อนาคตศกึ ษา | 186 ยกตัวอย่างเช่น ในการฝกึ ซ้อมการหนภี ยั สภาพแวดลอ้ มและเส้นทางหนภี ัยถือเป็นสว่ นหนึง่ ของแบบ จ�ำลอง ในขณะที่การซ้อมหนีภัยถือเป็นสถานการณ์จ�ำลอง ในการประเมินผลกระทบจากการด�ำเนิน มาตรการต่าง ๆ ภายใต้นโยบายการค้าเสรี จะใช้แบบจ�ำลองเศรษฐศาสตร์มหภาคมาค�ำนวณและ ประมาณผลกระทบทอี่ าจเกดิ ขนึ้ ภายใตเ้ งอื่ นไขสมมตติ า่ ง ๆ สถานการณจ์ �ำลองจงึ เปน็ การสรา้ งพลวตั ใหก้ บั แบบจ�ำลองพน้ื ฐานด้วยค่าพารามิเตอร์ที่สมมตขิ นึ้ ส่วนเกมเป็นกิจกรรมท่ีมีวัตถุประสงค์เฉพาะเจาะจงให้ผู้เล่นแต่ละคนแต่ละกลุ่มต่อสู้หรือแข่งขัน ซึ่งกันและกนั หรอื แข่งกับมาตรฐานหรือเปา้ หมายท่กี �ำหนดไวใ้ นแต่ละเกม เกมจึงมีคณุ ลกั ษณะคลา้ ย กบั การจ�ำลองสถานการณ์อยใู่ นหลายดา้ น และการจ�ำลองสถานการณม์ กั ใชเ้ ปน็ พน้ื ฐานของการสรา้ ง เกม ประเภทของเกมมีทั้งแบบท่ีทุกคนในเกมชนะได้ (win-win game) แบบท่ีบางคนหรือไม่กี่คน ชนะ (win-lose game) หรือแบบที่จ�ำนวนหรือปรมิ าณที่คนหรือกลมุ่ คนหนึ่งชนะเทา่ กับจ�ำนวนหรอื ปริมาณท่ีอกี คนหรืออีกกลุ่มหนึง่ ที่แพ้ (zero-sum game) หรอื แบบทีร่ ะดับการชนะและแพ้ไม่เทา่ กัน (non-zero-sum game) แต่ละเกมจะมีกฎกติกาที่ก�ำหนดเงื่อนไขและข้อจ�ำกัดเพ่ิมเติมจากเง่ือนไข ท่ีมาพรอ้ มกับการจ�ำลองสถานการณ์ทเ่ี ป็นพน้ื ฐานของเกมน้ันอย่แู ล้ว เช่น เกมท่ตี ้งั อยบู่ นการจ�ำลอง สถานการณห์ นงึ่ อาจมเี งอื่ นไขเพมิ่ ขน้ึ ในดา้ นเวลาทใ่ี ชใ้ นการเลน่ เกม หรอื จ�ำนวนผเู้ ลน่ ในแตล่ ะบทบาท ในด้า้ นอนาคตศาสตร์์ เกมที่�่สร้า้ งขึ้�นพยายามเลีียนแบบสถานการณ์ก์ ารวางแผนจริงิ หรือื เพื่่�อใช้้ ฝึกึ สอนทักั ษะเฉพาะ เกมจำำ�นวนมากเป็น็ สถานการณ์ท์ ี่เ�่ กี่ย�่ วข้อ้ งกับั พฤติกิ รรมมนุษุ ย์์ โดยเฉพาะในกลุ่�ม คนและองค์ก์ ร การใช้เ้ กมมักั ใช้ก้ ระบวนกรที่ม่� องเห็น็ ภาพรวมและสามารถช่ว่ ยชี้้�นำำ�และแนะนำำ�ผู้้�เล่น่ ใน เกมได้้ โดยผู้�เล่น่ อาจเล่น่ บทบาทสมมติิ (role play) ก็ไ็ ด้้ เกมจึงึ เป็น็ วิธิ ีีการหนึ่่ง� ที่ช่� ่ว่ ยให้เ้ ราสามารถเข้า้ ใจ ถึงึ กระบวนการใดกระบวนหนึ่่ง� ได้อ้ ย่า่ งดีขึ้�น โดยเฉพาะจากมุมุ มองของผู้�อื่น� การปฏิสิ ัมั พันั ธ์ท์ ี่เ�่ กิดิ ขึ้�นใน เกมยังั ทำำ�ให้เ้ กิดิ ความสนุกุ สนาน และช่ว่ ยสร้า้ งความร่ว่ มมือื และการทำ�ำ งานร่ว่ มกันั ของสมาชิกิ ในทีีมหรือื คนที่ม่�ีีพื้้�นฐานหรือื ความคิดิ เห็น็ ที่แ่� ตกต่า่ งกันั เกมจึงึ เป็น็ วิธิ ีีการที่ใ่� ช้ไ้ ด้ด้ ีีในขั้�นตอนแรก ๆ ของการวางแผน ในระดับั องค์ก์ รหรือื ในระดับั ชุมุ ชน และในการสร้า้ งความพร้อ้ มในการรับั มือื กับั ความท้า้ ทายในอนาคต อยา่ งไรกต็ าม เกมแตกตา่ งจากการจ�ำลองสถานการณใ์ นหลายดา้ น การจ�ำลองสถานการณส์ ามารถ สร้างผลลัพธ์ท่ีเป็นแนวคิดและกิจกรรมท่ีหลากหลายมากและอาจไม่ได้เป็นผลลัพธ์ท่ีคาดคิดไว้ก่อน แต่ส�ำหรับเกม แม้ว่าอาจสร้างทางเลือกของผลลัพธ์ได้มาก แต่การแข่งขันในเกมมักจ�ำกัดจ�ำนวนหรือ ขอบเขตของผลลัพธ์ ดว้ ยเง่ือนไขด้านเวลาหรอื ตามกติกาของเกมทต่ี ั้งไว้แตต่ น้ นอกจากน้ี การจ�ำลอง สถานการณ์มีความเหมาะสมมากกว่าเกมในการสร้างฉากทัศน์เพื่อการคาดการณ์อนาคต เนื่องจาก การต่อสู้แข่งขันกันระหว่างผู้เล่นในแต่ละเกมอาจมีผลต่อการพัฒนาและวิเคราะห์สถานการณ์ต่าง ๆ ในแต่ละฉากทัศนไ์ ด้ อยา่ งไรก็ตาม การใช้เกมอาจท�ำใหเ้ หน็ ขอ้ จ�ำกดั ของแบบจ�ำลองทีพ่ ัฒนาขึ้นมา และสามารถสร้าง ความตระหนักให้กับผู้เล่นได้เก่ียวกับข้อจ�ำกัดและทางเลือกที่มีส�ำหรับอนาคต ซึ่งช่วยให้การตัดสินใจ ในปจั จุบนั เปน็ ไปได้ดีมากขน้ึ เกมจึงมีประโยชน์มากเมือ่ ใช้ร่วมกบั วิธีการอื่นในการคาดการณ์และการ วางแผน ทง้ั วธิ กี ารวเิ คราะหร์ ะบบ วธิ กี ารเดลฟายและวธิ กี ารใชแ้ บบจ�ำลองการตดั สนิ ใจ เมอ่ื เปรยี บเทยี บ กบั การจ�ำลองสถานการณเ์ พอ่ื แสดงผลลพั ธท์ น่ี �ำไปตดั สนิ ใจตอ่ แลว้ การใชเ้ กมอาจใชไ้ ดด้ กี วา่ เนอ่ื งจาก สามารถสร้างการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และสร้างกระบวนการส่ือสารท่ีมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะการสื่อ� สารเกี่ย�่ วกับั เหตุกุ ารณ์ห์ รือื ปัจั จัยั ที่อ�่ าจเกิดิ ขึ้�นในอนาคต นอกจากนี้� เกมที่เ�่ ตรีียมการ
187 | อนาคตศึกษา วิเิ คราะห์์ไว้ก้ ่่อน สามารถใช้้ในการเก็บ็ วิิเคราะห์แ์ ละสังั เคราะห์์ข้้อมููลเกี่ย�่ วกัับพฤติกิ รรมหรืือการตอบ รัับของผู้้�มีีส่ว่ นได้ส้ ่ว่ นเสีียต่่อเงื่�อนไขในสถานการณ์ห์ รือื ฉากทััศน์ต์ ่า่ ง ๆ ได้้ ข้อ้ มูลู และผลการวิิเคราะห์์ สามารถนำ�ำ ไปพัฒั นาแบบจำำ�ลองและการจำำ�ลองสถานการณ์ท์ ี่ด่� ีีมากขึ้�น รวมถึงึ แนวคิดิ สำ�ำ หรับั การพัฒั นา แนวทางแก้้ไขหรืือนโยบายที่�่เหมาะสมต่อ่ ไปได้้ ผเู้ ลม่ เกมยงั รสู้ กึ ถงึ ความทา้ ทายในการแขง่ ขนั กนั ในเกมมากกวา่ การวเิ คราะหต์ วั แปรและตวั เลขใน การวเิ คราะห์ด้วยการจ�ำลองสถานการณ์ เกมจึงสามารถดึงเอาความรสู้ ึกของผ้เู ล่นออกมาไดม้ ากกว่า แบบจ�ำลองแห้ง ๆ ทเ่ี ป็นสมการหรอื ตารางวเิ คราะหบ์ นสเปรดชีท (spreadsheet) ดงั นัน้ ในกิจกรรม หรือโครงการท่ีเกี่ยวกับการวางแผนเพ่ืออนาคต การใช้เกมจึงสามารถสร้างความหลากหลายและมิติ ของความไมแ่ นน่ อนเกย่ี วกับอนาคตได้มากกวา่ การใช้แบบจ�ำลองธรรมดา อย่างไรก็ตาม ความแตกต่างระหว่างเกมกับการจ�ำลองสถานการณ์เริ่มลดน้อยลงในโลกเสมือน เชน่ โลกเสมือนออนไลน์ (online virtual world) ชอื่ เซเกินไลฟ์ (Second Life) ซึ่งพัฒนาโดยลนิ ดันแลป (Linden Lab) มาตัง้ แต่ พ.ศ. 2546 โดยในปัจจุบันมีผู้เล่นมากกวา่ 1 ลา้ นคน แมว้ ่าเซเกนิ ไลฟ์มีคณุ ลักษณะหลายอยา่ งคลา้ ยกับเกมออนไลนท์ ผ่ี เู้ ลน่ จ�ำนวนมากสวมบทบาทที่หลากหลาย แต่ผู้ พัฒนายืนยันว่า เซเกินไลฟ์ไม่ใช่เกม เน่อื งจากไม่ได้มีการสร้างความขัดแย้งหรือต่อสู้แข่งขันข้ึนมาไว้ ก่อน และไม่มีเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ก่อนเช่นกัน66 ผลลัพธ์ของปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นจึงไม่ได้ก�ำหนดไว้ ก่อนเหมอื นเกมท่วั ไป การจ�ำลองสถานการณแ์ ละเกมสามารถใชไ้ ดใ้ นการคาดการณแ์ ละศกึ ษาอนาคต การวางแผนและ ออกแบบ การเรยี นการสอนและฝกึ อบรม และการบนั เทงิ ในการคาดการณ์ นกั อนาคตศาสตรส์ ามารถ ใชก้ ารจ�ำลองสถานการณข์ องภาพอนาคตทเ่ี ปน็ ไปไดแ้ ละนา่ จะเกดิ ขน้ึ ได้ เพอ่ื ชว่ ยในการตดั สนิ ใจ ไมว่ า่ จะเปน็ หนว่ ยงานรฐั บาลทตี่ อ้ งก�ำหนดนโยบายสาธารณะ บริษัทเอกชนทต่ี อ้ งการตดั สนิ ใจยุทธศาสตร์ ในการลงทุน และองค์กรเอกชนท่ีไม่แสวงหาก�ำไรที่ต้องการก�ำหนดทิศทางการท�ำงานในอนาคต การจ�ำลองสถานการณใ์ นหวั ขอ้ หรอื ประเดน็ ทสี่ นใจ สามารถใชร้ ว่ มกบั วธิ กี ารคาดการณแ์ ละวธิ วี จิ ยั อนื่ เพอ่ื บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์เหลา่ น้ี วงการอนาคตศาสตร์ช่วงหลังได้พัฒนาวิธีการจ�ำลองสถานการณ์และเกมตามหลักการที่เรียกว่า “ปัญญารวมหมู่” (wisdom of crowds) หรอื ปญั ญาร่วม (collective wisdom) ตวั อยา่ งเชน่ วธิ ีการ ตลาดการพยากรณ์อนาคต (futures prediction market) ซ่ึงรวบรวมและวิเคราะห์การคาดการณ์ อนาคตโดยการรว่ มคดิ หรอื คราวดซ์ อสซงิ (crowdsourcing) การใชเ้ กมในการคาดการณส์ ามารถชว่ ย สรา้ งความรเู้ ชงิ ลกึ เพอื่ ก�ำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ในการด�ำเนนิ งานขององคก์ รหรือรัฐบาล ทัง้ ใน ดา้ นการสรา้ งและประมวลความคดิ ข้ึนใหม่ การส่ือสารความคดิ และการตระหนัก รบั ร้แู ละเข้าใจโดย ผ่านประสบการณ์ในการคาดการณ6์ 7 ขัน้ ตอนและวิธีการ การออกแบบเกมและการจำำ�ลองสถานการณ์์ต้้องใช้้ความเชี่�่ยวชาญและความรู้�ในหลายด้้านด้้วย กััน แต่่ละเกมและการจำ�ำ ลองสถานการณ์์มีีวิิธีีการออกแบบรายละเอีียดที่�่แตกต่่างกัันออกไปตาม วัตั ถุปุ ระสงค์แ์ ละเงื่อ� นไขที่ก�่ ำำ�หนดไว้้ กระบวนการออกแบบและพัฒั นาเกมและการจำำ�ลองสถานการณ์์
อนาคตศกึ ษา | 188 เพื่่อ� การคาดการณ์์อนาคต แบ่่งได้้เป็็นขั้�นตอนดัังนี้� • ก�ำหนดวตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย ขอบเขตของงาน ความตอ้ งการของลกู คา้ หรอื กลมุ่ เปา้ หมาย และทรพั ยากรทใ่ี ชใ้ นการออกแบบและพัฒนา • ก�ำหนดองค์ประกอบและรปู แบบของเกมและแบบจ�ำลองท่ีสามารถแสดงและส่ือถึงตวั แปร และความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตวั แปร และเง่อื นไขและข้อสมมติต่าง ๆ • ออกแบบองค์ประกอบและเงื่อนไขเหล่าน้ีตามคุณลักษณะและความต้องการของผู้เข้าร่วม ทงั้ ผเู้ ลน่ เกมหรอื ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี รวมทง้ั ผปู้ ระสานงานและกระบวนกร ในกรณที เ่ี ปน็ การ ประชมุ ปฏิบัติการที่จ�ำลองสถานการณ์ • คัดเลือกระบบและวิธีการสื่อสาร เพื่อชี้แจงแนวทาง วิธีการและกติกาในการเข้าร่วม กระบวนการ และเพ่ือรองรับการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เล่นเกมหรือผู้เข้าร่วมการจ�ำลอง สถานการณ์และกับผู้ประสานงานและกระบวนกร • สร้างช่องทางให้ผู้ออกแบบระบบสามารถตอบค�ำถามจากผู้เข้าร่วมกระบวนการได้ระหว่าง กิจกรรม โดยเฉพาะเกี่ยวกับประเด็นที่ไม่ชัดเจนหรือไม่ครอบคลุมอยู่ในคู่มืออธิบาย กระบวนการ • เลือกสถานท่ี อุปกรณ์และเคร่ืองมือท่ีใช้ในแสดงแบบจ�ำลองในเกมหรือการจ�ำลอง สถานการณ์ เม่ือออกแบบองค์ประกอบแล้ว จึงพัฒนาและสร้างแบบจ�ำลองและเกม ทบทวนและทดลองใช้ เกมหรือการจ�ำลองสถานการณ์ เพื่อปรับปรุงแก้ไขต่อไป จากนั้นจึงเป็นการใช้จริงกับลูกค้าหรือกลุ่ม เปา้ หมายจรงิ การใช้เกมและการจ�ำลองสถานการณ์ได้รับความนิยมมากข้ึนและใช้อย่างแพร่หลายในวงการ วิชาการแทบทุกศาสตร์และสาขา ในวงการธุรกิจ และในวงการนโยบายสาธารณะในทุกระดับ ตั้งแต่ ระดบั ทอ้ งถน่ิ ประเทศ และระหวา่ งประเทศ ปจั จยั หลายประการจะยง่ิ ท�ำใหก้ ารใชเ้ กมและการจ�ำลอง สถานการณม์ ีความส�ำคัญและมีการเปลย่ี นแปลงมากข้ึน ประการแรกคือปรากฏการณ์บิ๊กดาต้า (big data) ซงึ่ หมายความถงึ จ�ำนวนขอ้ มลู ทม่ี มี ากมายมหาศาลจากแหลง่ ขอ้ มลู ทห่ี ลากหลาย การพฒั นาดา้ น คอมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศ ยงิ่ ท�ำใหข้ ดี ความสามารถในการเกบ็ และประมวลผลจากขอ้ มลู เพิม่ ขนึ้ แบบ ทวคี ณู รวมถงึ การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู และผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู มชี อ่ งทางทม่ี ากขน้ึ และไดท้ กุ เวลา การพฒั นา เทคโนโลยีที่เกีย่ วข้องเช่น semantic web และ grid computing ไปจนถงึ คอมพิวเตอรเ์ ชงิ ควอนตัม (quantum computer) จะท�ำให้ขดี ความสามารถในการผลติ เผยแพร่ เข้าถงึ และประมวลผลข้อมูล ย่งิ เพิ่มขึน้ พฒั นาการเหลา่ นีม้ ีผลโดยตรงตอ่ การสร้างและใช้ประโยชน์จากสถานการณจ์ �ำลองและเกม นอกจากนี้แล้ว ความสามารถในการสร้างแบบจ�ำลองและการประมวลผลข้อมูลได้ครอบคลุมไป ถึงการวิเคราะห์รูปภาพและวิดีโอ การวิเคราะห์ภาพและเสียงโดยใช้ปัญญาประดิษฐ์ การพัฒนาด้าน เทคโนโลยีเกีย่ วกับสมั ผัส (haptic technology) จะเป็นประโยชนอ์ ยา่ งมากในการพัฒนาแบบจ�ำลอง และเกมในการพฒั นาเทคโนโลยีดา้ นตา่ ง ๆ รวมไปถงึ การคาดการณ์และศึกษาอนาคต
189 | อนาคตศกึ ษา ตลาดการพยากรณ์ วิธีการศึกษาและคาดการณ์อนาคตที่ถือว่าใหม่ส�ำหรับวงการอนาคตศาสตร์คือตลาดการพยากรณ์ (prediction markets) ซึ่งมชี อ่ื เรียกอืน่ อีก เช่น ตลาดข้อมูล (information markets) และตลาด สญั ญาซอื้ ขายเหตกุ ารณล์ ่วงหนา้ (event futures) แนวคิดเบ้ืองต้นของวิธีการน้ีคือคนท่ัวไปจะคาดเดาเกี่ยวกับเหตุการณ์หรือผลลัพธ์ในอนาคต ท่ีไม่แน่นอน แล้วท�ำสัญญาที่จ่ายผลตอบแทนตามการเกิดหรือไม่เกิดของเหตุการณ์หรือผลลัพธ์ ที่คาดเดาไว้ อัตราผลตอบแทน (yield) ของสัญญาจึงสะท้อนผลการพยากรณ์โดยรวมของตลาด (market aggregated forecasts) ของการเกิดเหตุการณข์ ึ้นจรงิ ในอนาคต ตลาดการพยากรณ์จึงเป็น เหมอื นตลาดอนพุ นั ธข์ องเหตกุ ารณ์ (event derivatives) ซงึ่ การท�ำสญั ญาซอื้ ขายเกย่ี วกบั เหตกุ ารณใ์ ด เหตกุ ารณห์ นึง่ จะชว่ ยคาดการณโ์ อกาสการเกดิ เหตกุ ารณใ์ นอนาคต รวมถงึ การรบั รขู้ องตลาดเกย่ี วกบั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเหตกุ ารณแ์ ละผลลพั ธต์ า่ ง ๆ เนอ่ื งจากตลาดการพยากรณเ์ ปน็ การรวบรวมความ คดิ และความเหน็ ของผคู้ นทหี่ ลากหลาย จงึ เชอื่ กนั วา่ เปน็ เครือ่ งมอื ทแ่ี สดงแนวโนม้ การเกดิ เหตกุ ารณท์ ่ี มีประสทิ ธภิ าพ ผลลพั ธจ์ ากตลาดการพยากรณส์ ามารถน�ำไปประกอบการตดั สนิ ใจเชงิ นโยบายในภาพ รวม รวมถึงการประกันความเสี่ยงของเหตุการณ์ท่ไี ม่พงึ ประสงค์ได้ เนอื่ งจากตลาดการพยากรณเ์ ปดิ กวา้ งใหค้ นทัว่ ไปสามารถเขา้ ลงทนุ ได้ บางคนอาจมขี อ้ มลู เฉพาะ ที่ไม่เป็นท่ีรู้กันโดยทั่วไป ซึ่งอาจมีผลต่อการเกิดเหตุการณ์และผลลัพธ์ในอนาคต และอาจลงทุนใน เหตุการณ์น้ันโดยไม่เปิดเผยเนื้อหาและแหล่งที่มาของข้อมูล ตลาดการพยากรณ์จึงเป็นวิธีการหน่งึ ใน การรวบรวมข้อมูลที่ปกตไิ ม่เปดิ เผยต่อสาธารณะ ซึ่งท�ำให้การพยากรณ์มีความแมน่ ย�ำมากขนึ้ ในบางกรณี ตลาดการพยากรณอ์ าจชว่ ยเรง่ กระบวนการตดั สนิ ใจในองคก์ รและดา้ นการเมอื ง เมอื่ แต่ละคนมีแรงจูงใจด้านการเงินในการคาดการณ์ผลลัพธ์ที่น่าจะเกิดขึ้นจริงจากฉันทามติของผู้มีส่วน ได้สว่ นเสยี ทั้งหมด เนอ่ื งจากการต่อสู้แย่งชงิ ผลประโยชนส์ ่วนตวั ในกระบวนการตัดสินใจ จะถูกปรบั สมดุลโดยความตอ้ งการสว่ นตัวในการคาดการณถ์ ึงทางออกที่ทา้ ยสุดจะได้รับฉันทามติ กล่าวคือ แรง จงู ใจทางการเงนิ จากการลงทนุ ในตลาดคาดการณจ์ ะโนม้ นา้ วใหแ้ ตล่ ะฝา่ ยคน้ หาและเลอื กทางออกทาง สายกลางท่ยี อมรบั ได้ แทนที่จะตอ้ งใชเ้ วลาและทรัพยากรจ�ำนวนมากในการเจรจาต่อรอง เหตุการณ์ที่ซื้อขายในตลาดการพยากรณ์มีตั้งแต่ผลการเลือกต้ัง การซ้ือขายบริษัท ราคาสินค้า โภคภณั ฑ์ หรอื เหตุการณใ์ ดก็ได้ทส่ี ามารถตรวจสอบผลลัพธ์ไดด้ ว้ ยขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์เมอ่ื เวลาผ่านไป ตวั อยา่ งหนงึ่ ของตลาดการพยากรณค์ อื ตลาดอเิ ลก็ ทรอนกิ สใ์ นมลรฐั ไอโอวา (Iowa Electronic Market)
อนาคตศึกษา | 190 เทรดเดอร์ซื้อขายสัญญาที่จะจ่าย 1 เหรียญถ้าผู้สมัครคนหนึง่ ชนะการเลือกต้ัง ดังนั้น ถ้าตลาดการ พยากรณม์ ีประสิทธิภาพจรงิ ราคาของสัญญาดังกลา่ วจะสะท้อนผลรวมของความเป็นไปได้ทีผ่ สู้ มัคร แต่ละคนจะได้รับเลือก68 ตลาดการพยากรณ์ที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดคือตลาดการพยากรณ์เลือกต้ังท่ี ด�ำเนนิ การโดยมหาวทิ ยาลยั ไอโอวา69แตม่ กี ารประยกุ ตใ์ ชแ้ นวคดิ นใี้ นการคาดการณใ์ นการด�ำเนนิ ธรุ กจิ ภาคเอกชน เชน่ รายไดจ้ ากภาพยนตร์ ยอดขายของบรษิ ทั การเสรจ็ สน้ิ โครงการ ดชั นเี ศรษฐกจิ ผลลพั ธ์ การวจิ ยั และพฒั นา ความส�ำเรจ็ ของสนิ คา้ ใหม่ ผลกระทบของกฎหมาย ฯลฯ นกั วจิ ยั ยงั เสนอใชว้ ธิ กี าร ประยกุ ตใ์ นตลาดการพยากรณด์ า้ นสาธารณสขุ เชน่ การคาดการณโ์ อกาสในการระบาดของโรคไขห้ วดั ใหญ7่ 0 วิธกี ารและกลไกของตลาดที่ใช้ในการคาดการณ์มหี ลากหลาย เช่นการประมูลแบบผ้ซู ือ้ และผู้ ขายเสนอราคาพรอ้ มกนั และตอ่ เนือ่ ง (continuous double auctions) การพนนั ทายผลการแขง่ ขนั (pari-mutuel pools) ตลาดพนันทีม่ คี นรับแทง (bookmaker-mediated betting markets) ฯลฯ สว่ นในภาครฐั ส�ำนกั โครงการวจิ ยั ขนั้ สงู ดา้ นกลาโหม (Defense Advanced Research Projects Agency - DARPA) พยายามใชต้ ลาดการพยากรณใ์ นการประเมินความเสย่ี งด้านภมู ศิ าสตร์การเมอื ง โครงการตลาดวเิ คราะหน์ โยบาย (Policy Analysis Market) ครอบคลุมประเดน็ ท่หี ลากหลาย อาทิ สภาวะเศรษฐกิจ เสถยี รภาพทางพลเรอื น การวางก�ำลังทางทหาร ดชั นคี วามขัดแยง้ ฯลฯ ตัวอย่าง ค�ำถามได้แก่ กองทัพทหารสหรัฐฯ จะถอนก�ำลังออกจากประเทศ ก ภายในสองปีหรือน้อยกว่าน้ัน อยา่ งไรกต็ าม71 โครงการนไ้ี ดร้ บั การวพิ ากษว์ จิ ารณว์ า่ เปน็ แนวคดิ ทไี่ มเ่ หมาะสม เพราะเหมอื นพยายาม สรา้ งตลาดฟวิ เจอรข์ องการกอ่ การรา้ ย (terrorism futures) โครงการจงึ ถกู ยกเลกิ ไปในทสี่ ดุ 72 อยา่ งไร ก็ตาม มเี ว็บไซตต์ ลาดการท�ำนายและพนันผลการแขง่ ขันกีฬา เช่น Tradesports.com ทม่ี ีการพนัน เหตุการณ์อ่นื ๆ นอกจากด้านกีฬาดว้ ยเช่นกัน ตลาดประเภทนสี้ ะทอ้ นถึงการทผ่ี ู้เข้าร่วมในตลาดซ้ือ ขายสญั ญากนั โดยทผี่ ลตอบแทนขนึ้ อยกู่ บั โอกาสการเกดิ เหตกุ ารณใ์ นอนาคตทไี่ มส่ ามารถรลู้ ว่ งหนา้ ได้ อีกตัวอย่างหนึ่งของการประยุกต์แนวคิดตลาดการพยากรณ์ในด้านนโยบายสาธารณะและ การเมืองคือ แบบจ�ำลองฟูตาร์คี (Futarchy) ท่ีเสนอโดยรอบิน แฮนสัน (Robin Hanson) เมื่อ พ.ศ.255673 ในแบบจ�ำลองน้ี ผมู้ อี �ำนาจในการตดั สนิ ใจไมไ่ ดล้ งคะแนนเลอื กนโยบาย แตเ่ ลอื กผลลพั ธท์ ่ี พงึ ประสงคแ์ ทน จากนน้ั จงึ สรา้ งตลาดการพยากรณเ์ พอ่ื ประเมนิ วา่ นโยบายไหนจะสรา้ งผลลพั ธท์ ม่ี าก ที่สดุ ตามเกณฑ์ท่ีต้งั ไวแ้ ต่แรก แลว้ จงึ เลอื กนโยบายนนั้ เพือ่ ด�ำเนินการจริงตอ่ ไป แมว้ า่ แนวคดิ ตลาดการพยากรณม์ มี าหลายทศวรรษแลว้ แตเ่ พงิ่ ไดร้ บั ความสนใจอยา่ งแพรห่ ลาย มากขน้ึ ในชว่ งหลงั เมอ่ื เกดิ นวตั กรรมหลายอยา่ งจากการพฒั นาเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน (blockchain) เชน่ ระบบการก�ำกับดูแลแบบกระจายศูนย์ (decentralized governance) และสญั ญาอจั ฉริยะ (smart contract) เทคโนโลยเี หลา่ นท้ี �ำใหเ้ กดิ ทางเลอื กของตลาดการพยากรณม์ ากขน้ึ จากทแ่ี ตเ่ ดมิ มเี ฉพาะ ตลาดแบบรวมศนู ย์ (centralized markets) ท่ีมอี งค์กรหรอื บรษิ ทั หน่ึงเป็นผบู้ รหิ ารจัดการ แต่ตอน น้ีมีตลาดแบบกระจายศูนย์ท่ีใช้แพลตฟอร์มท่ีใช้บล็อกเชนและสกุลเงินดิจิทัลในการด�ำเนินธุรกรรม ตวั อยา่ งตลาดการพยากรณแ์ บบกระจายศนู ยท์ เ่ี รมิ่ ไดร้ บั ความสนใจมากขนึ้ ไดแ้ ก่ แพลตฟอรม์ Gnosis (https://gnosis.pm) และ Augur (http://www.augur.net) แพลตฟอรม์ เหลา่ นย้ี งั คงอยใู่ นขน้ั ตอน ของการทดลองและทดสอบ แตม่ โี อกาสที่จะกลายเป็นเครอื่ งมือส�ำคัญในการคาดการณ์อนาคตได้
