Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สมุนไพรจากภูมิปัญญา ทุเรียนเทศ

สมุนไพรจากภูมิปัญญา ทุเรียนเทศ

Published by neopoint9, 2021-09-14 06:19:29

Description: สมุนไพรจากภูมิปัญญา ทุเรียนเทศ

Search

Read the Text Version

ทเุ รย� นเทศ สมุนไพรจากภมู ปิ ญ ญา สูผ ลิตภัณฑสรางอาช�พ ศนู ยป ระสานงานโครงการอนุรกั ษพนั ธกุ รรมพืช อันเนือ่ งมาจากพระราชดำร� สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ าร� ภาคใตฝงอนั ดามนั (อพ.สธ. - มทร.ศรว� �ชัย)

โครงการอนุรักษพ์ ันธุกรรมพืชอนั เนื่องมาจากพระราชดำ� ริ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี สนองพระราชดำ� ริ โดย มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ยั

ค�ำนำ� หนังสือ “ทุเรียนเทศ สมุนไพรจากภูมิปัญญาสู่ผลิตภัณฑ์สร้างอาชีพ” ได้รวบรวมเร่ืองราวอันเก่ียวกับ ทุเรียนเทศซึ่งเป็นผลไม้ที่ขาดการให้ความส�ำคัญทางเศรษฐกิจในไทย โดยปกติแล้วจะพบว่ามีการเพาะปลูกมาก ในภาคใตข้ องประเทศไทย รวมไปถงึ มาเลเซยี และสงิ คโปร์ พบวา่ ทเุ รยี นเทศนไี้ ดห้ ายไปจากตลาดทอ้ งถน่ิ แตก่ ลบั ได้ ในรปู ของการแปรรปู เชน่ นำ�้ ทเุ รยี นเทศเขม้ ขน้ นำ�้ ทเุ รยี นเทศบรรจกุ ลอ่ งพรอ้ มดม่ื ประโยชนข์ องทเุ รยี นนำ้� ทเุ รยี น เทศ ในทางโภชนาการแลว้ ถอื วา่ มคี ารโ์ บไฮเดรตสงู โดยเฉพาะนำ้� ตาลฟรกุ โทส และยงั มวี ติ ามนิ บแี ละวติ ามนิ ซี สว่ นที่ น�ำมาใช้เป็นยาคือส่วนของใบ ผล และเมล็ด ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) สนองพระราชดําริ โดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลศรวี ิชัย ได้มกี ารสาํ รวจ การปลูกทุเรยี นเทศ และการแปรรปู สรา้ งผลผลติ ทเุ รยี นเทศในรูปแบบตา่ ง ๆ เพอื่ สรา้ งความเขา้ ใจและตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของพนั ธกุ รรมทเุ รยี นเทศ โดยมหาวทิ ยาลยั ไดน้ าํ ความรเู้ ชงิ วชิ าการ สมัยใหม่จากการวิจัยไปสานต่อองค์ความรู้เดิมเพื่อสร้างมูลค่าเพ่ิมในการส่งเสริมอาชีพให้กับชุมชน เพ่ือสืบสาน อนรุ ักษว์ ฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ จากร่นุ ส่รู ุ่น มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชยั

กิตตกิ รรมประกาศ หนังสือ “ทุเรียนเทศ สมุนไพรจากภูมิปัญญาสู่ผลิตภัณฑ์สร้างอาชีพ” ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเน่ืองมาจากพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) สนองพระราชดําริ โดย มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ยั น้ี ขอขอบพระคณุ ทเ่ี หน็ ถงึ ความสำ� คญั และสนบั สนนุ และจดั สรรงบ ประมาณสนบั สนุนโครงการคร้ังน ี้ สุดท้ายน้ขี อขอบพระคณุ คณะผูบ้ รหิ าร คณาจารย์ บุคลากร และทกุ ท่านทีใ่ ห้ความชว่ ยเหลอื ทไี่ ดใ้ หโ้ อกาส คำ� แนะนาํ ขอ้ เสนอแนะ รวมไปถงึ คอยตรวจตราแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ งตา่ ง ๆ ตลอดการจดั ทำ� หนงั สอื ทางคณะผจู้ ดั ทาํ จงึ ขอกราบขอบพระคณุ เป็นอย่างสงู และค�ำแนะนาํ ที่ดีจนสามารถท�ำหนังสือฉบบั นไี้ ด้อยา่ ง เสรจ็ สิน้ สมบูรณ์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรีวชิ ัย

ประวัตโิ ครงการอนรุ ักษพ์ นั ธุกรรมพชื อนั เน่อื งมาจากพระราชดําริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช (รชั กาลท่ี 9) ทรงเลง็ เหน็ ความสำ� คญั ของการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื ทรงเรม่ิ งานพัฒนาอนุรกั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชวี ภาพต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2503 เปน็ ต้นมา โดยมี พระราชดาํ รใิ หด้ ำ� เนนิ การรวบรวมรกั ษาพรรณพชื ตา่ ง ๆ ทหี่ ายาก และกาํ ลงั จะหมดไป ตอ่ มาในเดอื นมถิ นุ ายน พ.ศ. 2535 สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมพี ระราชด�ำริกับนายแกว้ ขวัญ วชั โรทยั เลขาธกิ ารพระราชวัง และผู้อ�ำนวยการโครงการส่วนพระองค์ฯ สวนจิตรลดา ให้ด�ำเนินโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช โดยมอบให้ฝ่าย วชิ าการ โครงการสว่ นพระองคฯ์ เปน็ ผดู้ ำ� เนนิ การ สำ� หรบั งบประมาณดำ� เนนิ งานนน้ั สำ� นกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพอ่ื ประสานงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ได้สนับสนุนโครงการส่วนพระองค์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในงานโครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� ริ โดยจดั สรา้ งธนาคารพชื พรรณขน้ึ ในปี พ.ศ. 2539 สำ� หรบั เกบ็ รกั ษาพนั ธกุ รรมพชื ทเี่ ปน็ เมลด็ และเนอื้ เยอื่ และสนบั สนนุ งบประมาณดำ� เนนิ การทกุ กจิ กรรม ของโครงการ ทรงมพี ระราชปรารภ พระราชดำ� รแิ ละพระราชทานแนวทางการดำ� เนนิ งาน โครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื กับนายพศิ ิษฐ์ วรอไุ ร และนายพรชยั จุฑามาศ ในพระราชวโรกาสตา่ งๆ การดำ� เนนิ โครงการอนุรกั ษ์พันธุกรรมพืช อนั เนอ่ื งมาจาก พระราชดาํ ริสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (อพ.สธ.) ของมหาวิทยาลยั เทคโนโลยี ราชมงคลศรวี ิชยั ไดม้ กี ารดําเนนิ งานทัง้ 3 พืน้ ที่ ได้แก่ พ้นื ที่สงขลา วทิ ยาเขตตรงั และวิทยาเขตนครศรธี รรมราช ด้วยเหตุผลดังกล่าว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย จึงเข้าร่วม สนองพระราชดําริ โครงการอนุรักษ์ พนั ธกุ รรมพืชอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาํ ริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (อพ.สธ.) โดยยดึ ม่นั ใน พระราชดําริและด�ำเนินการตามกรอบแผนแม่บทของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดําริฯ เปน็ หลัก

“โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ งานการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชน้ี ได้ด�ำเนินมาเป็นเวลาหลายปี เริ่มตั้งแต่ ทเ่ี ขา้ ใจว่าพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร มหาภูมิพลอดุลยเดช (รชั กาลท่ี 9) ทรงหาพรรณพชื ต่าง ๆ ทีห่ ายากมาปลกู เอาไว้ เพื่อคนรนุ่ หลงั จะไดเ้ ห็นได้ศกึ ษาตอ่ ไป และกม็ งี านด้านวิชาการตา่ ง ๆ ที่ท�ำกัน ทจ่ี ริงแล้ว ในประเทศไทยน้ีกม็ ี หนว่ ยงานหลายหนว่ ยที่สนใจในเร่ืองของการอนรุ กั ษ์ พนั ธพ์ุ ืชเพ่ือการศึกษาพืชพรรณตา่ ง ๆ ท่มี ีอยูใ่ นประเทศ โครงการนี้ มีจุดประสงค์ส�ำคัญท่ีจะให้หน่วยงานต่างๆ ที่ได้ท�ำงานมา ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือ แลกเปลยี่ นความรู้ซึ่งกนั และกนั รวบรวม ข้อมูลเพือ่ ท�ำให้วชิ าการดา้ นน้ีกา้ วหน้าไปและเปน็ การประหยดั เพราะแทนท่ี ตา่ งคน ต่างทำ� งานไหนที่มีผู้ทําแล้วจะไดร้ ว่ มกนั ทำ� โดยไมใ่ หซ้ ำ้� ซ้อนกนั การเก็บฐานขอ้ มลู นี้ถา้ เกบ็ ไว้แหง่ เดียวก็อาจจะ สญู หายได้ กม็ คี วามคดิ กนั วา่ จะใหห้ นว่ ยงานตา่ งๆ ชว่ ยกนั เกบ็ ทหี่ นง่ึ เกดิ เหตเุ สยี หายไปกจ็ ะไดม้ ขี อ้ มลู เอาไว้ ไมส่ ญู หาย ไปจากประเทศไทยหรือจากโลกนไี้ ปหมด ฐานขอ้ มูลน้ีกเ็ ปน็ ของที่มีคา่ ต้องชว่ ยกนั ดแู ลให้ดี และผ้ทู ่จี ะมาใช้กต็ ้องดแู ล ใช้ใหถ้ กู ต้องให้เป็นประโยชนแ์ ก่ ประเทศไทยแก่มนษุ ยช์ าตติ ่อไป” พระราโชวาท สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราโชวาท วนั ที่ 12 ตลุ าคม 2543 ในการประชมุ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ณ อาคารสารนิเทศ 50 ปี มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์

สารบัญ • ประวัติโครงการอนรุ ักษ์พนั ธกุ รรมพืชอนั เนอื่ งมาจาก 1 พระราชดําริ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (อพ.สธ.) 1 • พระราโชวาท สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) 10 • บทนาํ • ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์และลกั ษณะทางภูมศิ าสตรข์ องทุเรยี นเทศ 17 • ศกึ ษาความหลากหลายทางพันธกุ รรมของทเุ รยี นเทศดว้ ยวธิ ีการทางเทคโนโลยีชีวภาพ การจ�ำแนกพนั ธุกรรมทุเรยี นเทศดว้ ยเทคโนโลยชี ีวภาพ 23 • การใช้ประโยชน์ทเุ รยี นเทศเพ่ือการปอ้ งกันกำ� จัดศัตรพู ชื เหยื่อพษิ สำ� เรจ็ รูปทม่ี ีส่วนผสม ของนำ้� มนั หอมระเหยจากใบทเุ รียนเทศกำ� จัดปลวกใต้ดนิ 30 • การพัฒนาผลิตภัณฑจ์ ากทเุ รยี นเทศ : ทุเรียนเทศเข้มข้นบรรจุขวดและน�ำ้ ทุเรยี นเทศ 32 พร้อมดื่มเพ่ือสุขภาพรสชาติต่าง ๆ • การจดั ทำ� ฐานขอ้ มลู สมนุ ไพรมะขามปอ้ มและทุเรียนเทศ • เอกสารอ้างองิ

ทเุ รยี นเทศ ทุเรียนเทศ เป็นไม้จ�ำพวกน้อยหน่าชนิด หน่ึง ที่ธรรมชาติสร้างให้รูปทรงของผลและเปลือกผลคล้ายทุเรียน แต่เนือ้ ในกลบั เหมือนเนือ้ นอ้ ยหนา่ รบั ประทานอร่อยไมแ่ พ้เนอ้ื นอ้ ยหนา่ ทุกอยา่ ง จึงมชี อ่ื วา่ “ทุเรียนเทศ” ภาคกลาง เรียกวา่ ทุเรยี นแขก ภาคเหนอื เรยี กว่า มะทุเรยี น ภาคอีสานเรยี กว่า หมากเขยี บหลด และภาคใตเ้ รยี กวา่ ทเุ รยี นน�ำ้ ซง่ึ มชี อื่ ทางวทิ ยาศาสตรว์ า่ Annona muricata Linn. เปน็ พชื ชนดิ หนง่ึ ทจี่ ดั อยใู่ นตระกลู เดยี วกนั กบั นอ้ ยหนา่ กระดงั งา นมแมว และจำ� ปี โดยลกั ษณะของผลนนั้ จะมรี ปู รา่ งคลา้ ยทเุ รยี น และมหี นาม เปลอื กมสี เี ขยี ว ในสว่ นของเนอื้ จะมสี ขี าว ฉ�่ำน้ำ� รสหวานอมเปรีย้ ว ซง่ึ พืชชนิดน้จี ะปลูกมากในแถบเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้และในแถบอเมริกากลาง โดยเป็นพชื ที่ชอบอากาศท่มี คี วามชื้นสงู ทุเรยี นเทศเปน็ ไม้ยนื ตน้ สงู 3-5 เมตร เปลอื กต้นมกี ล่ินฉุน ใบหนามีกลนิ่ ฉุนเช่นกนั ดอกมี 6 กลีบ เรยี งเปน็ 2 ชน้ั กลบี ช้ันนอกรปู สามเหลยี่ ม ช้นั ในตดิ กันเปน็ รูปพรี ะมดิ เน้อื กลบี หนาสเี หลอื งอมสม้ มีกลน่ิ เปร้ียว “ผล” กลมรคี ลา้ ยผล ทุเรียน เนื้อในเหมือนเน้อื น้อยหน่า มีเมลด็ เยอะ ผลโตเต็มที่ 1–2 กิโลกรัมต่อผล ติดผลทัง้ ปี ขยายพนั ธุ์ด้วยเมลด็ เนื้อ สุกมแี คลเซยี มสงู มีวิตามนิ บี 1 และวติ ามินซดี ว้ ย มรี ายงาน การวิจัยของนกั วิทยาศาสตร์ 3 กล่มุ ยนื ยันว่าสารธรรมชาตทิ พ่ี บ จากใบ ล�ำต้นและเมลด็ ของ “ทเุ รียน เทศ” ชอื่ ANNONACEOUS ACETOGENINS สามารถตา้ นและทำ� ลายเซลลม์ ะเรง็ ไดก้ วา่ 12 ชนดิ เชน่ มะเรง็ ลำ� ไส้ มะเรง็ เต้านม มะเรง็ ต่อมลกู หมาก และ มะเรง็ ปอด เป็นตน้ โดยเอาใบสด 1–3 ใบตม้ นำ้� ดม่ื เป็นชาประจำ� จะมีประสทิ ธิภาพ ไม่แพ้การให้เคมบี ำ� บดั และที่ส�ำคญั จะไม่ท�ำลายเซลลด์ ใี นร่างกายและไม่ท�ำให้เกดิ อาการคลน่ื เหียนวิงเวยี นหรอื ผมร่วง ด้วย คนปกติดมื่ บา้ งหยุดบ้างไมอ่ นั ตรายอะไร 1

