรุปได้ว่าผลิตภัณฑ์เหยื่อพิษน้�ำมันหอมระเหยทุเรียนเทศมีศักยภาพในการน�ำมาใช้ควบคุม ปลวกใตด้ นิ สายพันธุ์ C. curvignathus การถ่ายทอดองค์ความรสู้ ู่ชมชน โดยจัดอบรม ๒ ครั้ง และจดั แสดงนทิ รรศการ ๑ ครั้ง 36 โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวชิ ยั ปงี บประมาณ ๒๕๖๓

37โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวชิ ยั ปีงบประมาณ ๒๕๖๓

โครงการการจำ� แนกพนั ธกุ รรมทุเรียนเทศ ดว้ ยเทคโนโลยีชีวภาพ ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ รศ.ดร.สุนยี ์รัตน์ ศรีเปารยะ หัวหน้าโครงการ ๑. ผศ.ดร.ยืนยง วาณชิ ย์ปกรณ์ ผรู้ ่วมโครงการ ๒. ผศ.ดร.พัชราภรณ์ วาณชิ ย์ปกรณ์ ๓. ผศ.ดร.พรศลิ ป์ สีเผอื ก ลักษณะโครงการ ตรงตามกจิ กรรมของโครงการอนุรักษ์พันธกุ รรมพชื อันเนอื่ งมาจากพระราชด�ำริฯ กจิ กรรมท่ี ๕ กจิ กรรมศนู ยข์ ้อมูลทรัพยากร รหสั โครงการ F๒A๕ (โปรดระบุ รหสั โครงการ เชน่ F๑A๒/F๒A๔ เป็นต้น) วัตถุประสงคข์ องโครงการ ๑. เพอ่ื สนองพระราชดำ� ริโครงการอนุรกั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อนั เนือ่ งมาจากพระราชดำ� ริ (อพ.สธ.) ๒. เพอ่ื ศกึ ษาความหลากหลายทางพนั ธุกรรมของทุเรยี นเทศด้วยวธิ กี ารทางเทคโนโลยีชวี ภาพ สถานทด่ี ำ� เนินการ คณะเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตนครศรธี รรมราช มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ยั อ.ทงุ่ ใหญ่ จ.นครศรธี รรมราช ผลการประเมนิ การดำ� เนนิ งานในโครงการ ขอ้ มลู ความเหมอื นและแตกตา่ งทางพนั ธกุ รรมของทเุ รยี นเทศ สามารถนำ� มาใชป้ ระโยชนใ์ นการปรบั ปรงุ และพฒั นา พันธ์ทุ ุเรยี นเทศ นอกจากนี้การเก็บรวบรวมพนั ธทุ์ ่มี คี วามแตกต่างทางพันธกุ รรมมาปลูกในแปลงของมหาวิทยาลยั สามารถ ปกปกั รกั ษาพนั ธกุ รรมของทเุ รยี นเทศไว้ และสามารถนำ� ทเุ รยี นเทศเหลา่ นม้ี าตอ่ ยอดศกึ ษาการแปรรปู และพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ เชน่ การนำ� ใบ ผล เมลด็ มาท�ำผลิตภณั ฑแ์ ละสกดั สารต่าง ๆ ทัง้ เพอื่ อปุ โภค บริโภค และกำ� จัดศตั รพู ืช เชน่ การใช้ประโยชน์ การควบคมุ ปลวกใตด้ นิ ซง่ึ เปน็ แมลงศตั รสู ำ� คญั ของสวนยาง โดยการกลนั่ นำ�้ มนั หอมระเหยจากใบทเุ รยี น นำ� ไปสกู่ ารอนรุ กั ษ์ พันธกุ รรมทเุ รยี นเทศให้อยูค่ ชู่ มุ ชนอยา่ งย่งั ยืน นอกจากนี้ยงั มีเป้าหมายการตีพิมพ์เผยแพร่ เพอ่ื น�ำเสนอผลงานทางวชิ าการ และจัดนทิ รรศการให้ความรแู้ ก่เกษตรกร นกั เรียน นักศกึ ษาท่สี นใจ 38 โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ชิ ยั ปงี บประมาณ ๒๕๖๓

โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวชิ ยั ปีงบประมาณ 2563 -35- ปญั หาและอปุ สรรคท่ีพบในระหว่างการดำเนินงาน เนอ่ื งจากการอนมุ ตั ิโครงการและงบประมาณมาชา้ คอื ในเดือนเมษายน 2563 ทำให้ระยะเวลาในการ ดำเนนิ โครงการน้อยลง ทำให้มเี วลาจำกดั ในการเกบ็ รวบรวมตัวอย่างของทุเรียนเทศจากแหล่งตา่ งๆ การถา่ ยกทาอรถด่าอยงทคค์อวดาอมงรคูส้ ์คชู่ วมาชมนรูส้ ู่ชมชน ทวแ:ปกทิลุเุมรทรยะะาียุเโารชรคนลีียุมรยัเแนเทงกคลเกเเศปาปยีทะาร็นงรโ็นศอใคชสวนวาลรวิทใชโทิ งนนธคีพยกยาพรโพาาาครงฤกรรกกรกวหรสงราษิทใกมวรในศนยอนคากาารนกรีพสาลอีุราฤอตรัยนักรก.อรกพษอุร์ษใบากัรบน์พศรรหษโรันอามรมม์พธสงาเคุเกเันรชตรรรี่ือรธีพรียื่อี รงจุก์ในพงมกน.รนกรพาโรปคาหรรืชมรรรงสมอพะสศเรคัรนจชืรร้ายีรีเ�ำธีา้องนนีปรงนัอจ่ือรีพจิ.เตมงพปนิต.จสศรรรอ่ืสาา�.ำหะ2ชงำกน5จจมนพึก6ำาคกึรกป3กะีรกาพีพีราใรจารน.รอศ.ชะนวอน.ดรัน2นคุรา�ำท5รุรักชรศี่ักิ6สษด1รษม3์ำพ1ธี เร์พัรนดิสกรในั็จธมนันมพุธกเวยรุกดรรนัาาระรจ็ ยชทมเรพนที่มพรพ1พืะช2ร1เืช5หัตท6หานพ3กยารรนัายาณตั กชยานใสากนหรยุดใาท้อนนาชงส้อทสปย2ง้อดุราถ5งะาม่ินถชส6บกิ่นุมย3รรกเามคณมรรียณบีศาณงชึกรชีศกมษลึกหุมรธาษาาอ้ารชารง:ี 39โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ชิ ัย ปีงบประมาณ ๒๕๖๓

โครงการโครงการสรา้ งผลิตภณั ฑ์ทมี่ ีมลู ค่าเพม่ิ จากสมนุ ไพรมะขามปอ้ ม ผ้รู ับผิดชอบโครงการ หัวหนา้ โครงการ ผศ.ดร.ธนากรณ์ ด�ำสดุ ผรู้ ว่ มโครงการ ดร.อภิรดี โพธพิ งศา เปรมจติ รองสวัสด์ิ สขุ ใจ พรหมมาศ ศริ วิ รรณ ปานเมือง ลักษณะโครงการ ตรงตามกิจกรรมของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพชื อนั เน่ืองมาจากพระราชดำ� รฯิ กิจกรรมที่ ๑ การพฒั นาชาสตู รชาสมนุ ไพรมะขามป้อมผสมสมนุ ไพรใหก้ ลน่ิ หอม กิจกรรมที่ ๒ การพัฒนาโยเกิร์ตแหง้ มะขามป้อมแห้ง รหัสโครงการ F๒A๔ (โปรดระบุ รหัสโครงการ เชน่ F๑A๒/F๒A๔ เปน็ ตน้ ) วัตถุประสงคข์ องโครงการ ๑. เพ่ือสนองพระราชดำ� ริโครงการอนรุ ักษ์พันธกุ รรมพืชอันเนือ่ งมาจากพระราชดำ� รฯิ (อพ.สธ.) ๒. เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับมะขามป้อมในรูปแบบของการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่า ได้แก่ ชาชงสมุนไพร มะขามป้อมและโยเกริ ต์ มะขามปอ้ ม ๓. เพ่ือเผยแพรข่ ้อมูลผลิตภัณฑ์ท่ผี ลติ ใหก้ ับชุมชน โดยให้มปี ระโยชนใ์ นการต่อยอดเปน็ ผลติ ภัณฑ์อ่ืน ๆ สถานท่ีดำ� เนนิ การ สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขต นครศรธี รรมราช ผลการประเมินดำ� เนินงาน สามารถสร้างผลิตภัณฑ์ต้นแบบ เพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนาต่อยอดเชิงพาณิชย์ ก่อให้ชุมชนเกิดรายได้ และ เป็นการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศชาติ เป็นผลิตภัณฑ์ ๑.ชาชงสมุนไพรมะขามป้อมพร้อมชง และโยเกิร์ตมะขามป้อม ใน ๑๔ สตู ร ๒ โยเกริ ์ตแห้งพร้อมชง ๕ สตู ร 40 โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ชิ ยั ปงี บประมาณ ๒๕๖๓