191 | อนาคตศกึ ษา วสิ ยั ทศั น์ การสร้างวิสัยทัศน์ (visions) เป็นองค์ประกอบส�ำคัญของการวางแผนท่ีรู้จักกันอยู่ท่ัวไป แทบทุก องค์กรในปัจจุบันก�ำหนดวิสัยทัศน์ขึ้นมาเพ่ือแสดงถึงภาพอนาคตที่พึงประสงค์ท่ีสุด โดยใช้ค�ำศัพท์ วลี หรือประโยคท่ีชัดเจน ทรงพลัง และแสดงถึงความมุ่งมั่นขององค์กรนั้น วิสัยทัศน์จึงเสมือนเป็น ภาพอนาคตทอี่ งค์กรใหค้ �ำมนั่ สญั ญากบั ตนเองและผ้อู น่ื ว่าจะพยายามสรา้ งข้ึนใหไ้ ด้ พร้อมกันน้ี วสิ ยั ทัศนย์ ังสอื่ ถงึ คุณคา่ ทอี่ งค์กรใหค้ วามส�ำคัญและตอ้ งการใหเ้ กดิ ขนึ้ ในอนาคต วสิ ยั ทัศนใ์ นฐานะเคร่อื ง มือด้านอนาคตศาสตร์จงึ ส่อื ถึงการสร้างและพัฒนาอนาคตทพี่ งึ ประสงค์ การสร้างวิสัยทัศน์ส�ำหรับการวางแผนมีมานานแล้ว แต่แนวคิดท่ีให้ความส�ำคัญกับวิสัยทัศน์ใน ฐานะพ้ืนฐานของอนาคตศาสตร์คือแนวคดิ ภาพลักษณ์ในอนาคตของเฟรด โพลัก (Fred Polak) ซ่ึง เสนอวา่ การสรา้ งวสิ ยั ทศั นเ์ ปน็ องคป์ ระกอบหลกั ของการคดิ เกยี่ วกบั อนาคต เนอ่ื งจากการตดั สนิ ใจทกุ อย่างเปน็ เรื่องเกี่ยวกับอนาคตท้งั หมด ดังนน้ั ภาพอนาคตจงึ เป็นพ้นื ฐานของทกุ พฤติกรรมทเ่ี กีย่ วขอ้ ง กบั การเลอื กและการตดั สนิ ใจในการวางแผน ภาพลกั ษณเ์ กย่ี วกบั ความเปน็ ไปไดใ้ นอนาคตของมนษุ ยจ์ งึ มกั เกดิ ขนึ้ กอ่ นและพฒั นาไปพรอ้ มกบั การเปลย่ี นแปลงทางสงั คมทส่ี �ำคญั ในประวตั ศิ าสตรโ์ ลก แนวคดิ ของโพลักส่งอิทธิพลต่อแนวคิดการศึกษาอนาคตในยุคต่อมา อาทิ งานของวิลลิส ฮาร์มาน (Willis Harman) จากมหาวทิ ยาลัยสแตนฟอรด์ และงานศกึ ษาของ SRI International และ Institute for Alternative Futures74วิสยั ทัศนเ์ ป็นภาพอนาคตทแ่ี ตล่ ะคนหรอื องค์กรตอ้ งการสร้างข้นึ วิสัยทัศน์ท่ี ดีจงึ ตอ้ งสอ่ื ถงึ คณุ คา่ และวตั ถปุ ระสงคท์ ลี่ มุ่ ลกึ พลงั ของวสิ ยั ทศั นส์ �ำหรบั การชนี้ �ำและพฒั นาอนาคตจงึ อยู่ที่ความสามารถในการกระตุ้นคนในองค์กรและประสานการท�ำงานของทุกคนเพ่ือบรรลุวิสัยทัศน์ นั้น พร้อมยกระดับความพยายามของแต่ละคนที่จะด�ำเนินกิจกรรมเพื่อบรรลุความปรารถนาและ ความทะเยอทะยานของแต่ละคน วิสัยทัศน์จึงเหมือนเป็นภาพใหญ่ที่สร้างกรอบและทิศทางส�ำหรับ กิจกรรมประจ�ำวัน เน่ืองจากวิสัยทัศน์มุ่งกระตุ้นความรู้สึกของคนในองค์กร จึงเสมือนเป็นอนาคต ส�ำหรบั ใจ (futures for the heart) ในขณะทีก่ ารวเิ คราะหแ์ นวโนม้ และฉากทศั นเ์ ป็นเหมอื นอนาคต ส�ำหรบั สมอง (futures for the head)75 วิสัยทศั นท์ ที่ รงพลงั จะต้องมอี งคป์ ระกอบดงั ต่อไปนี้ • มคี วามชอบธรรม โดยไมเ่ กดิ มาจากหรอื ก�ำหนดโดยความคดิ ของคนคนเดยี วหรอื คนกลมุ่ เดยี ว เนอ่ื งจากในการผลกั ดนั องคก์ รใหไ้ ปพรอ้ มกนั ได้ วสิ ยั ทศั นต์ อ้ งไดร้ บั การยอมรบั และ
อนาคตศึกษา | 192 มีความชอบธรรมจากสมาชิกในกลุ่ม โดยอาจเกดิ จากการมีส่วนร่วมในกระบวนการสร้าง วิสยั ทศั น์ หรอื อาจเกดิ จากความเคารพในผ้นู �ำหรือกล่มุ คนที่เสนอวสิ ัยทศั นน์ นั้ • มีส่วนร่วมหรือเป็นหุ้นส่วน วิสัยทัศน์จะเกิดประโยชน์ได้เม่ือสมาชิกในองค์กรมองเห็น ว่า ตนเองเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร และน�ำไปสู่การยอมรับและความพยายามร่วมกันใน การผลักดันองค์กรไปข้างหน้า • แสดงคณุ คา่ สงู สดุ สำ� หรบั สงั คม วสิ ยั ทศั นท์ ด่ี คี วรแสดงถงึ คณุ คา่ ทอี่ งคก์ รสามารถสรา้ งให้ กบั สงั คมสว่ นรวมได้ ซง่ึ กวา้ งและลมุ่ ลกึ กวา่ ความมงุ่ หมายที่จะสรา้ งก�ำไรหรอื แขง่ ขนั ไดก้ บั องค์กรอื่น แม้ว่าการสร้างรายได้และท�ำก�ำไรอาจเป็นวัตถุประสงค์ส�ำคัญของบางองค์กร แต่วสิ ัยทศั น์ทแ่ี สดงถงึ ประโยชนส์ �ำหรับสังคมจะท�ำให้สมาชิกในองค์กรเหน็ คุณค่าของสิ่ง ที่ตนเองท�ำมากเกนิ กว่าผลลัพธท์ ีเ่ ปน็ ตวั เงิน • ไปไกลกวา่ ความเปน็ จรงิ ในปจั จบุ นั วสิ ยั ทศั นท์ ด่ี ตี อ้ งสรา้ งความทา้ ทายใหก้ บั คนในองคก์ ร โดยมุ่งไปท่กี ารผลักดันและก้าวขา้ มขีดจ�ำกดั ท่มี อี ยใู่ นปจั จบุ ัน เปน็ การสร้างความท้าทาย ความตื่นเต้น และความรูส้ ึกว่าก�ำลงั ท�ำอะไรท่ีส�ำคญั อยู่ • สามารถบรรลไุ ดภ้ ายในชว่ งเวลาหนงึ่ วสิ ยั ทศั นต์ อ้ งสามารถบรรลไุ ดภ้ ายในชว่ งเวลาหนง่ึ เพื่อให้สมาชิกในองค์กรเห็นว่า สามารถท�ำให้บรรลุได้จริง แม้ว่าจะต้องประสบกับความ ยากล�ำบากและใชเ้ วลานานก็ตาม กระบวนการสรา้ งวสิ ยั ทศั นเ์ รมิ่ ต้ังแตก่ ารพนิ ิจพเิ คราะห์ การแก้ไขปรบั ปรุง และการสร้างพนั ธ สัญญาในการท�ำงาน ข้อความทแี่ สดงวสิ ัยทศั น์แบ่งออกเปน็ 3 ประเภท76 ไดแ้ ก่ 1. วิสัยทัศน์ท่ีแสดงถึงอัตลักษณ์ (identity) มักเป็นข้อความที่แสดงถึงอนาคตที่ปรารถนา และพึงประสงค์ ซึ่งท�ำให้เกิดความเป็นอันหนงึ่ อนั เดยี วกัน โดยแสดงถึงอัตลกั ษณร์ ่วมกัน ของคนในองค์กร วิสัยทศั นท์ ่ที รงพลังในแนวนี้มักระบุต้นแบบหรอื แม่พิมพ์ที่เปน็ ตวั อย่าง ของสงั คม ตวั อย่างเชน่ วสิ ัยทัศน์ของ องคก์ ร Military Health System ของสหรัฐฯ คอื “We are healers who walk with warriors in unity.” 2. วสิ ยั ทศั นท์ แ่ี สดงถงึ คณุ คา่ (value) แสดงหลกั การพน้ื ฐานทเี่ ปน็ แรงบนั ดาลใจในการท�ำงาน ขององคก์ ร เช่น วิสยั ทศั นข์ ององคก์ ารอนามัยโลก (World Health Organization) คอื “Health for all, with equity, solidarity, sustainability, and gender sensitivity.” 3. วสิ ยั ทศั นท์ แี่ สดงถงึ อนาคตทพี่ งึ ประสงค์ (preferable future) ระบอุ ยา่ งละเอยี ดถงึ ภาพ ในอนาคตที่ตอ้ งการใหเ้ กิดขน้ึ ในองค์กร การสร้างวิสยั ทัศนเ์ ปน็ กระบวนการทีต่ อ้ งมสี ่วนร่วมของผ้มู สี ่วนไดส้ ่วนเสยี ส�ำคญั ในองค์กร โดย ปรับไปตามเง่ือนไขและบริบทของแต่ละองค์กรตามความเหมาะสม ตามความคิดของปีเตอร์ เซงเก้ (Peter Senge) บรบิ ทของการก�ำหนดวิสัยทัศน์ในแต่ละองคก์ รมี 5 แบบด้วยกนั ได้แก7่ 7 1. บอก (telling) ผู้น�ำองค์กรก�ำหนดวิสัยทัศน์ และทกุ คนท�ำตาม 2. ขาย (selling) ผ้นู �ำองค์กรมวี สิ ัยทศั น์ แตต่ อ้ งโนม้ น้าวคนอน่ื ในองค์กรให้คลอ้ ยตาม
193 | อนาคตศกึ ษา 3. ทดสอบ (testing) ผนู้ �ำองคก์ รมคี วามคดิ บางอยา่ งที่จะเปน็ วสิ ยั ทศั นไ์ ด้ และตอ้ งการทดสอบ ปฏิกิริยาของคนในองคก์ รกอ่ นด�ำเนนิ การต่อไป 4. ปรึกษา (consulting) ผู้น�ำองค์กรประกอบร่างวิสัยทศั นข์ ้ึนมา แล้วเปิดโอกาสใหค้ นอืน่ ใน องค์กรให้ความเห็นและค�ำแนะน�ำ 5. สร้างร่วมกัน (co-creating) ผู้น�ำและคนอื่น ๆ ในองค์กรร่วมกันสร้างวิสัยทัศน์โดย กระบวนการมีส่วนร่วม ซึ่งตามความคิดของเซงเก้ เป็นบริบทท่ีพึงประสงค์ที่สุดในการ สรา้ งวิสยั ทศั นท์ ่ไี ดผ้ ล ขั้นตอนและวิธีการ กระบวนการสร้างวสิ ยั ทศั น์มอี ยหู่ ลายแนวทาง แต่โดยมากมขี ัน้ ตอนหลักดังน้ี ข้ันตอนแรกคอื การเลอื กผเู้ ขา้ รว่ มกระบวนการ ซึง่ มกั เนน้ ผูม้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสยี ส�ำคัญที่ไมไ่ ด้จ�ำกัด อยู่เพียงคนในองคก์ รเอง แต่อาจรวมถงึ คนอนื่ ทมี่ ีสว่ นรว่ มหรือไดร้ ับผลประโยชน์หรอื ผลกระทบจาก การท�ำงานขององคก์ รนน้ั หลกั การส�ำคญั ของวสิ ยั ทศั นค์ อื ตอ้ งไดร้ บั การยอมรบั จากคนในองคก์ ร การ เลือกผู้เขา้ รว่ มกระบวนการสร้างวิสยั ทศั น์จงึ ตอ้ งค�ำนึงถึงการเปน็ ตัวแทนและความหลากหลายของผู้ เข้าร่วม ซงึ่ ไม่ควรมีจ�ำนวนคนมากหรอื นอ้ ยเกินไป ขนั้ ตอนตอ่ ไปคอื การสรา้ งเวทแี ละบรรยากาศทดี่ สี �ำหรบั การแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ และคณุ คา่ ของแต่ละคน เพือ่ น�ำไปสู่คณุ ค่าร่วมกัน ทั้งนี้ อาจจัดเปน็ การประชมุ ปฏิบตั ิการนอกสถานท่เี ปน็ เวลา 1-2 วนั โดยด�ำเนนิ การตามขนั้ ตอนดงั ต่อไปน้ี • ท�ำความเข้าใจกับอนาคตท่ีอาจเกิดขึ้นได้ โดยค�ำนึงถึงแนวโน้ม ปัญหาและความท้าทาย สถานการณ์ ฉากทศั น์ และการเปลี่ยนแปลงขององค์กรในช่วงท่ผี ่านมา • สะท้อนความคิดของแต่ละคนและของกลุ่มเก่ียวกับคุณค่าและความส�ำเร็จขององค์กรใน ชว่ งที่ผ่านมา เพื่อกา้ วเข้าสูช่ ่วงเวลาของอนาคตท่คี าดหวงั ใหเ้ กิดข้นึ • พฒั นาวสิ ยั ทศั นร์ ว่ มกนั โดยอาจเรม่ิ จากการแลกเปลยี่ นวสิ ยั ทศั นข์ องผเู้ ขา้ รว่ มประชมุ แตล่ ะ คน แล้วพัฒนาข้อความท่สี ะทอ้ นถงึ คณุ ค่าและความมุง่ หวังของผ้เู ข้ารว่ มประชุม • ก�ำหนดเป้าหมายท่ีต้องการบรรลุให้ถึงภายในเวลาท่ีก�ำหนดไว้ เป้าหมายท่ีต้ังไว้ควรแสดง ถึงความกล้าที่จะบรรลุส่ิงที่ยิ่งใหญ่ได้ มีความชัดเจน มีความท้าทายและต่ืนเต้นพอที่จะ กระตนุ้ สมาชกิ ในองคก์ ร และสามารถวัดได้ • ก�ำหนดข้ันตอนในการท�ำงานเพ่ือใหบ้ รรลเุ ป้าหมายทไ่ี ดก้ �ำหนดไว้ การสร้างวิสัยทัศน์สามารถใช้ร่วมกับวิธีการศึกษาอนาคตแบบอื่นได้ เช่น ในงานอนาคตศึกษา ของ Institute for Alternative Futures ขั้นตอนแรกของการสร้างวิสัยทัศน์เร่มิ จากการประเมิน สถานการณแ์ วดลอ้ มและการสรา้ งฉากทศั น์ จากนน้ั จงึ สรา้ งวสิ ยั ทศั น์ เพอ่ื ระบถุ งึ ความปรารถนาและ อัตลักษณ์ขององคก์ ร แล้วจึงตามด้วยการวิเคราะห์และวางแผนยุทธศาสตร์ขององคก์ ร78
อนาคตศกึ ษา | 194 แผนทน่ี �ำ ทางดา้ น วทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี วธิ คี าดการณท์ น่ี ยิ มใชใ้ นการวางแผนนโยบายและยทุ ธศาสตรด์ า้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยใี นตา่ ง ประเทศ คอื การจดั ท�ำแผนทนี่ �ำทางดา้ นวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี (Science and Technology Road- mapping) ซึ่งแสดงเส้นทางการพัฒนาวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยีจากจุดหนึ่งในปัจจบุ นั ไปยังเป้าหมาย หนึ่งท่ีต้องการในอนาคต แผนที่น�ำทางเทคโนโลยีแสดงจุดเช่ือมและจุดตัดระหว่างขั้นตอนและการ คน้ พบทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหวา่ งเสน้ ทางนั้น จึงเป็นท้งั เคร่ืองมือในการคาดการณแ์ ละ การวางแผนไปพร้อมกัน ตน้ ตอของแนวคดิ แผนทน่ี �ำทางดา้ นวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยคี อื การศกึ ษาขน้ั ตอนในววิ ฒั นาการ ของเหตุการณ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีน�ำไปสู่การเกิดนวัตกรรมหรือระบบใหม่ งานวิจัย ส�ำคัญในด้านนี้คือโครงการวิจัยในทศวรรษท่ี 1960 สองโครงการ คือ โครงการ “Traces” ของ มลู นธิ ิวิทยาศาสตร์แห่งชาติ (National Science Foundation) ของสหรัฐฯ และโครงการ “Hind- sight” ของกระทรวงกลาโหมสหรฐั ฯ ซงึ่ มุง่ วเิ คราะห์ปฏิสมั พันธ์ระหว่างการค้นพบดา้ นวิทยาศาสตร์ และความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยี งานวจิ ยั ทงั้ สองไดว้ างพน้ื ฐานส�ำหรบั การวเิ คราะหว์ วิ ฒั นาการของ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในยคุ ตอ่ มา อีกแนวคิดหนึ่งท่ีมีอิทธิพลต่อการพัฒนาแผนท่ีน�ำทางด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีคือเครื่องมือ วางแผนทเี่ รยี กวา่ เทคนคิ การประเมนิ ผลและทบทวนแผนงาน (Program Evaluation and Review Technique - PERT) ซึง่ แสดงขน้ั ตอนในกระบวนการทม่ี งุ่ บรรลเุ ปา้ หมายทต่ี ้ังไว้ โดยแสดงทางเลือก ของเสน้ ทางในการด�ำเนนิ การ และวเิ คราะหเ์ สน้ ทางส�ำคญั ที่จะท�ำใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายได้ หรอื ทเี่ รยี กวา่ วธิ กี ารหาเสน้ ทางวกิ ฤติ (Critical Path Method) วธิ กี ารนเ้ี รมิ่ ใชอ้ ยา่ งแพรห่ ลายในทศวรรษที่ 1950 ในการวางแผนพัฒนาอาวุธ ตอ่ มาได้แพรห่ ลายในการวางแผนโครงการพฒั นาด้านอตุ สาหกรรมการ ผลติ และการคน้ คดิ ผลติ ภณั ฑใ์ หม่ แผนภาพแบบ PERT แสดงโครงขา่ ยของกจิ กรรมทต่ี อ้ งด�ำเนนิ การ เพ่อื บรรลเุ ปา้ หมายของโครงการ พร้อมแสดงจุดเช่อื ม (nodes) และขน้ั ตอนกอ่ นหลังของกจิ กรรม รวมถงึ ระดบั ความเชอ่ื มโยงและพง่ึ พาซง่ึ กนั และกนั การวเิ คราะหโ์ ครงขา่ ยนจ้ี ะชว่ ยระบเุ สน้ ทางวกิ ฤติ ที่มผี ลต่อเหตุการณท์ ่นี �ำไปสเู่ ปา้ หมายสดุ ท้ายได้ วิธีการแผนทนี่ �ำทางด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยไี ด้
195 | อนาคตศึกษา พฒั นาเรอ่ื ยมา และมกี ารพฒั นาเทคนคิ วธิ อี นื่ ทค่ี ลา้ ยกนั เชน่ การวเิ คราะหล์ �ำดบั เทคโนโลยี (Technol- ogy Sequence Analysis) ซึ่งเพม่ิ วิธีการวิเคราะหเ์ ชิงสถิตเิ ข้าไปในกระบวนการคาดการณ์ ตแวัผอนยภา่ างพแทผี่น2ท1ี่นำ�ทางเทคโนโลยรี ะดับพื้นฐาน ดัดแปลงจาก: Ulrich & Eppinger (2003) นักอนาคตศาสตร์ใช้เทคนคิ แผนทน่ี �ำทางประกอบในการสรา้ งฉากทศั น์ เพอื่ แสดงถงึ พฒั นาการ ของระบบทม่ี คี วามซบั ซอ้ นและมีปจั จยั ทมี่ ผี ลกระทบซง่ึ กนั และกนั แผนทน่ี �ำทางจงึ ท�ำหนา้ ทเ่ี ปน็ โครง รา่ งของฉากทศั น์ โดยอาจวิเคราะห์และระบรุ ะดบั ความเปน็ ไปไดเ้ ปน็ ตวั เลข เพอ่ื คาดการณข์ ้นั ตอนที่ ตอ้ งบรรลแุ ละเวลาทตี่ อ้ งใชต้ ามเสน้ ทางทนี่ �ำไปสเู่ ปา้ หมายทา้ ยสดุ นอกจากน้ี นกั วางแผนยงั สามารถใช้ แผนทนี่ �ำทางในการระบถุ งึ ยทุ ธศาสตรท์ ตี่ อ้ งใชใ้ นการเขา้ สเู่ ปา้ หมาย ส�ำหรบั การตดั สนิ ใจการลงทนุ ใน การวิจยั และพัฒนา (R&D) แผนทน่ี �ำทางชว่ ยในการวเิ คราะหแ์ ละเลือกเส้นทางในการวิจัยและพฒั นา ทมี่ ีประสทิ ธภิ าพทสี่ ดุ หรอื มตี น้ ทนุ ต�่ำสดุ กระบวนการสรา้ งแผนทนี่ �ำทางยงั ชว่ ยสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ ม แลกเปลี่ยนส่ือสารและบูรณาการระหว่างผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสยี ทสี่ �ำคัญ แผนท่ีน�ำทางด้านเทคโนโลยีคือแผนท่ีมุ่งบรรลุเป้าหมายในระยะสั้นและระยะยาว โดยใช้วิธี การหรือเครื่องมือด้านเทคโนโลยีเฉพาะเจาะจง แผนที่น�ำทางเทคโนโลยีสามารถใช้ได้กับการพัฒนา ผลติ ภณั ฑ์ กระบวนการหรอื เทคโนโลยใี หม่ โดยมีวตั ถปุ ระสงค์หลกั 3 ประการคือ (1) เพื่อสร้างข้อ ตกลงหรอื ฉนั ทามตเิ กยี่ วกบั ความจ�ำเปน็ หรอื ความตอ้ งการดา้ นใดดา้ นหนึง่ และเทคโนโลยที ี่จะมาตอบ
อนาคตศกึ ษา | 196 สนองความจ�ำเปน็ นน้ั (2) เพอ่ื สร้างกลไกในการพยากรณเ์ ทคโนโลยที ี่จะพฒั นาขนึ้ ในอนาคต และ (3) เพ่ือใช้เป็นกรอบการวางแผนและประสานกิจกรรมต่าง ๆ ในการพฒั นาเทคโนโลย7ี 9 แผนทน่ี �ำทางเทคโนโลยีแบง่ ออกเปน็ 3 ประเภทด้วยกนั 80 ได้แก่ 1. แผนทีน่ �ำทางเทคโนโลยีผลิตภณั ฑ์ (product technology roadmap) แสดงข้ันตอนการ พฒั นาเทคโนโลยีจากปัจจุบนั ไปจนถงึ ขัน้ ทส่ี ามารถผลิตภณั ฑ์ทีต่ อ้ งการ 2. แผนทนี่ �ำทางเทคโนโลยอี บุ ตั ใิ หม่ (emerging technology roadmap) แสดงววิ ฒั นาการ ของเทคโนโลยหี นง่ึ ทเี่ พง่ิ พฒั นาขนึ้ มา และทรพั ยากรทต่ี อ้ งใชใ้ นการกระตนุ้ หรอื ปรบั เปลยี่ น ทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีดงั กล่าว 3. แผนท่ีน�ำทางตามประเด็น (issue-oriented roadmap) แสดงถึงเทคโนโลยีที่เป็นองค์ ประกอบหนึ่งของกระบวนการหาวิธีแก้ไขปัญหาหรือวิวัฒนาการของปัญหาหรือความ ท้าทายชดุ หนง่ึ แผนท่ีน�ำทางเทคโนโลยีมีทั้งท่ีเป็นแบบผลัก (push) ซึ่งโดยทั่วไปมักใช้ในห้องทดลองในการ ออกแบบแผนงานการวิจัยและพัฒนา โดยแสดงขั้นตอนท่ีเป็นระบบในการผลักดันเทคโนโลยีจาก สภาพปจั จบุ นั ไปขา้ งหนา้ และแบบดงึ (pull) ซึ่งนักวางแผนพฒั นาผลิตภัณฑ์มักใชร้ ะบุเส้นทางท่ีสน้ั ท่ีสุดท่นี �ำไปสเู่ ป้าหมายของการพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ใหม่ แผนทน่ี �ำทางเปน็ แผนภาพทแ่ี สดงจดุ เชอื่ ม (nodes) ทเี่ ชอื่ มตอ่ กนั โดยที่จดุ เชอื่ มแสดงเหตกุ ารณ์ ส�ำคญั บนเสน้ ทางเขา้ หาเปา้ หมายทต่ี งั้ ไว้ โดยอาจเปน็ องคป์ ระกอบทว่ี ดั ไดใ้ นเชงิ ปรมิ าณ เชน่ จ�ำนวน สทิ ธิบตั รของแต่ละเทคโนโลยี หรอื ในเชิงคุณภาพ เชน่ คุณลกั ษณะของเทคโนโลยี ส่วนเส้นเชอ่ื มต่อ ระหวา่ งจุดแสดงถงึ ความเช่ือมโยงระหวา่ งเหตุการณ์ส�ำคญั ซึ่งอาจเป็นขอ้ มลู เชงิ ปริมาณ เช่น จ�ำนวน การอา้ งองิ ระหวา่ งกลมุ่ เทคโนโลยี หรอื ขอ้ มลู เชงิ คณุ ภาพ เชน่ รปู แบบความเชอ่ื มโยงระหวา่ งเทคโนโลยี แผนภาพดังกล่าวแสดงพัฒนาการของเทคโนโลยี ซึ่งเทคโนโลยีหนึ่งเป็นเง่ือนไขการพัฒนาของอีก เทคโนโลยีหน่ึง เส้นเชื่อมระหว่างแต่ละจุดในแผนภาพสามารถใช้แสดงระยะเวลาหรือความเป็นไป ไดท้ เ่ี ทคโนโลยหี นงึ่ จะน�ำไปสูอ่ ีกเทคโนโลยหี นึ่ง ข้ันตอนและวธิ ีการ ในภาพรวม กระบวนการสร้างแผนท่ีน�ำทางด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีประกอบด้วยข้ันตอนส�ำคัญ คอื 81 (1) ระบจุ ดุ เชอ่ื ม (nodes) (2) ก�ำหนดคณุ ลกั ษณะของจดุ เชอ่ื ม (3) เชอ่ื มจดุ ตา่ ง ๆ เขา้ ดว้ ยกนั และ (4) ก�ำหนดคณุ ลกั ษณะของเสน้ เชือ่ ม กจิ กรรมหลกั สว่ นหนึง่ ของวธิ กี ารนค้ี อื การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร ซงึ่ เชญิ ผเู้ ชย่ี วชาญมารว่ มกนั ก�ำหนดจดุ เชอ่ื มและเสน้ เชอ่ื มของระบบวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยที ต่ี อ้ งการ วิเคราะห์ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญดังกล่าวมีต้ังแต่นักวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี นักการตลาด ไปจนถึงนัก ลงทนุ และนกั นโยบายสาธารณะ โดยแตล่ ะคนมขี อ้ มลู และความรทู้ ส่ี ามารถชว่ ยสรา้ งแผนทนี่ �ำทางได้