ทุเรียนเทศ เป็นผลไม้ท่ีขาดการให้ความส�ำคัญทางเศรษฐกิจในไทย โดยปกติแล้วจะพบว่ามีการเพาะปลูกมาก ในภาคใต้ของประเทศไทย รวมไปถงึ มาเลเซยี และสิงคโปรพ์ บวา่ ทเุ รียนเทศนไี้ ดห้ ายไปจากตลาดทอ้ งถิน่ แตก่ ลบั ในได้ ในรูปของการการแปรรปู เชน่ นำ�้ ทเุ รยี นเทศเข้มขน้ น้�ำทุเรียนเทศบรรจุกลอ่ งพรอ้ มด่ืมในร้านแถวรัฐปนี ังของมาเลเซีย ทุเรียนเทศในทางโภชนาการแลว้ ถือว่ามีคาร์โบไฮเดรตสงู โดยเฉพาะน�ำ้ ตาลฟรกุ โทส และยังมวี ติ ามนิ บี และวิตามนิ ซี โดยทเุ รยี นเทศ สรรพคุณใชผ้ ล ใบ และเมล็ดเป็นยาสมนุ ไพร การรับประทานทุเรียนเทศติดต่อกันทุกวันเป็นระยะเวลานาน อาจจะท�ำให้เกิดโรคพาร์กินสัน (Parkinson’s disease) เน่ืองจากในผลทุเรียนเทศจะมสี าร “แอนโนนาซนิ ” (Annonacin) ซึ่งมีคุณสมบัติในการท�ำลายเซลลส์ มอง และในส่วนของเมล็ดและเปลือกก็จะมีสารอัลคาลอยด์อยูหลายชนิดที่เป็นพิษต่อร่างกาย แต่ถ้ารับประทานอย่างมีสติ ไมไ่ ด้รบั ประทานติดตอ่ กันเป็นระยะเวลานานก็ไมน่ ่าจะเป็นโทษตอ่ ร่างกาย ถ่นิ ก�ำเนิดทุเรยี นเทศ ทุเรียนเทศเป็นไม้ผลเขตร้อนท่ีมีถ่ินก�ำเนิด อยู่ในแถบอเมริกากลาง และเป็นพืชพื้นเมืองของแถบน้ัน ต่อมาได้ เรมิ่ แพรก่ ระจายไปสู่พ้นื ที่เขตรอ้ นท่วั โลกราวคริสต์ศตวรรษท่ี 16 ในปัจจบุ ันสามารถเพาะปลูกไดใ้ นเขตร้อนชนื้ ท่ัวโลก สำ� หรบั ในทวปี เอเชยี มกี ารสนั นษิ ฐานวา่ มกี ารนำ� เขา้ มาในประเทศแถบเอเชยี ครงั้ แรกโดยชาวยโุ รป และถกู นำ� เขา้ มาแถบ ประเทศในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใตโ้ ดยชาวสเปน ในทวปี เอเชยี พบได้ในประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ ส�ำหรับประเทศไทย พบได้มากทางตอนใต้ของประเทศไทย ประโยชนแ์ ละสรรพคณุ ทเุ รยี นเทศ ทำ� เปน็ ชาชงดม่ื แกอ้ าการเครยี ด ชว่ ยลดอาการเจบ็ ปวดและลดการเกรง็ ชว่ ย ทำ� ใหน้ อนหลบั สบาย ใชเ้ ปน็ ยาระงบั ประสาท ใชร้ บั ประทานเพอ่ื รกั ษาโรคบดิ ชว่ ยรกั ษาโรคเลอื ดออกตามไรฟนั ชว่ ย กระต้นุ น�ำ้ นมหลังคลอดบุตร ช่วยสมานแผลและห้ามเลอื ด ช่วยบ�ำรุงหวั ใจ ใชร้ ักษาโรคกระเพาะ ฆา่ พยาธิ แบคทีเรีย แกโ้ รคเบาหวาน แกอ้ าการท้องรว่ ง ใบใช้ด่ืมเพ่อื ใหค้ ลอดบตุ รงา่ ย แกอ้ าการท้องอดื ด้วยการนำ� มาขยผ้ี สมกบั ปนู แดง แลว้ น�ำมาทาบริเวณท้อง รปู แบบและขนาดวิธีใช้ แกท้ อ้ งอดื ใชใ้ บทเุ รยี นเทศมาขยผี้ สมกบั ปนู ขาวใชท้ าทที่ อ้ ง แกป้ วดฟนั นำ� ใบสดไปตม้ กบั นำ�้ เกลอื ใชก้ ลว้ั ปากรกั ษา อาการปวดจาการโดนครบี ปลาแทง โดยนำ� รากทเุ รยี นเทศตำ� ใหล้ ะเอยี ดผสมกบั นำ้� ซาวขา้ วประคบบรเิ วณแผล แกเ้ ลอื ด 2

ออกตามไรฟ้ นั ใหร้ บั ประทานผลสกุ ชว่ ยแกอ้ าการเมา ดว้ ยการใชใ้ บขยล้ี งในนำ�้ กบั นำ�้ มะนาว 2 ลกู แลว้ นำ� มาจบิ เลก็ นอ้ ย ในปจั จบุ นั ประเทศสหรฐั อเมรกิ าและประเทศทางยโุ รปมผี ลติ ภณั ฑใ์ บทเุ รยี นเทศหลายรปู แบบ ใชเ้ ปน็ ผลติ ภณั ฑร์ ว่ มกบั ยาแผนปัจจบุ นั ในการรกั ษาโรคมะเร็ง ไดแ้ ก่ รปู แบบชาชง (infusion) โดยรับประทานครงั้ ละ 1 ถ้วย วนั ละ 3 ครัง้ ส่วน ในรูปแบบยาทงิ เจอร์ รับประทานคร้ังละ 3-4 มิลลิลติ ร วนั ละ 3 ครง้ั และรปู แบบยาผงบรรจแุ คปซูล รับประทานขนาด 2 กรัม วนั ละ 3 ครั้ง ลกั ษณะทว่ั ไปทเุ รียนเทศ ทเุ รียนเทศ เป็นพืชทอ่ี ยใู่ นตระกูลเดียวกันกบั นอ้ ยหนา่ กระดังงา นมแมว และกาเวก จดั เป็นไมย้ นื ตน้ สูงไดถ้ ึง 10 เมตร ล�ำตน้ สีน้ำ� ตาลตามก่งิ ออ่ นจะมีขนสีน�ำ้ ตาลแดง ใบเป็นใบเด่ียวค่อนข้างหนาเรยี งสลับกัน รปู ไข่กลับ ปลายใบ เปน็ ต่ิงแหลม โคนใบมน ขอบใบเรียบ ด้านบนของใบสเี ขยี วเข้มเปน็ มัน ด้านลา่ งสอี ่อนกว่า กวา้ ง 4.3-7 ซม. ยาว 5-15 ซม. เมอื่ ฉกี ใบจะได้กลนิ่ เหม็นเขยี วฉุดจัด ดอกออกเดยี่ วๆ ขนาดใหญ่น้อยลงที่ซอกใบอย่รู วมกัน 3-4 ดอก จากล�ำต้น หรือกลางกิ่ง สเี หลืองแกมเขียว กลนิ่ หอมแรง กลีบรองดอก 3 กลีบ รปู สามเหลยี่ มเลก็ ๆ กลบี ดอกอวบหนา มี 6 กลีบ แบ่งเปน็ 2 ชั้น กวา้ ง 2 ซม. ยาว 2-3 ซม. เกสรผู้และรงั ไขม่ ีเปน็ จ�ำนวนมาก ผลเป็นผลกลมุ่ มีเน้ือ รปู กลมป้อมแกม รปู ไข่ โคนกว้างกว่าส่วนปลาย เปลอื กหนาเหนียว มีหนามโค้งส้ันๆ โดยรอบ ผลยาว 12-20 ซม.ยาว 15-30 ซม. หนัก ประมาณ 0.5-3 กโิ ลกรมั สเี ขยี วเขม้ เม่ือสกุ สีเหลือง เนอื้ มรี สหวานอมเปร้ียวเมล็ดแก่มสี นี ำ้� ตาลด�ำ สรรพคณุ ของทุเรียนเทศ ตง้ั แตส่ มยั โบราณ ทเุ รยี นเทศเปน็ สมนุ ไพรทถี่ กู นำ� มาใชร้ กั ษาโรคในแถบแอฟรกิ าใต้ โดยสามารถนำ� มาใชป้ ระโยชน์ ไดท้ กุ สว่ นตง้ั แตร่ าก ต้น เมล็ด ใบ ดอก ผล และเมล็ด ดงั นี้ ผล - แกโ้ รคเลอื ดออกตามไรฟนั แกโ้ รคบดิ กระตนุ้ การผลิตน้ำ� นมแม่ เมลด็ - ใช้สมานแผลห้ามเลอื ด ใชฆ้ า่ แมลง ใบ - น�ำมาขยี้ผสมกับปูนใช้ทาบริเวณท้องแก้ท้องอืด ใช้รักษาโรคผิวหนัง เมื่อน�ำมาปูรองให้คนที่เป็นไข้นอนจะ ช่วยลดไข้ แกไ้ อ ปวดตามข้อ ลดอาการปวด ลดการเกรง็ ตวั ของกลา้ มเนื้อเรียบในลำ� ไส้ ขยายหลอดเลือดปอ้ งกันความ ดนั สงู กำ� จดั เซลล์มะเรง็ ฆา่ เชอื้ โรค ลดเบาหวาน หนอ่ อ่อน - กำ� จัดเซลลม์ ะเรง็ ดอก - บำ� รุงกล้ามเนื้อหวั ใจ ราก -ก�ำจดั แมลง เปลอื กไม้ - กำ� จดั แมลง ฆา่ เช้อื โรค พยาธิ อะมบี า แบคทีเรีย และรกั ษาโรคกระเพาะ ทเุ รียนเทศกบั การรักษามะเร็ง แมว้ า่ จะมสี รรพคุณมากมาย แตส่ รรพคุณเด่นท่ีโด่งดังท่ีสดุ ของทเุ รยี นเทศกค็ อื ความสามารถในการรกั ษาโรค มะเร็ง ฆ่าเซลล์มะเร็งอย่างไดผ้ ลและไมเ่ ป็นอันตราย โดยตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2483 นักวิทยาศาสตรไ์ ดค้ ้นพบสาร แอนโนนา เชียส เอคโทจีเนียส (Annonaceous acetogenins) ซงึ่ เปน็ สารธรรมชาตทิ ี่มีอย่ใู นทเุ รยี นเทศ และสามารถต้านทำ� ลาย เซลลม์ ะเรง็ ทุกชนดิ รวมไปถึงการฆ่าแบคทเี รียและเชื้อราอย่างได้ผลชะงัด อกี ทงั้ กอ่ นหน้านกี้ ไ็ ดม้ ผี ลการรับรองจากหอ้ งทดลองหลายแห่งรวมทง้ั สถาบนั มะเร็งแหง่ ชาตใิ นสหรัฐอเมริกา ซง่ึ ชใ้ี ห้เห็นวา่ ทเุ รยี นเทศนั้นสามารถชว่ ยในการฆา่ เซลล์มะเร็งได้ถึง 12 ชนดิ เช่น มะเรง็ ล�ำไส้ มะเรง็ เต้านม มะเร็งตอ่ ม ลกู หมาก มะเรง็ ปอด มะเร็งตับออ่ น และมะเร็งต่อมน้ำ� เหลือง แถมมหาวิทยาลยั คาทอลกิ ในเกาหลใี ตย้ งั ไดย้ ืนยนั อกี วา่ 3

ฤทธ์ิของทเุ รยี นเทศใน การฆา่ เซลล์มะเร็งนัน้ มีฤทธม์ิ ากกวา่ การทำ� เคมีบำ� บัดถึง 10,000 เทา่ โดยไมส่ ่งผลร้ายต่อเซลล์ เนอ้ื เยือ่ ดีอน่ื ๆ ในรา่ งกายของคนไข้ แถมในรายทเ่ี กิดอาการดอ้ื ยามะเรง็ ก็ยงั ส่ามารถใชส้ ารสกดั จากมะเร็งน�ำ้ มาชว่ ย ให้คนไขห้ ายจากการอาการดอ้ื ยาได้ อกี ดว้ ย ข้อควรระวงั ในการรบั ประทานทุเรยี นเทศ “การรับประทานทุเรียนเทศติดต่อกันทุกวันเป็นระยะเวลานาน อาจจะท�ำให้เกิดโรคพาร์กินสัน (Parkinson’s disease) เนอ่ื งจากในผลทเุ รยี นเทศจะมสี าร “แอนโนนาซนิ ” (Annonacin) ซงึ่ มคี ณุ สมบตั ิ ในการทำ� ลายเซลลส์ มอง และในสว่ นของเมลด็ และเปลอื กกจ็ ะมสี ารอลั คาลอยดอ์ ยหู่ ลายชนดิ ทเี่ ปน็ พษิ ต่อร่างกาย แต่ถ้ารับประทานอย่างมีสติ ไม่ได้รับประทานติดต่อกันเป็นระยะเวลานานก็ไม่น่าจะเป็นโทษ ต่อร่างกาย” มีงานวิจัยในแถบทะเลแคริบเบียนที่แสดงให้เห็นว่า ในผล เมล็ด และราก ของทุเรียนเทศ มีสารแอนโนนาซิน (Annonacin) ซ่ึงมีความเช่ือมโยงสูงต่อการเกิดโรคพาร์คินสัน และมีสารอัลคาลอยด์ซ่ึงเป็นพิษต่อร่างกาย ดังน้ันจึง ควรหลกี เลี่ยงการทรบั ประทานผล ราก หรอื น�ำ้ ผลไม้ที่ทำ� จากทุเรยี นเทศมากจนเกินไป หรือรับประทานตดิ ตอ่ กันทุก วัน จากการทดลองพบว่า สารสำ� คญั ในทเุ รยี นเทศน้นั จะไมส่ ามารถสกดั หรือสงั เคราะห์ออกมาได้ ดงั นน้ั หากต้องการ ได้รับสารดงั กลา่ ว จะต้องบริโภคแบบธรรมชาติเท่านั้น การทานในรปู แบบของยาอัดเมด็ หรือผลบรรจุแคปซูลนั้นจะไม่ ไดผ้ ลประโยชนใ์ ด ๆ เลยท้งั สิ้น การรบั ประทานทเุ รยี นเทศใหไ้ ดป้ ระโยชนน์ นั้ ควรจะตอ้ งรบั ประทานแบบธรรมชาติ หรอื รบั ประทานสด ๆ เทา่ นนั้ ควร เลีย่ งผลติ ภัณฑจ์ ากทเุ รียนเทศทผี่ า่ นกระบวนการต่าง ๆ มาแลว้ ไมว่ า่ จะเป็นน�ำ้ ผลไมก้ ระปอ๋ ง หรอื ใบชาบดผ่าน กระดาษกรอง เพราะกระบวนการในการผลติ เหลา่ น้ันล้วนแต่ท�ำให้ประสทิ ธิภาพของทเุ รียนเทศลดลง การรกั ษามะเรง็ ใหไ้ ดผ้ ลจะตอ้ งนำ� ใบหนอ่ และกง่ิ ของตน้ ทเุ รยี นเทศมาตม้ ทำ� เปน็ ชา ขณะ ทก่ี ารนำ� ผลของทเุ รยี นเทศ มาต้มเปน็ ชานน้ั ไม่ได้ใหผ้ ลใด ๆ ในการรักษามะเรง็ เนอ่ื งจากมสี ารท่ีมีคุณสมบตั ใิ นการฆ่าเซลลม์ ะเร็งอยนู่ ้อย การปลกู ทเุ รยี นเทศ การปลกู ทุเรียนเทศ หรือทุเรยี นเทศน้นั สามารถทำ� ได้ไม่ยาก เพราะทเุ รียนเทศนั้นใชว้ ิธีขยายพันธุโ์ ดยเมลด็ ซ่ึง เพยี งแค่นำ� เมล็ดมาแชน่ �ำ้ ทงิ้ ไว้ 1-2 วัน จากนน้ั น�ำไปเพาะดนิ ผสมปกติ ต้นทเุ รยี นเทศจะงอกข้นึ มาได้ภายใน 7 วัน แต่ ตน้ กลา้ จะโตช้าและออกดอกเม่ือมอี ายุ3 ปีขึน้ ไป และจะตดิ ผลในปที ่ี 4 ไดผ้ ลผลติ ประมาณปีละ 1.5 - 2 ตัน/ไร่ หรือ หากจะใช้วธิ ีขยายพนั ธ์แุ บบเสยี บยอดและทาบกงิ่ กส็ ามารถทำ� ได้ โดยต้นทเุ รียนเทศน้ีจะเจรญิ เติบโตได้ดใี นดินร่วนทม่ี ี ความชมุ่ ชน้ื ระบายน้�ำได้ดี การปลกู ทเุ รยี นเทศ ปลกู และดแู ลไดง้ า่ ยมาก สามารถเรมิ่ ตน้ จากการทดลองปลกู เปน็ สมนุ ไพรในรวั้ บา้ นกอ่ นลงทนุ ปลกู เปน็ อาชีพ แตต่ อ้ งไมล่ มื ปัจจัยตา่ งๆ เหลา่ นี้ ปจั จยั ทค่ี วรคำ� นงึ ถึง สภาพดินที่เหมาะสม ควรเปน็ ดินร่วน ระบายน�ำ้ ไดด้ ี มคี วามชุ่มชื้น อากาศและอณุ หภมู ิที่ เหมาะสม ชอบความชืน้ สูง ชอบแสงแดดรำ� ไร หรือต้องการแสงแดดเพียงครง่ึ วนั การขยายพนั ธท์ุ เุ รยี นเทศ สามารถขยายพนั ธไ์ุ ด้โดยการปักช�ำ ตดิ ตา หรอื นำ� ยอดจากตน้ พนั ธมุ์ าเสียบกับตน้ ตอ ซง่ึ วิธีการน้ีจะทำ� ให้ทุเรียนเทศใชเ้ วลาในการออกผลเพยี ง 2 ปี 4