การถ่ายทอดองค์ความรสู้ ชู่ มชน มกี ารถา่ ยทอดองคค์ วามรใู้ หก้ บั ชมุ ชน (ระบ)ุ ตำ� บลเขาขาว อำ� เภอทงุ่ สง จ.นครศรธี รรมราช และกจิ กรรมการพฒั นา อาหารของนกั ศึกษาสาขาชวี วทิ ยาประยุตช์ น้ั ปที ี่ 3 ภาพประกอบการดำ� เนนิ โครงการ 41โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ชิ ยั ปีงบประมาณ ๒๕๖๓

โครงการการจดั ท�ำฐานข้อมลู สมนุ ไพรมะขามปอ้ ม ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ หัวหนา้ โครงการ นายพรประเสรฐิ ทิพย์เสวต ลักษณะโครงการ ตรงตามกิจกรรมของโครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริฯ กิจกรรมท่ี F๒ กรอบการใชป้ ระโยชน์ A๕ กจิ กรรมศนู ย์ข้อมลู ทรัพยากร รหัสโครงการ F๒A๕ (โปรดระบุ รหสั โครงการ เช่น F๑A๒/F๒A๔ เปน็ ตน้ ) วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ ๑. เพือ่ สนองพระราชด�ำริโครงการอนุรักษพ์ ันธุกรรมพชื อันเนอื่ งมาจากพระราชด�ำรฯิ (อพ.สธ.) ๒. เพื่อศึกษาความร้ดู า้ นพชื สมนุ ไพรมะขามปอ้ มในชมุ ชนในจงั หวัดนครศรีธรรมราช ๓. เพ่อื พัฒนาฐานข้อมลู ดา้ นสมนุ ไพรมะขามป้อมในจงั หวดั นครศรธี รรมราช สถานทดี่ ำ� เนนิ การ จำ� นวนขอ้ มลู ของมะขามปอ้ ม ขอ้ มลู ทเุ รยี นเทศ และขอ้ มลู ของผลการดำ� เนนิ โครงการในกลมุ่ จงั หวดั นครศรธี รรมราช ผลการดำ� เนินงาน จัดท�ำฐานข้อมูลมะขามป้อมในเขตพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช เพ่ือเป็นแหล่งเก็บรวบรวมพันธุพืชสมุนไพร มะขามปอ้ ม ในการอนุรักษแ์ ละพฒั นาเพือ่ น�ำไปใชป้ ระโยชน์ในการศกึ ษา ค้นควา้ วิจยั และเผยแพร่ เพื่อใหค้ นในชมุ ชนและ ชมุ ชนใกลเ้ คยี งไดเ้ กดิ จติ สำ� นกึ รกั และหวงแหน ตระหนกั และใหค้ วามสำ� คญั ในการดแู ลจดั การพชื สมนุ ไพร ใชป้ ระโยชนใ์ นเชงิ เศรษฐกจิ หรอื สขุ ภาพของชมุ ชนและสงั คมสว่ นรวมไดอ้ ยา่ งดี ซง่ึ กจิ กรรมทงั้ หลายเหลา่ นอ้ี ยภู่ ายใตก้ รอบการเรยี นรทู้ รพั ยากร กรอบการใช้ประโยชน์ และกรอบการสร้างจิตส�ำนึกของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริฯ และสนับสนุนการใช้ระบบสารสนเทศในการจัดเก็บข้อมูล และให้สามารถเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลโครงการ อพ.สธ. และ หน่วยงานร่วมสนองพระราชด�ำริฯ อน่ื ตอ่ ไปได้ในอนาคต 42 โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ชิ ยั ปีงบประมาณ ๒๕๖๓

โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวชิ ัย ปีงบประมาณ 2563 -39- เวบ็ ไซต์ http://mt.rmutsv.ac.th/rspg 1. เว็บไซต์สามารถค้นหาข้อมูลของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอนั เนื่องมาจากพระราชดำริฯ ในพ้นื ท่ี วทิ ยาเขตนครศรีธรรมราชที่ดำเนินโครงการในปีต่างๆ มาจัดเกบ็ รวบรวมไว้ 43โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวิชยั ปงี บประมาณ ๒๕๖๓

โครงการการพฒั นาผลิตภณั ฑ์จากทุเรยี นเทศ : ทเุ รยี นเทศเขม้ ข้นบรรจขุ วด และน้ำ� ทเุ รยี นเทศพร้อมดื่มเพือ่ สุขภาพรสชาติต่าง ๆ ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ หวั หน้าโครงการ ผศ.ดร.เสาวณีย์ ชัยเพชร ผรู้ ว่ มโครงการ ผศ.ดร.ศริ นิ าถ ศรีออ่ นนวล ดร. ธณิกานต์ ธรสินธุ ผศ.ละอองวรรณ ศรีจันทร์ นางสาวสุวิจกั ษณ์ ห่านศรวี จิ ติ ร นายธรี ะวฒั น์ สกุ ใส ลกั ษณะโครงการ กิจกรรมที่ รหัสโครงการ (โปรดระบุ รหสั โครงการ เชน่ F๑A๒/F๒A๔ เปน็ ต้น) กจิ กรรมท่ี ๔ กิจกรรมอนรุ กั ษ์และใชป้ ระโยชนพ์ ันธุกรรมพืช (F๒A๔) กจิ กรรมที่ ๗ กิจกรรมสร้างจติ สำ� นกึ ในการอนรุ ักษพ์ นั ธกุ รรมพชื (F๓A๗) วัตถุประสงค์ของโครงการ ๑. เพอ่ื สนองพระราชดำ� ริโครงการอนรุ ักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริฯ (อพ.สธ.) ๒. เพอ่ื สรา้ งจิตส�ำนกึ ในการอนรุ กั ษ์และการใชป้ ระโยชนท์ เุ รียนเทศใหแ้ ก่เยาวชน ๓. เพ่อื ศกึ ษากระบวนการท่ีเหมาะสมในการผลิตทุเรียนเทศเขม้ ข้นในบรรจภุ ณั ฑ์และคณุ ภาพของผลติ ภัณฑ์ ๔. เพ่ือพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ทเุ รยี นเทศผสมผกั และผลไม้พน้ี บ้านภาคใตพ้ รอ้ มดื่มจากทุเรียนเทศเขม้ ขน้ ในบรรจุภณั ฑ์ และคุณภาพผลิตภัณฑ์ 44 โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวิชัย ปงี บประมาณ ๒๕๖๓