197 | อนาคตศกึ ษา ในเชงิ กิจกรรม การสร้างแผนทน่ี �ำทางเทคโนโลยีสามารถแบ่งออกเปน็ 3 ขั้นตอนหลักคือ การเตรยี มการ เรม่ิ จากการก�ำหนดและบรรลเุ งือ่ นไขเบอ้ื งตน้ ของการท�ำแผนทน่ี �ำทาง เชน่ การ ยอมรบั วา่ องคก์ รหรอื หนว่ ยงานมีปญั หาหรอื ความทา้ ทายบางอยา่ งทตี่ อ้ งใชแ้ ผนทนี่ �ำทางในการจดั การ กบั ปญั หาหรอื ความทา้ ทายนน้ั การจดั เตรยี มทรพั ยากร และการสรา้ งการมสี ว่ นรว่ มของตวั แทนผมู้ สี ว่ น ได้ส่วนเสียและผู้ที่เก่ียวข้องในองค์กรท่ีมีความรู้และประสบการณ์ที่แตกต่างและหลากหลาย เพ่อื ให้ น�ำผลลัพธไ์ ปใชต้ อ่ ได้จรงิ จากน้ันจงึ เปน็ การก�ำหนดผ้นู �ำหรือเจ้าภาพในการด�ำเนินกระบวนการ แล้ว ตามดว้ ยการก�ำหนดขอบเขตของแผนทน่ี �ำทาง ทง้ั ขอบเขตในด้านเทคโนโลยแี ละขอบเขตในด้านการ มีส่วนรว่ มของผู้ที่เกีย่ วข้อง การพฒั นาแผนท่ีนำ� ทาง ขั้นตอนนแ้ี บ่งเปน็ 7 ข้ันตอนย่อย82 ได้แก่ 1. ก�ำหนดผลผลิตที่เป็นจุดมุ่งหมายของการท�ำแผนท่ีน�ำทาง หากไม่สามารถวิเคราะห์ หาความตอ้ งการร่วมกนั (common product needs) ได้ ใหใ้ ช้วธิ กี ารแบบฉากทัศน์ 2. ก�ำหนดความต้องการของระบบท่ีส�ำคัญ (critical system requirements) และ วตั ถปุ ระสงค์และเปา้ หมายทแ่ี สดงมติ ิตา่ ง ๆ ของเทคโนโลยที ต่ี ้องมี อาทิ ตน้ ทนุ ต�่ำ ความ เชอ่ื ถือสงู ความตอ้ งการนจ้ี ะใชเ้ ป็นกรอบในการจดั ท�ำแผนท่ีน�ำทาง 3. ก�ำหนดขอบเขตเทคโนโลยีส�ำคัญที่จะท�ำให้สามารถบรรลุเป้าหมายตามความต้องการที่ ก�ำหนดไว้ก่อนหน้านี้ 4. ก�ำหนดปัจจัยท่ีขับเคลื่อนเทคโนโลยีและเป้าหมาย โดยระบุว่าทางเลือกเทคโนโลยีแต่ละ ชดุ จะตอ้ งใช้ไดใ้ นระดับใดภายในเวลาเท่าใด 5. วิเคราะห์หาทางเลือกด้านเทคโนโลยีและล�ำดับเวลาของพัฒนาการ ตามเป้าหมายด้าน คณุ ลกั ษณะหรอื ขดี ความสามารถของเทคโนโลยภี ายในชว่ งเวลาและล�ำดบั เวลาทกี่ �ำหนดไว้ 6. แนะน�ำทางเลือกของเทคโนโลยีท่ีควรด�ำเนนิ การหรือพัฒนาตอ่ รวมถงึ จังหวะเวลาท่คี วร เปล่ียนเปน็ เทคโนโลยีอ่นื 7. จัดท�ำรายงานแผนที่น�ำทางเทคโนโลยี ซ่ึงประกอบด้วยการระบุและให้รายละเอียดเก่ียว กบั เทคโนโลยี ปัจจยั ส�ำคัญ ประเด็นทย่ี งั ไมไ่ ดว้ เิ คราะหแ์ ละจัดการ ขอ้ แนะน�ำดา้ นเทคนิค และในการน�ำผลการวิเคราะหไ์ ปใชต้ อ่ การตดิ ตามงานตอ่ เน่อื ง เมอ่ื ไดแ้ ผนทนี่ �ำทางแลว้ ตอ้ งเปดิ ใหผ้ ทู้ เี่ กย่ี วขอ้ งไดว้ พิ ากษ์ ใหค้ �ำแนะน�ำ และยนื ยนั วา่ โครงสรา้ ง และองคป์ ระกอบของแผนทนี่ �ำทางทไี่ ดท้ �ำขน้ึ มานน้ั ถกู ตอ้ งและเปน็ ทยี่ อมรบั ได้ โดยเฉพาะภายในกลมุ่ คนที่จะน�ำแผนท่ีน�ำทางนั้นไปใช้ตอ่ เม่อื ใชไ้ ปได้ระยะหนึง่ แลว้ ต้องมกี ารทบทวนและปรับใหท้ ันสมัย เปน็ ประจ�ำ เน่อื งจากความตอ้ งการและเทคโนโลยีมักเปล่ยี นไปตามกาลเวลา การวเิ คราะห์ล�ำดับเทคโนโลยี วธิ กี ารหนงึ่ ทพี่ ฒั นาตอ่ ยอดจากการจดั ท�ำแผนทน่ี �ำทางวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยคี อื วธิ กี ารวเิ คราะหล์ �ำดบั ทางเทคโนโลยี (Technology Sequence Analysis - TSA) ซ่งึ เรม่ิ ใชค้ ร้ังแรกในทศวรรษที่ 1980
อนาคตศกึ ษา | 198 วัตถุประสงค์หลักของวิธีการนี้คือ เพื่อคาดการณ์ความเป็นไปได้ที่ระบบเทคโนโลยีหนึ่งจะมีใช้ได้ใน อนาคต โดยค�ำนวณคา่ ความเปน็ ไปไดต้ ามระยะเวลาที่ประมาณวา่ จะตอ้ งใชใ้ นการพฒั นาแตล่ ะขน้ั ตอน ที่จ�ำเปน็ ในการพัฒนาเทคโนโลยีนัน้ แนวคดิ พื้นฐานของวธิ กี ารน้บี างส่วนมาจากการวเิ คราะหล์ �ำดบั ศักย์หรือตน้ ไม้ความเก่ียวขอ้ ง (Relevance Tree analysis) โดยเพิ่มขน้ั ตอนการประมาณระยะเวลา ท่ีใช้ในเชงิ ปรมิ าณ แมว้ ่าแนวคดิ วธิ กี าร และซอฟต์แวร์ทีไ่ ด้พัฒนาขนึ้ มาในช่วงแรกมงุ่ ใช้เพือ่ การคาด การณเ์ ทคโนโลยี แตก่ ม็ กี ารน�ำไปประยกุ ตใ์ ชก้ บั การวางแผนดา้ นอืน่ ได้ เชน่ การคาดการณผ์ ลลพั ธท์ าง สงั คมของนโยบายโดยค�ำนวณความเปน็ ไปไดข้ องระยะเวลาที่จะสามารถบรรลเุ ปา้ หมายระยะสนั้ และ ระยะกลางที่จะน�ำไปสเู่ ป้าหมายระยะยาว หรอื อาจประยกุ ตใ์ ช้วธิ กี ารดงั กล่าวเพ่ือวิเคราะห์นโยบาย ด้านเทคโนโลยี โดยเปรียบเทียบชุดเทคโนโลยีท่แี ข่งกันอยู่ และเลอื กเทคโนโลยที ี่เหมาะสมท่ีสดุ วิธี นยี้ ังพฒั นาอยู่เรือ่ ยมา ตวั อยา่ งเชน่ ระบบวเิ คราะห์ล�ำดับเทคโนโลยีของกลุ่ม The Futures Group ครอบคลุมเครือข่ายที่มขี ั้นตอนระยะกลาง (intermediate steps) ของเทคโนโลยตี า่ ง ๆ ซง่ึ จ�ำเป็น ตอ้ งใช้ซอฟตแ์ วร์และฐานขอ้ มลู ขนาดใหญใ่ นการวเิ คราะห์ ขอ้ สมมตพิ ืน้ ฐานของวธิ ีการ TSA คอื เช่อื วา่ อนาคตเป็นชดุ ของขน้ั ตอนหรอื การตดั สินใจท่เี ชื่อม ต่อกันอย่างเป็นเหตุและผล ซ่งึ น�ำไปสู่ผลลัพธ์ที่เป็นสถาวะหน่งึ ในอนาคต ช่วงระยะเวลาระหว่างจุด (node) หรือขั้นตอน (step) ระหว่างเส้นทางนั้นสามารถแสดงเป็นค่าความเป็นไปได้ของแต่ละจุด เมื่อรวมกันแล้วจึงสามารถวิเคราะห์ค่าความเป็นไปได้ของสภาวะอนาคตที่อาจเป็นเทคโนโลยีหรือ ระบบสงั คมทตี่ อ้ งการพฒั นา ส�ำหรบั ในการวเิ คราะหเ์ ทคโนโลยี แตล่ ะจดุ ในเครอื ขา่ ยคอื เทคโนโลยขี น้ั กลาง (intermediate technologies) การพัฒนาเทคโนโลยีขนั้ สดุ ท้ายจงึ สามารถคาดการณไ์ ดจ้ าก การวิเคราะห์องค์ประกอบทั้งหมดของระบบหรือโครงข่ายเทคโนโลยีทั้งหมด ประกอบกับช่วงเวลา ทใ่ี ชใ้ นการพฒั นาเทคโนโลยี ซงึ่ สามารถเก็บข้อมูลได้จากการสัมภาษณค์ วามคิดเหน็ ของผู้เช่ียวชาญ ในการวเิ คราะห์ TSA ของระบบหรือโครงขา่ ยเทคโนโลยีทัว่ ไปประกอบด้วยจดุ เชอื่ มตง้ั แต่ 600 ถึง 800 จดุ และมีเสน้ ทางเลือก (paths) ประมาณ 700 ถงึ 1,000 เส้น ดงั น้นั การประยกุ ตใ์ ชง้ านวิธี การนใี้ นการพฒั นาเทคโนโลยีจรงิ จงึ ตอ้ งใชซ้ อฟตแ์ วรท์ พ่ี ฒั นาขนึ้ มาเฉพาะเพอ่ื การน้ี และโดยมากใช้ วธิ กี ารเชงิ สถติ แิ บบมอนตคิ ารโ์ ลในการค�ำนวณความเปน็ ไปไดใ้ นแตล่ ะทางเลอื ก แมว้ า่ วธิ กี ารดงั กลา่ ว จะมคี วามซับซ้อน แตเ่ หมาะสมส�ำหรับการคาดการณแ์ ละพัฒนาระบบอนาคตทีข่ ึน้ อยู่กับเทคโนโลยี และสามารถใช้ได้ดีในการระบุเทคโนโลยีขั้นกลางที่ต้องพัฒนาขึ้นเพ่ือให้เป้าหมายสุดท้ายบรรลุได้ ตามวนั เวลาทก่ี �ำหนดไว้ นอกจากน้ี วิธีการดังกล่าวยังสามารถใช้ได้ในการประมาณต้นทุนของการพัฒนาเทคโนโลยีใน แตล่ ะเสน้ ทางเลอื ก รวมถึงการระบุเทคโนโลยเี ฉพาะท่ตี อ้ งก�ำหนดไวใ้ นแผนงานวิจัยและพฒั นา เพ่ือ ลดความเสี่ยงในการพัฒนาเทคโนโลยีในภาพรวม ซ่ึงท�ำให้สามารถลดต้นทุนให้ต�่ำที่สุดหรือใช้เวลา นอ้ ยที่สุด วธิ ีการน้ียังสามารถระบุถงึ ความไมแ่ น่นอนของกระบวนการและก�ำหนดเวลาของโครงการ พัฒนา ส�ำหรับในกรณีท่ีใช้วิธีการนี้ในการวิเคราะห์นโยบาย ผู้วิเคราะห์สามารถคาดประมาณระยะ เวลาและความเป็นไปไดท้ ่ตี ้องใช้ในการบรรลเุ ปา้ หมายในระยะสน้ั และระยะกลาง
199 | อนาคตศึกษา การวเิ คราะหแ์ บบจ�ำ ลอง ตามพฤตกิ รรมผกู้ ระท�ำ การสรา้ งแบบจ�ำลองตามพฤติกรรมผู้กระท�ำ (Agent-Based Modeling – ABM) เปน็ อีกวิธกี ารหนึ่ง ทไ่ี ดร้ บั ความนิยมและแพรห่ ลายมากขึ้นในวงการวจิ ยั ที่ต้องการคาดการณ์การเปลยี่ นแปลงในอนาคต แนวคิดพ้ืนฐานของ ABM คอื การสร้างระบบท่รี วมการตดั สนิ ใจอย่างอสิ ระ (autonomous decision making) ของผกู้ ระท�ำ (agents) ซง่ึ อาจเปน็ บคุ คลหรอื กลมุ่ บคุ คล ผกู้ ระท�ำแตล่ ะคนหรอื แตล่ ะกลมุ่ จะ ประเมินสถานการณ์ของตนเองและตัดสินใจภายใต้เงอื่ นไขเฉพาะของแต่ละคน เพือ่ ด�ำเนนิ พฤติกรรม ท่ีเหมาะสมส�ำหรับบทบาทในแต่ละระบบย่อยที่ผู้กระท�ำน้ันเป็นตัวแทนอยู่ ตัวอย่างของระบบย่อย น้ี ได้แก่ ระบบการผลิต ระบบการบริโภค ระบบการขาย ฯลฯ คณุ ลักษณะหนึง่ ของแบบจ�ำลองตาม พฤตกิ รรมผูก้ ระท�ำคอื การปฏสิ ัมพนั ธท์ ่ีเกิดซ�้ำกนั เป็นประจ�ำระหว่างผู้กระท�ำแตล่ ะคน83 นักวิเคราะห์ จะใช้คอมพิวเตอร์ในการค�ำนวณพลวัตของปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้กระท�ำที่ไม่สามารถวิเคราะห์ได้ด้วย วิธีการแบบจ�ำลองคณติ ศาสตรท์ ่วั ไป องคป์ ระกอบพ้ืนฐานของแบบจ�ำลองตาม ABM ประกอบดว้ ยระบบของผกู้ ระท�ำ (a system of agents) และความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผู้กระท�ำ การวเิ คราะห์ด้วยแบบจ�ำลองประเภทนจ้ี ะแสดงรปู แบบ พฤติกรรมที่ซับซ้อน และท�ำให้เราสามารถเข้าใจถึงพลวัตของระบบในโลกความเป็นจริงที่จ�ำลองมา แบบจ�ำลองยังสามารถเปิดโอกาสให้ผู้กระท�ำพัฒนาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่ได้ท�ำนายมาก่อน แบบจ�ำลอง ABM ทซี่ บั ซอ้ นใชโ้ ครงขา่ ยประสาทเทยี ม (neural networks) อลั กอรทิ มึ เชงิ ววิ ฒั นาการ (evolutionary algorithms) หรอื เทคนคิ การเรียนรู้อืน่ ๆ ท่ีสะท้อนวธิ ีการเรียนรู้และการปรบั ตัวท่ี เกดิ ข้นึ จริง แนวคดิ พนื้ ฐานของแบบจ�ำลอง ABM มมี าต้งั แตใ่ นทศวรรษท่ี 1940 และพัฒนาเรอ่ื ยมา แต่เริม่ มีการใช้ประยุกต์ในการวิเคราะห์และคาดการณ์อย่างแพร่หลายเม่อื ขีดความสามารถในการค�ำนวณ ของคอมพวิ เตอร์ได้เพมิ่ ข้นึ อยา่ งทวีคูณในชว่ ง 2-3 ทศวรรษท่ีผา่ นมา บทความวจิ ยั ในวารสารวิชาการ ที่ตีพิมพ์จ�ำนวนมากใช้วิธีการแบบจ�ำลอง ABM ในแทบทุกสาขาวิชาท่ีเก่ียวข้องกับการตัดสินใจและ พฤตกิ รรมของมนุษย์ ทง้ั ในดา้ นลงทนุ การเงิน ดา้ นระบาดวทิ ยา ดา้ นนิเวศวทิ ยาและวิทยาศาสตรส์ ่งิ แวดลอ้ ม และดา้ นการใช้ประโยชนท์ ีด่ ิน เปน็ ต้น หวั ข้อหลกั ทีน่ ักวจิ ยั ได้ประยุกต์ใชแ้ บบจ�ำลอง ABM แบง่ ออกเป็น 4 กลมุ่ ดว้ ยกนั 84 ได้แก่ 1. กระแส (flows) เชน่ การหนภี ัย การจราจร การจัดการการไหลเวียนของลกู ค้า 2. ตลาด (markets) เชน่ ตลาดห้นุ ระบบการตอบสนองลูกค้า (shopbots) และการจ�ำลอง สถานการณ์เชิงยุทธศาสตร์
อนาคตศกึ ษา | 200 3. องคก์ ร (organizations) เชน่ การวเิ คราะหค์ วามเสยี่ งในการด�ำเนนิ งาน และการออกแบบ องค์กร 4. การแพร่กระจาย (diffusion) เช่น การแพร่กระจายของนวัตกรรม และพลวัตของการ เปดิ รบั เทคโนโลยี แบบจ�ำลอง ABM มีเง่ือนไขเบื้องต้น คือ ระบบท่ีมีองค์ประกอบที่ไม่ซับซ้อนอาจมีรูปแบบ พฤติกรรมที่ซับซ้อนและไม่สามารถท�ำนายได้ ระบบไม่เชิงเส้น (non-linear systems) ท่ีมีองค์ ประกอบงา่ ย ๆ แตเ่ มือ่ อยู่ภายใต้เงื่อนไขบางอย่าง กลับมีรปู แบบพฤติกรรมท่ีซับซอ้ นและก�ำหนดได้ หรือดเี ทอรม์ ีนสิ ตกิ (deterministic) แต่ไมส่ ามารถคาดการณ์ได้ นอกจากนี้ ระบบท่ดี เู หมอื นวา่ ไม่มี แบบแผน (random) จรงิ แล้วอาจมีแบบแผน (order) อยกู่ ไ็ ด้ ในระบบเคออสและระบบที่จดั การตวั เอง (self-organizing systems) อาจมแี บบแผนบางประการอยู่ อีกเง่ือนไขทีส่ �ำคญั ของแบบจ�ำลอง ABM คือ ฐานข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมทางสังคมของมนุษย์ได้พัฒนาและขยายใหญ่ข้ึนมามาก จน สามารถวเิ คราะหก์ ารระบาดหรอื แพรก่ ระจายของสิ่งตา่ ง ๆ ดงั ทเี่ กดิ กับการระบาดของโรค ไมว่ ่าจะ เป็นความคิด ความเช่อื ความนิยม หรอื รปู แบบพฤตกิ รรมบางอยา่ ง การพัฒนาขีดความสามารถในการค�ำนวณของคอมพิวเตอร์และแบบจ�ำลอง ABM อาจเป็น ทางเลือกในการแสวงหาความรู้และค�ำตอบแทนวิธีการเชิงวิทยาศาสตร์แบบด้ังเดิมที่พฤติกรรมของ ระบบได้ถูกคาดการณ์ไว้แล้วโดยสมการที่ก�ำหนดไว้ก่อนหน้าน้ี แบบจ�ำลองคณิตศาสตร์แบบเดิมท่ี ใชใ้ นการคาดการณ์พฤตกิ รรมของผู้กระท�ำต่าง ๆ อาจไม่สามารถใชอ้ ธิบายและคาดการณพ์ ฤตกิ รรม ของผู้กระท�ำระบบในโลกแห่งความเป็นจริงได้ เน่ืองจากรูปแบบพฤติกรรมอาจเปล่ียนแปลงและมี ความซับซ้อนมากข้ึน เม่อื เง่ือนไขเปล่ียนไปเพียงนิดเดียว แม้กระท่ังในระบบท่ีดูเหมือนว่าจะมีองค์ ประกอบง่าย ๆ อยูก่ ต็ าม ขีดความสามารถในการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ท่ีเพิ่มขึ้นอย่างทวีคูณ ท�ำให้อาจไม่จ�ำเป็น ตอ้ งเขยี นสมการคณติ ศาสตรแ์ บบเดมิ ทพ่ี ยายามสรา้ งแบบจ�ำลองทเ่ี ปน็ ตวั แทนของปรากฏการณจ์ รงิ ที่ ตอ้ งการศกึ ษา แตส่ ามารถใชค้ อมพวิ เตอรใ์ นการจ�ำลองสถานการณ์ (computer simulations) แทน ข้นั ตอนและวิธีการ การสร้างแบบจ�ำลอง ABM เร่ิมจากการก�ำหนดประชากรของปัญหาหรือประเด็นท่ีต้องการวิเคราะ การสร้างแบบจ�ำลอง ABM เรมิ่ จากการก�ำหนดประชากรของปัญหาหรอื ประเดน็ ทต่ี ้องการวเิ คราะห์ ซึง่ ประกอบดว้ ยผู้กระท�ำกลุม่ ต่าง ๆ ท่ีมีพฤตกิ รรมทแี่ ตกต่างกนั จากนัน้ จงึ ก�ำหนดกฎหรอื กติกาของ พฤติกรรมของผู้กระท�ำแต่ละคนหรือแต่ละกลุ่ม รวมถึงกฎกติกาของการเล่น (play) หรือการแลก เปลีย่ นและปฏสิ มั พนั ธ์ซ่ึงกนั และกนั ระหวา่ งผูก้ ระท�ำแตล่ ะคน ในกรณีทีเ่ ป็นการวิเคราะห์ทีม่ นี ยั ดา้ น พ้ืนท่ี อาจมีกฎกตกิ าเกย่ี วกบั ต�ำแหน่งและการใชพ้ ืน้ ทนี่ ้นั เช่น ในกรณีของการใช้แบบจ�ำลอง ABM เพ่ือคาดการณ์การเปล่ียนแปลงการใช้ประโยชน์ท่ีดิน กฎกติกาด้านผังเมืองและการควบคุมการใช้ ประโยชน์ที่ดินสามารถน�ำมาเป็นส่วนหนึ่งของการวิเคราะห์ กฎกติกาท่ีก�ำหนดขึ้นในแบบจ�ำลอง อาจแปรผันและเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์ ท้ังเวลา ต�ำแหน่งที่ตั้งของผู้กระท�ำ ประวัติศาสตร์ ความเป็นมา อาชพี เศรษฐสถานะ หรอื ปัจจัยเง่อื นไขอืน่ ทีค่ ิดว่านา่ จะมีผลตอ่ พฤตกิ รรมของผ้กู ระท�ำ นอกจากนี้ ผู้กระท�ำแต่ละคนจะมกี ฎกติกาของพฤติกรรมทแี่ ตกตา่ งกัน ขนั้ ตอนตอ่ จากนน้ั เปน็ การวเิ คราะหก์ ารเลน่ หรอื ปฏสิ มั พนั ธซ์ ง่ึ กนั และกนั ของผกู้ ระท�ำแตล่ ะคน โดยเปิดให้มีการเล่นซ้�ำกันไปอย่างต่อเนื่องภายในรอบเวลาและระยะเวลาที่คิดว่าเหมาะสมส�ำหรับ
201 | อนาคตศกึ ษา การวิเคราะห์น้ัน ในระหว่างน้ัน จะมีการวิเคราะห์รูปแบบและการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมของผู้ กระท�ำ อาทิ ต�ำแหนง่ ทตี่ ง้ั บนพนื้ ที่ รปู แบบการใชพ้ นื้ ท่ี ฯลฯ ในชว่ งเวลาตา่ ง ๆ ผวู้ เิ คราะหส์ ามารถปรบั เปลย่ี นปจั จยั และเงอื่ นไขของการเลน่ รวมถงึ กฎหรอื เงอื่ นไขทกี่ �ำหนดพฤตกิ รรมของผกู้ ระท�ำไดเ้ ชน่ กนั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผกู้ ระท�ำสามารถแสดงออกเปน็ สมการในหลายรปู แบบ ซง่ึ สามารถสรา้ งตวั แปรได้ ตามที่ต้ังสมมติฐานไว้ จ�ำนวนรอบของการวิเคราะห์ในแบบจ�ำลองจะสะท้อนช่วงเวลาและระยะเวลา ท่ีต้องการวิเคราะห์รูปแบบพฤติกรรมและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น การปรับเปล่ียนกฎกติกาหรือเง่ือนไขของ ผูก้ ระท�ำและของการเล่นจะท�ำใหเ้ กิดความซบั ซอ้ นของรปู แบบพฤตกิ รรมมากขน้ึ จดุ มงุ่ หมายส�ำคญั ของการปรบั เปลย่ี นกฎกตกิ าในการเลน่ คอื เพอื่ สะทอ้ นปรากฏการณห์ รอื สภาพ ท่ีเกิดขึ้นให้ได้สมจริงมากที่สุด ตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการใช้แบบจ�ำลอง ABM ในการคาดการณ์การ เปลีย่ นแปลงในตลาดทด่ี นิ อาจตอ้ งแบง่ กลุ่มผู้ซื้อและผ้ขู ายให้ชัด เช่น ผู้ประกอบการอสงั หารมิ ทรัพย์ ขนาดใหญอ่ าจด�ำเนนิ กลยทุ ธเ์ ชงิ บกุ ในชว่ งเศรษฐกจิ ตกต�่ำดว้ ยการกวา้ นซอ้ื ทดี่ นิ เนอื่ งจากมเี งนิ ทนุ อยู่ มากหรือสายป่านยาว ในขณะท่ีผู้ประกอบการรายย่อยจ�ำเป็นต้องปล่อยขายท่ีดินที่อยู่ในสต็อกออก เพอื่ ใหธ้ รุ กจิ สามารถอยรู่ อด พฤตกิ รรมทแี่ ตกตา่ งกนั นค้ี วรสะทอ้ นอยใู่ นการก�ำหนดกลมุ่ ผกู้ ระท�ำและ กฎเงอื่ นไขพฤติกรรมของแต่ละกลมุ่ หนง่ึ ในจดุ แขง็ ของวธิ กี ารแบบจ�ำลองตามพฤตกิ รรมผกู้ ระท�ำนค้ี อื ความยดื หยนุ่ ของวธิ กี าร ซงึ่ เปดิ โอกาสใหน้ กั วจิ ยั สามารถวเิ คราะหค์ วามออ่ นไหว (sensitivity analysis) ไดง้ า่ ย อกี ทงั้ ยงั สามารถแสดง ผลการจ�ำลองสถานการณท์ เ่ี กิดขน้ึ ในช่วงเวลาตา่ ง ๆ ไดง้ ่ายและเหน็ ภาพชดั เจน การเขยี นโปรแกรม เพื่อสร้างแบบจ�ำลอง ABM ไม่ต้องการทักษะท่ีสูงมากเท่าใดนัก85 ความยืดหยุ่นส่วนหน่ึงของวิธีการ น้ีคือ นักวิเคราะห์สามารถเพ่มิ ลดจ�ำนวนของผู้กระท�ำในแบบจ�ำลองได้ไม่ยาก และสามารถปรับองค์ ประกอบของผู้กระท�ำให้ซับซ้อนได้ตามเงื่อนไขท่ีหลากหลาย ทั้งพฤติกรรมของผู้กระท�ำ ระดับความ มีเหตุผลของแต่ละคน ขีดความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนา รวมถึงกฎเงื่อนไขของปฏิสัมพันธ์ ระหว่างผกู้ ระท�ำ เป็นต้น นอกจากน้ี นักวิเคราะห์ยังสามารถปรับระดับของการวิเคราะห์และการรวมหรือแยกกลุ่มของผู้ กระท�ำใหล้ ะเอยี ดหรือหยาบไดต้ ามประเดน็ ท่ีต้องการวิเคราะหแ์ ละข้อจ�ำกดั ในการวจิ ยั ดังตัวอย่างท่ี เสนอไปกอ่ นหนา้ น้ี ผปู้ ระกอบการอสงั หารมิ ทรัพยอ์ าจถอื เป็นกลุ่มผู้กระท�ำหนึ่ง แต่ในบางกรณี อาจ ตอ้ งแบง่ กลุ่มผปู้ ระกอบการเปน็ กลมุ่ ย่อย ๆ เพื่อสะทอ้ นประเด็นวเิ คราะห์ ในบางกรณี นักวจิ ยั อาจไม่ สามารถก�ำหนดความละเอียดของการแบ่งกลุ่มได้ก่อนล่วงหน้า จึงอาจสร้างแบบจ�ำลอง ABM ด้วย การแบ่งกลุ่มผู้กระท�ำแบบหยาบ ไปก่อน แล้วจึงค่อยปรับรายละเอียดให้สะท้อนความเป็นจริงมาก ข้ึนได้ในภายหลงั ข้อวิพากษ์หน่ึงที่มีต่อแบบจ�ำลอง ABM คือ กฎกติกาที่ผู้วิจัยได้ตั้งขึ้นมาและคาดว่าเป็นปัจจัย ท่ีก�ำหนดพฤติกรรมของผู้กระท�ำน้ัน สะท้อนความเป็นจริงมากน้อยขนาดไหนและได้ดีกว่าวิธีการ วเิ คราะหแ์ บบดง้ั เดมิ ทต่ี งั้ สมมตฐิ านและสรา้ งสมการทสี่ ะทอ้ นพฤตกิ รรมของผกู้ ระท�ำในแตล่ ะกลมุ่ จรงิ หรือไม่ อย่างไรกต็ าม แบบจ�ำลอง ABM ได้รบั การแก้ไขและพฒั นาใหต้ อบโจทย์ท่ีหลากหลายมากข้ึน โดยผสมผสานกบั วธิ กี ารวเิ คราะหแ์ บบอืน่ เพอื่ ลดขอ้ จ�ำกดั ของวธิ กี ารน้ี แบบจ�ำลอง ABM จงึ ถอื เปน็ วธิ ี การและเครอ่ื งมอื ส�ำคญั ในการคาดการณ์ทน่ี า่ จะได้รับความนิยมและแพร่หลายมากขนึ้ อกี ในอนาคต