การเพาะเมล็ดทเุ รียนเทศ วสั ดเุ พาะ ควรใช้ ขยุ มะพรา้ ว หรอื ดินร่วนซุย วิธีเพาะเมล็ด แช่เมล็ดทุเรียนเทศไว้ในน�้ำ สะอาด 1 ถึง 2 คืน เพอ่ื กระต้นุ การงอก จากนน้ั นำ� ไปเพาะในถงุ ชำ� 1 เมลด็ ตอ่ 1 ถงุ กลบดนิ หรอื วสั ดุ ปลกู หนาประมาณ 1 ถงึ 1.5 เซนตเิ มตร รดนำ�้ แลว้ วางถุงชำ� ไว้ในท่ีรม่ มีแดดร�ำไร รดนำ้� วนั ละ 2 ครัง้ ทง้ั เชา้ และเยน็ เมลด็ ทเุ รยี นเทศจะใชเ้ วลาประมาณ 3 สัปดาห์ เมลด็ จะงอกออกมาเป็นต้นออ่ น ข้ันตอน การปลกู ทเุ รยี นเทศ เมอ่ื ต้นพันธุท์ ีม่ ีอายเุ พาะชำ� ประมาณ 3 ถงึ 5 เดอื นข้ึนไป สามารถนำ� ไปปลูกลงดนิ ไดท้ นั ท ี ขดุ หลมุ ปลกู กวา้ งกวา่ กระถางหรอื ถงุ เพาะกลา้ เลก็ นอ้ ย หากปลกู หลายตน้ ควรเวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งหลมุ ปลกู 4 x 4 เมตร ดินทข่ี ดุ ขึ้นมา ควรตากทง้ิ ไว้ประมาณ 7 วนั เพอ่ื ฆา่ เชื้อโรค ผสมปุ๋ยคอกหรอื ปุ๋ยหมกั 1 ส่วน ขุยมะพร้าว 1 ส่วน คลกุ เคลา้ ให้เขา้ กนั กบั ดินที่ตากแดดแล้ว ใสร่ องกน้ หลมุ น�ำต้นพันธุ์ลงปลกู กลบดินใหแ้ นน่ พอสมควรเพอ่ื ไมใ่ ห้ ต้นพนั ธ์ลุ ม้ หรอื เอียง ทเุ รยี นเทศใหผ้ ลผลิตภายใน 3 ปหี ลงั การปลกู การดูแลทุเรียนเทศ หลงั การปลกู การให้นำ้� หลังการปลูกในระยะแรก ควรรดน้ำ� วนั ละ 2 ครง้ั เช้าและเย็นเมือ่ ตน้ พนั ธ์ตุ ง้ั ตวั ได้ ให้รดน�ำ้ วนั ละ 1 คร้งั ในชว่ งเช้า ในฤดูฝน เว้นระยะการใหน้ ้�ำไดห้ ากฝนตกชกุ เมอ่ื ฝนทง้ิ ช่วงหรือในฤดู แล้ง ใหส้ ังเกตอากาศและดิน หากอากาศร้อนจัดหรอื ดินแหง้ ควรรดน้�ำให้ช่มุ เมอ่ื ต้นทเุ รยี นเทศเจริญเตบิ โตมอี ายุ 2 ปี ขึน้ ไป รดน้ำ� สปั ดาหล์ ะครงั้ หรอื มากกว่าตามสภาพอากาศ การใหป้ ยุ๋ ชว่ งหลงั ปลกู สามารถใหป้ ยุ๋ เคมเี รง่ โตไดจ้ นถงึ ชว่ งอายุ 2 ปี หลงั จากนนั้ หา้ มใหส้ ารเคมเี ดด็ ขาด สามารถ ให้ป๋ยุ คอกหรอื ป๋ยุ หมัก เดือนละ 1 ครัง้ ตามความเหมาะสม (ประมาณ 1 หรอื 2 ก�ำมอื ตอ่ ตน้ ) แล้วรดน�้ำใหช้ ุม่ ควร ก�ำจดั วัชพืชและพรวนดนิ กอ่ นให้ปุย๋ เพอื่ ให้ทเุ รียนเทศไดร้ บั สารอาหารอย่างเตม็ ที่ *** โรคและแมลงศตั รทู เุ รยี นเทศ ยงั ไมม่ แี หลง่ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั โรคและแมลงศตั รทู เุ รยี นเทศ ซงึ่ คน้ พบขอ้ มลู จากขอ้ สนั นษิ ฐาน ว่า น่าจะอยู่ในกลุ่มเดียวกันกับโรคและแมลงศัตรูน้อยหน่า แต่โดยความเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแล้ว ทุเรียนเทศมีฤทธ์ิ ต่อต้านโรคและแมลงศัตรูด้วยตัวเองได้ดีในระดับหนึ่ง จึงไม่ค่อยมีโรคและแมลงศัตรูมารบกวน ปัญหาที่พบได้บ่อยคือ การไมต่ ดิ ผลของทุเรียนเทศ การออกดอกครงั้ แรกหลงั การปลกู โรคดอกรว่ ง ทเ่ี กดิ จากเชอื้ ราเขา้ ทำ� ลายกา้ นดอกและกลบี ดอก เปน็ จดุ สนี ำ้� ตาล ดำ� ทำ� ใหด้ อกรว่ งหลน่ ถา้ ดอกทเ่ี ปน็ โรคไมร่ นุ แรงดอกสามารถเจรญิ และสามารถสบื พนั ธไ์ุ ด้ แตโ่ รคกส็ ามารถตดิ ไปยงั ผล ทำ� ให้ผลเหย่ี วย่นมสี ีนำ้� ตาลเข้ม ในการระบาดขั้นรนุ แรงจะท�ำให้ผลเสียหายยังเป็นโรคต่อไปจนถึงระยะเก็บเกี่ยว การ ปอ้ งกนั และกำ� จดั เดด็ ดอก และผลทเี่ ปน็ โรคไปเผาทำ� ลาย แลว้ พน่ สารเคมี เชน่ คอปเปอรอ์ อกซคี่ ลอไรด์ ตามอตั ราสว่ น ในเอกสารก�ำกับยา ดว้ งท�ำลายดอก พบอยู่ 2 ชนิด คือ ด้วงมีงวงสนี ำ้� ตาลอ่อน และดว้ งไมม่ งี วงสนี �ำ้ ตาลลายด�ำ ลักษณะการทำ� ลาย ด้วงจะกัดกินเกสรตวั ผู้ ยอดเกสรตัวเมยี กลบี ดอกและกา้ นใบ ทำ� ให้ดอกแหง้ และร่วงหลน่ การปอ้ งกนั และกำ� จดั ฉดี พน่ ยาชนดิ ดดู ซึม และประเภทถูกตัวตายควบค่กู ันไปจะช่วยลดการระบาด เช่น ใชบ้ าซดู นิ น�ำ้ ผสมกบั มาลาไธออน โดย ฉดี พน่ ทุก 7 ถงึ 10 วนั ในระยะดอกเริ่มบานไดป้ ระมาณ 3 ถึง 4 วนั 5

โรคทเุ รียนเทศอ่ืน ๆ โรคมัมม่ ี มีสาเหตุเกิดจากเช้ือรา เขา้ ทำ� ลายผิวเปลือก ในระยะแรกผิวเปลือกจะเปน็ แผลจดุ สมี ว่ งดำ� และแผลจะขยายใหญ่มากข้นึ ผลเน่าแหง้ และแข็ง ผลจะเน่าแหง้ และแข็งเป็นสนี �้ำตาลดำ� ท้ังผล การป้องกนั และก�ำจดั เดด็ ผลทเี่ ป็นโรคไปเผาทำ� ลาย และฉดี พน่ สารเคมีก�ำจดั เชอื้ รา โรคแอนแทรคโนสสาเหตเุ กิดจากเชือ้ รา เขา้ ทำ� ลายในชว่ งฤดฝู น เรมิ่ ตน้ ทใี่ บและยอดออ่ นมจี ดุ สดี ำ� กระจายบนใบ ทำ� ใหใ้ บแหง้ เหยี่ ว และรว่ งหลน่ ยอดออ่ นทเี่ ปน็ โรค จะมีจดุ สดี �ำบนปลายยอดและจะขยายลกุ ลามไปถึงโคนกิ่ง ทำ� ใหก้ ่งิ แหง้ ตาย และสามารถท�ำใหข้ ้วั ผลและผลเนา่ การ ป้องกันและก�ำจดั ตดั แต่งกงิ่ ให้โปร่ง อย่เู สมอ กำ� จดั กิง่ ใบ และผลที่เป็นโรคด้วยการเผาท�ำลาย แมลงศตั รูทุเรยี นเทศ ที่พบมากทส่ี ดุ คอื หนอนผเี ส้ือกินใบออ่ น การป้องกนั และก�ำจัด หม่นั ส�ำรวจตน้ ทุเรยี นเทศ หากพบหนอนผเี สอ้ื กินใบ อ่อน ให้จบั ไปเปน็ อาหารปลา หนอนไชลำ� ตน้ การปอ้ งกนั และกำ� จดั ใชน้ ำ้� หมกั จากเมลด็ ทเุ รยี น โดยหมกั กากนำ้� ตาล อเี อม็ เมลด็ ทเุ รยี น และยาเส้น รวมกัน แลว้ ฉีดเขา้ ล�ำต้น จะทำ� ใหห้ นอนไช ล�ำต้นตาย ส่วนปัญหาเรื่องแมลงศัตรูนั้น น่าจะมีการ รบกวนจากแมลงวันผลไม้หรือแมลงวันทองเข้าท�ำลาย ผลโดยตวั เมยี เขา้ ไปเจาะผลแลว้ วางไข่ ประมาณ 1 ถงึ 2 วนั เมอื่ เขา้ สรู่ ะยะตวั หนอน อาศยั กนิ อยใู่ นผล ประมาณ 6 ถงึ 10 วัน หลงั จากนัน้ หนอนจะดีดตวั ออกจากผลลง สดู่ ินเพื่ออยใู่ นระยะดักแดใ้ นดินประมาณ 8 ถงึ 12 วนั จะเปน็ ตัวเตม็ วยั ปีหนง่ึ จะขยายพนั ธไ์ุ ด้ 8 ถงึ 12 ชั่วอายุ การป้องกันและก�ำจัด ห่อผลด้วยถุงกระดาษหรือถุง พลาสติก ใชส้ ารเคมี เชน่ มาราไธออน ท�ำลายตวั เตม็ วัย ทำ� ลายดักแด้ น�ำผลเน่าไปเผาท�ำลาย เพ่อื เป็นการก�ำจดั ตัว หนอนในผลทยี่ งั เหลืออย่ใู นผล ดว้ งกนิ ใบหรอื แมลงคอ่ มทอง ดว้ งกนิ ใบ หรอื แมลง คอ่ มทองจะเขา้ ทำ� ลายโดยกัดกนิ ใบออ่ นและใบแก่ โดย เฉพาะขอบใบจะเว้าแหว่ง ท�ำให้ใบเสียหาย ตัวเต็มวัย สามารถปรบั เปลีย่ นสีไปตามสภาพแวดลอ้ ม การป้องกันและก�ำจัด หม่ันตัดแต่งก่ิงให้โปร่ง รักษาความสะอาดในสวนอยู่เสมอ ใช้สารเคมีฉีดพ่น เชน่ คาร์บารลิ (เชพวนิ 85 %) อตั รา 60 กรัม ต่อน�ำ้ 20 ลติ ร 6