ผลการดำ� เนินงาน กระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ท้ังสองเป็นท่ีต้องการของเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนเทศในเขตจังหวัดกระบ่ีเพื่อช่วย แกป้ ญั หาผลผลติ ทอ่ี อกมามากและมปี ญั หาการจำ� หนา่ ย อกี ทางสรา้ งชอ่ งทางการสรา้ งผลติ ภณั ฑอ์ น่ื ๆ เปน็ ทางเลอื กสำ� หรบั ผู้บริโภค ซ่ึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายจึงเป็นแนวทางในการพัฒนาต่อเน่ืองเพ่ือสร้างจุดขายให้กับผู้ผลิต โดย ตัวชีว้ ดั เชิงปรมิ าณท่ีได้คือ ๑. ไดก้ ระบวนการผลติ ทเุ รยี นเทศเข้มข้นบรรจขุ วด ๑ วธิ ี ๒. ได้กระบวนการผลิตนำ้� ทเุ รียนเทศผสมส้มจี๊ดพรอ้ มดม่ื บรรจขุ วด ๑ วิธี ๓. ไดผ้ ลติ ภณั ฑ์ ๒ ชนดิ คือทเุ รียนเทศเขม้ ข้นและน้�ำทเุ รียนเทศผสมสม้ จ๊ีดพร้อมดื่ม และตวั ช้ีวดั เชิงคณุ ภาพ ๑. ไดผ้ ลิตภัณฑจ์ ากทุเรียนเทศทส่ี ะอาดและปลอดภัยส�ำหรบั การบรโิ ภค ๒. ได้ทราบการยอมรับของผ้บู รโิ ภคจากการทดสอบทางประสาทสัมผัสของผลติ ภัณฑท์ ั้งสองชนดิ 45โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวิชยั ปงี บประมาณ ๒๕๖๓

โครงการเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาติ อนุรกั ษพ์ นั ธุกรรมพืชร่วม และรกั ษาป่าต้นนำ้� ในเขตพ้ืนทีป่ กปัก อพ.สธ. ผูร้ ับผิดชอบโครงการ หวั หน้าโครงการ นางสพุ ัตรา เพง็ เกลย้ี ง ผรู้ ว่ มโครงการ นายอารีย์ เต๊ะหละ นางอ�ำมรรตั น์ คงกะโชติ นางธมลชนก คงขวัญ ลกั ษณะโครงการ ตรงตามกิจกรรมของโครงการอนุรกั ษ์พนั ธกุ รรมพืชอนั เนือ่ งมาจากพระราชดำ� ริฯ กจิ กรรมท่ี F๑A๑ กิจกรรมปกปกั ทรพั ยากร กิจกรรมท่ี F๑A๒ กิจกรรมส�ำรวจเกบ็ รวบรวมทรัพยากร กิจกรรมท่ี F๓A๗ กจิ กรรมสรา้ งจิตส�ำนึกในการอนุรักษ์ทรพั ยากร รหสั โครงการ F๑A๑/F๑A๒/F๓A๗ วตั ถุประสงค์ของโครงการ ๑. เพ่ือสนองพระราชดำ� รโิ ครงการอนุรกั ษพ์ นั ธุกรรมพชื อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริฯ (อพ.สธ.) ๒. เพื่อสรา้ งเส้นทางศกึ ษาและท�ำแผนที่ทางเดินการศึกษาธรรมชาตพิ ันธุกรรมพืชร่วมในเขตพน้ื ทป่ี กปัก อพ.สธ. ๓. เพอ่ื สรา้ งป้ายบ่งช้พี นั ธกุ รรมพืชร่วม ในเขตพ้ืนทป่ี กปัก อพ.สธ. ๔. เพอื่ เป็นแหลง่ เรียนร้ธู รรมชาติทางพันธกุ รรมกลว้ ยพื้นเมอื ง สถานทีด่ ำ� เนินการ วทิ ยาลยั รัตภมู ิ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรีวชิ ยั ผลการดำ� เนินโครงการ ๑. มีเส้นทางศกึ ษาและทำ� แผนทที่ างเดินการศกึ ษาธรรมชาติพนั ธุกรรมพืชรว่ ม ในเขตพน้ื ทป่ี กปกั อพ.สธ. ระยะทาง ๓๐๐ เมตร ๒. มปี ้ายบง่ ช้ีพนั ธุกรรมพืชร่วม ในเขตพืน้ ทปี่ กปกั อพ.สธ.จำ� นวน ๑๐ ปา้ ย ระดบั ผลลัพธ์ เปน็ แหลง่ เรยี นรู้ธรรมชาตทิ างพันธุกรรมกลว้ ยพ้นื เมอื งและพันธกุ รรมพชื ร่วม 46 โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรวี ชิ ัย ปีงบประมาณ ๒๕๖๓

47โครงการ อพ.สธ. – มทร.ศรีวชิ ยั ปีงบประมาณ ๒๕๖๓