อนาคตศกึ ษา | 202 การวเิ คราะหช์ น้ั สาเหตุ วิธีการศึกษาอนาคตที่พัฒนาขึ้นในช่วง 3–4 ทศวรรษท่ีผ่านมาให้ความส�ำคัญกับการตีความเชิง วิพากษ์มากกว่าวิธีการคาดการณ์เชิงระบบและการพยากรณ์ภาพอนาคตแบบด้ังเดิม หน่งึ ในน้ัน คอื วธิ กี ารวเิ คราะหช์ นั้ สาเหตุ (Causal Layered Analysis - CLA) ซงึ่ พฒั นาโดยโซเฮล อนิ ายาตอลลา (Sohail Inayatullah) วิธีการนี้พยายามบูรณาการวิธีการเรียนรู้ในหลายด้านเข้าด้วยกัน ท้ังในเชิง ประจักษ์ เชิงการตีความ เชิงวิพากษ์ และเชิงปฏิบัติการ วัตถุประสงค์หลักของวิธีการวิเคราะห์ ชั้นสาเหตุจึงไม่ได้อยู่ที่การพยากรณ์อนาคตเป็นหลัก แต่อยู่ที่การสร้างพ้ืนที่เปิดกว้างส�ำหรับการ เปลี่ยนแปลงและพัฒนาทางเลือกของอนาคต รวมท้ังการพัฒนานโยบายระยะยาวที่เปิดกว้างและ ครอบคลุมกลมุ่ คนทีห่ ลากหลายมากขึน้ การวิเคราะห์ชั้นสาเหตุแบ่งระดับการวิเคราะห์ออกเป็น 4 ช้ันด้วยกัน คือ ระดับเหตุการณ์ (litany) ระดบั สาเหตเุ ชงิ ระบบ (symtem causes) ระดบั โลกทศั นแ์ ละวาทกรรม (discourse/world- view) และระดบั ต�ำนานและอปุ ลักษณ์ (myth and metaphor) วตั ถปุ ระสงค์หนึง่ ของการวเิ คราะห์ อนาคตดว้ ยวธิ กี ารนคี้ ือการเช่อื มโยงเหตุการณ์และสาเหตุตา่ ง ๆ ตามระดบั ชัน้ ของสาเหตทุ ง้ั 4 ระดับ สาเหตชุ ้นั ที่ 1 คอื ระดับเหตุการณ์ซ้�ำซาก ประกอบด้วยเหตุการณ์ ปรากฏการณ์ แนวโน้มและ ปัญหาที่เกิดขึ้นทั่วไปเป็นประจ�ำซ้�ำซาก แต่อาจดูไม่ต่อเนื่องและเกี่ยวข้องกัน การรับรู้ปัญหาซ้�ำซาก เหล่าน้ีอาจท�ำให้เกิดท่าทีเกี่ยวกับอนาคตในเชิงลบ เช่น ปัญหารถติดในกรุงเทพมหานคร อาจท�ำให้ เกดิ ความรสู้ ึกวา่ ชว่ ยอะไรไมไ่ ด้ (helplessness) ความไม่แยแส (apathy) หรอื ผลักภาระไปให้คนอื่น (projected action) การศกึ ษาอนาคตในระดบั นมี้ งุ่ วเิ คราะหป์ ระเดน็ ปญั หาทส่ี ามารถมองเหน็ จบั ตอ้ ง ได้ และไมต่ อ้ งใชว้ ธิ กี ารหรอื ทกั ษะในการวเิ คราะหเ์ ชงิ ลกึ อะไรมาก และไมใ่ หค้ วามสนใจกบั สมมตฐิ าน และเง่อื นไขเชิงลึกของปรากฏการณ์มากนกั สาเหตชุ ั้นท่ี 2 เปน็ สาเหตเุ ชงิ ระบบ ซงึ่ ครอบคลุมปัจจัยขบั เคลอื่ นทท่ี �ำให้เกดิ การเปล่ียนแปลง ของระบบเศรษฐกจิ วฒั นธรรม การเมืองและประวตั ศิ าสตร์ งานส่วนนเี้ น้นการวิเคราะหแ์ ละตคี วาม ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยค�ำอธบิ ายในเชิงวิชาการ ตวั อย่างสาเหตุที่มักวิเคราะหใ์ นระดบั นี้ ไดแ้ ก่ พลวตั ด้านประชากร การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี นโยบายทางเศรษฐกจิ สงั คม บทบาทของรัฐและกล่มุ
203 | อนาคตศึกษา ผลประโยชน์ เป็นต้น กรอบการวิเคราะห์ STEEP ที่ใช้ในการกวาดสัญญาณเพ่ือการคาดการณ์เชิง ยทุ ธศาสตรม์ กั เปน็ การวิเคราะห์ในระดบั สาเหตเุ ชงิ ระบบนี้ สาเหตขุ น้ั ท่ี 3 คอื วาทกรรมและโลกทศั น์ ทรี่ องรบั สนบั สนนุ และสรา้ งความชอบธรรมใหก้ บั ปจั จยั ดา้ นสงั คมและปรากฏการณท์ เ่ี กดิ ขนึ้ เชน่ ถา้ ปรากฏการณท์ น่ี กั อนาคตศาสตรส์ นใจคอื เรอื่ งประชากรลน้ โลก (overpopulation) และสาเหตใุ นระดบั สงั คมและเศรษฐกจิ คอื การตง้ั ใจมลี กู มาก สาเหตใุ นระดบั วาทกรรมและโลกทัศน์อาจเก่ียวข้องกับมุมมองเกี่ยวกับบทบาทของผู้หญิงในสังคม ความเช่อื และค่า นิยมเกยี่ วกบั การวางแผนครอบครัวและการคุมก�ำเนดิ รวมไปถงึ อ�ำนาจการตอ่ รองของผหู้ ญงิ ในสงั คม เปา้ หมายส�ำคญั ของการวเิ คราะหใ์ นสว่ นนคี้ อื การคน้ หาโครงสรา้ งเชงิ ลกึ ดา้ นสงั คม วฒั นธรรมหรอื แมแ้ ต่ ด้านภาษาท่ีก�ำหนดกรอบของปจั จัยทางสังคมที่ต้องการวิเคราะห์ การค้นหาข้อสมมติและเง่อื นไขเชิง โครงสรา้ งของปญั หาตา่ ง ๆ จะท�ำใหส้ ามารถสรา้ งมมุ มองและกรอบแนวคดิ ใหมใ่ นการวเิ คราะหป์ ญั หา เดิม ๆ ซึง่ จะท�ำให้สามารถจนิ ตนาการและสรา้ งทางเลือกใหมใ่ นการแกไ้ ขปญั หาได้ การวิเคราะห์โลกทัศน์และวาทกรรมในด้านศาสนา เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม จะแสดง กรอบความคิดเก่ียวกับปัญหาต่าง ๆ ได้ชัดเจนข้ึน จากตัวอย่างข้างต้นเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงด้าน ประชากร ทางเลือกของฉากทัศนห์ นึ่งอาจเป็นภาพอนาคตของการเพิม่ จ�ำนวนประชากรตามโลกทัศน์ ดา้ นศาสนาทสี่ ง่ เสรมิ การเพม่ิ ประชากรและไมย่ อมรบั การคมุ ก�ำเนดิ หรอื ภาพอนาคตตามโลกทศั นเ์ ชงิ วฒั นธรรมแนวเสรีนิยม ซ่ึงเชื่อในสิทธสิ ตรใี นการตัดสินใจเก่ยี วกบั รา่ งกายตนเอง ในดา้ นการตง้ั ครรภ์ และการท�ำแทง้ รวมถงึ การเลย้ี งดบู ตุ รและบทบาทของผชู้ ายในเรอื่ งน้ี การวเิ คราะหโ์ ลกทศั นแ์ ละวาท กรรมจงึ เปน็ การวเิ คราะหเ์ หตกุ ารณแ์ ละปญั หาทเ่ี กดิ ขนึ้ ซำ้� ซากดว้ ยแนวคดิ เชงิ วพิ ากษท์ เ่ี ปดิ มมุ มองของ การศกึ ษาอนาคตให้กว้างยง่ิ ข้นึ สาเหตชุ นั้ ท่ี 4 คือต�ำนาน (myth) และอุปลกั ษณ์ (metaphor) ซึง่ เปน็ สาเหตุเบ้ืองลึกท่สี ุด โดย เรอื่ งเลา่ ทแ่ี สดงการรบั รทู้ อ่ี ยใู่ นจติ ใตส้ �ำนกึ และความรสู้ กึ รว่ มกนั ของคนในสงั คมเกย่ี วกบั ปรากฏการณ์ หรอื ปญั หา เช่น การมองประชากรทไ่ี ม่ใช่จากมมุ มองของสถติ ิ แต่มองประชากรเป็นชุมชน เป็นสว่ น หนึ่งของเพื่อนร่วมโลก ฯลฯ สาเหตุระดับน้ีเป็นพ้ืนฐานเบื้องลึกของโลกทัศน์ท่ีต้องการวิเคราะห์ ค�ำ ศพั ทท์ ใี่ ชส้ อ่ื ถงึ สาเหตรุ ะดบั นม้ี กั ฟงั ดกู วา้ ง ๆ ไมม่ กี รอบชดั เจน และมกั สอื่ ถงึ ภาพลกั ษณอ์ ะไรบางอยา่ ง ทส่ี ะทอ้ นอารมณม์ ากกวา่ ตรรกะ การวเิ คราะหส์ าเหตใุ นระดบั นล้ี งไปลกึ ถงึ อตั ลกั ษณแ์ ละความเปน็ ตวั ตน (identity) ในระดับอารยธรรม และในระดบั ขอ้ สมมตเิ ก่ยี วกับมมุ มองเกี่ยวกับอนาคตท่ีอาจไมเ่ ปน็ ไปตามหลกั เหตผุ ล อาทิ ขอ้ สมมตแิ ละมโนทศั นเ์ กย่ี วกบั เวลา เกยี่ วกบั หลกั เหตผุ ล และเกย่ี วกบั การเปน็ ผกู้ ระท�ำการ (agency) ของมนษุ ย์ อาทิ ผู้คนในแต่ละสังคมวัฒนธรรมมีมโนทัศน์เก่ียวกับเวลาท่ีแตก ต่างกัน นักวิทยาศาสตร์อาจมองอนาคตเปน็ เรอ่ื งของความเปน็ ไปไดท้ างสถติ ิ ในขณะทคี่ วามเชอ่ื ในบาง ศาสนาทอ่ี นาคตขน้ึ อยกู่ บั การก�ำหนดของพระเจ้า ในบางสงั คม เช่น สังคมอเมรกิ ัน เชอื่ วา่ อนาคตไมม่ ี ขดี จ�ำกดั และเตม็ ไดด้ ว้ ยทางเลอื กและโอกาส แตใ่ นบางสงั คม เชน่ สงั คมจีนอาจเชอ่ื ตามหลกั ขงจอื๊ ทว่ี า่ ทางเลอื กและโอกาสไมไ่ ดเ้ ปน็ ไปตามการตดั สนิ ใจของปจั เจกบคุ คล แตข่ นึ้ อยกู่ บั เงอ่ื นไขและบรบิ ทของ ครอบครัวและบรรพบุรษุ 86
อนาคตศึกษา | 204 วแิธผกี นาภราวพเิ คทรี่ า2ะ2ห์ช้ันสาเหตุ ดดั แปลงจาก: Inayatullah (2009) ความเข้าใจในสาเหตุของประเด็นปัญหาท�ำให้สามารถสร้างฉากทัศน์ในแต่ละระดับและสามารถ ระบุนโยบายหรือแนวทางการแก้ไขได้อย่างชัดเจนมากขึ้น ฉากทัศน์ในระดับเหตุการณ์แสดงเนื้อหา เชิงเคร่ืองมือ (instrumental) ฉากทัศน์ในระดับเหตุผลทางสังคมระบุถึงนโยบายท่ีมุ่งแก้ไขปัจจัย ขบั เคลอ่ื นในขณะทฉ่ี ากทศั นใ์ นระดบั วาทกรรมและโลกทศั นพ์ ยายามจดั การกบั ความแตกตา่ งระดบั พน้ื ฐานและเชงิ โครงสร้าง ส่วนฉากทัศนใ์ นระดับต�ำนานหรอื อุปลกั ษณม์ งุ่ ใชเ้ รือ่ งเล่า กลอน หรอื ศิลปะใน การฉายภาพอนาคตท่ีสะท้อนอารมณแ์ ละความรู้สึกของคน นักอนาคตศาสตร์สามารถใชว้ ิธกี าร CLA เป็นกรอบแนวคิดในการวิจัยประเด็นที่ต้องการศึกษาและคาดการณ์ส�ำหรับอนาคต ในขณะเดียวกัน สามารถใช้วิธีการน้ีในกระบวนการสร้างการมสี ่วนร่วมและการปฏิสัมพันธ์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี เพ่ือ สรา้ งภาพอนาคตและการวางแผนทเ่ี ปิดกวา้ งส�ำหรบั คนกลุ่มตา่ ง ๆ ในสังคม วธิ กี าร CLA สามารถใชใ้ นการตง้ั กรอบความคดิ ในการวเิ คราะหป์ ญั หาและประเดน็ ส�ำหรบั อนาคต ทใ่ี หค้ วามส�ำคญั กบั บริบทและเงอ่ื นไข โดยแบ่งบริบทออกเปน็ 4 ระดับดงั ท่ีไดก้ ล่าวมาข้างต้น ความ ท้าทายในการวิเคราะห์แนวนคี้ ือการสรา้ งความเชอื่ มโยงระหวา่ งสาเหตุในแต่ละระดบั และนยั ส�ำหรับ ภาพอนาคตทอี่ าจเกดิ ขนึ้ ได้ในแตล่ ะระดบั ผลลัพธ์จากการวิเคราะห์เชงิ ลกึ สามารถช่วยสรา้ งทางเลือก และวธิ แี กไ้ ขปญั หา ทง้ั ในเชงิ นโยบาย มาตรการหรอื นวตั กรรมทมี่ ผี ลระยะยาวกวา่ วธิ แี กไ้ ขปญั หาระยะ สนั้ ทแี่ กไ้ ขปญั หาเฉพาะหนา้ ในปจั จบุ นั วธิ กี ารนย้ี งั เปดิ โอกาสใหม้ กี ารสรา้ งทางเลอื กอนาคตทพ่ี งึ ประสงค์ โดยคนกลมุ่ ตา่ ง ๆ ทเี่ ขา้ รว่ มกระบวนการแบบมสี ว่ นรว่ ม ขอ้ ดแี ละประโยชนส์ �ำคญั ของวธิ กี ารนจี้ งึ ไมไ่ ด้ อยเู่ พียงแค่การวิเคราะหป์ จั จัยสาเหตเุ ชงิ ลกึ แต่เป็นวธิ กี ารทช่ี ่วยสรา้ งทางเลอื กส�ำหรับอนาคตทล่ี งลึก และเปิดกว้างใหผ้ มู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสยี เขา้ มามีสว่ นรว่ มได้มากขึ้น
205 | อนาคตศึกษา ขั้นตอนและวิธีการ การวิเิ คราะห์ช์ั้�นสาเหตุสุ ามารถประยุกุ ต์ใ์ ช้ร้ ่ว่ มกับั วิธิ ีีการศึกึ ษาอนาคตและคาดการณ์เ์ ชิงิ ยุทุ ธศาสตร์อ์ื่น� ๆ ที่ไ่� ด้น้ ำ�ำ เสนอมาแล้ว้ ชุดุ วิธิ ีีการเก็บ็ และวิเิ คราะห์ข์ ้อ้ มูลู ที่น่� ิยิ มใช้ใ้ นการวิเิ คราะห์ส์ าเหตุคุ ือื วิธิ ีีการที่ใ�่ ช้อ้ ยู่� ทั่่ว� ไปในงานวิจิ ัยั เชิงิ คุณุ ภาพในด้า้ นสังั คมศาสตร์์ ทั้�งกลุ่�มวิธิ ีีการเชิงิ โครงสร้า้ ง (Structured approach) เช่น่ การวิเิ คราะห์์เนื้�อหา (content analysis) และกลุ่�มวิิธีีการวิเิ คราะห์์แก่่นสาระ (Thematic analy- ysis) เช่น่ วิิธีีการทฤษฎีีฐานราก (Grounded Theory) ข้ันตอนหลักในการวิเคราะห์เน้ือหาเพ่ือวิเคราะห์ชั้นสาเหตุเร่ิมจากการก�ำหนดหน่วยวิเคราะห์ (unit of analysis) ท่ีเป็นองค์ประกอบหลักที่ต้องการศึกษา ส�ำหรับงานคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์ งานในส่วนนี้จะอยใู่ นขัน้ ตอนการก�ำหนดกรอบการคาดการณ์ (scoping) จากนน้ั ผู้ศกึ ษาจะท�ำความ เขา้ ใจเบ้อื งตน้ เกี่ยวกบั ขอ้ มูลท่มี อี ยู่ แล้วจงึ ด�ำเนนิ กระบวนการก�ำหนดรหสั (coding) โดยเร่มิ จากการ ก�ำหนดรหสั เพอื่ จ�ำแนกขอ้ มูลแบบกวา้ ง (open coding) เพ่อื กวาดหาขอ้ ความท่เี กี่ยวข้องกับประเดน็ ที่สนใจ จากนั้น จึงเป็นการค้นหาข้อความเฉพาะแล้วกรอกข้อความนั้นลงในตารางบันทึกข้อมูล (coding sheet) เพ่ือน�ำไปแบง่ กลมุ่ และจ�ำแนกประเภทต่อไป ข้ันตอนทา้ ยสดุ เปน็ การสงั เคราะหห์ า นัยและความหมายเชิงนามธรรม (abstracting) ของข้อความท่ีได้วิเคราะห์มาตามกรอบแนวคิดช้ัน สาเหตุทงั้ 4 ระดบั ท่ไี ดอ้ ธิบายมาขา้ งต้น ทงั้ น้ี ความหมายที่จ�ำแนกออกมาเปน็ กลุ่ม (category) ตาม วธิ กี ารวิเคราะห์เนื้อหา สามารถน�ำมาใช้เป็นพ้ืนฐานของการสร้างภาพอนาคตทางเลือกหรือฉาก ทัศน์ได้ ในท�ำนองเดยี วกนั การวเิ คราะหช์ นั้ สาเหตดุ ว้ ยดว้ ยวธิ กี ารทฤษฎฐี านรากจะมงุ่ คน้ หากลมุ่ หวั ขอ้ หรอื แกนเรอ่ื ง (theme) ทมี่ คี วามหมายทแ่ี ตกตา่ งกนั ทง้ั ในระดบั สาเหตเุ ชงิ ระบบ โลกทศั นแ์ ละต�ำนาน ซ่งึ น�ำใชเ้ ป็นแกนในการสรา้ งฉากทศั น์ไดเ้ ชน่ กนั การวิเคราะห์ช้ันสาเหตุยงั นิยมใชร้ ่วมกับการคาดการณแ์ บบมีส่วนรว่ ม ซง่ึ มกั เป็นการจัดประชมุ เชิงปฏิบัติการกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้เช่ียวชาญ ถึงแม้ว่าการวิเคราะห์อนาคตทางเลือกอาจท�ำได้ โดยนกั วิเคราะห์หรือผูเ้ ชี่ยวชาญก็ตาม แต่ความหลากหลายทางความคิด มุมมองและค่านยิ มของผู้เข้า ร่วมท่ีมาจากพื้นฐานท่ีแตกต่างกัน จะเพ่ิมทางเลือกของอนาคตท่ีสามารถวิเคราะห์และจินตนาการได้ ดว้ ยเหตนุ ี้ การเตรยี มการและด�ำเนนิ การประชมุ โดยนกั อนาคตศาสตรแ์ ละกระบวนกรจงึ มคี วามส�ำคญั อยา่ งยง่ิ เพราะค�ำถามทที่ า้ ทายประกอบกบั กระบวนการทเี่ หมาะสมและบรรยากาศทเี่ ออื้ ตอ่ การสนทนา จะท�ำใหผ้ เู้ ขา้ ร่วมประชุมเกิดจนิ ตนาการและแสดงมุมมองเชิงลกึ ได้
อนาคตศึกษา | 206 สรปุ เนอื้ หาในบทนสี้ รปุ องคป์ ระกอบหลกั ของวธิ กี ารส�ำคญั ในการศกึ ษาอนาคตทไ่ี ดร้ บั การยอมรบั และใช้อย่างแพร่หลายในกลุ่มนักวิชาการด้านอนาคตศาสตร์และนักวิเคราะห์ด้านการคาด การณ์เชิงยุทธศาสตร์ โดยครอบคลุมท้ังวิธีการ เคร่ืองมือและกระบวนการวิเคราะห์ในเชิง ปริมาณและเชิงคุณภาพ ทั้งท่ีเน้นบทบาทของผู้เช่ียวชาญและนักคาดการณ์มืออาชีพ และที่ เน้นส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและประชาชนทั่วไป แต่ละวิธีย่อมมีข้อดีข้อด้อยแตกต่าง กนั ในการศกึ ษาอนาคตและคาดการณเ์ พอื่ การวางแผนและด�ำเนนิ การตอ่ นกั วเิ คราะหแ์ ละนกั วางแผนตอ้ งเลอื กใชว้ ธิ กี ารและเครอื่ งมอื ทเ่ี หมาะสม และอาจผสมผสานวธิ กี ารตา่ ง ๆ เขา้ ดว้ ย กนั เท่าทท่ี รพั ยากรและเวลาจะเอื้ออ�ำนวย เพอ่ื ใหผ้ ลลพั ธท์ ี่ได้จากการคาดการณ์ครอบคลมุ ความเป็นไปไดใ้ นอนาคตในทกุ มิตทิ ่สี �ำคัญ
207 | อนาคตศกึ ษา
อนาคตศึกษา | 208 4 การคาดการณ์ เชงิ ยทุ ธศาสตร์ to achieve thinFgosrbekenyoowndeldthgee reenaacbhleosf aorwdiisneargyenmeeranl. Sun Tsu, The Art of War
209 | อนาคตศึกษา การคาดการณ์ เพ่อื การวางแผน วัตถุประสงค์ส�ำคัญประการหนึ่งของการศึกษาอนาคตคือการสร้างข้อมูลเชิงลึกและองค์ความรู้ที่ สามารถใชไ้ ดใ้ นการก�ำหนดนโยบายสาธารณะและยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาทตี่ อบโจทยค์ วามตอ้ งการของ สังคม ท้งั น้ี กจิ กรรมทางวชิ าการดา้ นอนาคตศาสตร์และการคาดการณเ์ พอื่ การตดั สินใจเชงิ นโยบาย จะมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลได้ จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีโครงสร้างสถาบันที่เหมาะสม กล่าวคือ ประเทศใดที่ให้ความส�ำคัญกับการคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์ ก็จะมีการพัฒนาระบบการคาดการณ์ ระดบั ชาติ (national foresight system) ท่ดี ี ซ่งึ ในท่นี ห้ี มายถึงสถาบัน (institutions) และองค์กร (organizations) ที่เป็นโครงสร้างของกิจกรรมเกี่ยวกับการศึกษาอนาคตและการคาดการณ์เพื่อการ ตัดสินใจขององค์กร ทั้งในภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม เพ่อื การวางแผนนโยบายและ การด�ำเนินโครงการ ค�ำว่าสถาบันในท่ีน้ีครอบคลุมทั้งกฎหมาย ระเบียบและกระบวนการอย่างเป็น ทางการ และธรรมเนียมปฏิบัติท่ีไม่เป็นทางการ รวมไปถึงการจัดตั้งองค์กรอย่างเป็นกิจจะลักษณะ หรอื การสร้างเครอื ขา่ ยท่ีมพี ันธกิจด้านอนาคตศกึ ษาและการคาดการณ์ เน้ือหาในบทน้ีอธิบายแนวคิดเบ้ืองต้นเกี่ยวกับการคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์และโครงสร้างเชิง สถาบนั ทรี่ องรบั กจิ กรรมดงั กลา่ วในระดบั ประเทศ โดยยกตวั อยา่ งระบบสถาบนั ระดบั ชาตขิ องประเทศ ท่มี ีความก้าวหนา้ ในกิจกรรมดา้ นอนาคตศกึ ษา โดยเฉพาะการคาดการณเ์ พ่อื สรา้ งนโยบายสาธารณะ และยทุ ธศาสตร์ในการพฒั นา ตัวอย่างที่เลอื กมาคอื ฟินแลนด์และสงิ คโปร์ ทงั้ สองประเทศน้ไี ด้รับการ ยอมรบั ในวงการอนาคตศาสตรร์ ะดบั โลกวา่ ไดพ้ ฒั นาระบบคาดการณร์ ะดบั ประเทศทก่ี า้ วหนา้ ไปมาก เนอื้ หาสว่ นแรกเปน็ การทบทวนแนวคดิ และหลกั การพน้ื ฐานเกยี่ วกบั การคาดการเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์ และ ส่วนทีส่ องและสามเป็นตวั อย่างจากฟนิ แลนด์และสิงคโปร์ตามล�ำดบั