เพลี้ยแป้ง ลกั ษณะของเพลยี้ แปง้ คอื มลี ำ� ตัว มี สารสีขาวคล้ายแป้งติดอยู่ตามตัว เพลี้ยแป้งเข้าท�ำลาย โดยดูดกินน�้ำเลี้ยงที่ผล ข้ัวผล และใบ มักพบตัวเพล้ีย แปง้ เกาะอยูต่ ามผล โดยในขณะเดียวกนั จะผลติ สารพิษ ออกมาทำ� ใหผ้ ลเหยี่ ว การปอ้ งกนั และกำ� จดั ใชม้ าราไธ ออนผสมสารจบั ใบ หรอื ผสมไวทอ์ อยฉีดพ่น การเกบ็ เก่ยี วทุเรยี นเทศ การเกบ็ เกย่ี วใบ เรม่ิ เกบ็ ใบจำ� หนา่ ยหรอื แปรรปู ไดเ้ มอื่ ตน้ ทเุ รยี นเทศ อายุ 2 ปคี รงึ่ ถงึ 3 ปี โดยสงั เกตอายใุ บกลางๆ สไี ม่เข้มเกนิ ไป หากใบออ่ นหรอื แกเ่ กินไป สารท่ีอย่ใู นใบทุเรยี นเทศจะลดลง ไมเ่ หมาะส�ำหรบั การน�ำไปใช้ วิธีเก็บเก่ียวใบ ใช้กรรไกรท่ีคมตัด ปูแผ่นรอง บรเิ วณรอบโคนต้นรบั ใบท่ีตัดออก ควรตดั เพียง 30-40 เปอรเ์ ซ็นตข์ องต้น ต่อครง้ั และตัดทุก 3 ถงึ 4 วัน ซ่ึง จะได้ใบทุเรียนเทศคร้ังละประมาณ 3 ถึง 4 กิโลกรัม ควรเหลือใบเลี้ยงล�ำต้นไว้ เพ่ือรองรับการออกผลของ ทุเรียนเทศ ใบสดทุเรียนเทศ สามารถจ�ำหน่ายได้ใน ราคากิโลกรมั ละ 50 ถงึ 60 บาท การแปรรปู ใบทุเรยี น เทศ ใบทุเรยี นเทศอบแห้งพร้อมชง นำ� ใบทเุ รียนเทศที่ ตดั แลว้ ไปลา้ ง ผงึ่ ใหส้ ะเดด็ นำ�้ นำ� ไปหนั่ โดยใชเ้ ครอ่ื งหน่ั ใบ ซึ่งเปน็ หลักการเดยี วกนั กบั การท�ำชา การใชเ้ ครื่องหัน่ ใบเป็นการนวดใบทุเรยี นเทศไปในตัว เมื่อใบชาถูกความร้อน จะทำ� ใหส้ ารทอี่ ยใู่ นใบสกดั ออกมาไดง้ า่ ย ใบทเุ รยี นเทศสด นำ้� หนกั 4 กโิ ลกรมั เมอ่ื อบแหง้ แลว้ เหลอื เพยี งใบทเุ รยี นเทศ อบ น้ำ� หนกั 1 กิโลกรมั รปู แบบการแปรรูปทเุ รยี นเทศในปจั จุบัน (ใบ และผล) ใบชาทุเรยี นเทศ หรอื ใบทเุ รียนเทศอบ แห้งพรอ้ มชง น�้ำทุเรียนเทศ สบ่คู รมี ทุเรียนเทศ แชมพูสกดั จากใบทเุ รยี นเทศ การดแู ลต้นทุเรียนเทศ หลงั การเก็บเกยี่ ว ตน้ ทุเรยี นเทศเม่อื เจรญิ เติบโตเต็มที่จะสงู ประมาณ 6 ถงึ 7 เมตร และ เรม่ิ ใหผ้ ลเมอื่ อายุประมาณ 3 ปคี ร่ึง ควรบำ� รุงรกั ษาตน้ ด้วยการตดั แตง่ กิ่ง เพอ่ื ใหต้ น้ ไมส่ ูงมาก และสามารถท�ำการเกบ็ ใบไดส้ ะดวกด้วยการตัดแต่งกงิ่ ทำ� ควรหลังจากเก็บผลแล้ว 7

องคป์ ระกอบทีม่ ปี ระโยชน์ในทเุ รยี นเทศ ทุเรียนเทศมีคาร์โบไฮเดรตสูง โดยเฉพาะน้�ำตาลฟรักโทสนอกจากนี้ ยังมีวิตามินบีและวิตามินซี พฤกษเคมีของ ทุเรียนเทศ ประกอบด้วย อัลคาลอยด์ (alkaloids) ฟลาโวนอยด์ (flavonoids) คาร์โบไฮเดรต (carbohydrate) คารด์ แิ อก ไกลโคซเิ ดอร์ (cardiac glycosider) ซาพอนนิ (saponins) แทนนนิ (tannins) ไฟโตสเตอรอล (phytosterol) เทอรพ์ นี อยด์ (terpenoids) โปรตีน (proteins) ข้อมูลทางโภชนาการของผลทเุ รยี นเทศต่อ 100 กรัม พลงั งาน ปริมาณ คารโ์ บไฮเดรต น�ำ้ ตาล 66 กโิ ลแคลอรี เสน้ ใย (Fiber) 16.84 กรมั ไขมัน (Fat) 13.54 กรมั โปรตีน (protein) 3.3 กรมั วิตามินบี 1 (thiamin) 0.30 กรมั วติ ามนิ บี 2 (riboflavin) 1.00 กรัม วติ ามินบี 3 (niacin) 0.070 มิลลิกรัม วิตามินบี 5 (pantothenic acid) 0.050 มลิ ลิกรัม วติ ามนิ บี 6 0.900 มลิ ลิกรมั วติ ามินบี 9 folate 0.25 มลิ ลกิ รมั โคลีน (choline) 0.059 มลิ ลิกรมั บีตา-แคโรทนี (beta carotene) 0.014 มลิ ลกิ รัม วิตามนิ ซี (vitamin C) 7.6 มิลลิกรมั วิตามนิ เอ (vitamin A) 0.001 มลิ ลกิ รัม วิตามนิ อี (vitamin E) 20.6 มลิ ลกิ รมั วิตามนิ เค (vitamin K) 2 IU ธาตแุ คลเซยี ม (Ca) 0.08 มิลลิกรมั ธาตเุ หล็ก (Fe) 0.4 ไมโครกรมั ธาตุแมกนเี ซียม (Mg) 14 มลิ ลิกรมั ธาตุฟอสฟอรสั (P) 0.6 มลิ ลกิ รมั ธาตโุ พแทสเซียม (K) 21 มลิ ลกิ รัม ธาตุสังกะสี (Zn) 27 มิลลกิ รัม คอปเปอร์ (Cu) 278 มิลลกิ รมั ซลิ ิเนยี ม (Se) 0.1 มลิ ลกิ รมั 0.886 มลิ ลกิ รัม 6 ไมโครกรัม 8

ทเุ รียนเทศใชก้ ินเปน็ ผลไม้สด และน�ำมาแปรรูปเป็นผลไม้กวน เยลล่ี ไอศกรีมและซอส ในมาเลเซยี นำ� ไปท�ำน้ำ� ผล ไมก้ ระปอ๋ ง เวยี ดนามนยิ มทำ� เปน็ นำ้� ผลไมป้ น่ั เมลด็ มพี ษิ ใชท้ ำ� ยาเบอ่ื ปลาและเปน็ ยาฆา่ แมลง ในทางโภชนาการ ทเุ รยี น เทศมคี าร์โบไฮเดรตมาก โดยเฉพาะน�ำ้ ตาลฟรกุ โทส วติ ามนิ ซี และวิตามินบี ผล ใบ และเมลด็ มฤี ทธทิ์ างยา ใช้เป็นยา สมนุ ไพร ชาวโอรงั อซั ลใี นรฐั เปรกั ประเทศมาเลเซยี ใชใ้ บใชฆ้ า่ แมลงขนาดเลก็ ผลใชร้ กั ษาโรคกระเพาะอาหารและมสี าร ต้านอนุมลู อิสระ ในเม็กซิโกและโคลมั เบยี เป็นผลไม้ทน่ี ิยมรับประทานและใช้ท�ำขนม เชน่ เปน็ ส่วนผสมของเครื่องดืม่ ซึ่งเป็นน�้ำผล ไม้ผสมนม ไอศกรมี ทำ� จากทุเรียนเทศเปน็ ทนี่ ยิ ม ในอนิ โดนีเซยี ทำ� จากทเุ รยี นเทศโดยน�ำไปตม้ ในนำ้� เตมิ นำ้� ตาลจนกวา่ จะแขง็ และนำ� ไปทำ� น�ำ้ ผลไม้ป่นั ในฟิลปิ ปินสน์ ิยมกินผลสุกและท�ำน�้ำผลไม้ สมูทตี และไอศกรีม บางคร้ังใช้ท�ำใหเ้ น้ือ นมุ่ ในเวยี ดนามใชก้ นิ สดหรอื ทำ� สมทู ตี นยิ มนำ� เนอื้ ไปปน่ั ใสน่ มขน้ นำ�้ แขง็ เกลด็ หรอื ทำ� เปน็ นำ�้ ผลไมป้ น่ั ในมาเลเซยี และ อนิ โดนเี ซยี นยิ มกนิ เปน็ ผลไมเ้ ชน่ กนั ในไทยสมยั โบราณนยิ มนำ� ผลออ่ นไปแกงสม้ หรอื เชอื่ มแบบเชอ่ื มสาเก ผลสกุ กนิ เปน็ ผลไม้ ความเสย่ี ง มงี านวจิ ยั ในแถบทะเลแครบิ เบยี นทแี่ สดงใหเ้ หน็ วา่ มคี วามเชอื่ มโยงระหวา่ งการรบั ประทานทเุ รยี นเทศกบั โรคพาร์ คนิ สนั เพราะทเุ รียนเทศมี annonacin ซ่ึงเปน็ สาเหตขุ องโรคน้ีสงู มีการวิจยั ออกมาวา่ ในประเทศท่ีมีการใช้เมล็ดเป็น ยาพ้นื เมืองฆา่ พยาธิ พบวา่ คนเป็นพารค์ นิ สัน จึงควรเลีย่ งการกนิ เมลด็ ในผลทุเรยี นเทศสด1ผล มีสารannonacin 15 milligrams และ1 กระป๋องของ นำ�้ ผลไม้ที่ท�ำสำ� เรจ็ แลว้ เพ่อื การคา้ มี annonacin 36 milligrams annonacin มีความ เกี่ยวขอ้ งกบั การเกดิ แผลในสมอง ทำ� ใหม้ ีอาการแบบพาร์คนิ สนั จงึ ควรหลกี เลีย่ งการกนิ ผลทุเรียนเทศมากเกินไป 9

ศึกษาความหลากหลายทางพนั ธุกรรมของทเุ รียนเทศด้วยวธิ กี ารทางเทคโนโลยชี ีวภาพ การจำ� แนกพันธุกรรมทเุ รยี นเทศดว้ ยเทคโนโลยชี วี ภาพ ข้อมูลความเหมือนและแตกต่างทางพันธุกรรมของทุเรียนเทศ สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงและ พฒั นาพนั ธท์ุ เุ รยี นเทศ นอกจากนกี้ ารเกบ็ รวบรวมพนั ธท์ุ ม่ี คี วามแตกตา่ งทางพนั ธกุ รรมมาปลกู ในแปลงของมหาวทิ ยาลยั สามารถปกปักรักษาพันธุกรรมของทุเรียนเทศไว้ และสามารถน�ำทุเรียนเทศเหล่านี้มาต่อยอดศึกษาการแปรรูปและ พัฒนาผลิตภัณฑ์ เชน่ การนำ� ใบ ผล เมล็ด มาทำ� ผลติ ภัณฑแ์ ละสกดั สารต่างๆ ทั้งเพอื่ อปุ โภค บรโิ ภค และก�ำจดั ศัตรพู ชื เชน่ การใชป้ ระโยชนก์ ารควบคมุ ปลวกใตด้ นิ ซง่ึ เปน็ แมลงศตั รสู ำ� คญั ของสวนยาง โดยการกลน่ั นำ้� มนั หอมระเหยจากใบ ทุเรียน น�ำไปสู่การอนุรักษ์พันธุกรรมทุเรียนเทศให้อยู่คู่ชุมชนอย่างย่ังยืน นอกจากน้ียังมีเป้าหมายการตีพิมพ์เผยแพร่ เพ่ือน�ำเสนอผลงานทางวชิ าการ และจดั นิทรรศการให้ความรู้แกเ่ กษตรกร นักเรียน นักศกึ ษาทส่ี นใจ ศกึ ษาความหลากหลายทางพนั ธกุ รรมของทเุ รยี นเทศดว้ ยวธิ กี ารทางเทคโนโลยชี วี ภาพ การจำ� แนกพนั ธกุ รรมทเุ รยี น เทศดว้ ยเทคโนโลยชี วี ภาพโดย รองศาสตราจารย์ ดร.สนุ ยี ร์ ตั น์ ศรเี ปารยะ คณะเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตนครศรธี รรมราช (ทุ่งใหญ่) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรวี ชิ ัย ขนั้ ตอนการดำ� เนนิ งานหรอื ผลด�ำเนินงาน เกบ็ ตัวอยา่ งใบทเุ รียนเทศและเมล็ดทุเรยี นเทศ ท�ำการเกบ็ ตัวอย่างใบ ทเุ รยี นเทศและเมลด็ ทเุ รยี นเทศจากแปลงปลกู ทเุ รยี นเทศ แปลงของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล ศรวี ชิ ยั อ�ำเภอท่งุ ใหญ่ จังหวัดนครศรธี รรมราช สวนของเกษตรกรในอำ� เภอปากพนงั อ�ำเภอเฉลิมพระเกยี รติ อ�ำเภอ หวั ไทร อ�ำเภอนาบอน อ�ำเภอชา้ งกลาง อ�ำเภอเมอื ง จงั หวัดนครศรธี รรมราช ศนู ย์วจิ ยั พชื สวนตรัง อำ� เภอสเิ กา และ ศนู ย์เพาะเลีย้ งเนื้อเยื่อพืช อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั ตรัง สวนของเกษตรกรในอำ� เภอเหนือคลอง จงั หวัดกระบ่ี สวนของ เกษตรกรในอำ� เภอระโนด จังหวดั สงขลา สวนของเกษตรกรในอ�ำเภอเมือง จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี สวนของเกษตรกร ในอ�ำเภอทา่ แซะ จงั หวัดชุมพร สวนของเกษตรกรในอ�ำเภอเมือง จังหวัดระนองสวนของเกษตรกรในอ�ำเภอควนขนนุ จังหวัดพัทลงุ และสวนของเกษตรกรในอ�ำเภอเบตง จงั หวดั ยะลา วิเคราะห์จ�ำแนกความแตกต่างทางพันธุกรรมของทุเรียนเทศด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ โดยวิธี AFLP (Amplified Fragment Length Polymorphism) นำ� ตัวอย่างใบทเุ รยี นเทศจำ� นวน 15 ตัวอย่าง มาท�ำ AFLP โดยการทำ� AFLP มขี ัน้ ตอนในการทำ� ดงั นี้ 1. การสกดั ดีเอ็นเอจากตัวอยา่ งใบทุเรียนเทศ 1) นำ� ตวั อย่างใบทเุ รยี นเทศตัดเปน็ ช้ินเล็กๆ ใส่ลงในโกรง่ ส�ำหรับบดตวั อย่าง เติมไนโตรเจนเหลวใหท้ ่วมตัวอย่าง และบดใหล้ ะเอยี ด แล้วตักใส่หลอด 1.5 ml ประมาณครึ่งหลอด 2) เติม Extraction buffer (100 mM Tris-Cl, 1.4 M NaCl, 20 mM EDTA, 2% CTAB, 0.625% 2-Mercaptoethanol, 3% PVPP) 700 ul, incubate ท่ี 65 oC นานประมาณ 30 นาที แลว้ แช่น้�ำแขง็ 10 นาที 3) เติม 5M Potassium Acetate ปรมิ าตร 300 ul ผสมใหเ้ ข้ากัน แชน่ �ำ้ แข็ง 60 นาที 4) Centrifuge 14,000 rpm นาน 10 นาที ยา้ ยสว่ นใสใส่หลอดใหม่ 5) เติม Chloroform : Isoamyl alcohol (24:1) ปริมาตร 700 ul ผสมเบาๆ นาน 20 นาที 6) Centrifuge 14,000 rpm นาน 20 นาที ย้ายส่วนใสใส่หลอดใหม่ 7) เติม 95% EtOH ท่ีเยน็ ปริมาตร 1 เทา่ ของปรมิ าตรส่วนใส ผสมเบาๆ นาน 5 นาที 8) Centrifuge 14,000 rpm นาน 5 นาที เทส่วนใสทง้ิ 9) เติม 70% EtOH ปรมิ าตร 500 ul ผสมใหเ้ ขา้ กนั และ Centrifuge 14,000 rpm นาน 5 นาที เทสว่ นใสทง้ิ (ทำ� 2 ซ้�ำ) 10

10) ตากตะกอนใหแ้ ห้ง ท่ี 65 oC แลว้ เตมิ 1X TE buffer ปรมิ าตร 200 ul นำ� ไป incubate ท่ี 65 oC นาน 1 ชว่ั โมง หรอื จะกว่าตะกอนจะละลายหมด 11) เก็บตัวอยา่ งดเี อน็ เอท่อี ุณหภูมิ –20 oC จนถึงเวลาใชง้ าน ตวั อย่างใบทเุ รยี นเทศจ�ำนวน 15 ตวั อยา่ งท่เี กบ็ จากแหล่งตา่ ง ๆ ในภาคใต้ Sample No. Lab Number Sample details 1 63-2488-BAF1 S1 / Yala 2 63-2488-BAF2 S2 / CP 3 63-2488-BAF3 S3 / SR 4 63-2488-BAF4 S4 / KB 5 63-2488-BAF5 S5 / TRSK 6 63-2488-BAF6 S6 / TRM 7 63-2488-BAF7 S7 / PTL 8 63-2488-BAF8 S8 / CLK1 9 63-2488-BAF9 S9 / CLK2 10 63-2488-BAF10 S10 / TY 11 63-2488-BAF11 S11 / CK 12 63-2488-BAF12 S12 / PPN1 13 63-2488-BAF13 S13 / PPN2 14 63-2488-BAF14 S14 / NSTMeang 15 63-2488-BAF15 S15 / A montana 2. การตรวจสอบคณุ ภาพและปรมิ าณดีเอน็ เอของตวั อยา่ งใบทเุ รียนเทศ ท�ำการตรวจสอบคณุ ภาพและปรมิ าณ ของดเี อน็ เอของทุเรียนเทศโดยท�ำดังนี้ 1) เปรยี บเทยี บกบั ดเี อน็ เอมาตรฐานทท่ี ราบความเขม้ ขน้ โดยใช้ 1% Agarose Gel Electrophoresis และยอ้ ม แผน่ เจลดว้ ยสารละลาย ethidium bromide ตรวจดแู ถบดเี อน็ เอบนแผน่ agarose gel โดยสอ่ งดว้ ยแสงอลั ตราไวโอเลต บนั ทึกผลโดยการถ่ายภาพ 2) ตรวจสอบความเข้มข้นของดีเอ็นเอทเุ รยี นเทศดว้ ยเครอ่ื ง NanoPhotometer 3) การเตรียมดเี อ็นเอตน้ แบบ การตัดสายดีเอ็นเอและตอ่ adaptor ในข้นั ตอนเดยี ว (Digestion & Ligation) ในปรมิ าตรทง้ั หมด 30 ul ประกอบด้วย genomic DNA ของตวั อย่างทเุ รยี นเทศ ประมาณ 100 ng, 1X T4 ligase buffer, 50 mM NaCl, 0.05 mg/ml BSA, 10U EcoRI (10U/ul, Fermentus), 5U MseI (10U/ul, BioLab), 2.6U T4 DNA Ligase (3U/ul, Promega), 10 pmol EcoRI-adapter, 100 pmol MseI-adapter ผสมองค์ประกอบตา่ งๆ เขา้ ด้วยกัน จากนัน้ น�ำไปบ่มทอ่ี ุณหภมู ิ 37 oC ข้ามคืน แบง่ DNA ทผ่ี า่ นการทำ� ปฏกิ ิรยิ าแลว้ จำ� นวน 10 ul ไปตรวจ 11

ดูว่ามกี ารตัดทสี่ มบูรณห์ รือไม่โดยใช้ 1% agarose gel electrophoresis บันทกึ ผลโดยการถ่ายภาพ เม่อื พบว่า DNA มกี ารตดั ที่สมบูรณ์ ให้นำ� DNA ดังกลา่ วมาเจือจางด้วย dH2O ฟประมาณ 10 เท่า เพื่อใช้เป็นดเี อน็ เอตน้ แบบ (DNA template) ในการเพ่ิมปรมิ าณช้ินส่วนดเี อน็ เอทีต่ อ้ งการ โดยใช้ คู่ primer ตา่ ง ๆ เก็บ DNA ดงั กล่าวไวท้ ี่อณุ หภมู ิ –20 oC 4. การเพ่มิ ปรมิ าณชน้ิ สว่ น DNA ทตี่ อ้ งการ โดยท�ำดงั นี้ 1) Preselective : ท�ำการคดั เลอื กชิ้นส่วนDNA โดยใช้ primer ทีม่ เี บสคดั เลอื กจ�ำนวน 1-1 base น�ำ DNA template มาทำ� การเพ่ิมปริมาณ โดยมี PCR condition ดงั น ้ี ในปฏิกริ ยิ าการเพ่มิ ปริมาณชนิ้ สว่ นดีเอ็นเอท่ีต้องการ ประกอบด้วย DNA ท่ีเจอื จางแล้ว 3 ul, primer (forward & reward) สายละ 0.25 uM, 1X Taq buffer, 1.5 mM MgCl2, 200 uM dNTPs, และเอนไซม์ Taq DNA polymerase 0.3 unit ในปรมิ าตรทัง้ หมด 10 ul เมอื่ ผสมองค์ ประกอบตา่ ง ๆ เขา้ ดว้ ยกนั แล้ว จงึ นำ� ไปใส่ในเครอ่ื งควบคุมอณุ หภูมิ (GeneAmpR PCR System 9700 (Applied Biosystem)) ซ่งึ มอี ณุ หภมู ิต่าง ๆ ดังนคี้ อื 50 oC 5 นาที 94 oC 3 นาที 94 oC 30 วินาที 56 oC 1 นาที 24 รอบ 72 oC 1 นาที 72 oC 5 นาที เม่ือเสรจ็ สนิ้ ปฏิกิรยิ า PCR ใหน้ ำ� PCR product ทไ่ี ด้มาเจือจางด้วย dH2O 10 เทา่ แลว้ จงึ เกบ็ ไว้เป็น DNA template สำ� หรับขั้นตอนตอ่ ไป 2) Selective ทำ� การคัดเลอื กช้นิ ส่วน DNA โดยใช้ primer ท่มี เี บสคัดเลอื กจ�ำนวน 3-3 base โดยใช้จ�ำนวน primer ท้ังหมด 10 ค่ ู ในปฏกิ ริ ยิ าการเพม่ิ ปริมาณชิ้นสว่ นดเี อ็นเอที่ตอ้ งการ ประกอบไปด้วย DNA ทีเ่ จือจางแล้ว (จาก ขัน้ ตอนท่ี 1) ปริมาตร 2 ul, primer (forward & reward) สายละ 0.25 uM, 1X Taq buffer, 1.5 mM MgCl2, 200 uM dNTPs, และเอนไซม์ Taq DNA polymerase 0.3 unit ในปริมาตรท้ังหมด 10 ul เมือ่ ผสมองค์ประกอบต่างๆ เข้าดว้ ยกันแล้ว จงึ นำ� ไปใสใ่ นเครือ่ งควบคุมอณุ หภูมิ (GeneAmpR PCR System 9700 (Applied Biosystem)) ซึ่งมี อุณหภูมติ า่ ง ๆ ดงั นีค้ ือ 94 oC 30 วินาที 65 oC** 30 วนิ าที 9 รอบ โดยลด Annealing Temperature ลง 72 oC 1 นาที 1 oC ทุกรอบ 94 oC 30 วนิ าที 56 oC 30 วนิ าท ี 30 รอบ 72 oC 1 นาที 4 oC hold 12

หลงั เสร็จสนิ้ ปฏกิ ิริยา หยดุ ปฏิกริ ยิ าด้วย 5 ul Loading buffer (10 mM EDTA (pH 8.0), 98% formamide, Bromophenol Blue & Xylenecyanol) ตรวจสอบผลการท�ำ PCR โดยใช้ 4.5 % Polyacrylamide Gel Electrophoresis ใช้ silver staining การวเิ คราะหผ์ ล ท�ำการใหค้ ะแนนแถบดีเอ็นเอท่ปี รากฏในแผน่ เจล เปรียบเทยี บกันระหว่างตวั อย่างทุเรียนเทศ จำ� นวน 15 ตัวอย่าง ในต�ำแหน่งเดียวกนั ถา้ ปรากฏแถบดีเอ็นเอ ใหค้ ะแนน 1 ถา้ ไม่ปรากฏแถบดีเอน็ เอ ให้คะแนน 0 โดยจะเลอื กให้คะแนนเฉพาะแถบดเี อน็ เอที่เห็นชดั เจน นำ� ผลการใหค้ ะแนนแถบดเี อน็ เอดงั กลา่ วไปวเิ คราะหห์ าความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตวั อยา่ งทเุ รยี นเทศ โดยใช้ program NTSYSpc for Windows Version 2.02j รายงานผลเปน็ Phylogenetic tree ผลการด�ำเนนิ งาน การจ�ำแนกความแตกต่างทางพนั ธุกรรมทุเรยี นเทศด้วยเทคโนโลยชี วี ภาพ ไดใ้ ชเ้ ทคนิค AFLP มา จ�ำแนกความแตกต่างทางพันธุกรรม ในทุเรียนเทศที่เก็บตัวอย่างจากแหล่งปลูกในพ้ืนท่ีต่างๆในภาคใต้ท้ังจากแปลง เกษตรกรและในพนื้ ทอี่ าศยั ของชาวบา้ นทปี่ ลกู เพอื่ บรโิ ภค จำ� นวน 15 ตวั อยา่ ง ผลการวเิ คราะหพ์ บเอกลกั ษณพ์ นั ธกุ รรม ของทุเรยี นเทศ จำ� นวน 15 ตวั อย่าง เมอื่ นำ� แถบดเี อน็ เอจากเอกลกั ษณพ์ นั ธกุ รรมของทเุ รยี นเทศ มาทำ� Phylogenetic tree ไดด้ งั ภาพท่ี 2 สามารถจดั กลุ่มทุเรียนเทศท่มี ีความเหมอื นทางพันธุกรรมได้ 5 กลมุ่ คือ A. Montana, NSTMeang, CP, PPN2 ซึง่ มคี วามเหมือน กันทางพันธกุ รรมเป็น 17.05, 94.42, 94.91 และ95.65 % ตามลำ� ดบั และกล่มุ ที่ 5 เปน็ กลุ่มท่ีมีความเหมอื นกนั ทาง พันธุกรรมมากกว่า 96 % ซึง่ มอี ยู่ 11 ตวั อย่างคอื Yala, SR, KB, CLK1, TY, PTL, PPN1, CK, TRM, TRSK, CLK2 13

ส่วนคา่ ความเหมอื นกัน (Similarity) ทางพันธุกรรมของทเุ รยี นเทศทั้ง 15 ตัวอย่างจากแหล่งปลูกตา่ ง ๆ ของภาค ใต ้ ซงึ่ จะเหน็ วา่ เมอื่ ใชต้ วั อยา่ งเปรยี บเทยี บทเ่ี ปน็ พนั ธต์ุ า่ งชนดิ (species) มาวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บจะใหค้ า่ ความเหมอื น กันแค่ 17.05 % เมอ่ื เทยี บกับพันธ์อุ ื่น ๆ ในชนิด ซึ่งมีความเหมือนกนั มากกวา่ 92 % ใน 14 ตัวอยา่ งของทเุ รยี นเทศที่ นำ� มาวเิ คราะห์ด้วยเทคนคิ AFLP พบวา่ มีความเหมือนทางพันธุกรรมตั้งแต่ 92% ถงึ 99% sample S1 S2 S3 S4 S5 S6 S7 S8 S9 S10 S11 S12 S13 S14 S15 1.0000 1.0000 S1 0.9551 1.0000 1.0000 1.0000 1.0000 1.0000 1.0000 1.0000 1.0000 1.0000 1.0000 1.0000 1.0000 1.0000 S2 0.9769 0.9545 0.9883 0.9713 0.9770 0.9713 0.9826 0.9826 0.9713 0.9771 0.9659 0.9551 0.9341 0.1693 S3 0.9770 0.9548 0.9711 0.9713 0.9600 0.9769 0.9884 0.9884 0.9602 0.9770 0.9553 0.9441 0.1768 S4 0.9714 0.9385 0.9711 0.9884 0.9769 0.9713 0.9713 0.9770 0.9713 0.9661 0.9553 0.1715 S5 0.9714 0.9494 0.9767 0.9942 0.9600 0.9657 0.9602 0.9769 0.9494 0.9551 0.1667 S6 0.9657 0.9548 0.9941 0.9769 0.9770 0.9659 0.9713 0.9659 0.9385 0.1677 S7 0.9827 0.9602 0.9767 0.9827 0.9659 0.9545 0.9494 0.9548 0.1721 S8 0.9657 0.9548 0.9826 0.9714 0.9545 0.9441 0.9385 0.1688 S9 0.9714 0.9494 0.9713 0.9713 0.9551 0.9441 0.1721 S10 0.9605 0.9389 0.9711 0.9605 0.9333 0.1715 S11 0.9602 0.9494 0.9602 0.9494 0.1715 S12 0.9607 0.9286 0.9492 0.1683 S13 0.9497 0.9286 0.1694 S14 0.1710 0.1699 S15 จากการวิเคราะห์และจ�ำแนกพันธุกรรมของทุเรียนเทศจากแหล่งปลูกต่างๆในภาคใต้จ�ำนวน 15 ตัวอย่างท่ีมี ลักษณะทางกายภาพเหมือนกัน ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้ แต่ด้วยเทคนิค AFLP พบวา่ มจี ำ� นวนพันธุท์ ุเรียนเทศ 14 ตวั อยา่ งทมี่ คี วามเหมอื นกนั หรอื มคี วามใกลช้ ดิ ทางพนั ธกุ รรมมากกวา่ 92 % โดยมคี วามเหมอื นกนั อยใู่ นชว่ ง 92-99 % เมอ่ื เทยี บกบั ตวั อยา่ งท่ี 15 ซงึ่ เปน็ คนละชนดิ กนั ทม่ี คี วามเหมอื นกนั เพยี ง 17.07 % ความแตกตา่ งทางพนั ธกุ รรมทไี่ ด้ นำ� มาเปน็ ขอ้ มลู ในการใชแ้ หลง่ พนั ธกุ รรม (Germplasms) ของทเุ รยี นเทศเหลา่ นใี้ นการปรบั ปรงุ และพฒั นาพนั ธท์ุ เุ รยี น เทศตอ่ ไป นอกจากน้ียังได้รวบรวมเมล็ดทุเรียนเทศจากแหล่งที่เก็บตัวอย่างใบไปวิเคราะห์ มาเพาะเมล็ดเพื่อน�ำมาปลูกใน แปลงรวบรวมพันธุ์เพื่อปกปัก อนุรักษ์ และใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ โดยน�ำมาท�ำผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น น�้ำทุเรียน เทศเข้มขน้ ใบชาทุเรยี นเทศ นำ้� ทุเรยี นเทศปน่ั ไอศกรมี สารสกดั จากใบและเมล็ดสำ� หรบั ทำ� ผลติ ชีวภณั ฑ์ควบคมุ โรค และแมลงศตั รพู ชื 14