อนาคตศึกษา | 210 การคาดการณ์ เชงิ ยทุ ธศาสตร์ แนวคิดิ หนึ่่ง� ที่เ�่ ชื่อ� มการคาดการณ์เ์ ข้า้ กับั การวางแผนเชิงิ ยุทุ ธศาสตร์์ (strategic planning) คือื การคาด การณ์เ์ ชิิงยุทุ ธศาสตร์์ (strategic foresight) ซึ่ง� หมายถึึงการสร้า้ งความรู้้�ล่วงหน้้า (foreknowledge) และทางเลืือกเชิิงยุุทธศาสตร์์สำ�ำ หรัับบุุคคลหรืือองค์์กร เพื่่�อเอาชนะในการแข่่งขััน ไม่่ว่่าจะเป็็นด้้าน การทหาร ด้้านธุุรกิิจหรือื ด้า้ นอื่น� ๆ การคาดการณ์์เชิงิ ยุทุ ธศาสตร์เ์ ป็็นกระบวนการที่เ่� สริมิ สร้า้ งความ สามารถของบุคุ คลหรือื องค์ก์ รในการเข้า้ ใจมิติ ิทิ ี่ห�่ ลากหลายของอนาคต ทั้�งความเสี่ย�่ งและโอกาสที่ก่� ำ�ำ ลังั จะเกิดิ ขึ้�น สถานการณ์บ์ นเส้้นทางบังั คับั (path dependency) ปััจจัยั ขับั เคลื่�อน แรงจููงใจ ทรัพั ยากร รวมถึงึ สาเหตุกุ ับั ผลลัพั ธ์ข์ องทางเลือื กอนาคต ทั้�งอนาคตที่เ่� ชื่อ� ว่า่ เกิดิ ขึ้�นได้้ อนาคตที่น่� ่า่ จะเกิดิ ขึ้�น และ อนาคตที่ค�่ าดหวังั ให้เ้ กิดิ ขึ้�น วัตั ถุปุ ระสงค์ห์ ลักั ของการคาดการณ์เ์ ชิงิ ยุทุ ธศาสตร์จ์ ึงึ อยู่�ที่ก� ารช่ว่ ยให้บ้ ุคุ คล หรือื องค์ก์ รสามารถตััดสิินใจได้ด้ ีียิ่่ง� ขึ้�นในการวางแผนและดำำ�เนินิ การเชิิงยุทุ ธศาสตร์์1 ขั้นตอนการคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์คล้ายคลึงกับกระบวนการวิเคราะห์เพื่อวางแผนเชิง ยทุ ธศาสตรท์ วั่ ไป นกั อนาคตศกึ ษาและนกั คาดการณไ์ ดแ้ บง่ ขน้ั ตอนไว้หลายแบบ ยกตวั อยา่ งเชน่ แอน ดี ไฮนส์ (Andy Hines) และปเี ตอร์ บชิ อบ (Peter Bishop) แบง่ ขนั้ ตอนการคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์ ไว้ 6 ขัน้ ตอน2 ไดแ้ ก่ 1. การก�ำหนดกรอบ (framing) คือการก�ำหนดแนวทางเกี่ยวกับหลักการเหตุผล วัตถปุ ระสงค์ ผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสยี คณะท�ำงาน และแนวทางการท�ำงาน 2. การกวาดสัญญาณ (scanning) คือการก�ำหนดขอบเขตของการศึกษา ระบบและองค์ ประกอบ ประวัตศิ าสตร์ รวมถงึ บรบิ ทของประเด็นทีต่ ้องการศกึ ษา 3. การคาดการณ์ (forecasting) คอื การใชข้ อ้ มลู จากการกวาดสญั ญาณในการวเิ คราะหห์ า ปจั จยั ขับเคลอ่ื น ความไม่แนน่ อน และทางเลอื กอนาคต 4. การต้ังวิสัยทัศน์ (visioning) คือการวิเคราะห์หานัยของผลจากการคาดการณ์ และตั้ง วิสยั ทศั นเ์ กยี่ วกบั ผลลพั ธท์ ่ีต้องการให้เกิดขึน้ กบั องคก์ รหรือกลุม่ เป้าหมาย 5. การวางแผน (planning) คือการพัฒนายุทธศาสตร์และทางเลือกของกลยุทธ์ในการ ด�ำเนินการตามยทุ ธศาสตร์
211 | อนาคตศึกษา 6. การดำ� เนนิ การ (acting) คอื การสอื่ สารและเผยแพรผ่ ลการคาดการณไ์ ปสผู่ มู้ สี ว่ นไดส้ ว่ น เสีย และสร้างแนวทางการด�ำเนินงาน รวมไปถึงการพัฒนาระบบการคิดเชิงยุทธศาสตร์ (strategic thinking) และการวเิ คราะห์เชงิ ลกึ ให้เป็นสถาบนั (institutionalization) กระบวนการดงั กลา่ วไมแ่ ตกต่างมากจากขอ้ เสนอของโจเซฟ โวรอส (Joseph Voros)201 ซึง่ ระบุ ขัน้ ตอนหลกั ของการคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตรไ์ ว้ดังน2ี้ 02 1. การนำ� เขา้ ขอ้ มูล (input) กจิ กรรมหลกั ของข้นั ตอนนี้คือการตรวจจับวา่ เกิดอะไรขนึ้ ดว้ ย วธิ ีการตา่ ง ๆ ทั้งวิธีการพื้นฐานในการเกบ็ ขอ้ มลู เช่น การส�ำรวจภาคสนาม การสมั ภาษณ์ การระดมสมอง วธิ กี ารเดลฟาย รวมถงึ วธิ กี ารทซี่ บั ซอ้ นมากขนึ้ เชน่ วธิ กี ารท�ำเหมอื งขอ้ มลู ระบบการเตอื นลว่ งหนา้ (early warning systems) การกวาดสญั ญาณสภาพแวดลอ้ ม การ ตรวจจับประเด็นอบุ ัตใิ หม่ 2. การวิเคราะห์ (analysis) ข้ันตอนนวี้ เิ คราะห์ว่ามอี ะไรเกดิ ขึ้นบ้าง โดยใช้วธิ ีการวิเคราะห์ แนวโน้มและผลกระทบไขว้ การวิเคราะห์เครือข่ายสังคม (social network analysis) กรอบการวิเคราะห์และแปลสัญญาณ (Future Signals Sense-Making Framework) วิธีสามเหล่ียมอนาคต (Futures Triangle) วิธีวงล้ออนาคต แผนท่ีของการจัดระเบียบ ดว้ ยตนเอง (self-organizing map) การใหเ้ หตผุ ลแบบจารนยั (abductive reasoning) 3. การแปลผล (interpretation) การวเิ คราะหข์ นั้ ตอ่ ไปพยายามลงลกึ ลงไปอกี เพอื่ หาสาเหตุ ที่แท้จริงของปรากฏการณ์ท่ีสามารถสังเกตได้ วิ ธีการคาดการณ์ในส่วนน้ีมีต้ังแต่การให้ เหตผุ ลเชงิ อปุ นยั การพสิ จู นว์ า่ เปน็ เทจ็ (falsification) และการวเิ คราะหร์ ปู แบบ (pattern analysis) ไปจนถงึ วิธกี ารเฉพาะในด้านอนาคตศาสตร์ เชน่ การวเิ คราะห์ชน้ั สาเหตุ การ วิเคราะหร์ ะบบ การวเิ คราะหป์ ระวัตศิ าสตร์มหภาค (macrohistorical analysis) 4. การมองอนาคต (prospection) การวิเคราะห์สว่ นนีม้ องไปในอนาคต แลว้ ถามวา่ อะไร มโี อกาสเกดิ ขน้ึ ไดบ้ า้ ง โดยใชว้ ธิ กี ารหลากหลาย เชน่ การสรา้ งฉากทศั น์ การสรา้ งวสิ ยั ทศั น์ ไวลดค์ ารด์ วธิ กี ารหงสด์ �ำ การพยากรณย์ อ้ นกลบั รวมถงึ การคดิ เชงิ ยทุ ธศาสตรท์ ใี่ ชอ้ ยทู่ ว่ั ไป ในการวางแผนยุทธศาสตร์ 5. นำ� เสนอผลลพั ธ์ (outputs) มที งั้ สว่ นทเ่ี ปน็ ผลผลติ ที่จบั ตอ้ งได้ เชน่ รายงานทส่ี อ่ื สารและ เผยแพรผ่ ลลพั ธก์ ารคาดการณท์ ไี่ ดม้ าใหช้ ดั เจน และทางเลอื กส�ำหรบั การตดั สนิ ใจ ผลลพั ธท์ ี่ จับต้องไม่ได้ เชน่ การปรบั ทัศนคตขิ องผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสีย การรับรูเ้ กี่ยวกบั งานวางแผนเชงิ ยทุ ธศาสตร์ และการเปล่ยี นแปลงกระบวนการในการพัฒนายุทธศาสตร์ 6. วางแผนยทุ ธศาสตร์ (strategy) ขนั้ ตอนทา้ ยสดุ ของกระบวนการคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์ คอื การพฒั นานโยบายและยทุ ธศาสตรท์ อ่ี งคก์ รจะด�ำเนินการตอ่ ไป แผนภาพที่ 23 แสดงใหเ้ หน็ วา่ การคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตรเ์ ปน็ ขนั้ ตอนพน้ื ฐานในการวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ เริ่มต้ังแต่การท�ำความเข้าใจในการเปล่ียนแปลงท่ีผ่านมาโดยวิธีการกวาดสญั ญาณ (scanning) เพื่อวิเคราะห์ให้เห็นอนาคตทางเลือกเชิงยุทธศาสตร์ (strategic thinking) จากนั้นจึง
อนาคตศึกษา | 212 ตัดสินใจเลือกเส้นทางยุทธศาสตร์ไหนที่จะน�ำไปสู่อนาคตที่พึงประสงค์ขององค์กรหรือของนโยบาย สาธารณะ (strategic decision making) เม่อื ก�ำหนดเส้นทางยทุ ธศาสตรแ์ ล้วจงึ เปน็ การวางแผนราย ละเอยี ดของแผนยุทธศาสตร์ เพอ่ื ด�ำเนินการตามแผนใหบ้ รรลผุ ลลัพธท์ ต่ี ง้ั ไว้ต่อไป กระบวนการขา้ งตน้ เปน็ พนื้ ฐานของการคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตรท์ อี่ งคก์ รและรฐั บาลหลายแหง่ ทวั่ โลกไดน้ �ำไปพฒั นาและประยกุ ตใ์ ชต้ อ่ ตามเงอ่ื นไขและบรบิ ทของแตล่ ะพนื้ ที่ สว่ นในภาคธรุ กจิ การ คาดการณธ์ รุ กจิ (corporate foresight) คอื การคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตรท์ ใ่ี ชใ้ นระดบั บรษิ ทั เพอื่ สรา้ ง ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ในเชงิ ธรุ กิจ ในขณะเดยี วกนั รฐั บาลหลายประเทศได้สรา้ งสถาบนั และ องคก์ รขนึ้ มาโดยเฉพาะเพอ่ื การคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตรใ์ นการพฒั นานโยบายสาธารณะ ตามตวั อยา่ ง ที่น�ำเสนอในส่วนตอ่ ไป กแาผรนคภาาดพกทาร่ี 2ณ3ใ์ นกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์
213 | อนาคตศึกษา การคาดการณ์ เพ่อื กำ�หนด นโยบายสาธารณะ รััฐบาลในหลายประเทศให้้ความสำ�ำ คััญกัับการคาดการณ์์เชิิงยุุทธศาสตร์์ที่�่ไม่่ได้้มุ่�งเฉพาะที่่�ประเด็็นใด ประเด็็นหนึ่่�ง แต่่เปิิดโอกาสให้้มีีการวิิเคราะห์์ข้้ามขอบเขตของสาขานโยบายและขอบเขตองค์์กรที่�่มีี อยู่�แต่่ดั้�งเดิิม การใช้้วิิธีีการคาดการณ์์เชิิงยุุทธศาสตร์์เพื่่�อการกำำ�หนดนโยบายสาธารณะแต่่เดิิมเน้้นไป ที่�่นโยบายวิิทยาศาสตร์์เทคโนโลยีีและนวััตกรรมเป็็นหลััก แต่่ในระยะหลัังได้้ขยายขอบเขตเนื้�อหาให้้ ครอบคลุุมประเด็น็ ด้้านอื่น� มากขึ้�น ทั้�งด้า้ นเศรษฐกิจิ สังั คม สุุขภาพ สิ่ง� แวดล้้อม ความมั่ �นคง แ ละความ สัมั พันั ธ์ร์ ะหว่า่ งประเทศ3 กระบวนการคาดการณ์เ์ ชิงิ ยุทุ ธศาสตร์ช์ ่ว่ ยให้ก้ ารกำำ�หนดและวางแผนนโยบาย สาธารณะเป็็นไปได้้ดีีและมีีประสิิทธิิภาพมากขึ้�น ด้้วยการสร้้างฐานข้้อมููลและความรู้�ที่�เป็็นระบบเกี่�่ยว กับั แนวโน้ม้ การเปลี่ย�่ นแปลงและการพัฒั นาที่ม่� ีีผลกระทบสำำ�คัญั ต่อ่ ประเทศ รวมถึงึ เป็น็ พื้�นฐานของการ สร้า้ งวิสิ ัยั ทัศั น์แ์ ละทางเลือื กในเชิงิ ยุทุ ธศาสตร์์ อีีกทั้�งยังั เป็น็ กระบวนการกระตุ้�นการเรีียนรู้�ซึ่ง� กันั และกันั ระหว่่างผู้้�มีีส่ว่ นได้ส้ ่่วนเสีียในองค์ก์ รและในสังั คมทั่่ว� ไป กลมุ่ ประเทศประชาคมยโุ รป (European Union) ใหค้ วามส�ำคญั กบั การคาดการณม์ าไดร้ ะยะหนง่ึ แลว้ โดยเฉพาะในชว่ ง 20 ปที ่ผี า่ นมา รฐั บาลของประเทศสมาชกิ อียูไดด้ �ำเนินโครงการคาดการณ์เชงิ ยุทธศาสตร์ในรปู แบบทหี่ ลากหลายมากขึน้ พร้อมกันนีย้ ังได้สรา้ งสถาบนั และองคก์ รท่ีด�ำเนินกจิ กรรม การคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์ ทั้งในรัฐบาลของประชาคมยุโรปเองและในรัฐบาลของแต่ละประเทศ สมาชกิ รููปแบบสถาบัันด้้านการคาดการณ์์มีีทั้้�งที่่�เป็็นหน่่วยงานชััดเจน เช่่น หน่่วยงานคาดการณ์์ วิิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยีี (Science and Technology Foresight Unit) ภายใต้้ EU Dictorate General for Research และรูปู แบบที่เ่� ป็น็ เครือื ข่า่ ยขององค์ก์ รและผู้�เชี่ย�่ วชาญด้า้ นอนาคตศึกึ ษา เช่น่ เครืือข่่ายติิดตามการคาดการณ์แ์ ห่่งยุโุ รป (European Foresight Monitoring Network) นอกจากนี้� ยัังมีีระบบวิเิ คราะห์์ยุทุ ธศาสตร์แ์ ละนโยบายแห่่งยุโุ รป (European Strategy and Policy Analysis System) ที่่�ตั้�งขึ้�นเพื่่�อค้้นหาและระบุุแนวโน้้มระยะยาวระดัับโลกในด้้านต่่าง ๆ และวิิเคราะห์์ว่่าแนว
อนาคตศกึ ษา | 214 โน้ม้ เหล่า่ นี้้�จะมีีผลต่อ่ ประชาคมยุโุ รปอย่า่ งไรบ้า้ ง ทั้�งนี้� สถาบันั ศึกึ ษาความมั่น� คง (Institute for Security Studies) ซึ่�งเป็น็ องค์ก์ รที่่�ปรึึกษาที่่ต�ั้�งอยู่�ในกรุงุ ปารีีส ได้้รับั มอบหมายให้เ้ ป็็นศููนย์ด์ ำ�ำ เนิินการของระบบ คาดการณ์์ดังั กล่า่ ว กิจกรรมด้านการคาดการณ์ของประชาคมยุโรปโดยมากอยู่ในรูปแบบของแผนงานและโครงการ ซงึ่ มผี ลผลติ หลกั เปน็ รายงาน บทความและสงิ่ ตพี มิ พท์ นี่ �ำไปใชว้ เิ คราะหเ์ พอื่ วางแผนนโยบายระดบั ทวีป ตวั อยา่ งส�ำคญั ของโครงการคาดการณข์ องประชาคมยโุ รป ไดแ้ ก่ โครงการ COST Action 22: Advanc- ing Foresight Methodologies ในระหว่าง พ.ศ. 2547-2550 ซ่งึ เน้นการพฒั นาวธิ กี ารคาดการณ4์ โครงการ ERA-Net ซ่งึ สง่ เสริมเครือขา่ ยด้านการคาดการณ์ระหว่างประชาคมยโุ รปกับประเทศสมาชกิ โดยการด�ำเนินกิจกรรมร่วมกัน ท้ังการแลกเปล่ียนข้อมูลความรู้ทั้งในด้านวิธีการ กรอบด้านการเงิน และกฎหมาย และการวเิ คราะหป์ ระเดน็ ทีข่ า้ มพรมแดนประเทศ5 นอกจากนี้ ยงั มโี ครงการวจิ ยั Inter- connecting Knowledge (iKNOW) ซ่ึง เน้นการคาดการณ์แบบการกวาดสญั ญาณ รวมถงึ เหตกุ ารณ์ ท่ีเปน็ เหตุไมค่ าดฝนั หรือไวลดค์ าร์ดและสัญญาณอ่อน แล้ววิเคราะห์ความเป็นไปได้และผลกระทบของ เหตุการณ์เหล่าน้ีต่อยุโรปและท่วั โลก โครงการดังกล่าวยังพัฒนาเคร่อื งมือวิเคราะห์ Horizon Scan- ning 2.0 ซงึ่ เนน้ การใชเ้ ทคโนโลยี web 2.0 ในการสร้างการมีสว่ นร่วมแบบลา่ งขึน้ บน (bottom-up) ของผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี 6 โครงการคาดการณบ์ างโครงการมงุ่ เนน้ ประเดน็ เนอ้ื หาหรอื พนื้ ทเ่ี ฉพาะเจาะจง เช่น โครงการอนาคตของการพฒั นาภมู ภิ าค (Futures for Regional Development) ทีม่ ุง่ พัฒนาชดุ เครื่องมือคาดการณ์เพือ่ การวางแผนภาคในกลุ่มประเทศประชาคมยโุ รป7 นอกจากระบบคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์ระดับประชาคมยุโรปแล้ว ประเทศสมาชิกแต่ละแห่ง ยงั พัฒนาระบบคาดการณ์ระดบั ชาติเป็นของตนเอง ตวั อยา่ งเช่น ในฝร่งั เศส ระบบการคาดการณ์เพอ่ื การวางแผนนโยบายระดบั ประเทศพฒั นามาตงั้ แตส่ มยั ทศวรรษท่ี 1960 โดยในปจั จบุ นั มอี งคป์ ระกอบ ส�ำคญั อยู่ 3 สว่ น ไดแ้ ก่ ศนู ยว์ เิ คราะหย์ ทุ ธศาสตร์ (Centre d'analyse stratégique) ซง่ึ ท�ำหนา้ ทเี่ ปน็ ท่ี ปรกึ ษาใหก้ บั รฐั บาลฝรง่ั เศสและขนึ้ ตรงกบั ส�ำนกั นายกรฐั มนตรี ศนู ยว์ เิ คราะหย์ ทุ ธศาสตรน์ ก้ี อ่ ตง้ั ขน้ึ ใน พ.ศ. 2549 โดยพฒั นามาแทนที่ Commissariat Général du Plan ซงึ่ เปน็ หนว่ ยงานดา้ นการวางแผน พฒั นาหลกั ของฝรง่ั เศสทม่ี าตง้ั แตห่ ลงั สงครามโลกครงั้ ทส่ี อง ศนู ยด์ งั กลา่ วท�ำหนา้ ทวี่ เิ คราะหแ์ ละใหค้ �ำ ปรึกษากบั รัฐบาลในประเดน็ ดา้ นเศรษฐกจิ สังคม สิง่ แวดล้อม และวัฒนธรรม โดยเฉพาะยทุ ธศาสตร์ ในระยะกลางและระยะยาว องค์ประกอบท่ีสองของระบบคาดการณ์ระดับชาติของฝร่ังเศสคือ DATAR (Délégation a l’Aménagement du Territorire et a l’Action Régionale) เป็นหน่วยงานที่มีพันธกิจเพ่อื คาด การณแ์ ละวางนโยบายระดบั ภูมภิ าค ตั้งข้ึนเม่ือ พ.ศ. 2516 ผลลัพธ์จากกิจกรรมขององค์กรนีจ้ ะใช้ใน การวางแผนพัฒนาภูมิภาค แต่มีส�ำนักงานที่อยู่นอกประเทศฝร่ังเศสด้วย เพ่ือเก็บข้อมูลและประสาน งานกับตา่ งประเทศ และสง่ เสริมการลงทนุ ของตา่ งชาตใิ นภมู ภิ าคต่าง ๆ ของฝรง่ั เศส องค์ประกอบท่ีสามคือกลุ่ม Futuribles ซ่ึงก่อต้ังโดยแบร์ทร็อง เดอ จูวีเนล (Bertrand de Jouvenel) ใน พ.ศ. 2503 องค์กรนี้ประกอบไปดว้ ยส�ำนกั พิมพ์ Futuribles Press ท่ตี ีพมิ พ์วารสาร
215 | อนาคตศึกษา Futuribles Journal และ Futuribles Newsletter ฝา่ ยวจิ ยั และใหค้ �ำปรกึ ษา Futuribles Research and Consulting และฝ่ายวริ ัชกจิ Futuribles International อีกประเทศหนึ่งที่มีระบบคาดการณเ์ พอ่ื การวางแผนนโยบายและยทุ ธศาสตรค์ อื สวีเดน สถาบัน อนาคตศกึ ษา (Institute for Futures Studies) และหนว่ ยงานดา้ นการวางแผนทอ่ี ยภู่ ายใตก้ ารก�ำกบั ของรฐั บาล องคก์ รในระดบั เมอื งและระดบั ภมู ภิ าค รวมถงึ บรษิ ทั เอกชนขนาดใหญห่ ลายแหง่ ในสวเี ดน ตา่ งมหี นว่ ยงานยอ่ ยทที่ �ำหนา้ ทวี่ เิ คราะหแ์ ละคาดการณแ์ นวโนม้ และการเปลยี่ นแปลงในอนาคต ถอื ได้ ว่าสวีเดนเป็นอีกประเทศหน่ึงที่การคาดการณ์เป็นองค์ประกอบส�ำคัญในทุกภาคส่วนของการบริหาร จัดการและการธรุ กิจ8 ในการวางแผนนโยบายสาธารณะ มีการแบง่ งานอยา่ งชัดเจนระหว่างงานคาด การณ์ที่ระบุและวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการเปล่ียนแปลงและความท้าทายในอนาคต ซึ่งโดยมาก ด�ำเนินการโดยหนว่ ยงานหรอื ผเู้ ช่ยี วชาญเฉพาะทาง กับงานด้านการรา่ งเน้ือหาในแผนการพัฒนา ซง่ึ ด�ำเนินการโดยหนว่ ยงานวางแผนของรฐั บาล สถาบันอนาคตศึกษา (Framtidsstudier) เป็นหนว่ ยงานหลกั ทมี่ พี นั ธกจิ ในการคาดการณ์ระยะ ยาวเกี่ยวกับความท้าทายและโอกาสในอนาคต ไปพร้อมกับการกระตุ้นการอธิปรายสาธารณะในวง กวา้ งในทุกภาคสว่ นของสังคม การบริหารจดั การและการท�ำงานของสถาบันน้ยี ดึ หลกั การความอิสระ ทางการเมอื ง โดยมีสถานะเปน็ มูลนธิ ิ แตไ่ ด้รับเงนิ สนับสนนุ การวิจัยสว่ นใหญจ่ ากกระทรวงการศึกษา และวจิ ยั (Ministry of Education and Research) โครงการคาดการณข์ องสถาบนั นคี้ รอบคลมุ ตงั้ แต่ ประเดน็ ระยะยาวมาก (50-100 ปี) และระยะยาว (10-30 ปี) และมีหวั ขอ้ ทีห่ ลากหลาย ตง้ั แต่เร่อื ง ประชากรและสังคมสูงวัย ตลาดแรงงานของสวีเดนในบริบทประชาคมยุโรป การเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมอิ ากาศโลก และการผังเมอื ง9 การคาดการณถ์ อื เปน็ เครอ่ื งมอื ส�ำคญั ของการวางแผนนโยบายสาธารณะในสวเี ดน กอ่ นการออก นโยบายปฏริ ปู สงั คมทส่ี �ำคญั หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งจะใชว้ ธิ กี ารดา้ นอนาคตศกึ ษาเพอื่ สรา้ งกระบวนการ ปรกึ ษาหารอื กบั ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี และใชเ้ ครอื่ งมอื ดา้ นอนาคตศกึ ษาในการจดั ล�ำดบั ความส�ำคญั ทาง ยุทธศาสตร์ ไปพร้อมกับการประมวลและเผยแพร่ข้อมูลเชิงลึกและองค์ความรู้ที่เป็นพ้ืนฐานส�ำหรับ การอภิปรายสาธารณะไปพร้อมกับการสร้างความตระหนักของสังคมเก่ียวกับความท้าทายในอนาคต ของประเทศ สว่ นในทวีปอน่ื ไดม้ กี ารพฒั นาระบบคาดการณร์ ะดบั ชาตใิ นหลายประเทศดว้ ยกนั เชน่ ในประเทศ ญี่ปุ่น สถาบันนโยบายวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแหง่ ชาติ (National Institute of Science and Technology Policy) ได้พฒั นาระบบคาดการณ์วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นับตั้งแต่ พ.ศ. 2514 เปน็ ตน้ มา สถาบนั ดังกลา่ วด�ำเนนิ โครงการคาดการณร์ ะดับประเทศครัง้ ใหญ่ทุก ๆ 5 ปี เพอ่ื ประมวล ข้อมลู และความรู้เชิงลกึ เกีย่ วกันแนวโน้มในอนาคต องคป์ ระกอบส�ำคญั ของการคาดการณ์ระดับชาติ ของญี่ปุ่นคอื การส�ำรวจเดลฟายขนาดใหญ่ ซงึ่ มีผู้เช่ียวชาญจากหลายสาขาเขา้ ร่วมถึงกวา่ 6,700 คน ผลลัพธ์จากการส�ำรวจเดลฟายและการคาดการณ์ดังกล่าวจะใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนนโยบายใน ทกุ ภาคส่วน ท้ังหน่วยงานรฐั บาล บรษิ ทั เอกชน นักวจิ ัยและวิชาการ ช่วงเวลาในการคาดการณอ์ ยู่ที่ ประมาณ 30 ปี