การถ่ายทอดองค์ความรูส้ ชู่ มชน เปน็ วทิ ยากรในการอบรมเรอื่ งการสรา้ งจติ สำ� นกึ การอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื หายากในทอ้ งถน่ิ กรณศี กึ ษา : ทเุ รยี นเทศ ในโครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อนั เนอื่ งจากพระราชดำ� รสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าสยามบรมราชกมุ ารี และโครงการ สวนพฤกษศาสตรใ์ นโรงเรยี น ประจ�ำปีพ.ศ.2563 ในวนั ที่ 11 กนั ยายน 2563 ณ ห้องประชมุ เคียงชลธาร วทิ ยาลัยการ อาชพี พรหมครี ี อ.พรหมคีรี จ.นครศรธี รรมราช การเกบ็ ตัวอย่างใบทุเรียนเทศจากแหลง่ ปลกู ต่าง ๆ ของภาคใต้ เพ่ือนำ� มาจำ� แนกความแตกตา่ งทางพันธกุ รรม ซง่ึ หากดลู ักษณะภายนอก ไม่สามารถแยกความแตกตา่ งกนั ได้ 15

การเกบ็ รวบรวมเมลด็ ของทเุ รยี นเทศจากแหลง่ ปลกู ตา่ ง ๆ และนำ� เมลด็ มาเพาะเพอื่ ไดต้ น้ ออ่ นในการปลกู ลงแปลง ปกปักตอ่ ไป 16

การใชป้ ระโยชนท์ ุเรยี นเทศเพือ่ การป้องกันกําจัดศตั รพู ชื เหยอ่ื พษิ สำ� เรจ็ รูปทมี่ ีส่วนผสมของนำ�้ มนั หอมระเหยจากใบทเุ รยี นเทศ ก�ำจัดปลวกใตด้ นิ การใชป้ ระโยชนท์ เุ รยี นเทศเพอ่ื การปอ้ งกนั กาํ จดั ศตั รพู ชื (เหยอื่ พษิ สำ� เรจ็ รปู ทมี่ สี ว่ นผสมของนำ�้ มนั หอมระเหยจาก ใบทุเรยี นเทศกำ� จดั ปลวกใต้ดิน) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พัชราภรณ์ วาณิชยป์ กรณ์ คณะเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต นครศรธี รรมราช (ทุ่งใหญ่) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรีวชิ ยั มีวัตถปุ ระสงค์เพอื่ พฒั นาและศึกษาประสิทธภิ าพ ผลติ ภณั ฑเ์ หยอื่ พษิ ทม่ี สี ว่ นผสมของนำ้� มนั หอมระเหยจากใบทเุ รยี นเทศในการควบคมุ ปลวกใตด้ นิ และเพอื่ เผยแพรแ่ ละ ส่งเสริมการใชป้ ระโยชน์จากเหยอื่ พษิ ท่ีมสี ่วนผสมของน�ำ้ มนั หอมระเหยจากใบทุเรยี นเทศในการควบคมุ ปลวกใต้ดนิ ปลวกใต้ดินสายพันธ์ุ C. curvignathus ศัตรกู ัดกินรากและลำ� ตน้ ยาง การใชป้ ระโยชนจ์ ากทเุ รยี นเทศเพอ่ื การควบคมุ ปลวกใตด้ นิ สายพนั ธ์ุ C. curvignathus ซง่ึ เปน็ แมลงศตั รสู ำ� คญั ของ สวนยาง โดยการนำ� น�ำ้ มนั หอมระเหยจากใบทเุ รียน ซง่ึ ได้จากวธิ กี ารกล่ันดว้ ยนำ้� และไอน้�ำ มาคดั เลือกอัตราสว่ นท่ีผสม ด้วยน�้ำมนั หอมระเหยเปลือกส้มโอ หรอื น้�ำมันหอมระเหยกานพลู และนำ� อตั ราสว่ นดงั กลา่ วท่ีคัดเลือกได้มาพัฒนาเป็น ผลิตภัณฑ์เหยื่อพิษ โดยพบน�้ำมันหอมระเหยจากใบทุเรียนเทศผสมกับน�้ำมันหอมระเหยจากดอกกานพลูในอัตราส่วน 25:75 มีพิษทางการกนิ และสมั ผสั ต่อปลวก C. curvignathus สูงสุด และปลวกที่ได้รับน�้ำมนั หอมระเหยจากใบทุเรียน เทศผสมกบั นำ้� มนั หอมระเหยจากดอกกานพลใู นอตั ราสว่ น 25:75 สามารถถา่ ยทอดพษิ ไปสปู่ ลวกงานปกตไิ ด้ เมอ่ื เปรยี บ เทยี บประสทิ ธภิ าพของเหยอื่ พษิ ทม่ี สี ว่ นผสมของนำ�้ มนั หอมระเหยจากใบทเุ รยี นเทศและดอกกานพลใู นอตั ราสว่ น 25:75 ระหวา่ งเหยอื่ พษิ ทเี่ ปน็ ขเี้ ลอ่ื ยอดั แทง่ กบั ไมย้ าง พบวา่ เหยอ่ื พษิ ทเ่ี ปน็ ไมย้ างมปี ระสทิ ธภิ าพในการควบคมุ ปลวกใตด้ นิ สาย พนั ธด์ุ งั กลา่ วสงู กวา่ เหยอื่ พษิ ทเี่ ปน็ ขเ้ี ลอ่ื ยอดั แทง่ และยงั พบวา่ ผลติ ภณั ฑเ์ หยอื่ พษิ ไมย้ างทเ่ี กบ็ รกั ษาไวเ้ ปน็ เวลา 3 เดอื น ยงั คงมีประสิทธิภาพในการควบคมุ ปลวกไดด้ ี เปา้ หมายการดำ� เนนิ งานในปตี อ่ ไป คอื ทดสอบประสิทธิภาพของไม้ยาง เหย่ือตอ่ การควบคมุ ปลวกในสภาพสวนยาง นอกจากนศ้ี ึกษาเพ่ิมเตมิ เกีย่ วกับกลไกการออกฤทธิ์ของนำ�้ มันหอมระเหย ตอ่ ปลวกใต้ดินสายพนั ธุ์ C. curvignathus รวมไปถงึ การพฒั นาผลติ ภัณฑ์กำ� จดั ปลวกให้มีรปู แบบท่ีสามารถเกบ็ รกั ษา ไดง้ า่ ย มปี ระสทิ ธภิ าพคงทน สามารถนำ� มาเปน็ ผลติ ภณั ฑท์ เี่ ทยี บเคยี งไดก้ บั ผลติ ภณั ฑจ์ ากสารเคมสี งั เคราะห์ เพอื่ ชว่ ยให้ เกษตรกรและผใู้ ช้สามารถหลีกเลี่ยงและมีความปลอดภัยจากการใชส้ ารฆา่ แมลง ซ่ึงอาจท�ำให้ชมุ ชนไดเ้ ล็งเหน็ ถึงความ สำ� คญั ในการเลอื กใชพ้ ชื ทอ้ งถนิ่ คอื ทเุ รยี น นำ� ไปสกู่ ารอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมทเุ รยี นเทศใหอ้ ยคู่ ชู่ มุ ชนอยา่ งยง่ั ยนื นอกจากนี้ ยงั มเี ปา้ หมายการตพี มิ พเ์ ผยแพร่ เพอื่ นำ� เสนอผลงานทางวชิ าการ และจดั อบรมใหค้ วามรแู้ กเ่ กษตรกร นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ท่ีสนใจ 17

ลักษณะทางพฤกษศาสตรข์ องทเุ รียนเทศ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรข์ องส้มโอ ข้ันตอนการด�ำเนินงานหรอื ผลดำ� เนินงาน 1) เก็บรวบรวมใบทุเรียนเทศ และผลส้มโอจากแปลงปลูกทเุ รียนเทศและส้มโอ ของสาขาวทิ ยาศาสตรก์ ารเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ และซื้อดอกกานพลูแหง้ จากร้านไทรบุรี อำ� เภอหาดใหญ่ จังหวดั สงขลา 2) นำ� ใบทเุ รียนเทศลา้ งท�ำความสะอาด ห่นั ใบให้เป็นชิน้ เล็ก ๆ สว่ นผลสม้ โอนำ� มาลา้ งปอกเปลือก หั่นส่วนเปลือก สเี ขยี วใหเ้ ปน็ ชนิ้ เลก็ ๆ สำ� หรบั ดอกแหง้ ของกานพลนู ำ� มาลา้ งใหส้ ะอาด จากนน้ั กลนั่ นำ้� มนั หอมระเหยจากพชื ทงั้ สามชนดิ แยกกันโดยใช้น้�ำและน้�ำร้อนเป็นเวลา 6 ชั่วโมง ซึ่งได้ผลผลิตน�้ำมันหอมระเหยใบทุเรียนเทศ เปลือกส้มโอ และดอก กานพลูเทา่ กบั 0.03, 0.8 และ 10% ตามล�ำดับ 3) คัดเลือกอัตราส่วนผสมของน้�ำมันหอมระเหยจากใบทุเรียนเทศท่ีน�ำมาผสมกับน�้ำมันหอมระเหยเปลือกส้มโอ หรอื นำ�้ มนั หอมระเหยกานพลู โดยนำ� มาทดสอบพษิ ทางการกนิ และสมั ผสั ตอ่ ปลวกใตด้ นิ Coptotermes curvignathus ซ่ึงพบวา่ น้�ำมนั หอมระเหยจากใบทเุ รียนผสมกับนำ้� มนั หอมระเหยจากดอกกานพลูในอตั ราส่วน 25:75 มปี ระสิทธิภาพ สงู สุด 4) ทดสอบความสามารถถา่ ยทอดพษิ จากปลวกทไี่ ดร้ บั นำ้� มนั หอมระเหยจากใบทเุ รยี นเทศผสมกบั นำ�้ มนั หอมระเหย กานพลูในอตั ราสว่ น 25:75 สู่ปลวกงานปกติตัวอืน่ ๆ 5) ผลติ ผลติ ภณั ฑเ์ หยอื่ พษิ สำ� หรบั ควบคมุ ปลวกใตด้ นิ C. curvignathus ทม่ี สี ว่ นผสมของนำ้� มนั หอมระเหยจากใบ ทเุ รียนเทศกับน้ำ� มันหอมระเหยจากดอกกานพลใู นอัตราสว่ น 25:75 โดยนำ� ขเ้ี ลือ่ ยบดละเอียด 1 กโิ ลกรมั ผสมกบั แปง้ มนั ส�ำปะหลงั 150 กรมั น้�ำมันหอมระเหยความเข้มขน้ 1% และน�ำ้ 1 ลติ ร คลุกเคล้าใหเ้ ข้ากัน แลว้ อัดเป็นแท่งด้วย เครอื่ งอดั แท่งถ่าน นำ� แท่งข้ีเลอื้ ยมาอบในตูอ้ บลมร้อนทอี่ ณุ หภูมิ 50 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 24 ชั่วโมง การผลิตเหยอ่ื พิษอกี วิธที ำ� โดยตัดไม้ยางให้มีขนาด 4×5×2 เซนติเมตร (กวา้ งxยาวXสงู ) น�ำมาแชใ่ นน�้ำมนั หอมระเหยท่ีมีส่วนผสมของ น�ำ้ มนั หอมระเหยจากใบทเุ รยี นเทศและดอกกานพลใู นอัตราส่วน 25:75 เปน็ เวลา 48 ชว่ั โมง 18

ลษั ณะทางพฤกษศาสตรข์ องกานพลู การวางกับดกั เพ่อื นำ� ปลวกใต้ดนิ สายพนั ธ์ุ C. curvignathus มาใชส้ ำ� หรับทดสอบ สกัดระเหยจากใบทุเรยี นเทศโดยวธิ ีกลนั่ ดว้ ยและไอน้�ำ และน�้ำมนั หอมระเหยที่ได้ 19

การทดสอบพษิ ทางการกนิ และสมั ผสั ระหวา่ งอตั ราสว่ นผสมของนำ้� มนั หอมระเหยจากใบทเุ รยี นเทศกบั นำ�้ มนั หอมระเหย เปลอื กส้มโอหรือน้�ำมันหอมระเหยดอกกานพลูท่มี ีตอ่ ปลวกสายพนั ธ์ุ C. curvignathus การผลติ เหย่ือพิษข้ีเล่ือยอดั แทง่ ผสมนำ้� มันหอมระเหยใบทเุ รียนเทศ การทดสอบประสิทธิภาพของไม้เหยอื่ พิษผสมน้ำ� มันหอมระเหยจากใบทุเรยี นเทศทีม่ ตี ่อปลวก การทดสอบความสามารถถา่ ยทอดพิษจากปลวกที่ได้รบั สารละลายนำ้� มันหอมระเหยสู่ปลวกงานปกตติ วั อ่นื 6) ทดสอบประสิทธิภาพของเหยื่อพิษที่เป็นขี้เลื่อยอัดแท่งและเป็นไม้ซ่ึงมีส่วนผสมของน�้ำมันหอมระเหยจาก ใบทุเรียนเทศกับน้�ำมันหอมระเหยจากดอกกานพลูในอัตราส่วน 25:75 ต่อการควบคุมปลวกใต้ดินสายพันธุ์ C. curvignathus 7) ศึกษาประสิทธภิ าพของของเหยอื่ พิษไมย้ างทเี่ ก็บรักษาไวใ้ นช่วงเวลาทแ่ี ตกตา่ งกัน (0, 1, 2 และ 3 เดือน ตอ่ การควบคุมปลวกใตด้ นิ สายพันธ์ุ C. curvignathus 20