อนาคตศกึ ษา | 216 แม้ว่าโครงการคาดการณ์ระดับชาติของญี่ปุ่นมุ่งเน้นการส�ำรวจประเด็นด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยเี ปน็ หลกั แตว่ ธิ กี ารส�ำรวจและวเิ คราะหน์ นั้ ไมไ่ ดเ้ นน้ เฉพาะขอ้ มลู และมมุ มองของผเู้ ชย่ี วชาญ จากสาขาด้าน “อุปทาน”ของวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี เช่น นักวทิ ยาศาสตรแ์ ละวศิ วกร ซ่งึ เปน็ ผผู้ ลิต ความรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี บั นวตั กรรมเทา่ นน้ั แตก่ ระบวนการนใ้ี หค้ วามส�ำคญั กบั แนวคดิ และขอ้ เสนอของผู้เช่ยี วชาญจากฝ่งั “อปุ สงค”์ คือด้านสงั คมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ด้วยเช่นกนั วธิ ี การที่ใช้ในการคาดการณม์ ที ง้ั การส�ำรวจเดลฟาย การสร้างฉากทศั น์ การก�ำหนดวสิ ัยทัศน์พรอ้ มดว้ ย การระบุวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมท่ีท�ำให้สามารถบรรลวุ สิ ยั ทศั นน์ ้นั 10 นอกจากญี่ปนุ่ แลว้ สงิ คโปรน์ บั เปน็ อกี ประเทศหนงึ่ ในเอเชยี ทช่ี ว่ งหลงั ใหค้ วามส�ำคญั อยา่ งมากกบั ระบบคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์ที่ใช้เป็นเคร่ืองมือหนึ่งในการวางแผนนโยบายและยุทธศาสตร์พัฒนา ประเทศ เนอื้ หาในสว่ นตอ่ ไปจะน�ำเสนอกรณีศกึ ษาของฟนิ แลนดแ์ ละสงิ คโปร์ ซง่ึ ตา่ งไดร้ บั การยอมรบั ในวงการอนาคตศาสตร์ระดับโลกว่า ได้พัฒนาระบบคาดการณ์ท่ีช่วยก�ำหนดนโยบายสาธารณะของ ประเทศไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ
217 | อนาคตศกึ ษา ระบบคาดการณ์ ของฟนิ แลนด์ ฟนิ แลนดไ์ ดร้ บั การยอมรบั จากวงการอนาคตศกึ ษาวา่ เปน็ ประเทศหนง่ึ ทไี่ ดพ้ ฒั นาระบบคาดการณร์ ะดบั ชาตทิ ที่ �ำหนา้ ทสี่ นบั สนนุ การก�ำหนดนโยบายสาธารณะและการวางแผนยทุ ธศาสตรร์ ะดบั องคก์ รไดเ้ ปน็ อยา่ งดี จากการวเิ คราะหข์ องทโู อโม คโู อซา (Tuomo Kuosa) ระบบคาดการณร์ ะดบั ชาตขิ องฟนิ แลนด์ ไมเ่ คยมอี งคก์ รใหญข่ องรฐั ทถี่ อื บทบาทและท�ำหนา้ ทเ่ี ปน็ องคก์ รแมห่ รอื เปน็ รม่ ใหญข่ องหนว่ ยงานหรอื เครอื ข่ายยอ่ ยอ่นื ๆ จึงไมม่ ีการบริหารจัดการแบบบนลงลา่ ง (top-down) แตเ่ ปน็ ระบบคาดการณ์เชิง ยุทธศาสตรแ์ บบเครือข่าย โดยมที งั้ หนว่ ยงานและเครือข่ายของภาครฐั ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และท้ังหน่วยงานภายในประเทศและระหว่างประเทศ รวมไปถึงความร่วมมือและพันธมิตรระหว่าง หน่วยงานและเครือข่ายเหล่าน1้ี 1 คณุ ลกั ษณะหลกั ของระบบคาดการณร์ ะดบั ชาตขิ องฟนิ แลนดค์ อื ความสมั พนั ธท์ ซี่ บั ซอ้ น เปน็ พลวตั และมกี ารซอ้ นทบั และรว่ มมอื กนั ระหวา่ งองคก์ รและเครอื ขา่ ยทที่ �ำงานเกยี่ วขอ้ งกบั การคาดการณแ์ ละ อนาคตศกึ ษา ในทางกลบั กนั ระบบคาดการณร์ ะดบั ชาตขิ องสงิ คโปรม์ โี ครงสรา้ งดา้ นองคก์ รและสถาบนั ทช่ี ดั เจนมากกว่า แนวทางการด�ำเนินงานของฟินแลนดจ์ ึงเป็นแบบล่างข้นึ บน (bottom-up) มากกว่า กรณีของสงิ คโปร์ ด้วยลักษณะดังกล่าว กจิ กรรมการคาดการณ์ของฟินแลนด์จงึ มคี วามยืดหยุ่นสงู และ สามารถขยายกจิ กรรมให้ครอบคลุมส่วนตา่ ง ๆ ของสงั คมไดอ้ ย่างแพร่หลาย จ�ำนวนผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรม การคาดการณ์จงึ มกั มีจ�ำนวนมาก12 ระบบคาดการณร์ ะดับชาตขิ องฟนิ แลนดม์ อี ยู่ 6 องค์ประกอบหลกั ดงั นี้ รายงานการคาดการณข์ องรัฐบาลฟินแลนด์ ทกุ ครง้ั ทร่ี ฐั บาลใหมใ่ นฟนิ แลนดเ์ รมิ่ ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี จะมกี ารประกาศแผนงานรฐั บาล (Government Program) ส�ำหรบั วาระที่จะเขา้ มาปฏบิ ตั งิ าน ซง่ึ โดยมากคอื สี่ปี แผนงานรฐั บาลนปี้ ระกอบดว้ ยวสิ ยั ทศั น์ เปา้ หมาย นโยบาย และแผนปฏบิ ตั กิ ารส�ำหรบั กระทรวงและหนว่ ยงานรฐั ทกุ แหง่ ซึ่งระบุแผนงานย่อย ของแต่ละหน่วยงานข้ึนมาตามกรอบท่ีก�ำหนดไว้ในแผนงานรัฐบาลนั้น องค์ประกอบหนึ่งของ การเตรียมแผนงงานดังกล่าวคือเอกสารที่เรียกว่ารายงานการคาดการณ์ของรัฐบาล (Government Foresight Report) ซงึ่ แสดงแนวโนม้ และประเดน็ ความทา้ ทายในการพฒั นาของประเทศในระยะ 20-30 ปีในอนาคต เนือ้ หาในรายงานจะใชเ้ ปน็ กรอบในการก�ำหนดวสิ ัยทัศนแ์ ละแนวทางการด�ำเนนิ นโยบาย
อนาคตศกึ ษา | 218 ของรฐั บาล รายงานดงั กลา่ วจัดท�ำโดยหนว่ ยวเิ คราะหน์ โยบาย (Policy Analysis Unit) ภายใต้ส�ำนัก นายกรัฐมนตรี โดยมีผเู้ ช่ียวชาญและตวั แทนจากภาคสว่ นต่าง ๆ ในสังคมเขา้ มามีสว่ นร่วมในการจดั ท�ำ รายงาน ในรายงานแตล่ ะฉบบั จะมหี วั ขอ้ หลกั ทเ่ี ลอื กมาเฉพาะในแตล่ ะครง้ั โดยทห่ี นว่ ยวเิ คราะหน์ โยบาย ของรฐั บาลจะท�ำงานรว่ มกับสถาบันการศึกษาและวิจัย หนว่ ยงานที่ปรึกษา และองค์กรรฐั หนว่ ยอื่น ๆ เพอื่ จดั เตรียมและคดั เลอื กหวั ข้อหลักส�ำหรับรายงานครั้งต่อไป รายงานการคาดการณข์ องรฐั บาลมบี ทบาทส�ำคญั ในกระบวนการทางการเมอื งและการบรหิ ารรฐั กจิ ของฟนิ แลนด์ นอกจากเปน็ เอกสารทแ่ี สดงถงึ วสิ ยั ทศั นร์ ะยะยาวแลว้ ยงั เปน็ เอกสารทสี่ ง่ มอบตอ่ ให้ รฐั สภาเพอ่ื ขอความเหน็ จากผแู้ ทนราษฎร ขน้ั ตอนของการจดั ท�ำรายงานดงั กลา่ วเรมิ่ ตง้ั แตก่ ารรเิ รมิ่ และ จดั เตรยี มโครงการโดยเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั บาล โดยอาจท�ำงานรว่ มกบั คณะที่ปรกึ ษาภายนอก จากนน้ั จงึ มี การจดั ต้งั คณะท�ำงาน ซึง่ ท�ำหน้าที่จัดเกบ็ ประมวล วิเคราะหแ์ ละสังเคราะหข์ ้อมูล โดยอาจจดั ประชุม กลมุ่ ยอ่ ยกบั ผูเ้ ชี่ยวชาญดา้ นต่าง ๆ เมื่อรายงานแล้วเสร็จ รัฐบาลจะส่งมอบเอกสารดังกล่าวให้กับคณะกรรมาธิการว่าด้วยอนาคต (Futures Committee) ภายใต้รัฐสภาฟินแลนด์ ซึ่งจะน�ำผลจากรายงานดังกล่าวไปหารือในการ ประชุมกับประชาชนในรูปแบบต่าง ๆ ทั่วประเทศ เพื่อน�ำเสนอผลการวิเคราะห์และรับฟังความเห็น จากประชาชน คณะกรรมการวา่ ดว้ ยอนาคตของรฐั สภาจะท�ำหนา้ ที่ประมวลผลจากกระบวนการมสี ว่ น ร่วมของประชาชน แล้วน�ำเสนอรฐั บาลต่อไป รายงานการคาดการณ์ของฟนิ แลนดจ์ ึงเป็นมากกว่าส่ิงตี พิมพท์ เ่ี ผยแพรท่ ว่ั ไป เนื่องจากการด�ำเนินการตามข้อค้นพบและขอ้ เสนอของรายงานนมี้ ักใชเ้ วลานาน กวา่ 4 ปี น่นั หมายความวา่ รฐั บาลสมยั ต่อไปยังต้องด�ำเนนิ การบางสว่ นตามรายงานการคาดการณ์นนั้ นอกเหนืือจากรายงานการคาดการณ์์ของรััฐบาลแล้้ว ยัังมีีรายงานอื่�นอีีกที่�่หน่่วยงานในรััฐบาล ฟิินแลนด์์ใช้้ในการกำำ�หนดนโยบายสาธารณะ เครืือข่่ายการคาดการณ์์ของรััฐบาล (Government Foresight Network) จััดทำำ�รายงานบริิบทการกำำ�หนดนโยบายของฟิินแลนด์์ (Policy-Making Environment Report) นอกจากนี้� ทุุกกระทรวงต้้องจััดทำำ�การประมวลภาพอนาคต (Ministries Future Reviews) ซึ่ง� วิิเคราะห์ภ์ าพรวมของประเด็น็ ปััญหาที่ก่� ำำ�ลังั เกิดิ ขึ้�นและเสนอแนวทางการแก้ไ้ ข ปัญั หาที่่�เป็็นไปได้ภ้ ายใต้้บทบาทหน้้าที่ข�่ องแต่่ละกระทรวง สภาเศรษฐกิจิ (Economic Council) และ กระทรวงการคลังั ของฟินิ แลนด์์จััดทำ�ำ รายงานที่�่คาดการณ์อ์ ยู่�เป็็นประจำำ�ทุกุ ปีี ในการนี้� สภาเศรษฐกิิจ ของฟิินแลนด์์ทำำ�งานร่่วมกัับหน่่วยงานภาครััฐอื่�น ๆ สถาบัันวิิจััยและองค์์กรที่�่ปรึึกษา เพื่่�อเลืือกหััวข้้อ สำ�ำ หรับั การศึึกษาอนาคตและจััดทำ�ำ รายงานที่ส่� ่ง่ ต่่อให้้รัฐั บาลพิจิ ารณาต่่อไป13 เครอื ขา่ ยการคาดการณ์ของรฐั บาลฟนิ แลนด์ อีกองค์ประกอบหน่ึงของระบบคาดการณ์ของฟินแลนด์คือเครือข่ายการคาดการณ์ของรัฐบาล (Government Foresight Network) ซ่งึ มีส�ำนักนายกรัฐมนตรีท�ำหน้าท่ีเป็นเลขานุการและเป็นเจ้า ภาพในการประสานงานในกระบวนการคาดการณ์ร่วมกันระหว่างผู้เชี่ยวชาญและเจ้าหน้าท่ีวิเคราะห์ ด้านการคาดการณ์และอนาคตศึกษาของหน่วยงานรัฐบาลท้ังหมด สมาชิกหลักของเครือข่ายท่ีเป็น ทางการนป้ี ระกอบดว้ ยผูแ้ ทน 2 คนจากแตล่ ะกระทรวงในรัฐบาลฟนิ แลนด์ รวมท้ังหมด 12 กระทรวง และเจา้ หน้าทเ่ี ลขานกุ ารอีก 4 คน รวมเป็น 28 คน
219 | อนาคตศกึ ษา วัตถปุ ระสงคห์ ลักของเครอื ข่ายนคี้ ือ เพอื่ แลกเปล่ียนข้อมูลและความร้ดู า้ นการคาดการณ์ ทง้ั ใน เชงิ สาระและในเชงิ วธิ กี าร โดยมกี จิ กรรมหลกั คอื การวเิ คราะหป์ จั จยั ขบั เคลอ่ื นทผ่ี ลตอ่ แนวโนม้ และการ เปลี่ยนแปลงท่ีส�ำคัญในการพัฒนา รวมไปถึงสัญญาณอ่อนแล้วระบุถึงประเด็นปัญหาและความรับผิด ชอบทซี่ อ้ นทบั กนั ระหวา่ งหนว่ ยงาน เปรยี บเทยี บผลการวเิ คราะหท์ เ่ี หมอื นหรอื แตกตา่ งกนั ระหวา่ งหนว่ ย งาน แลว้ จงึ ผลติ และเผยแพรร่ ายงานการคาดการณ์ เพอ่ื น�ำเสนอตอ่ รฐั บาล รฐั สภาและสาธารณชนตอ่ ไป คณะกรรมาธิการสามญั ว่าด้วยอนาคต รัฐสภาหรือสภานิติบัญญัติแห่งชาติในประเทศต่าง ๆ มักจัดต้ังคณะกรรมาธิการสามัญเพ่ือ พิจารณากฎหมายและติดตามการท�ำงานของรัฐบาล รัฐสภาของฟินแลนด์ก็แต่งต้ังคณะกรรมาธิการ สามญั ทั้งหมด 17 คณะ หน่ึงในนั้นคือคณะกรรมาธิการว่าด้วยอนาคต (Parliament’s Committee for the Future) ซ่ึงจัดต้ังคร้ังแรกเป็นคณะกรรมการวิสามัญใน พ.ศ. 2536 และยกระดับเป็นคณะ กรรมการสามัญใน พ.ศ. 2543 คณะกรรมาธิการน้ีไม่ได้ท�ำหน้าที่ร่างและพิจารณากฎหมายเหมือน กับคณะกรรมาธิการชุดอื่น แต่ท�ำหน้าท่ีให้ความเห็นและข้อเสนอแนะเก่ียวกับรายงานการคาดการณ์ ของรฐั บาล รวมถงึ ประเดน็ เกย่ี วกบั เทคโนโลยแี ละผลกระทบที่จะเกดิ ขน้ึ กบั สงั คม คณะกรรมาธกิ ารดงั กลา่ วสามารถเลอื กหวั ขอ้ และประเดน็ ในการวเิ คราะหแ์ ละพจิ ารณาไดต้ ามดลุ ยพนิ จิ ของตนเอง ทผ่ี า่ นมา คณะกรรมาธิการชุดน้ีผลิตและเผยแพร่เอกสารท่ีแสดงผลการประเมินเทคโนโลยีและประเด็นที่ส�ำคัญ ซงึ่ กลายเปน็ พนื้ ฐานของการอภิปรายในรฐั สภาเม่อื ต้องพิจารณาประเดน็ ท่ีเก่ยี วขอ้ ง14 คุณลกั ษณะส�ำคญั ของคณะกรรมาธิการว่าดว้ ยอนาคตของรฐั สภาฟนิ แลนด์ แตกตา่ งจากรปู แบบ ในประเทศอ่ืน เชน่ ในรัฐสภาของเยอรมนี คณะกรรมาธกิ ารรฐั สภาไมไ่ ด้ด�ำเนินการศึกษาและประเมนิ อนาคตเอง แต่ว่าจ้างที่ปรกึ ษาหรอื สถาบนั วจิ ัยภายนอกใหท้ �ำหน้าท่สี ่วนนัน้ แทน เพื่อใหก้ ระบวนการ และผลการวิเคราะห์มีความเป็นกลางและไม่ข้ึนกับแนวคิดทางการเมืองของผู้แทนในรัฐสภา แต่ใน กรณีของฟินแลนด์ นักการเมืองท่ีอยู่ในคณะกรรมาธิการมีส่วนร่วมโดยตรงในกระบวนการคาดการณ์ โดยเร่ิมจากการก�ำหนดหัวข้อ ประเด็นและวิธีการคาดการณ์ ไปจนถึงการเข้าร่วมประชุมและเขียน รายงานทใ่ี หค้ วามเหน็ อยา่ งเปน็ ทางการตอ่ ขอ้ เสนอทไี่ ดร้ บั จากผเู้ ชย่ี วชาญ ความตง้ั ใจของแนวทางแบบ ฟนิ แลนดน์ ค้ี อื เพอ่ื ใหน้ กั การเมอื งเขา้ ใจประเดน็ ปญั หาและทางเลอื กของวธิ กี ารแกไ้ ขอยา่ งถอ่ งแท้ เพอ่ื น�ำไปสกู่ ารตดั สินใจทดี่ ขี ึ้น15 กลุ่มคาดการณด์ ้านแรงงาน สมรรถนะ และความตอ้ งการดา้ นการศึกษา นอกจากองค์ก์ รและสถาบันั ระดับั รัฐั บาลและรัฐั สภาแล้ว้ ยังั มีีการจัดั ตั้�งกลุ่�มคาดการณ์เ์ ฉพาะด้า้ น ขึ้�นระหว่่างกระทรวงต่่าง ๆ หนึ่่�งในนั้�นคืือ การร่่วมมืือกัันระหว่่างกระทรวงการจ้้างงานและเศรษฐกิิจ (Ministry of Employment and the Economy) กับั กระทรวงศึกึ ษาธิกิ าร (Ministry of Education) วััตถุุประสงค์์หลัักของการจััดตั้�งกลุ่�มการคาดการณ์์ร่่วมกัันระหว่่างสองกระทรวงเมื่�อ พ.ศ. 2551 คืือ เพื่่�อสร้้างระบบคาดการณ์์สำ�ำ หรัับการตััดสิินใจเชิิงนโยบายที่�่เกี่�่ยวข้้องกัับการศึึกษาด้้านอาชีีวะและ ความต้้องการด้้านทัักษะและสมรรถนะแรงงาน ทั้�งนี้� กระทรวงการจ้้างงานและเศรษฐกิิจได้้เน้้นการ
อนาคตศกึ ษา | 220 คาดการณ์ร์ ะยะสั้�นเกี่ย�่ วกับั ความต้อ้ งการแรงงานในภาพรวม และความต้อ้ งการด้า้ นสมรรถนะแรงงาน และการศึึกษา ในขณะที่�่กระทรวงศึึกษาธิิการจะเน้้นการคาดการณ์์ในเรื่�องคล้้ายกัันแต่่เน้้นภาพระยะ ยาว หน่ว่ ยงานทั้�งสองได้แ้ ลกเปลี่ย�่ นและวิิเคราะห์ข์ ้อ้ มููลด้้วยกััน แล้้วผลิิตรายงานที่ร่� ััฐบาลและรััฐสภา นำำ�ไปใช้ใ้ นการวางนโยบายต่่อไป เครือขา่ ยการคาดการณ์ของกองทนุ นวัตกรรมฟนิ แลนด์ กองทุนนวัตกรรมฟินแลนด์ (SITRA) จัดตัง้ ข้นึ ในรปู แบบองคก์ รอิสระใน พ.ศ. 2510 ภายใตก้ าร ก�ำกับของรัฐสภาฟินแลนด์ เพอื่ สง่ เสรมิ การสรา้ งนวตั กรรมและสวสั ดกิ ารของประชาชนชาวฟินแลนด์ โดยเนน้ ที่ประเดน็ ความทา้ ทายส�ำหรบั อนาคตของฟนิ แลนด์ พนั ธกจิ หลกั ของกองทนุ นวตั กรรมฟนิ แลนด์ คือการพฒั นาระบบนวัตกรรมและยกระดับขดี ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ กจิ กรรมหน่งึ ของกองทนุ ฯ คอื การคาดการณค์ วามทา้ ทายในอนาคต โดยการสนบั สนนุ การท�ำงานของเครอื ขา่ ยการ คาดการณร์ ะดบั ชาติ (National Foresight Network) ซงึ่ ประกอบไปดว้ ยผเู้ ชยี่ วชาญรายสาขาและนกั นโยบายท่ีท�ำงานรว่ มกนั ในการวิเคราะห์แนวโน้มและปัจจยั ขบั เคลอ่ื นต่าง ๆ สมาคมและชมรมอนาคตศกึ ษาฟินแลนด์ นอกเหนอื จากองคก์ รและเครอื ขา่ ยแบบเปน็ ทางการที่จดั ตงั้ โดยรฐั บาลและรฐั สภาแลว้ ฟนิ แลนด์ ยงั มกี ลมุ่ สมาคมและชมรมของนกั อนาคตศาสตรแ์ ละอนาคตศกึ ษาอยหู่ ลายกลมุ่ ดว้ ยกนั กลมุ่ ทมี่ ีจ�ำนวน สมาชิกมากที่สุดคือสมาคมอนาคตศาสตร์แห่งฟินแลนด์ (Finnish Society for Futures Studies) ซงึ่ ก่อต้ังใน พ.ศ. 2523 ตามข้อเสนอของคณะกรรมการวจิ ัยแหง่ ชาติ (Central Board of Research Councils) สมาชกิ ในสมาคมอนาคตศาสตร์แหง่ ฟินแลนด์ประกอบด้วยมหาวทิ ยาลยั 14 แหง่ สถาบนั การศกึ ษาและวจิ ัยอ่ืนอีก 14 แหง่ และสมาชกิ รายบุคคลมากกวา่ 700 คน16 รแะผบนบภคาาพดทก่ี า2ร4ณร์ ะดบั ชาตขิ องฟนิ แลนด์ ทม่ี า: Kuosa 2010
221 | อนาคตศึกษา อีกเครือข่ายหน่ึงที่มีกิจกรรมอนาคตศึกษาหรือการคาดการณ์คือสถาบันอนาคตแห่งฟินแลนด์ (Finland Futures Academy - FFA) ซึ่งประกอบด้วยมหาวทิ ยาลัย 9 แหง่ ท่ีมกี ารเรียนการสอนดา้ น อนาคตศาสตร์ โดยมีคณะเศรษฐศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเทอร์กู (Turku University) และศูนย์วิจัย อนาคตแห่งฟินแลนด์ (Finland Futures Research Centre – FFRC) ท�ำหน้าที่ประสานงานของ สถาบันศนู ย์ FFRC เปิดสอนหลักสตู รบัณฑิตศกึ ษาในดา้ นอนาคตศาสตร์ และเป็นหน่งึ ในสถาบันการ ศกึ ษาทใี่ หญท่ ส่ี ดุ แหง่ หนงึ่ ในโลกในดา้ นนี้ โครงการวจิ ยั และงานศกึ ษาอนื่ ของ FFRC ไดร้ บั เงนิ สนบั สนนุ จากกองทนุ พฒั นาระดบั ชาติของฟินแลนด์และจากประชาคมยโุ รป17 ผลงานของ FFRC โดยมากเป็น รายงานเชิงวิชาการมากกว่างานคาดการณ์ท่ีตอบโจทย์ของรัฐบาลในการก�ำหนดนโยบายสาธารณะ บทบาทของหน่วยงานนี้จึงแตกต่างจากองค์กรด้านอนาคตศึกษาอื่น ๆ ท่ีมีความสัมพันธ์โดยตรงกับ รฐั บาลและรัฐสภา นอกจากสมาคมทั้งสองแล้ว ฟนิ แลนดย์ งั มีการรวมกลมุ่ อยา่ งไม่เปน็ ทางการของนัก อนาคตศาสตร์ นักคาดการณ์ และผเู้ ชี่ยวชาญท่ใี นสาขาต่าง ๆ แผนภาพ 24 แสดงระบบคาดการณ์ ระดบั ประเทศของฟนิ แลนด์ องคป์ ระกอบทง้ั 6 กลมุ่ และความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งองคก์ รและสถาบนั เหลา่ น้ี กระบวนการคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตรข์ องฟนิ แลนดม์ ักด�ำเนินการตามข้นั ตอนดงั ต่อไปนี้ 1. กำ� หนดกรอบและระเบยี บ แผนพฒั นาของรฐั บาลก�ำหนดหวั ขอ้ และทศิ ทางของการศกึ ษา และคาดการณ์ของแตล่ ะกระทรวง ส�ำนกั นายกรฐั มนตรีท�ำหน้าที่ประสานงานและแต่งตั้ง คณะท�ำงานในดา้ นตา่ ง ๆ 2. เก็บรวบรวม ผลิตและประมวลข้อมูล หน่วยงานภาครัฐและสถาบันวจิ ัยเก็บรวบรวมและ ประมวลข้อมูลท่ีเกีย่ วข้องกับประเดน็ เนอ้ื หาแต่ละหวั ขอ้ และประเดน็ 3. วเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะหข์ อ้ มลู หนว่ ยงานและสถาบนั วจิ ยั วเิ คราะหแ์ นวโนม้ และคาดการณ์ การเปล่ยี นแปลงในอนาคต 4. ตีความ ส�ำนักนายกรัฐมนตรีผลิตรายงานเกี่ยวกับอนาคต เงื่อนไขและบริบทของการ ด�ำเนนิ โยบาย และผลการศกึ ษาของเครือข่ายอนาคตของรัฐบาล (Government Future Network) ส่วนคณะกรรมาธิการว่าด้วยอนาคตของรัฐสภา แสดงความเห็นและเสนอผล การประเมินเทคโนโลยี พร้อมด้วยความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของประชาชนเก่ียวกับ รายงานการคาดการณต์ ่าง ๆ 5. คาดการณ์ รายงานอนาคตท่ีผลิตโดยรัฐบาลจะมีการวิเคราะหฉ์ ากทัศน์ และสถานการณ์ สมมตทิ ่คี วรพิจารณา 6. ผลผลติ และเผยแพร่ การเผยแพร่รายงาน พรอ้ มกบั การจัดกระบวนการมีสว่ นรว่ มและรบั ฟังความคดิ เห็นจากทกุ ภาคสว่ น 7. กำ� หนดยุทธศาสตร์ แต่ละหนว่ ยงานน�ำเสนอทางเลือกเชงิ นโยบายและยุทธศาสตร์ เพ่อื ส่งต่อไปยังสภาเศรษฐกิจ (Economic Council) และกระทรวงท่ีเกี่ยวข้อง เพ่อื ก�ำหนด แผนการท�ำงานของรัฐบาล พรอ้ มกบั พรรคการเมืองและคณะกรรมาธิการของรฐั สภา