8) จัดอบรม/จัดแสดงนทิ รรศการแพร่แผค่ วามรแู้ ก่เกษตรกร/ชุมชน/ผ้สู นใจรวม 3 ครั้ง ดงั น้ี จดั อบรมครงั้ ท่ี 1 เรอื่ ง ชวี ภณั ฑเ์ พอื่ การกำ� จดั ศตั รพู ชื ณ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารกฏี วทิ ยา คณะเกษตรศาสตร์ อำ� เภอทงุ่ ใหญ่ จงั หวดั นครศรธี รรมราช ในวันที่ 18 สิงหาคม 2563 มีผูเ้ ขา้ รับการอบรมจำ� นวน 35 คน จัดอบรมครั้งที่ 2 เรื่องการสร้างจิตส�ำนึกอนุรักษ์พันธุกรรมพืชกรณีตัวอย่างทุเรียนเทศ ณ วิทยาลัยการอาชีพ พรหมคีรี อำ� เภอพรหมคีรี จงั หวัดนครศรีธรรมราช วันที่ 11 กันยายน 2563 มีผู้เข้ารบั การอบรมจำ� นวน 80 คน จดั นทิ รรศการ แสดงผลงานการใชป้ ระโยชนจ์ ากทเุ รยี นเทศควบคมุ แมลงศตั รพู ชื ตามโครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อนั เนื่องมาจากพระราชดำ� รสิ มเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี น�ำเสนอตอ่ กรรมการสภามหาวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าขมงคลศรีวชิ ยั วนั ที่ 23 กนั ยายน 2563 ผลการด�ำเนินงาน ทุเรียนเป็นพืชท่ีมีฤทธิ์ชีวภาพในการควบคุมปลวกใต้ดินสายพันธุ์ C. curvignathus ซึ่งเป็น ศัตรูส�ำคัญของต้นยาง ท�ำลายโดยการกัดกินส่วนราก บริเวณโคนต้นที่อยู่ใต้ผิวดิน และกัดกินภายในล�ำต้น ท�ำให้ต้น ยางยืนต้นตาย ส�ำหรับการน�ำน้�ำมันหอมระเหยทุเรียนเทศไปใช้ในการควบคุมปลวก จ�ำเป็นต้องน�ำมาพัฒนาสูตรและ รูปแบบผลิตภัณฑท์ ีง่ ่ายต่อการใช้ จึงนำ� มาผสมรว่ มกบั น�ำ้ มันหอมระเหยเปลือกส้มโอและน้�ำมนั หอมระเหยกานพลู คัด เลอื กโดยการทดสอบพษิ ทางการกนิ และสมั ผสั ซง่ึ สตู รทไี่ ดค้ อื นำ้� มนั หอมระเหยจากใบทเุ รยี นเทศตอ่ กานพลู อตั ราสว่ น 25:75 ความเข้มขน้ 3,333 พีพีเอ็ม ทำ� ใหป้ ลวกตาย 100% ที่เวลา 1 วนั ผลจากการทดสอบเหยอื่ พิษนำ้� มันหอมระเหย ทุเรียนเทศ:กานพลู สามารถควบคุมปลวกได้ 100% ต้งั แต่ความเขม้ ข้น 4,000-10,000 พพี ีเอม็ และยงั พบว่าปลวกท่ี ได้รบั นำ้� มันหอมระเหย สามารถถา่ ยทอดพิษไปยงั ปลวกงานปกตติ วั อื่นๆ ซงึ่ ปลวกท่ไี ดร้ ับน้ำ� มันหอมระเหยนานสดุ 50 นาที มผี ลทำ� ใหป้ ลวกตวั อนื่ ๆตายสงู สดุ 98% ทเ่ี วลา 7 วนั สว่ นการศกึ ษาระยะเวลาตอ่ ประสทิ ธภิ าพของเหยอื่ พษิ พบวา่ เหยื่อพิษทนี่ �ำมาใช้ทนั ที ท�ำใหป้ ลวกตาย 100% ในขณะท่เี หยอ่ื พษิ ทีถ่ ูกเก็บไว้เปน็ ระยะเวลา 1, 2 และ 3 เดอื น ทำ� ให้ ปลวกตาย 97.50, 90.00 และ 78.75% ตามล�ำดับ จากผลการทดสอบสรปุ ไดว้ ่าผลติ ภัณฑ์เหยอื่ พิษน�ำ้ มนั หอมระเหย ทเุ รยี นเทศมีศกั ยภาพในการน�ำมาใชค้ วบคมุ ปลวกใตด้ นิ สายพันธุ์ C. curvignathus การถา่ ยทอดองคค์ วามรสู้ ชู่ มชนมกี ารถา่ ยทอดองคค์ วามรใู้ หก้ บั ชมุ ชน โดยจดั อบรม 2 ครงั้ และจดั แสดงนทิ รรศการ 1 ครงั้ จัดอบรมครั้งที่ 1 วันท่ี 18 สงิ หาคม 2563 เรื่อง ชวี ภัณฑ์เพอ่ื การก�ำจัดศตั รพู ืช ณ ห้องปฏิบัติการกฏี วทิ ยา คณะ เกษตรศาสตร์ อ�ำเภอทุ่งใหญ่ จังหวดั นครศรธี รรมราช มผี ู้เข้ารบั การอบรมจำ� นวน 35 คน จัดอบรมครง้ั ท่ี 2 วันที่ 11 กนั ยายน 2563 เร่ืองการสรา้ งจิตส�ำนึกอนรุ กั ษพ์ ันธุกรรมพืชกรณีตวั อยา่ งทเุ รียนเทศ ณ วิทยาลยั การอาชพี พรหมครี ี อำ� เภอพรหมครี ี จังหวัดนครศรีธรรมราช มีผเู้ ขา้ รบั การอบรมจำ� นวน 80 คน จัดนิทรรศการครั้งท่ี 1 แสดงผลงานการใช้ประโยชน์จากทุเรียนเทศควบคุมแมลงศัตรูพืชตามโครงการอนุรักษ์ พนั ธกุ รรมพชื อนั เนอื่ งมาจากพระราชด�ำรสิ มเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี นำ� เสนอตอ่ กรรมการสภา มหาวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าขมงคลศรวี ชิ ยั ณ คณะเกษตรศาสตร์ อำ� เภอทงุ่ ใหญ่ จงั หวดั นครศรธี รรมราช วนั ที่ 23 กนั ยายน 2563 21

วันท่ี 18 สิงหาคม 2563 จัดอบรม เรื่อง ชีวภัณฑ์เพ่ือการก�ำจัดศัตรูพืช ณ ห้องปฏิบัติการกีฏวิทยา คณะ เกษตรศาสตร์ อำ� เภอทุง่ ใหญ่ จังหวัดนครศรธี รรมราช วันท่ี 11 กันยายน 63 วิทยากรอบรมเรื่อง การสร้างจิตส�ำนึกอนุรักษ์พันธุกรรมพืชกรณีตัวอย่างทุเรียนเทศ ณ วทิ ยาลยั การอาชีพพรหมครี ี อ�ำเภอพรหมครี ี จังหวัดนครศรีธรรมราช วันท่ี 23 กันยายน 63 จัดแสดงผลงานการใช้ประโยชน์จากทุเรียนเทศควบคุมแมลงศัตรูพืชในโครงการอนุรักษ์ พนั ธุกรรมพชื อันเนื่องมาจากพระราชดำ� ริฯ นำ� เสนอตอ่ กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี ราช มงคล ศรวี ชิ ยั ณ คณะเกษตรศาสตร์ อำ� เภอท่งุ ใหญ่ จงั หวัดนครศรีธรรมราช 22

การพัฒนาผลิตภณั ฑจ์ ากทเุ รียนเทศ : ทเุ รยี นเทศเข้มขน้ บรรจุขวดและน�้ำทุเรียนเทศ พรอ้ มดม่ื เพ่ือสุขภาพรสชาติตา่ ง ๆ กระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ทั้งสองเป็นท่ีต้องการของเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนเทศในเขตจังหวัดกระบ่ีเพ่ือช่วยแก้ ปญั หาผลผลติ ทอ่ี อกมามากและมปี ญั หาการจำ� หนา่ ย อกี ทางสรา้ งชอ่ งทางการสรา้ งผลติ ภณั ฑอ์ นื่ ๆ เปน็ ทางเลอื กสำ� หรบั ผบู้ รโิ ภค ซง่ึ การพัฒนาผลติ ภณั ฑท์ ี่หลากหลายจึงเปน็ แนวทางในการพฒั นาต่อเน่ืองเพ่อื สร้างจดุ ขายให้กบั ผ้ผู ลติ การพัฒนาผลิตภณั ฑจ์ ากทุเรียนเทศ : ทุเรยี นเทศเข้มขน้ บรรจุขวดและนำ้� ทเุ รียนเทศพร้อมดืม่ เพอื่ สขุ ภาพรสชาติ ตา่ ง ๆ โดย ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เสาวณยี ์ ชยั เพชร คณะอตุ สาหกรรมเกษตร วทิ ยาเขตนครศรธี รรมราช (ทงุ่ ใหญ)่ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ยั มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ สรา้ งจติ สำ� นกึ ในการอนรุ กั ษแ์ ละการใชป้ ระโยชนท์ เุ รยี นเทศ ใหแ้ กเ่ ยาวชน เพอ่ื ศกึ ษากระบวนการทเ่ี หมาะสมในการผลติ ทเุ รยี นเทศเขม้ ขน้ ในบรรจภุ ณั ฑแ์ ละคณุ ภาพของผลติ ภณั ฑ ์ และเพอ่ื พฒั นาผลติ ภณั ฑท์ เุ รยี นเทศผสมผกั และผลไมพ้ น้ื บา้ นภาคใตพ้ รอ้ มดมื่ จากทเุ รยี นเทศเขม้ ขน้ ในบรรจภุ ณั ฑแ์ ละ คณุ ภาพผลติ ภัณฑ์ ผลการดำ� เนนิ งาน การเตรยี มทเุ รยี นเทศแชเ่ ยอื กแขง็ นำ� เนอื้ ทเุ รยี นเทศมาผา่ นการใหค้ วามรอ้ นที่ 85 องศาเซลเซยี ส ทีเ่ วลา 8 นาที โดยมีขัน้ ตอนการผลิตเน้ือทุเรยี นเทศแช่เยือกแข็ง ทำ� การเตรยี มทุเรยี นเทศแช่เยือกแขง็ เตรยี มได้ดงั ภาพ ล้างทเุ รียนเทศ ผา่ ทเุ รยี นเทศ แยกเปลอื กและ แกนไสท้ เุ รียนเทศ 23

แยกเมลด็ ทเุ รียนเทศ เนื้อทเุ รยี นเทศน�ำไปให้ ความร้อนทีอ่ ณุ หภมู ิ 85 องศาองศาเซลเซียส นาน 8 นาที บรรจุถงุ และ แชใ่ นนำ�้ เยน็ จดั ปดิ ผนกึ และแช่ ในต้แู ชเ่ ยอื กแข็ง ทุเรียนเทศแช่เยอื กแข็ง ท�ำการเกบ็ รักษาเนื้อทุเรียนเทศในตู้แชแ่ ขง็ กอ่ นน�ำมาทำ� การศึกษาขั้นตอนตอ่ ไป 24

2. การพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ทเุ รียนเทศเข้มขน้ สามารถใชผ้ ลทุเรยี นเทศสดและทเุ รยี นเทศแช่แขง็ ส�ำหรบั การผลติ ได้ โดย มีขน้ั ตอนกระบวนการแปรรูปทเุ รียนเทศเขม้ ข้นตามกระบวนดงั น้ี 1) การเตรียมขวดบรรจุทุเรยี นเทศเข้มขน้ นำ� ขวดทเ่ี ตรยี มไวม้ าลา้ งท�ำความสะอาดด้วยนำ้� สะอาด 2) น�ำฝาและขวดไปต้มในน้ำ� เดือดอยา่ งนอ้ ย 10 นาท ี นำ� ขวดมาต้งั ใหส้ ะเดด็ น้ำ� บนตะแกรงและวางบนพื้นผวิ ที่ สะอาดกอ่ นน�ำไปบรรจทุ ุเรียนเทศเขม้ ขน้ 3) การเตรียมทุเรียนเทศสด ผ่าทุเรียนเทศสด ท�ำการแยกเปลือก แกนกลางและเมล็ดออก ได้ส่วนที่เป็น เน้ือทเุ รยี นเทศ 25

นำ� ไปผสมนำ�้ ตม้ สะอาดที่ 10 20 30 และ 40 กรัม/เนอ้ื ทเุ รียนเทศ 100 มล. ปรบั พเี อชใหต้ ่�ำกว่า 4.5 น�ำแตล่ ะสตู รไปให้ความร้อนที่ 90 องศา นาน 5 นาที เพื่อยับย้งั การท�ำงานของเอนไซม์ทท่ี ำ� ให้เกดิ สนี ำ�้ ตาล บรรจตุ ัวอยา่ งระหวา่ งทร่ี อ้ นและปดิ ฝา กอ่ นนำ� ไปต้มในน�ำ้ เดือดนาน 10 นาที 26

ผลการทดสอบพบว่าการผสมนำ�้ ในอัตราสว่ น 30 มล./เนื้อทเุ รียนเทศ 100 กรมั ไดล้ กั ษณะปรากฏดา้ นสี กลน่ิ รส เน้อื สัมผสั และความชอบรวมมากทสี่ ุด 3. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทุเรียนเทศพร้อมดื่มผสมส้มจี๊ด เตรียมตัวอย่างทุเรียนสด โดยมีขั้นตอนกระบวนการแปรรูป ทุเรียนเทศพรอ้ มดม่ื ผสมส้มจดี๊ ตามกระบวนดงั น้ี 1) การเตรียมขวดบรรจทุ เุ รียนเทศเขม้ ขน้ น�ำขวดทเี่ ตรยี มไว้มาลา้ งทำ� ความสะอาดดว้ ยน�ำ้ สะอาด น�ำฝาและขวดไปต้มในน�ำ้ เดือดอย่างน้อย 10 นาที 27

น�ำขวดมาต้งั ให้สะเดด็ น�ำ้ บนตะแกรงและวางบนพ้นื ผวิ ทีส่ ะอาดก่อนน�ำไปบรรจทุ ุเรยี นเทศเขม้ ขน้ การเตรยี มทเุ รียนเทศสด ผ่าทเุ รยี นเทศสด ท�ำการแยกเปลือก แกนกลางและเมล็ดออก ได้สว่ นทเ่ี ป็นเน้อื ทุเรยี นเทศ 28