อนาคตศกึ ษา | 222 ระบบคาดการณ์ ของสงิ คโปร์ สงิ คโปรเ์ ปน็ อกี ประเทศหนงึ่ ทใ่ี หค้ วามส�ำคญั กบั ระบบคาดการณร์ ะดบั ชาติ และไดพ้ ฒั นาระบบสถาบนั และองค์กรที่เก่ียวข้องกับการคาดการณ์เพ่อื การวางแผนยุทธศาสตร์ของรัฐบาล จุดเร่ิมต้นของระบบ คาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตรข์ องสงิ คโปรค์ อื การจดั ตงั้ ส�ำนกั งานตรวจจบั ความเสย่ี งและวางแผนฉากทศั น์ (Risk Detection and Scenario Planning Office) ภายใตก้ ระทรวงกลาโหม (Ministry of Defense) ใน พ.ศ. 2534 หลังจากน้ัน รฐั บาลสงิ คโปรจ์ ัดต้ังส�ำนกั งานวางแผนฉากทัศน์ (Scenario Planning Office) ภายใตแ้ ผนกบรกิ ารสาธารณะ (Public Service Division) ของส�ำนกั นายกรฐั มนตรี (Prime Minister’s Office) ใน พ.ศ. 2538 หน้าท่ีหลักของหนว่ ยงานนค้ี อื การพฒั นาฉากทศั น์จากมุมมองใน ภาพรวมของรัฐบาลสิงคโปร์18 ต่อมาใน พ.ศ. 2546 ได้เปลี่ยนช่ือเป็นส�ำนักงานนโยบายยุทธศาสตร์ (Strategic Policy Office) เพื่อสะท้อนบทบาทท่ีเน้นการเชื่อมโยงงานด้านการคาดการณ์กับงาน วางแผนเชงิ ยุทธศาสตรม์ ากข้นึ ก า ร พัั ฒ น า ค รั้ � ง ใ ห ญ่่ ข อ ง ร ะ บ บ ค า ด ก า ร ณ์์ เชิิ ง ยุุ ท ธ ศ า ส ต ร์์ ข อ ง สิิ ง ค โ ปร์์ คืื อ ก า ร จัั ด ตั้ � ง แ ผ น งานประเมิินความเสี่่�ยงและการกวาดสััญญาณ (Risk Assessment and Horizon Scanning Programme) ใน พ.ศ. 2548 และศููนย์์การกวาดสััญญาณ (Horizon Scanning Centre) ใน พ.ศ. 2551 หลังั จากนั้�น กิิจกรรมด้า้ นการคาดการณ์แ์ ละศึกึ ษาอนาคตได้แ้ พร่ข่ ยายไปทุกุ หน่ว่ ยงาน ของรััฐบาลสิิงคโปร์์ โดยจััดตั้�งแผนกและกลุ่�มงานที่่�ทำำ�หน้้าที่�่ด้้านนี้�โดยเฉพาะในแต่่ละหน่่วยงาน จึึงมีี ความจำำ�เป็น็ ที่ต�่ ้อ้ งจัดั ตั้�งหน่ว่ ยงานประสานการทำำ�งานของกลุ่�มศึกึ ษาอนาคตเหล่า่ นี้� รัฐั บาลสิงิ คโปร์จ์ ึงึ จััดตั้�งเครืือข่่ายอนาคตเชิิงยุุทธศาสตร์์ (Strategic Futures Network) ขึ้�นใน พ.ศ. 255319 ในช่่วงเวลาใกล้้เคีียงกัันนี้� รััฐบาลสิิงคโปร์์ได้้จััดตั้�งศููนย์์เพื่่�ออนาคตเชิิงยุุทธศาสตร์์ (Centre for Strategic Futures – CSF) ใน พ.ศ. 2552 ในฐานะหน่่วยงานให้ค้ ำ�ำ ปรึึกษาภายในสำ�ำ นักั งานนโยบาย ยุทุ ธศาสตร์์ (SPO) เพื่่อ� เน้น้ งานวิเิ คราะห์เ์ กี่ย่� วกับั ประเด็น็ หัวั ข้อ้ ที่ย่� ังั มีีการศึกึ ษาอยู่่�น้อ้ ยหรือื เป็น็ จุดุ บอด และดำ�ำ เนิินโครงการวิิจััยอนาคตระยะยาว ไปพร้้อมกัับการทดลองใช้้วิิธีีการคาดการณ์์ใหม่่ที่่�ทัันสมััย มากขึ้�น เมื่อ� ไม่น่ านมานี้� ใน พ.ศ. 2558 ศููนย์์ CSF ได้้ยกระดัับเป็น็ กลุ่�มยุุทธศาสตร์ห์ นึ่่ง� ในสำำ�นักั นายก รัฐั มนตรีี โดยมีีหน้า้ ที่ส่� นับั สนุนุ การวางแผนยุทุ ธศาสตร์แ์ ละการจัดั ลำ�ำ ดับั ความสำำ�คัญั ของนโยบายรัฐั บาล ทั้�งหมด รวมไปถึงึ การประสานการทำำ�งานและการพัฒั นายุทุ ธศาสตร์ร์ ะหว่า่ งหน่ว่ ยงาน และส่ง่ เสริมิ การ พััฒนาขีีดความสามารถด้้านต่่าง ๆ ในงานบริกิ ารสาธารณะของรััฐบาลสิิงคโปร์์
223 | อนาคตศึกษา รแะผบนบภคาาพดทกี่ า2ร5ณ์ระดบั ชาติของสิงคโปร์ ทม่ี า: Kuosa 2010 กิิจกรรมด้้านการคาดการณ์์เชิิงยุุทธศาสตร์์ของรััฐบาลสิิงคโปร์์เกืือบทั้ �งหมดอยู่ �ภายใต้้การกำำ�กัับ ของสำ�ำ นักั นายกรัฐั มนตรีี ซึ่ง� สื่อ� ให้เ้ ห็น็ ว่า่ รัฐั บาลสิงิ คโปร์ใ์ ห้ค้ วามสำ�ำ คัญั กับั การศึกึ ษาอนาคตและการคาด การณ์เ์ ป็น็ อย่า่ งมาก หน่ว่ ยงานย่อ่ ย 2 แห่ง่ ภายใต้ส้ ำ�ำ นักั นายกรัฐั มนตรีีมีีบทบาทพิเิ ศษในการคาดการณ์์ เชิงิ ยุทุ ธศาสตร์ข์ องสิงิ คโปร์์ คือื สำ�ำ นักั งานปลัดั กระทรวง (Permanent Secretary Secretariat) ด้า้ นความ มั่�นคงแห่่งชาติิและการประสานงานข่า่ วกรอง (National Security and Intelligence Coordination - NSIC) ซึ่ง� มีีศูนู ย์์ประสานงานด้้านความมั่�นคงแห่ง่ ชาติิ (National Security Coordiation Center) ภายใต้้องค์์กรนี้� งานด้้านการคาดการณ์์จะดำำ�เนิินการโดยศููนย์์กวาดสััญญาณ (Horizon Scanning Office) อีีกหน่ว่ ยงานหนึ่่ง� ภายใต้ส้ ำำ�นักั นายกรัฐั มนตรีีที่ท�่ ำ�ำ งานด้า้ นการคาดการณ์ค์ ือื สำำ�นักั งานนโยบาย ยุุทธศาสตร์์ (SPO) และศููนย์์เพื่่�ออนาคตเชิิงยุุทธศาสตร์์ (CSF) และเครืือข่่ายอนาคตเชิิงยุุทธศาสตร์์ (SFN) ที่ไ่� ด้ก้ ล่่าวถึึงไปตอนต้้น บทบาทสำำ�คััญของหน่่วยงาน SFN คือื สร้้างความตระหนักั ในหน่่วยงาน ของรััฐบาลทั้�งหมดเกี่่ย� วกับั กิจิ กรรมและผลงานของหน่่วยคาดการณ์์ตามหน่่วยงานต่่าง ๆ ไปพร้อ้ มกับั การประสานงานระหว่า่ งหน่ว่ ยงานเหล่า่ นี้� เพื่่อ� เสริมิ ฤทธิ์�ของการทำำ�งานร่ว่ มกันั และการขยายขนาดและ ขอบเขตของงานที่�่ทำำ�ร่่วมกัันได้้ นอกจากทั้�งสององค์์กรนี้�แล้้ว ยัังมีีหน่่วยคาดการณ์์เชิิงยุุทธศาสตร์์ (Strategic Foresight Unit) ภายใต้้กระทรวงการคลััง (Ministry of Finance) ที่�่ดำำ�เนิินกิิจกรรม ด้้านการคาดการณ์์ โดยเน้้นประเด็็นที่่�มีีผลสืืบเนื่่�องระยะยาวต่อ่ ระบบการเงิินและการคลังั ของสิงิ คโปร์์
อนาคตศกึ ษา | 224 คุณุ ลักั ษณะสำำ�คัญั ของระบบคาดการณ์เ์ ชิงิ ยุทุ ธศาสตร์ข์ องสิงิ คโปร์ท์ ี่เ�่ หมือื นกับั กรณีีของฟินิ แลนด์์ คือื ความตระหนักั และการให้ค้ วามสำ�ำ คัญั กับั การคาดการณ์ภ์ ายในหน่ว่ ยงานรัฐั บาล ทั้�งการจัดั ตั้�งองค์ก์ ร เฉพาะทางด้า้ นอนาคตศึกึ ษาและการนำ�ำ ผลผลิติ และผลลัพั ธ์จ์ ากกิจิ กรรมการคาดการณ์ไ์ ปใช้ต้ ่อ่ จริงิ ใน การวางแผนนโยบายและยุุทธศาสตร์์ด้า้ นต่่าง ๆ ของประเทศ ส่่วนที่่แ� ตกต่า่ งกัันอย่่างชััดเจนคืือกลุ่�ม ชุุมชนด้้านอนาคตศึึกษาที่�่ไมได้้อยู่�ภายในหน่่วยงานของรััฐบาล ในสิิงคโปร์์ นัักคาดการณ์์และอนาคต ศึึกษาที่่�ไม่่ได้้สัังกััดรััฐบาลโดยตรงมีีอยู่�ไม่่มาก เมื่�อเปรีียบเทีียบกัับกรณีีของฟิินแลนด์์ แม้้ว่่าวิิทยาลััย นานาชาติศิ ึกึ ษา เอส ราชารัตั นัมั (S. Rajaratnam School of International Studies) ในมหาวิทิ ยาลัยั เทคโนโลยีีหนานหยาง (Nanyang Technological University) มีีการเปิดิ หลักั สููตรด้า้ นอนาคตศึึกษา และมีีโครงการวิจิ ััย และศึึกษาประเด็น็ ท้้าทายในอนาคตร่ว่ มกัับรัฐั บาลสิิงคโปร์์อยู่�เป็็นประจำำ�ก็็ตาม20 คุณุ ลักั ษณะเฉพาะของระบบคาดการณ์ข์ องสิงิ คโปร์ค์ ือื การรวมศูนู ย์ข์ องการบริหิ ารจัดั การระบบ คาดการณ์์ระหว่่างหน่่วยงานรััฐบาลทั้�งหมด หน่่วยงานและกิิจกรรมด้้านการคาดการณ์์ทั้�งหมดของ รัฐั บาลสิงิ คโปร์์ ไม่ว่ ่า่ จะอยู่�ในกระทรวงหรือื สำำ�นักั งานใดก็ต็ ามจะอยู่�ภายใต้ก้ ารกำ�ำ กับั โดยตรงของผู้้�ดำำ�รง ตำ�ำ แหน่ง่ หััวหน้า้ เจ้้าหน้า้ ที่�่ภาครััฐ (Head of civil service) ซึ่�งมีีบทบาทคล้้ายกัับเลขาธิิการสำ�ำ นักั งาน คณะกรรมการข้า้ ราชการพลเรือื นของรัฐั บาลไทย หัวั หน้า้ เจ้า้ หน้า้ ที่ภ่� าครัฐั โดยตำ�ำ แหน่ง่ แล้ว้ ยังั เป็น็ ปลัดั กระทรวง (permanent secretary) ด้้านความมั่�นคงแห่ง่ ชาติแิ ละการประสานข่่าวกรอง (National Security and Intelligence Coordination) และปลััดกระทรวงการคลังั อีีกทั้�งยังั เป็็นประธานของ เครืือข่า่ ยอนาคตเชิงิ ยุทุ ธศาสตร์์ (Strategic Futures Network) อีีกด้้วย
225 | อนาคตศึกษา สรุป ระบบคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์ระดับประเทศของฟินแลนด์และสิงคโปร์เป็นสองตัวอย่าง ท่ีถือว่าเป็นระบบคาดการณ์ระดับชาติที่ได้พัฒนาไปมาก ท้ังในด้านองค์กร สถาบัน และ บุคลากรท่ีเข้ามามีส่วนร่วมในการคาดการณ์และการน�ำผลจากการคาดการณ์ไปใช้ต่อในการ วางแผนนโยบายระดับประเทศ ท้ังสองประเทศมีรูปแบบและโครงสร้างของระบบคาดการณ์ เชิงยุทธศาสตร์ที่แตกต่างกัน ซ่ึงเป็นไปตามบริบทด้านการวางแผนนโยบายสาธารณะของ แต่ละประเทศ ปัจจัยส�ำคัญประการหน่ึงท่ีท�ำให้ระบบคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์ของท้ังสอง ประเทศประสบความส�ำเร็จคือ การเชื่อมระบบคาดการณ์กับองค์ประกอบส่วนอื่น ๆ ของ ระบบการวางแผนนโยบายและยุทธศาสตร์ทัง้ หมดเขา้ ด้วยกนั ไมไ่ ด้แยกสว่ นซง่ึ กันและกนั จึง ท�ำใหก้ ระบวนการและผลลพั ธจ์ ากการคาดการณส์ อดคลอ้ งกนั และเปน็ ประโยชนก์ บั หนว่ ยงาน ราชการหรอื องค์กรเอกชนอน่ื ๆ ทีส่ ามารถเอาผลการคาดการณไ์ ปวางแผนนโยบายและการ ท�ำงานของแตล่ ะองค์กรได้ เม่ือเปรียบเทียบโครงสร้างและแนวคิดพื้นฐานของระบบคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์ของ ฟินแลนด์และสิงคโปร์แล้ว จะเห็นได้ว่า ทั้งสองประเทศต่างให้ความส�ำคัญมากกับการคาด การณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์ โดยทร่ี ฐั บาลของทงั้ สองประเทศตา่ งตระหนกั และใหค้ วามส�ำคญั กบั การ คาดการณ์ในหนว่ ยงานรฐั บาล ทงั้ สองประเทศจัดตงั้ องค์กรเฉพาะทางด้านการคาดการณ์เชิง ยทุ ธศาสตร์และดา้ นอนาคตศกึ ษา อีกท้งั ยังมกี ารน�ำผลผลิตและผลลัพธจ์ ากการคาดการณไ์ ป ใช้ต่อจรงิ ในการวางแผน ในขณะเดียวกัน ท้ังสองประเทศมีความแตกต่างในโครงสร้างและแนวคิดพื้นฐานของ ระบบคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์ โครงสร้างและระบบด้านการคาดการณ์ของฟินแลนด์แสดง ถึงความพยายามในการถ่วงดุลอ�ำนาจระหว่างฝ่ายบริหารกับฝ่ายนิติบัญญัติ จึงมีหน่วยงานท่ี รบั ผดิ ชอบดา้ นการคาดการณท์ อ่ี ยภู่ ายใตร้ ฐั บาลและทอี่ ยภู่ ายใตร้ ฐั สภา และมกี ระบวนการใน การตรวจสอบเนอื้ หาซง่ึ กนั และกนั พรอ้ มกนั น้ี ชมุ ชนดา้ นอนาคตศกึ ษาและการคาดการณข์ อง ฟนิ แลนด์มอี ยูใ่ นหลายองคก์ ร ทั้งท่ีเปน็ สถาบันการศึกษา สถาบันการวิจยั บริษทั เอกชน และ องคก์ รภาคประชาชน โครงการคาดการณท์ น่ี �ำไปสกู่ ารก�ำหนดนโยบายมกั เปดิ ใหต้ วั แทนกลมุ่ ผู้ มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี หรอื ประชาชนทว่ั ไปเขา้ มามสี ว่ นรว่ มดว้ ย โครงสรา้ งและระบบคาดการณเ์ ชงิ ยุทธศาสตรอ์ าจนบั ไดว้ ่าเป็นแบบกระจายศนู ย์ ในทางตรงกันขา้ ม โครงสรา้ งและระบบการคาดการณ์ของสิงคโปร์ขึน้ อยู่กบั รฐั บาลเปน็ หลัก และมีการรวมศูนย์อ�ำนาจในการบริหารจัดการและตัดสินใจไว้กับหน่วยงานหลักของ รัฐบาล แม้ว่าอาจมีสถาบันการศึกษาท่ีมีการเรียนการสอนและงานวิจัยในด้านอนาคตศึกษา และการคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์บ้าง แต่มักเป็นหน่วยงานรัฐบาลทีด่ �ำเนินกระบวนการคาด การณ์ กระบวนการมสี ว่ นรว่ มของตวั แทนประชาชนหรอื ประชาชนทัว่ ไปในการคาดการณเ์ ชงิ
อนาคตศกึ ษา | 226 ยทุ ธศาสตรจ์ งึ มอี ยนู่ อ้ ย อาจกลา่ วไดว้ า่ ระบบคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตรข์ องแตล่ ะประเทศสะทอ้ น ปรชั ญาพืน้ ฐานและแนวทางการบรหิ ารรัฐกิจโดยรวมของประเทศนน้ั ทง้ั นท้ี งั้ นน้ั ระบบคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตรข์ องทงั้ สงิ คโปรแ์ ละฟนิ แลนดต์ า่ งกเ็ ปน็ สว่ นหนง่ึ ของระบบการวางแผนนโยบายสาธารณะของประเทศท่ีได้รับการยอมรับว่ามีประสิทธิภาพใน การบรหิ ารรัฐกจิ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในดา้ นขดี ความสามารถในการน�ำแผนไปปฏบิ ัติใช้จรงิ สว่ น หนงึ่ อาจเนอ่ื งจากการวางแผนนโยบายสาธารณะในประเทศเหลา่ นยี้ ดึ ถอื หลกั การใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ ผลการคาดการณ์จงึ มกั ไดร้ ับการยอมรบั จากนักวางแผนและผมู้ ีอ�ำนาจตัดสนิ ใจ ในทางตรงกันข้าม ในประเทศท่ีมีขีดความสามารถในการปฏิบัติต�่ำกว่าประเทศเหล่านี้ กระบวนการวางนโยบายสาธารณะอาจไม่ให้ความส�ำคัญกับหลักฐานเชิงประจักษ์เท่าใดนัก และแผนที่ได้พัฒนาข้ึนมามักไม่น�ำไปสู่การปฏิบัติ ความท้าทายหนึ่งของระบบคาดการณ์เชิง ยุทธศาสตร์จึงคือการสร้างความตระหนักทั้งในวงกว้างและในวงการนักวิชาการและนักนโยบาย ถึงความส�ำคัญและประโยชน์ของการคาดการณ์ การสร้างชุมชนนักปฏิบัติ (community of practice) ด้านการคาดการณ์จึงมีความส�ำคัญยิ่ง โดยเป็นชุมชนฐานกว้างที่ครอบคลุมไปถึงผู้ ปฏิบัติในองค์กรไม่แสวงหาก�ำไร ส่ือมวลชน ผู้น�ำท้องถ่ิน กลุ่มเยาวชน ฯลฯ นอกเหนือไปจาก นักวิชาการ เทคโนแครตในองค์กรภาครัฐ นักการเมือง และผู้เช่ียวชาญจากต่างประเทศ ซึ่งมัก มีบทบาทในการก�ำหนดนโยบายสาธารณะมาแต่เดิมอยู่แล้ว
227 | อนาคตศกึ ษา
อนาคตศึกษา | 228 5 อนาคตศกึ ษา ในประเทศไทย Yesterday is gWoneeh. aTvoemoonrrloywtohdaasyn. Loettyuets cboemgine.. Mother Teresa
229 | อนาคตศกึ ษา อนาคตในภาษา แตล่ ะวฒั นธรรมแตล่ ะภาษาตา่ งพฒั นาค�ำศพั ทข์ นึ้ มาอธบิ ายปรากฏการณร์ อบตวั ไมเ่ หมอื นกนั ตวั อยา่ ง เช่น ค�ำวา่ “หิมะ” ในภาษาไทยมอี ยู่เพยี งค�ำเดยี ว เชน่ เดยี วกบั ค�ำวา่ “น�้ำแขง็ ” แตใ่ นภาษาอนิ นวูท (Inuit) ของชาวเอสกโิ มมคี �ำทใ่ี ชห้ มายถงึ หมิ ะและสภาพตา่ ง ๆ ของหมิ ะมากกวา่ 50 ค�ำ ในภาษาซามี (Saami) ทใ่ี ชแ้ พรห่ ลายในนอร์เวย์ สวเี ดนและฟนิ แลนด์ มคี �ำศัพท์มากกวา่ 180 ค�ำทสี่ ่ือถงึ สภาพต่าง ๆ ของหมิ ะและน�ำ้ แขง็ 1 เช่นเดียวกันนี้ ในภาษาอังกฤษมีค�ำที่ใช้อธิบายความพยายามในการรู้ถึงและเข้าใจถึงอนาคต อยู่จ�ำนวนมาก จากการสืบค้นค�ำเหมือนของค�ำว่า forecast ใน thesaurus.com พบว่ามีค�ำท่ีมี ความหมายเหมือนหรือคล้ายกันอยู่จ�ำนวนมาก อาทิ anticipate, augur, calculate, conclude, determine, estimate, foresee, foretell, gauge, portend, adumbrate, conjecture, demonstrate, divine, figure, gather, infer, plan, predetermine, presage, prognosticate, prophesy, reason, surmise, telegraph, call the turn, dope out, figure out, in the cards, see it coming, soothsay เมื่อค้นหาเพิ่มเติมในพจนานุกรมออนไลน์ Oxforddictionaries.com แล้ว พบค�ำเหมือนเพ่ิมเติม ได้แก่ predict, forewarn, guess, hazard a guess, conjecture, speculate, estimate, reckon, expect, previse, vaticinate, auspicate ในทางกลับกนั ค�ำเหล่านีใ้ นภาษาไทยมอี ยู่ไม่มาก และดูเหมือนกับว่าเปน็ ค�ำท่ีพยายามแปลมา จากภาษาอังกฤษหรือภาษาอน่ื เช่น พยากรณ์ คาดการณ์ คาดคะเน คาดประมาณ ท�ำนายทายทกั เดา คาดเดา หย่ังรู้ มองไปข้างหน้า ฯลฯ หากเราเชือ่ ในทฤษฎภี าษาสัมพทั ธ์ (linguistic relativity) ซึ่งเสนอว่า ผู้คนที่ใช้ภาษาต่างกันจะคิดและมองโลกต่างกันเน่ืองจากใช้ค�ำศัพท์และไวยากรณ์ท่ีต่าง กัน การที่ศัพท์ภาษาไทยทสี่ ือ่ ถึงความพยายามร้ถู ึงอนาคตมไี มม่ ากเทา่ กับในภาษาอังกฤษหรือภาษา อน่ื อาจตงั้ เปน็ สมมตฐิ านไดว้ า่ ผคู้ นในสงั คมไทยอาจไมไ่ ดค้ ดิ ถงึ อนาคตเทา่ กบั ผคู้ นในสงั คมวฒั นธรรม อ่นื หรือมีความคดิ เกี่ยวกับอนาคตในรูปแบบทีแ่ ตกต่างจากสังคมวัฒนธรรมอื่น อยา่ งไรกต็ าม แม้วา่ เป็นทร่ี กู้ ันดีในวงการอนาคตศกึ ษาว่า ประเทศไทยยังมงี านวจิ ยั เกยี่ วกับอนาคตอยู่ไมม่ าก แต่นัน่ ก็ไม่ ได้หมายความว่า คนไทยไม่คิดถึงอนาคต ค�ำถามเก่ียวกับมุมมองและทัศนคติของคนไทยเก่ียวกับ อนาคตจึงยงั คงตอ้ งมีการศกึ ษาเชงิ ประจกั ษ์ต่อไป
อนาคตศึกษา | 230 อยา่ งไรกต็ าม การค�ำนงึ ถงึ อนาคตเปน็ สว่ นหนงึ่ ของกระบวนการวางแผน ไมว่ า่ จะมกี ารระบอุ ยา่ ง ชัดเจนเกีย่ วกบั ภาพอนาคต และใช้แนวคดิ และวธิ กี ารวิเคราะหต์ ามหลักอนาคตศาสตรห์ รือไมก่ ต็ าม การวิเคราะห์เพื่อการวางแผนนโยบายในประเทศไทย นับตั้งแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ง ชาติ ไปจนถงึ แผนยุทธศาสตรร์ ะดบั กระทรวงทบวงกรม โดยมากเนน้ การพจิ ารณาแนวโนม้ จากอดตี สถานการณ์ปัจจุบัน และความเป็นไปได้ในอนาคต ทั้งการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้าง ประชากร ดา้ นการต้ังถ่ินฐานดา้ นเศรษฐกจิ และการลงทุน ดา้ นการเปลี่ยนแปลงดา้ นเทคโนโลยี ดา้ น สงั คมวัฒนธรรม ด้านกฎหมายและสถาบนั รวมถึงด้านสิ่งแวดล้อม เช่น การเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิ อากาศ ดงั นนั้ ทกุ ศาสตรแ์ ละสาขาวชิ าทสี่ รา้ งองคค์ วามรแู้ ละขอ้ มลู พนื้ ฐานทนี่ �ำไปใชใ้ นการวางแผน ลว้ นแลว้ แตม่ กี ารศกึ ษาอนาคตดว้ ยกนั ทง้ั สนิ้ โดยเนน้ การคาดการณแ์ ละพยากรณใ์ นประเดน็ ทส่ี นใจ ของตนเองด้วยกรอบแนวคิดและเคร่ืองมือวิเคราะห์ที่นิยมอยู่ในศาสตร์นั้น ด้วยเหตุนี้ การศึกษา อนาคตไม่ใชเ่ ปน็ เร่ืองใหมส่ �ำหรับวงการวิชาการและวงการวางแผนนโยบายในประเทศไทย แม้ว่านักวิชาการในประเทศไทยได้ศึกษาการเปล่ียนแปลงด้านต่าง ๆ เพื่อการวางแผนอนาคต มาอยู่พอสมควร แต่การศึกษาอนาคตอย่างเป็นระบบตามแนวคิดท่ีพัฒนาเร่ือยมาในวงการอนาคต ศาสตร์ระดับโลกดังที่ทบทวนมาในบทก่อนหน้านี้ อาจยังไม่แพร่หลายในวงการวิชาการและวงการ วางแผนในประเทศไทยเทา่ ใดนกั กรอบแนวคดิ และเครือ่ งมอื ทใ่ี ชใ้ นงานศกึ ษาอนาคตในประเทศไทย ทผ่ี ่านมามีจ�ำกัด ถึงแมว้ า่ นกั วิชาการและนักวางแผนนโยบายอาจไดร้ ับการอบรมและเรยี นรเู้ ก่ยี วกบั อนาคตศาสตรแ์ ละการคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตรม์ าบา้ ง แตย่ งั ไมม่ ากพอที่จะสรา้ งชมุ ชนทางวชิ าการที่ มคี วามคกึ คกั และเผยแพรค่ วามรแู้ ละเครอ่ื งมอื ดา้ นการศกึ ษาอนาคตไปทวั่ ประเทศ อกี ทง้ั ประเทศไทย ยงั ไมม่ กี ารเรยี นการสอนดา้ นอนาคตศาสตรอ์ ยา่ งเปน็ กจิ จะลกั ษณะ จงึ นบั เปน็ สาขาวชิ าทย่ี งั มชี อ่ งวา่ ง และโอกาสที่จะพฒั นาตอ่ ไปได้อีกมาก เน้ือหาในบทนี้ทบทวนงานด้านอนาคตศาสตร์ของประเทศไทย ทั้งงานวิชาการที่วิเคราะห์แนว โน้มการเปลี่ยนแปลงและภาพอนาคตของปรากฏการณ์ การใช้วิธีการวิเคราะห์ด้านอนาคตศาสตร์ โดยเฉพาะงานศึกษาอนาคตของประเทศไทยที่ได้รับการอ้างอิงถึงในวงการอนาคตศาสตร์ รวมถึง การจดั ตงั้ สถาบนั และองคก์ รทเ่ี นน้ การศกึ ษาอนาคตและการคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตรใ์ นประเทศไทย
231 | อนาคตศึกษา ประสบการณด์ า้ นอนาคต ศกึ ษาในประเทศไทย แม้ว่าสถาบันการศึกษาในประเทศไทยในปัจจุบันยังไม่เปิดสอนหลักสูตรอนาคตศาสตร์อย่างเป็น ทางการ แต่ทผี่ า่ นมามีการเผยแพร่แนวคดิ และวธิ ีการวจิ ัยอนาคตและการคาดการณ์เชิงยทุ ธศาสตร์ อยบู่ า้ ง ในบางครงั้ เปน็ การฝกึ อบรมเฉพาะกจิ ส�ำหรบั ผบู้ รหิ าร นกั วางแผนหรอื นกั วจิ ยั ทส่ี นใจ ในบาง กรณเี ปน็ การสอนวธิ กี ารศกึ ษาอนาคตในรายวชิ าดา้ นระเบยี บวธิ วี จิ ยั ในหลกั สตู รดา้ นศกึ ษาศาสตรห์ รอื ครศุ าสตร์ วธิ กี ารพยากรณแ์ ละคาดการณบ์ างประเภทเปน็ สว่ นหนง่ึ ของความรแู้ ละทกั ษะในบางสาขา วชิ าอยแู่ ลว้ เชน่ การพยากรณด์ า้ นเศรษฐกจิ ดว้ ยเครือ่ งมอื เศรษฐมติ แิ ละแบบจ�ำลองทางสถติ ใิ นสาขา เศรษฐศาสตร์ การวเิ คราะหร์ ะบบในสาขาวศิ วกรรมศาสตร์ ฯลฯ แตค่ วามรแู้ ละเครอ่ื งมอื เหลา่ นไ้ี มไ่ ด้ น�ำเสนอเป็นสว่ นหนึง่ ของวชิ าอนาคตศึกษาโดยตรง ในการประมวลองค์์ความรู้้�ด้้านอนาคตศึึกษาในโครงการวิิจััยที่�่เป็็นจุุดเริ่ �มต้้นของหนัังสืือเล่่มนี้ � ผู้�เขีียนพยายามตอบคำำ�ถามว่่า งานวิจิ ััยและงานวางแผนในประเทศไทยที่ผ่� ่่านมาได้้ใช้้กรอบความคิิด และวิิธีีการคาดการณ์์อย่่างใดบ้้าง จุุดเริ่�มต้้นของการวิิเคราะห์์ในส่่วนนี้้�คืือการเลืือกชุุดเครื่�องมืือที่�่ วงการอนาคตศาสตร์ย์ อมรับั ว่า่ เป็น็ วิธิ ีีการที่เ�่ ป็น็ ระบบและเชื่อ� ถือื ได้้ โดยผู้�เขีียนได้เ้ ลือื กชุดุ วิธิ ีีการศึกึ ษา อนาคตที่ป่� ระมวลโดยเจอโรม เกลน (Jerome Glenn) และเธโอดอร์์ กอร์ด์ อน (Theodore Gordon) ในหนังั สือื Futures Research Methodology Version 3.0 (2009) ตามที่อ่� ธิบิ ายไปโดยสังั เขปในบท ที่ส�่ ี่�่ พร้้อมกัันนี้� ผู้�เขีียนยังั ได้้สืืบหาบทความวิิชาการที่�่ศึกึ ษาประเด็น็ เกี่ย�่ วกัับอนาคตของประเทศไทย ในด้า้ นต่่าง ๆ ที่่ใ� ช้เ้ ครื่�องมือื ใดเครื่อ� งมือื หนึ่่�งที่ร�่ ะบุไุ ว้้ในบทนั้�น การประมวลความรู้�ที่น� ำำ�เสนอในบทนี้� จะเน้้นบทความหรืือรายงานทั้�งภาษาไทยและภาษาอัังกฤษ ทั้�งที่�ม่ ีีการเผยแพร่่ต่่อสาธารณะและที่ใ่� ช้้ เพื่่อ� การวางแผนและดำำ�เนิินการภายในองค์ก์ รเท่่าที่จ�่ ะสืืบหาและอ้า้ งอิิงถึงึ ได้้ จากการประมวลงานวจิ ยั และงานวางแผนทมี่ กี ารพยากรณแ์ ละคาดการณอ์ นาคตดา้ นตา่ ง ๆ ใน ประเทศไทยจ�ำนวน 140 รายการ พบวา่ ในภาพรวม แมว้ า่ งานวจิ ัยและงานวางแผนในประเทศไทย โดยมากไม่ได้ระบุอย่างชัดเจนว่าเป็นงานด้านอนาคตศึกษาโดยตรง แต่มีงานจ�ำนวนมากท่ีวิเคราะห์ แนวโนม้ การเปลยี่ นแปลงและคาดการณห์ รอื พยากรณไ์ ปขา้ งหนา้ โดยใชว้ ธิ กี ารและเครือ่ งมอื ทไี่ ดร้ ับ การยอมรับในหมู่นักอนาคตศาสตร์ และโดยมากใช้วิธีการและเครื่องมือเชิงปริมาณเป็นหลัก โดยมี ความหลากหลายดา้ นกรอบความคดิ และประเภทของแบบจ�ำลอง ทง้ั น้ี กรอบแนวคดิ เกยี่ วกบั อนาคต ในงานเหลา่ นโ้ี ดยมากเปน็ ในลกั ษณะของการพยากรณ์ (prediction, forecast) ของอนาคตเชงิ เดย่ี ว
อนาคตศกึ ษา | 232 มากกวา่ การคาดการณ์แบบพหุอนาคต (multiple futures) แต่กม็ บี างงานทีว่ เิ คราะหส์ ถานการณ์ หรือฉากทัศน์ทผ่ี นั แปรไปตามเง่อื นไขและคา่ พารามิเตอร์ของตวั แปรทแี่ ตกต่างกนั นอกจากนี้ งานวจิ ยั และงานวางแผนในประเทศไทยทค่ี �ำนงึ ถงึ อนาคตมคี วามหลากหลายมากทงั้ ในดา้ นประเดน็ หวั ขอ้ และเครอื่ งมอื ทใ่ี ชว้ เิ คราะห์ หวั ขอ้ ทพ่ี บมตี งั้ แตด่ า้ นวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพและดา้ น การแพทย์ เชน่ เรอ่ื งระบาดวทิ ยา ดา้ นวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพในหวั ขอ้ เกย่ี วกบั สภาพภมู อิ ากาศและสง่ิ แวดล้อม ไปจนถงึ ด้านสงั คมศาสตร์ ซึง่ มีหวั ขอ้ ต้ังแต่เร่ืองการเปลีย่ นแปลงดา้ นประชากร ทรพั ยากร บคุ คล ดา้ นเศรษฐศาสตรม์ หี วั ข้อเกี่ยวกบั การเงนิ การธนาคาร ที่ดนิ และอสังหาริมทรัพย์ ทอ่ี ยูอ่ าศยั ในด้านภูมิศาสตร์ มีการวิเคราะห์การใช้ประโยชน์ที่ดิน การศึกษา การท่องเที่ยว รวมถึงงานศึกษา ท่มี ุ่งเพือ่ การวางแผน เช่น การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ การพัฒนาอุตสาหกรรม การวางแผนด้าน สาธารณปู โภคสาธารณปู การ โครงขา่ ยและระบบการขนสง่ ฯลฯ อาจกลา่ วไดว้ า่ แทบทกุ ศาสตรแ์ ละ สาขาทม่ี กี ารวิจัยเชิงประจักษ์และมีนัยของการวางแผนนโยบายจะมีงานศึกษาเกี่ยวกับแนวโน้มและ การคาดการณไ์ ปยงั อนาคต เปน็ ทนี่ า่ สงั เกตวา่ ในชว่ งประมาณ 10 ปที ผ่ี า่ นมา งานศกึ ษาและวจิ ยั เกยี่ ว กบั อนาคตมีจ�ำนวนเพม่ิ ขนึ้ อยา่ งเหน็ ไดช้ ดั ในสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตรแ์ ละครศุ าสตร์ โดยเฉพาะในกลมุ่ สาขาวชิ าการวิจยั และระเบยี บวธิ วี ิจยั และการบริหารและพฒั นาการศึกษา อยา่ งไรก็ตาม งานศกึ ษา เหลา่ นม้ี กั เนน้ การทดลองใชเ้ ครือ่ งมอื ดา้ นอนาคตศกึ ษาเปน็ หลกั โดยแทบไมต่ งั้ กรอบแนวคดิ ทนี่ �ำมา ใชเ้ ป็นพ้นื ฐานในการตอ่ ยอดความรเู้ ชงิ ทฤษฎีและนยั เชิงนโยบายเท่าใดนัก จากการประมวลองคค์ วามรใู้ นงานเขยี นดา้ นอนาคตศกึ ษาและการคาดการณใ์ นประเทศไทยตาม เกณฑด์ า้ นวธิ กี ารและเครอื่ งมอื วเิ คราะหพ์ บวา่ แมว้ า่ งานศกึ ษาหลายชนิ้ ใชว้ ธิ วี จิ ยั และคาดการณห์ ลาย วิธีผสมกัน แต่ในภาพรวมการใช้วิธีการศกึ ษาทงั้ หมด 13 วธิ ีหลัก ซึ่งสรุปไดโ้ ดยสงั เขปดังนี้ การวเิ คราะหแ์ บบจำ� ลองพฤติกรรมของผู้กระท�ำ แนวคิดและเครื่องมือแบบจ�ำลองพฤติกรรมผู้กระท�ำ (agent-based modeling) เป็นเครื่อง มือที่เร่ิมเป็นท่ียอมรับและนิยมใช้อย่างแพร่หลายมากขึ้นในงานวิจัยที่วิเคราะห์การเปล่ียนแปลง ในประเทศไทย บางงานประยุกต์ใช้วิธีการนี้ในการจ�ำลองสถานการณ์ ตัวอย่างเช่น งานศึกษา กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีในการวิเคราะห์และคาดการณ์พฤติกรรมการใช้ถนนตามสภาพถนนใน กรุงเทพมหานคร2 การประยุกต์ใช้การจ�ำลองสถานการณ์ด้วยวิธีการตัวกระท�ำส�ำหรับแผนกผู้ป่วย นอกในโรงพยาบาล3 การจ�ำลองสถานการณ์แบบการมีส่วนร่วมของการปลูกข้าวและการย้ายถิ่น4 และการจ�ำลองสถานการณก์ ารบริหารจัดการนำ้� ในล่มุ น�้ำขนาดเลก็ 5 เป็นตน้ การวิเคราะห์ผลกระทบไขว้ งานศึกษาอนาคตท่ีใช้วิธีการวิเคราะห์ผลกระทบไขว้ (cross-impact analysis) มีอยู่บ้างใน ประเทศไทย เชน่ การพยากรณแ์ บบจ�ำลองโอกาสในการผดิ นดั ช�ำระหน้ี กรณีศกึ ษาหนุ้ กภู้ าคเอกชนใน ประเทศไทย ดว้ ยการวเิ คราะหผ์ ลกระทบไขวร้ ะหวา่ ง Merton Model, Barrier Option Model และ Altman-Z-Score Model6 งานศกึ ษาอนาคตภาพของขดี ความสามารถดา้ นนวตั กรรมในการจดั การ ธรุ กจิ ขนาดกลางทส่ี ง่ ออกเครอื่ งนงุ่ หม่ ในประเทศไทย ซง่ึ ใชว้ เิ คราะหผ์ ลกระทบไขวแ้ ละเทคนคิ เดลฟาย ไปพร้อมกัน7 และการศกึ ษาอนาคตภาพการอาชีวศกึ ษาเอกชนไทยในยุคประชาคมอาเซียน8 เปน็ ตน้
233 | อนาคตศกึ ษา วธิ ีการสำ� รวจแบบเดลฟาย เทคนคิ เดลฟายเปน็ วธิ วี จิ ยั ทใ่ี ชก้ นั อยา่ งแพรห่ ลายในงานวจิ ยั ดา้ นสงั คมศาสตรแ์ ละศาสตรอ์ ืน่ ท่ี ใหค้ วามส�ำคญั กบั ความคดิ เหน็ ของผเู้ ชย่ี วชาญ แตง่ านสว่ นใหญใ่ นประเทศไทยไมไ่ ดใ้ ชเ้ ทคนคิ ดงั กลา่ ว ในการพยากรณห์ รอื คาดการณ์แนวโนม้ ในอนาคต จากการประมวลงานวิจัยทีม่ กี ารศกึ ษาอนาคตใน ประเทศไทย พบวา่ เทคนคิ เดลฟายไดร้ บั ความนยิ มระดบั หนง่ึ โดยมกี ารใชเ้ ทคนดิ นใี้ นการคาดการณ์ แนวโน้มในหลายเรื่อง อาทิ การคาดการณ์แนวโน้มความล่าช้าในการก่อสร้างอาคารขนาดใหญ่ใน กรุงเทพมหานคร9 ไปจนถึงการใช้เทคนิคท่ีมีความซับซ้อนมากข้ึนคือการวิจัยอนาคตด้วยเดลฟาย แบบชาตพิ นั ธว์ุ รรณนา (Ethonographic Delphi Future Research) ตวั อยา่ งเชน่ การศกึ ษากลยทุ ธ์ การตลาดเพือ่ สง่ เสรมิ ธรุ กิจที่ปรกึ ษาด้านสุขภาพตอ่ ชาวตา่ งชาต1ิ 0 และหลายโครงการคาดการณ์เชงิ ยุทธศาสตรท์ ่ีด�ำเนินการโดยของศูนย์คาดการณเ์ ทคโนโลยีเอเปค ตามตัวอยา่ งทีแ่ สดงในตารางที่ 18 เศรษฐมติ ิและแบบจ�ำลองทางสถิติ งานศึกษาด้านการพยากรณ์และคาดการณ์แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในอนาคตจ�ำนวนมากใช้ เครอื่ งมอื เศรษฐมติ แิ ละแบบจ�ำลองทางสถติ ิ (Econometrics and Statistical Modeling) โดยเฉพาะ ในสาขาเศรษฐศาสตร์ ทงั้ ดา้ นการเงินการธนาคาร ดา้ นเศรษฐกิจมหภาค ไปจนถงึ งานศกึ ษาดา้ นการ คาดการณค์ วามตอ้ งการหรอื อปุ สงคด์ า้ นบรกิ ารพน้ื ฐาน ทงั้ ดา้ นการขนสง่ การใหบ้ รกิ ารสาธารณปู โภค สาธารณปู การ อาจกลา่ วไดว้ า่ วธิ แี บบจ�ำลองทางสถติ แิ ละเศรษฐมติ เิ ปน็ วธิ กี ารทไี่ ดร้ บั ความนยิ มมาก ท่ีสดุ ในการศึกษาอนาคตท่ีมอี ยู่ในปัจจุบัน หัวั ข้อ้ ที่ใ่� ช้เ้ ครื่อ� งมือื นี้�ในการพยากรณ์แ์ ละคาดการณ์ม์ ีีความหลากหลาย อาทิิ การพยากรณ์ค์ วาม ล้ม้ เหลวทางการเงินิ โดยใช้แ้ บบจำำ�ลอง 4 แบบ (Logit, Probit, Mutiple Disciminant, และ Artificial Neural Network) การคาดการณ์์ความต้้องการที่่�อยู่�อาศััยในเทศบาลนครขอนแก่่นด้้วยการใช้้แบบ จำ�ำ ลอง Krejcie และแบบจำ�ำ ลอง M organ11 การวิจิ ััยเรื่อ� งคาดการณ์ก์ ารใช้้ที่่�ดินิ ลุ่�มน้ำ�ำ �ลำ�ำ ตะคอง พ.ศ . 2567 ด้้วยแบบจำำ�ลอง CA-M ARKOV12 การคาดการณ์อ์ ุณุ หภููมิแิ ละปริิมาณฝนในลุ่�มน้ำำ��ปิิงตอนบน ภายใต้ส้ มมติฐิ านการเปลี่ย�่ นแปลงภูมู ิอิ ากาศโลก ด้ว้ ยแบบจำำ�ลอง Hadley Centre Coupled Model Version 3 (HadCM3) และแบบจำ�ำ ลอง Statistical Downscaling Model (SDSM)13 งานวิจัยอีกจ�ำนวนมากในสาขาเศรษฐศาสตร์ใช้แบบจ�ำลองค�ำนวณดุลยภาพท่ัวไป (Computable General Equilibrium Model - CGE) เพ่อื ประมาณคา่ (estimate) และการ คาดการณ์การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจ ในกรณีท่ีเกิดการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยด้านเทคโนโลยี นโยบาย หรอื ปจั จยั ภายนอกอน่ื ๆ แบบจ�ำลอง CGE โดยทว่ั ไปเปน็ แบบสถติ (comparative-static) ซ่ึงวิเคราะหก์ ารเปล่ียนแปลงของเศรษฐกจิ ณ ช่วงเวลาหนง่ึ หลังจากทเ่ี กดิ ปจั จยั กระตุน้ ผลลัพธ์มัก แสดงเป็นค่าความแตกต่างระหว่างสภาวะในอนาคตที่แตกต่างกัน เช่น สภาวะที่มีหรือไม่มีนโยบาย กระตนุ้ โดยสมมตใิ ห้ทรัพยากรอย่ใู นระดับคงท่ี ในทางกลับกัน แบบจ�ำลอง CGE แบบพลวัต (dynamic) ให้ความส�ำคัญกับการปรับเปล่ียน ระดับของทรัพยากรหรือปัจจัยการผลิตในระบบเศรษฐกิจ ซ่ึงปรับเปล่ียนไปตามนโยบายหรือปัจจัย ภายนอกที่เปลี่ยนไป อาทิ การปรับเปลี่ยนอุปทานด้านแรงงาน สต็อกทุน หรือแม้แต่ระดับผลิต
อนาคตศกึ ษา | 234 ภาพและโครงสร้างตลาด แบบจ�ำลองเชิงพลวัตน้ีสะท้อนสภาพการเปล่ียนแปลงท่ีแท้จริงของระบบ เศรษฐกิจมากกว่า แต่การพัฒนาแบบจ�ำลองจะยากกว่าและวิเคราะห์ผลได้ยากกว่าแบบสถิต งาน วจิ ยั ทใ่ี ชเ้ ครอ่ื งมอื แบบจ�ำลอง CGE ในประเทศไทยมอี ยพู่ อสมควร ตวั อยา่ งเชน่ การศกึ ษาสภาวการณ์ หนภ้ี าคครัวเรือนและการประเมินผลกระทบต่อเศรษฐกิจมหภาคของประเทศไทย14 การวิเคราะห์ ตลาดสินค้าส่งออกท่ีส�ำคัญของไทย15 การวิเคราะห์ด้านผลกระทบของการท่องเที่ยวต่อคนจน16 และผลกระทบของนโยบายยกเลิกโควตาสงิ่ ทอและเครื่องนุ่งห่ม17 การกวาดสญั ญาณ การกวาดสญั ญาณเปน็ วธิ กี ารคาดการณพ์ นื้ ฐานทใี่ ชท้ ว่ั ไปในงานศกึ ษาเพอ่ื วางแผนยทุ ธศาสตร์ ในดา้ นต่าง ๆ เชน่ งานศกึ ษารปู แบบการวางแผนยุทธศาสตร์ของส�ำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัย ศิลปากร18 งานศึกษารูปแบบการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของการ กฬี าแหง่ ประเทศไทย19 อยา่ งไรกต็ าม แมว้ า่ งานศกึ ษาเหลา่ นม้ี งุ่ ตอบโจทยใ์ นการวางแผนยทุ ธศาสตร์ แต่เน้ือหางานไม่แสดงถึงภาพอนาคตอย่างชัดเจนเท่าใดนัก การกวาดสัญญาณในงานเหล่านี้จึงเป็น เหมือนการหาแนวโน้มและสภาพปัญหาในปัจจุบัน โดยไม่ค้นหาและวิเคราะห์ปัจจัยขับเคล่ือนที่มี ผลต่อการเปล่ียนแปลงของปรากฏการณ์ในอนาคตอย่างเป็นระบบ และมีอยู่น้อยมากท่ีคาดการณ์ การเปลย่ี นแปลงในอนาคตเมอ่ื ปัจจัยขบั เคลือ่ นเปล่ียนไป ดังทีค่ วรท�ำตามหลกั การและแนวทางการ ใชว้ ิธกี ารกวาดสัญญาณในงานอนาคตศึกษา ตน้ ไมก้ ารตดั สินใจและต้นไม้ความเกย่ี วขอ้ ง อีกวิธีการหนึ่งที่พบในงานวิจัยเพื่อคาดการณ์และพยากรณ์แนวโน้มในอนาคตคือวิธีการต้นไม้ การตดั สนิ ใจ (decision trees) โดยพบมากในงานวิจัยดา้ นวิศวกรรม เชน่ การคาดการณ์ชว่ งรายได้ ของดา่ นภายในสายทางพเิ ศษศรรี ชั ของการทางพเิ ศษแหง่ ประเทศไทย โดยเปรยี บเทยี บดว้ ยวธิ ตี น้ ไม้ ตัดสินใจและโครงข่ายประสาทเทียม20 รวมถึงในงานวิจัยในศาสตร์อื่น เช่น การพยากรณ์การจ่าย ชดเชยค่ารักษาพยาบาล กรณีศึกษาระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าด้วยวิธีต้นไม้ตัดสินใจ21 อย่างไร ก็ตาม การประมวลองค์ความรู้ในครั้งน้ียังไม่พบงานวิจัยในประเทศไทยที่ประยุกต์ใช้วิธีการต้นไม้ ความเกย่ี วข้อง (Relevance Trees) ในการคาดการณ์หรือพยากรณ์ในดา้ นใด ๆ การจัดทำ� แผนที่นำ� ทางดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละการวเิ คราะหล์ ำ� ดับเทคโนโลยี การคาดการณก์ ารเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยแี ละการวางแผนนโยบายวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมนิยมใช้วิธีการคาดการณ์ด้วยการจัดท�ำแผนที่น�ำทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Science and Technology Roadmapping) และการวิเคราะห์ล�ำดับเทคโนโลยี (Technological Sequence Analysis) ตวั อยา่ งงานในกลมุ่ นี้ ไดแ้ ก่ แผนทน่ี �ำทางการวจิ ยั และพฒั นานาโนเทคโนโลยี ของประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564 ซ่ึงจัดท�ำโดยกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี22 แผนที่ น�ำทางดา้ นเทคโนโลยกี ารลดกา๊ ซเรือนกระจก ในภาคพลังงาน ภาคของเสีย และภาคกระบวนการ อตุ สาหกรรมของประเทศไทย 12 สาขาเทคโนโลย2ี 3 โครงการคาดการณเ์ ทคโนโลยเี ชอื้ เพลงิ อนาคต24 ด�ำเนินการโดยศนู ย์คาดการณเ์ ทคโนโลยเี อเปคและศูนยเ์ ทคโนโลยโี ลหะและวัสดุแหง่ ชาติ (MTEC)
235 | อนาคตศกึ ษา ซ่ึงประกอบด้วยภาพเหตุการณ์อนาคตและแผนที่เทคโนโลยี (technology roadmap) รวมถึง โครงการ Technology Roadmap (TRM) ในแนวทางการวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยี ดา้ นชวี วิทยา ศาสตรท์ างการแพทย์สกู่ ารใชป้ ระโยชน2์ 5 ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ ส�ำหรับในงานศึกษาอนาคตที่ไม่ได้มุ่งเพื่อการวางแผนโดยตรงนั้น มีตัวอย่างงานวิจัยและงาน วิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษาอยู่จ�ำนวนหนึ่ง เช่น การจัดท�ำแผนที่น�ำทางการพัฒนาเทคโนโลยี ส�ำหรับบริษัทซอฟต์แวร์เกิดใหม่ขนาดเล็ก โดยใช้กรณีศึกษาของบริษัทพัฒนาซอฟต์แวร์แห่งหน่ึง และเก็บขอ้ มลู จากการสัมภาษณเ์ ชิงลึกกบั กลมุ่ ผูบ้ ริหารของบรษิ ทั 26 แบบจ�ำลองสถานการณแ์ ละเกม งานศกึ ษาอนาคตท่ีใช้วธิ ีการแบบจ�ำลองสถานการณม์ ีอยทู่ ่ัวไป ท้ังในงานวจิ ยั ด้านวิทยาศาสตร์ และสงั คมศาสตร์ อาทิ แบบจ�ำลองสภาพภมู ิอากาศในอนาคต โดยกรมอุตุมนยิ มวิทยา การพยากรณ์ อตั ราการไหลสงู สดุ ในชว่ งนำ�้ หลาก โดยใชว้ ธิ ดี ชั นนี ำ้� ฝนในลมุ่ นำ้� เลย27แบบจ�ำลองสถานการณใ์ นการ ด�ำเนินการขนส่งสินค้าแบบเต็มคัน28 ในช่วงหลังเร่ิมมีงานวิจัยท่ีใช้แบบจ�ำลองสถานการณ์และเกม ในงานคาดการณ์ที่เป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการวางแผนด้านส่ิงแวดล้อมและด้านการเปล่ียนแปลง สภาพภมู อิ ากาศ เชน่ การสรา้ งเกมแบบจ�ำลองเพอ่ื การวางแผนการจดั การขยะมลู ฝอยโดยชมุ ชน: กรณี ศกึ ษา โครงการเคหะชมุ ชนผมู้ รี ายไดน้ อ้ ย ชมุ ชนแฟลตเคหะคลองจน่ั เขตบางกะปิ กรงุ เทพมหานคร29 แบบจ�ำลองสถานการณท์ สี่ ามารถใช้คาดการณ์ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงอุณหภมู อิ นั เน่ืองจาก สภาวะอากาศตอ่ การระบาดของเพล้ียกระโดดสีน�ำ้ ตาล30 แบบจ�ำลองระบบ แนวคดิ เชงิ ระบบมใี ชอ้ ยทู่ ว่ั ไปในการศกึ ษาวจิ ยั ดา้ นวศิ วกรรมและดา้ นโนบาย โดยมงี านศกึ ษาที่ ใชแ้ บบจ�ำลองระบบหลายรปู แบบในการคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงในอนาคต อาทิ การคาดการณ์ การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน ในโครงการศึกษาเพ่ือก�ำหนดเป้าหมายและแนวทางการใช้ ทด่ี นิ ทส่ี อดคลอ้ งกบั การพฒั นาของประเทศ31 โดยส�ำนกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ สิ่งแวดลอ้ ม งานศกึ ษาการเปลี่ยนแปลงของระบบนเิ วศและสภาพภมู อิ ากาศ รวมถงึ งานวจิ ยั เกย่ี วกบั ระบาดวทิ ยา เชน่ การพฒั นาโมเดลการแพรข่ องโรคระบาดบนระบบสารสนเทศทางภมู ศิ าสตรผ์ า่ นได นามคิ เวบ็ เซอร์วสิ 32 ตวั แบบระบบพลวตั สําหรบั การแพร่กระจายของโรคเอดส์ในประเทศไทย33 และ งานศึกษาทางเลือกเพ่ือลดการปล่อยคาร์บอนในการตรวจท้องท่ีของเจ้าหน้าท่ีต�ำรวจ เพื่อป้องกัน อาชญากรรมในเขตนครบาล34 การทำ� เหมอื งข้อมลู และข้อความ การท�ำเหมืองข้อมูลเพื่อศึกษาอนาคตเริ่มได้รับความนิยมมากขึ้นในช่วงประมาณ 10 ปีท่ีผ่าน มา งานวิจัยที่ใช้วิธีการนี้มีจ�ำนวนมากขึ้นและมีความหลากหลายของหัวข้อวิจัยอยู่ระดับหนึ่ง เช่น การคาดการณ์ศักย์การคายระเหยของพืชอ้างอิง (ETo) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก โดยการประยุกต์ใช้เทคนิคการท�ำเหมืองข้อมูล กรณีศึกษาประเทศไทย35 การพัฒนาตัวแบบการ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320