เติมสว่ นผสมต่างๆ ตามสูตรท่ไี ดม้ กี ารพฒั นามาแลว้ ปรับพเี อชใหต้ ำ่� กว่า 4.5 ดว้ ยน�้ำส้มจด๊ี (วดั ดว้ ย pH meter) นำ� ทั้งหมดทผี่ สมรวมกันแล้วไปใหค้ วามร้อนท่ี 90 องศา นาน 5 นาท ี เพือ่ ยบั ยงั้ การท�ำงานของเอนไซมท์ ี่ท�ำใหเ้ กดิ สี นำ้� ตาล บรรจุตัวอย่างระหว่างท่รี ้อนและปดิ ฝา กอ่ นน�ำไปตม้ ในน้�ำเดือดนาน 10 นาที 4. ได้น้�ำทเุ รยี นเทศพร้อมดื่มผสมสม้ จ๊ดี ทม่ี ลี ักษณะปรากฏดา้ นสี กล่นิ รส เน้อื สมั ผสั และความชอบรวมมากทสี่ ุด 29

การจัดท�ำฐานข้อมูลสมนุ ไพรมะขามปอ้ มและทเุ รยี นเทศ เว็บไซตแ์ สดงขอ้ มูลและรายละเอียดต่าง ๆ ของพนั ธกุ รรมพืช พร้อมกับภาพประกอบสำ� หรับเป็นแนวทางในการ ศกึ ษาความเหมาะสมของพน้ื ท่ีส�ำหรบั การเพาะปลกู และขยายพันธพ์ุ ชื สมนุ ไพรเพ่ืออนุรักษม์ ะขามป้อมและทุเรยี นเทศ โดย อาจารยพ์ รประเสรฐิ ทพิ ยเ์ สวต คณะเทคโนโลยกี ารจดั การ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ยั บนั ทกึ ขอ้ มลู ของมะขามป้อม ข้อมูลทเุ รยี นเทศ และข้อมลู ของผลการด�ำเนินโครงการในกลุ่มจงั หวดั นครศรีธรรมราช ฐานข้อมูลมะขามป้อมและทุเรียนเทศในเขตพื้นท่ีจังหวัดนครศรีธรรมราช เพ่ือเป็นแหล่งเก็บรวบรวมพันธุพืช สมนุ ไพรมะขามป้อมและทุเรยี นเทศ ในการอนุรกั ษแ์ ละพัฒนาเพอื่ นำ� ไปใชป้ ระโยชนใ์ นการศึกษา คน้ ควา้ วจิ ยั และ เผยแพร่ เพื่อใหค้ นในชุมชนและชุมชนใกล้เคยี งไดเ้ กิดจติ ส�ำนึก รักและหวงแหน ตระหนักและให้ความสำ� คัญในการ ดแู ลจัดการพืชสมุนไพร ใชป้ ระโยชน์ในเชิงเศรษฐกจิ หรอื สุขภาพของชุมชนและสังคมส่วนรวมได้อย่างดี ซ่งึ กิจกรรม ทง้ั หลายเหลา่ นอี้ ยภู่ ายใตก้ รอบการเรยี นรทู้ รพั ยากร กรอบการใชป้ ระโยชน ์ และกรอบการสรา้ งจติ สำ� นกึ ของโครงการ อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริฯ และสนับสนุนการใช้ระบบสารสนเทศในการจัดเก็บข้อมูล และ ใหส้ ามารถเชอ่ื มโยงกบั ฐานขอ้ มูลโครงการ อพ.สธ. และหนว่ ยงานรว่ มสนองพระราชดำ� รฯิ อ่นื ต่อไปได้ ผ่านเวบ็ ไซต ์ http://mt.rmutsv.ac.th/rspg 30

เว็บไซต์สามารถค้นหาข้อมูลของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริฯ ในพ้ืนท่ีวิทยาเขต นครศรธี รรมราชทีด่ �ำเนนิ โครงการในปตี ่าง ๆ มาจัดเกบ็ รวบรวมไว้ ศกึ ษาจัดเก็บรวบรวมแหลง่ ข้อมลู และสำ� รวจแหลง่ พน้ื ท่เี พาะปลกู ของมะขามปอ้ มในจังหวัดนครศรธี รรมราช น�ำ ข้อมูลท่ีได้มาวิเคราะห์ เพ่ือออกแบบฐานข้อมูลสารสนเทศของพืชสมุนไพรมะขามป้อม พัฒนาระบบสารสนเทศฐาน ข้อมูลสมุนไพรมะขามป้อมในพื้นท่ีจังหวัดนครศรีธรรมราช น�ำระบบไปใช้จริงพร้อมกับท�ำการสาธิตให้กับหน่วยงานที่ เกยี่ วขอ้ งและผทู้ สี่ นใจ และสรปุ ผล แสดงขอ้ มลู ของพนั ธกุ รรมพชื ของวทิ ยาเขตนครศรธี รรมราชทด่ี ำ� เนนิ โครงการไดแ้ ก ่ มะขามป้อม และทุเรียนเทศ ฐานขอ้ มลู มะขามปอ้ มและทเุ รยี นเทศในเขตพน้ื ทจ่ี งั หวดั นครศรธี รรมราช ซงึ่ มแี นวคดิ ในการสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหส้ รา้ งความเขา้ ใจ และทำ� ใหต้ ระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของพนั ธกุ รรมพชื ตา่ ง ๆ ทมี่ อี ยใู่ นประเทศไทย กอ่ ใหเ้ กดิ กจิ กรรม การปกปกั พันธกุ รรมพืชในพนื้ ทป่ี ่าธรรมชาติ การส�ำรวจรวบรวมพนั ธกุ รรมพชื ท่มี แี นวโนม้ วา่ ใกลส้ ูญพนั ธ ุ์ อันเกดิ จาก การเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดล้อม การนำ� พนั ธุ์พืชทีร่ วบรวมเพาะปลกู รกั ษาในพ้ืนที่ที่เหมาะสมทางกายภาพ และ ปลอดภัยจากการรุกราน การอนรุ ักษ์ การศึกษาพนั ธกุ รรมพชื ในด้านต่าง ๆ เพื่อใหท้ ราบองค์ประกอบ คุณสมบตั ิ และ การใช้ประโยชนพ์ ชื พรรณ ตลอดจนการจดั ทำ� ระบบฐานขอ้ มลู พันธกุ รรมพชื ส�ำหรบั เผยแพร่ข้อมลู พันธกุ รรมพชื ตา่ ง ๆ ฐานข้อมูลมะขามป้อมและทุเรียนเทศในเขตพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ส่งเสริมให้ผู้ท่ีสนใจศึกษาข้อมูลพืช สมุนไพรและการดูแลรักษาสุขภาพ มีการศึกษาและเรียนรู้ด้วยตนเองตลอดชีวิต เป็นการยกย่องเชิดชูและเผยแพร่ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ ใหค้ งอย ู่ และเปน็ แนวทางในการศกึ ษาความเหมาะสมของพ้นื ท่ีสำ� หรบั การเพาะปลกู และขยายพันธุ์ พชื สมุนไพรเพอื่ อนุรกั ษ์มะขามปอ้ มในเขตพื้นทจี่ งั หวดั นครศรธี รรมราช 31

เอกสารอา้ งอิง กรมวิชาการเกษตร. 2564. ข้อมูลพน้ื ฐานนอ้ ยหน่าในจังหวดั นครราชสมี า. วารสารเพือ่ การพฒั นาชนบท. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก: http://it.doa.go.th, [เข้าถึงเม่ือ 2 กรกฎาคม 2564]. คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล. 2564. บทความเผยแพรค่ วามรู้สู่ประชาชน การใชส้ มนุ ไพร อายรุ เวท รกั ษามะเร็ง.[ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก: http://www.pharmacy.mahidol.ac.th, [เขา้ ถงึ เมอื่ 2 กรกฎาคม 2564]. ทุเรยี นเทศมฤี ทธฆ์ิ า่ มะเร็ง. 2564. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก: http://www.baanmaha.com/community, [เข้าถึงเม่อื 2 กรกฎาคม 2564]. ณ สงขลา, บุศบรรณ. 2525. สมนุ ไพรไทย ตอนที่ 1. กรุงเทพฯ: หจก. ฟนั นี่ พลั บลิชซิ่ง, หน้า 76. วกิ ิพิเดีย สารานุกรมเสร.ี 2564. ทเุ รยี นเทศ. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก: https://th.wikipedia.org/wiki, [เขา้ ถึงเมอื่ 2 กรกฎาคม 2564]. เรอื งรังษ,ี นิจศิร.ิ 2547. สมุนไพรไทย เล่ม 1 . กรงุ เทพฯ: บี เฮลทต์ ้,ี หนา้ 145. Edeoga, H.O. and Gomina, A., 2000. Nutribional values of some nonconventional leafy vegetables of Nigeria. J. Econ. Taxon. Bot. 24, pp. 7-13. George, A.P. and Nissen, R.J., 1987. Propagation of Annona species : a review. Scientia Horticulture. 33, pp. 75-85. Lenk, S. E., Bhat, D., Blankeney, W. and Dunn, W. A., 1992. Effect of streptozotocin-induced diabetes on rough endoplasmic reticulum and lysosomes of the rat liver. Am. J. Physiol., 263, pp. E865-862. Philippine Herbal Medicine, 2005. Guyabano nutritional value per 100 g of edible portion. [online]. Available at: http://www.philippineherbalmedicine.org/guyabano.htm, [accessed 8 September 2015]. Scoppola, A., Montecchi. F. R., Mezinger, G., and Lala, A., 2001. Urinary mevelonate excresion rate in type 2 diabetes: role of metabolic control. Artherosclerosis, 156, pp. 357-361. Sundarrao, K., Burrows, I., Kuduk, M. , Yi, Y.D., Chung, M. H., Suh, N. J. and Chang, I. M., 1993. Preliminary screening of antibacterial and antitumor activities of Papua New Guinean native medicinal plants. Int. J. Pharmacog., 31(1), pp. 3-6. Tattersfield, F., 1940. The insecticidal properties of certain species of Annona and an Indian strain of Mundulea sericea (Supli). Ann. Appl. Biol., 27, pp. 262-273. Vijayameena, C., Subhashini, G., Loganayagi, M. and Ramesh, B., 2013. Phytochemical screening and assessment of antibacterial antibacterial activity for the bioactive compounds in Annona muricata. Int. J. Curr .Microbiol. Ajpp. Sci., 2(1), pp. 1-8. 32

กรมวชิ าการเกษตร. 2564. ขอ้ มูลพ้ืนฐานน้อยหน่าในจงั หวัดนครราชสีมา. วารสารเพ่อื การพัฒนาชนบท. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก: http://it.doa.go.th, [เขา้ ถงึ เม่อื 2 กรกฎาคม 2564]. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล. 2564. บทความเผยแพรค่ วามรสู้ ูป่ ระชาชน การใช้สมนุ ไพร อายรุ เวท รักษามะเร็ง.[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http:ผ//wเู้ รwียw.บphเรarยี mงacy.mahidol.ac.th, [เขา้ ถงึ เมอื่ 2 กรกฎาคม 2564]. ทเุ รยี นนเทายศพมฤีรปทรธะ์ฆิ เา่สมระิฐเรท็งพิ . ย2์เ5ส6ว4ต. [ ออนไล น]์ . เ ข้าถงึ ไดจ้ าคกณ: ะhเtทtpค:โ/น/wโลwยีกwา.bรจaัดanกาmรaha.com/community, [ดเขรา้ .วถิกึงเจิ มื่อผิน2รับกร ก ฎาคม 2564]. สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา ณ สงขนลาาย,เบอุศกพบรจรนณ์ .แ2ก5่น2เม5.อื สง มุนไพรไทย ตอน ที่ 1. กรงุ สเทถพาบฯนั: วหจิ จยั กแ.ลฟะนั พนัฒี่ พนัลาบลชิ ซิ่ง, หน้า 76. วิกิพิเดนยี าสงสาารวาภนาุกณรมนิ เี ส รชี.่ว2ย5ม6ี 4 . ทเุ รียนเท ศ. [อ อนไลน]์ . สเขถ้าาถบงึ นัไดวจ้จิ าัยกแ:ลhะtพtpฒั sน:/า/th.wikipedia.org/wiki, [มเขหา้ าถวึงทิเมยื่อาล2ัยเกทรคกโฎนาโคลมยีร2า5ช6ม4ง]ค. งศรวี ิชัย เรอื งรังษี, นจิ ศริ .ิ 2547. สมุนไพรไทย เลม่ 1 . กรุงเทพฯ: บี เฮลทต์ ี้, หนา้ 145. Edeoga, H.O. and Gomina, A., 2000. Nutribional values of some nonconventional leafy vegetables of Nigeria. J. Econ. Taxon. Bot. 24, pp. 7-13. George, A.P. and Nissen, R.J., 1987. Propagation of Annona species : a review. Scientia Horticulture. 33, pp. 75-85. Lenk, S. E., Bhat, D., Blankeney, W. and Dunn, W. A., 1992. Effect of streptozotocin-induced diabetes on rough endoplasmic reticulum and lysosomes of the rat liver. Am. J. Physiol., 263, pp. E865-862. Philippine Herbal Medicine, 2005. Guyabano nutritional value per 100 g of edible portion. [online]. Available at: http://www.philippineherbalmedicine.org/guyabano.htm, [accessed 8 September 2015]. Scoppola, A., Montecchi. F. R., Mezinger, G., and Lala, A., 2001. Urinary mevelonate excresion rate in type 2 diabetes: role of metabolic control. Artherosclerosis, 156, pp. 357-361. Sundarrao, K., Burrows, I., Kuduk, M. , Yi, Y.D., Chung, M. H., Suh, N. J. and Chang, I. M., 1993. Preliminary screening of antibacterial and antitumor activities of Papua New Guinean native medicinal plants. Int. J. Pharmacog., 31(1), pp. 3-6. Tattersfield, F., 1940. The insecticidal properties of certain species of Annona and an Indian strain of Mundulea sericea (Supli). Ann. Appl. Biol., 27, pp. 262-273. Vijayameena, C., Subhashini, G., Loganayagi, M. and Ramesh, B., 2013. Phytochemical screening and assessment of antibacterial antibacterial activity for the bioactive compounds in Annona muricata. Int. J. Curr .Microbiol. Ajpp. Sci., 2(1), pp. 1-8.

ศูนยป ระสานงาน โครงการอนุรกั ษพนั ธกุ รรมพืช อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำร� สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ าร� ภาคใตฝงอันดามัน (อพ.สธ. - มทร.ศร�วช� ยั ) Web Site : http://rdi.rmutsv.ac.th สถาบนั วิจยั และพัฒนา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ยั 179 ม.3 ตำบลไมฝาด อำเภอสเิ กา จงั หวัดตรงั 92150


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook