อนาคตศกึ ษา | 36 ความรู้แต่ละประเภทมีวิธีการเข้าถึงหรือวิธีวิทยาที่แตกต่างกัน ความรู้เชิงเทคนิคหรือเชิงเครื่อง มือสามารถเข้าถึงด้วยวิธีการแนวปฏิฐานนิยม ความรู้เชิงปฏิบัติสามารถเข้าถึงได้ด้วยวิธีการแบบ ตีความ (interpretive/hermeneutic) ส่วนความรู้เชิงปลดปล่อยสามารถเข้าถึงได้ด้วยวิธีการ วิพากษ์ (critical methods) ทฤษฎีีของฮาเบอร์์มาสถืือเป็็นพื้�นฐานสำำ�คััญของการศึึกษาอนาคตเชิิงวิิพากษ์์ (critical future studies) ซึ่�งเสนอเป็็นครั้�งแรกโดยริชิ าร์ด์ สลอเทอร์์ (Richard Slaughter) ใน พ.ศ. 2515 แนวคิิดนี้� เชื่อ� ว่า่ สังั คมจำ�ำ เป็น็ ต้อ้ งหยั่ง� รู้�และก้า้ วข้า้ มความคิดิ และลัทั ธิคิ วามเชื่อ� ที่ไ่� ร้ข้ ้อ้ พิสิ ูจู น์์ (dogmatism) และ ความคิดิ ที่ก่� ดขี่ส่� ังั คมอยู่� การสร้า้ งความรู้�เชิงิ วิพิ ากษ์เ์ กี่ย่� วกับั อนาคตจึงึ มีีความสำำ�คัญั อย่า่ งมากในการก้า้ ว ข้า้ มการกดขี่ท�่ างสังั คม นอกจากทฤษฎีีของฮาเบอร์ม์ าสแล้ว้ ยังั มีีทฤษฎีีของเคน วิลิ เบอร์์ (Ken Wilbur) ว่่าด้้วยความสำ�ำ คััญของการค้้นพบและการเติิบโตด้้านจิิตใจภายในของแต่่ละคนในการดำำ�รงชีีวิิตอยู่�ใน สัังคมสมััยใหม่่ การศึึกษาอนาคตเชิิงวิิพากษ์์จึึงเน้้นการวิิจารณ์์โครงสร้้างสัังคมที่�่แข็็งทื่่�อและกดขี่่�ผู้�คน ที่ด่� ้้อยโอกาส และวััฒนธรรมเชิิงทำ�ำ ลายล้้างและไม่่สร้้างสรรค์์ การศึึกษาอนาคตแนวนี้�เน้้นวิิธีีการและ เครื่�องมืือเชิิงอััตวิิสััย เพื่่�อดึึงเอาความคิิดเกี่�่ยวกัับอนาคตออกมาให้้เห็็นอย่่างชััดเจน นัักอนาคตศึึกษา แนวนี้้�พััฒนาและนิิยมใช้้เครื่�องมืือศึึกษาที่�่แตกต่่างจากนัักอนาคตศาสตร์์แนวปฏิิฐานนิยิ มอย่า่ งชัดั เจน ตัวั อย่า่ งวิธิีีการกระตุ้�นการสนทนาเกี่ย�่ วกับั อนาคต ได้แ้ ก่่ วงล้อ้ อนาคต (Futures Wheel) การจัดั ประชุมุ สร้า้ งภาพอนาคต (futures workshops) และการวิเิ คราะห์ช์ั้�นของสาเหตุุ (Causal Layered Analysis) การศึกษาอนาคตเชิงวิพากษ์ต้ังอยู่บนความเข้าใจพื้นฐานท่ีว่า อนาคตเกิดข้ึนอยู่แล้วในปัจจุบัน แต่อยู่ในความคิดและอารมณ์ของคน ความคิดและความเข้าใจเกี่ยวกับอนาคตยังมีผลต่อพฤติกรรม และการตัดสินใจในปัจจุบัน และถือเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตในปัจจุบัน เนื่องจากความคิดเก่ียวกับ อนาคตก่อร่างและเปล่ียนแปลงไปตามกระบวนการสนทนาและถกเถียงอภิปราย อนาคตท่ีมีอยู่ใน แล้วปัจจุบันจึงล้วนเป็นส่ิงท่ีมนุษย์สร้างข้ึนมาท้ังสิ้น การคิดและพิจารณาเกี่ยวกับอนาคตจึงแยกไม่ ออกจากกระบวนการคิดท่ัวไปของมนุษย์ นอกจากน้ี ความตั้งใจในอนาคตยังเก่ียวข้องโดยตรงกับ ประสบการณ์ท่ีเกิดข้ึนในอดีต ตามแนวคิดนี้ ความสามารถในการคิดและคาดการณ์เก่ียวกับอนาคต ไม่ได้มีเฉพาะผู้เช่ียวชาญด้านอนาคตศึกษา หรือแม้แต่โหร หมอดูและศาสดาเท่าน้ัน มนุษย์ทุกคนมี ความสามารถนี้ท้งั สิน้ ส�ำหรับศาสตรด์ ้านอนาคตศึกษาน้ัน การพยากรณ์ (prediction) ถือว่าเป็นวิธี การเชงิ ปฏฐิ านนิยม และความรทู้ ไ่ี ด้จัดอยู่ในกลมุ่ ความรู้เชิงเทคนคิ สรุปุ ได้ว้ ่า่ กระบวนทัศั น์ใ์ หม่ข่ องอนาคตศึกึ ษาเกิดิ ขึ้�นพร้อ้ มกับั การเปลี่ย่� นกระบวนทัศั น์ใ์ นวงการ วิิทยาศาสตร์์และสัังคมศาสตร์์ในยุุโรปที่่�ท้้าทายแนวคิิดเชิิงปฏิิฐานนิิยมที่�่เป็็นพื้ �นฐานวงการวิิชาการ กระแสหลัักมาก่่อนหน้้านั้�น ก้้าวแรกของการเปลี่�่ยนกระบวนทััศน์์ด้้านอนาคตศึึกษา คืือการปฏิิเสธ ว่่าอนาคตมีีอยู่�เพีียงหนึ่่�งเดีียว ในทศวรรษที่่� 1960 ปรัชั ญาว่่าด้ว้ ยพหุนุ ิิยมเริ่�มแพร่ข่ ยายในยุุโรป โดย นัักอนาคตศึึกษาเริ่�มเสนอแนวคิิดพหุุอนาคตในสิ่�งตีีพิมิ พ์ต์ ่า่ ง ๆ เช่่น เดอ จูวู ีีเนล (De Jeuvenel) นำำ� เสนอแนวคิดิ futuribles ใน พ.ศ. 2503 โดยเน้้นว่า่ futuribles หมายถึึงอนาคตที่เ�่ ป็น็ ไปได้้ และเน้้น ความเป็็นพหุขุ องภาพอนาคตที่่�เป็็นไปได้เ้ หล่า่ นั้�น ในทำ�ำ นองคล้้ายกััน ในการประชุมุ นานาชาติวิ ่า่ ด้้วย อนาคต (International Futures Conference) ครั้�งแรกใน พ.ศ. 2510 โดยคณะผู้้�จััดตีีพิิมพ์เ์ อกสาร
37 | อนาคตศกึ ษา ประกอบการประชุมุ ชื่�อว่า่ Mankind 2000 ในเอกสารดัังกล่่าว โรเบิิร์์ต ยุุงค์์ (Robert Jungk) และผู้�เข้า้ ประชุมุ หลายคนนำ�ำ เสนอแนวคิดิ พหุอุ นาคตที่ต�่ ่อ่ มากลายเป็น็ กรอบแนวคิดิ พื้�นฐานของอนาคต ศึกึ ษา ในยุโุ รปหลังั จากนั้�นใน พ.ศ. 2516 นักั อนาคตศึกึ ษาเหล่า่ นี้้�ร่วมกันั ก่อ่ ตั้�งสมาพันั ธ์อ์ นาคตศึกึ ษาโลก (World Futures Studies Federation) การใช้้คำำ�ว่่า futures ในชื่�อขององค์์กรแสดงให้้เห็็น อย่่างชััดเจนว่่า นัักอนาคตศึึกษาในยุุคนั้�นเริ่�มยอมรัับแนวคิิดพหุุอนาคต แทนแนวคิิดเดิิมที่่� เชื่�อใน “เอกอนาคต” (singular future) หรืืออนาคตหนึ่่�งเดีียว
อนาคตศกึ ษา | 38 อนาคตเชงิ วฒั นธรรม และการตคี วาม การศกึ ษาอนาคตอกี แนวทางหนงึ่ คอื แบบวฒั นธรรมและการตคี วาม (cultural-interpretive futures) ซึ่งไม่ได้มุ่งไปท่ีการคาดการณ์ แต่เน้นไปท่ีความเข้าใจอย่างลึกซ้ึงในความแตกต่างของปรากฏการณ์ และปัญหาท่ีเกิดขึ้น ด้วยความหวังว่ากระบวนการศึกษาและสร้างภาพอนาคตจะน�ำไปสู่ความเป็น หนง่ึ เดยี วกนั (unity) ในขณะทคี่ วามจรงิ (truth) เปน็ สง่ิ สมั พทั ธ์ (relative) ซงึ่ มภี าษาและวฒั นธรรม เป็นปัจจัยที่ท�ำให้ความจริงนั้นเป็นจริงมากขึ้น การเปรียบเทียบและค�ำนึงถึงวัฒนธรรมอ่ืนนอกจาก วฒั นธรรมตะวันตกจะท�ำใหเ้ ราสามารถท�ำความเข้าใจในอนาคตของมนษุ ยชาตไิ ด้ดียิ่งขึ้น การศกึ ษา อนาคตในแนวนจี้ งึ เนน้ มมุ มองเชงิ พหวุ ฒั นธรรมเปน็ ส�ำคญั โดยวพิ ากษแ์ ละทา้ ทายแนวคดิ วฒั นธรรม กระแสหลักของสังคมตะวนั ตก38 แนวคิดิ อนาคตเชิงิ พหุวุ ัฒั นธรรมยังั วิพิ ากษ์แ์ นวคิดิ การพัฒั นาที่เ�่ น้น้ การพัฒั นาอุตุ สาหกรรมและ การเติิบโตทางเศรษฐกิิจอย่่างไม่่มีีที่�่สิ้�นสุุด รวมถึึงบริิโภคนิิยมที่่�ใช้้ทรััพยากรอย่่างสิ้�นเปลืือง แนวคิิด อนาคตศึึกษาเชิงิ พหุุวัฒั นธรรมก่อ่ ร่่างขึ้�นในทศวรรษที่่� 1980 พร้้อมกับั การประยุกุ ต์์ใช้ว้ าทกรรมหลััง ยุุคอาณานิิคม (post-colonial discourse) ในอนาคตศึกึ ษา แนวคิดิ ดังั กล่า่ วยังั ปรากฏอยู่�ใน องค์ป์ ระกอบของสมาชิกิ ที่ร�่ ่ว่ มจัดั ตั้�งสมาพันั ธ์อ์ นาคตศึกึ ษาโลก (World Futures Studies Federation) ซึ่ง� มีีตัวั แทนจากประเทศโลกที่ส�่ ามในทวีีปแอฟริกิ า อเมริกิ าใต้้ เอเชีีย นอกเหนือื จากนักั อนาคตศาสตร์์ ในยุโุ รปและอเมริกิ าเหนือื การศึกษาอนาคตแนวพหุวัฒนธรรมยังเปิดโอกาสให้ศึกษาอนาคตจากมุมมองสตรีนิยม (feminism) และมุมมองของเด็กเยาวชน รวมถึงอนาคตท่ีเป็นทางเลือกที่เป็นไปได้ (possible, alternative futures) นักอนาคตศาสตร์ที่เช่ือในแนวทางน้ีพยายามสร้างต้นแบบ วิธีการและ กระบวนการในการศกึ ษาและใชป้ ระโยชนจ์ รงิ จากภาพอนาคตทางเลอื กทสี่ รา้ งขนึ้ ตามแนวคดิ ความ รเู้ ชงิ ปฏบิ ตั ิ (practical knowledge) ของเยอร์เกน ฮาเบอรม์ าส (Jürgen Habermas) ซงึ่ เนน้ วิธกี าร ตคี วามเพือ่ ไดม้ าซึง่ ความรเู้ ชิงลกึ ท่เี ป็นประโยชนเ์ ก่ียวกับอนาคตทีห่ ลากหลาย ตัวั อย่า่ งงานด้้านอนาคตศึึกษาที่บ่� ุกุ เบิกิ แนวคิิดพหุุวัฒั นธรรม ได้้แก่่ หนังั สืือชื่อ� Rescuing All Our Futures ซึ่ง� ตีีพิมิ พ์ใ์ น พ.ศ. 2542 โดยมีีไซอูดู ินิ ซาร์์ดาร์์ (Ziauddin Sardar) เป็็นบรรณาธิกิ าร39 ข้อ้ เสนอหลักั ของหนังั สือื เล่ม่ นี้้�คือื สังั คมวัฒั นธรรมอื่น� นอกจากวัฒั นธรรมตะวันั ตกมีีอนาคตที่เ่� ป็น็ อิสิ ระ
39 | อนาคตศกึ ษา จากอำ�ำ นาจกดดัันต่่าง ๆ และมีีอิิสรภาพในการจิินตนาการและสร้้างอนาคตตามโลกทััศน์์ วััฒนธรรม และประเพณีีของตนเอง แต่ง่ านเขีียนด้้านอนาคตศึกึ ษาในช่ว่ งเวลาก่่อนหน้้านี้�ไม่ไ่ ด้มุ้่�งสร้้างความรู้� และวิิธีีการที่่�ช่่วยให้้สัังคมเหล่่านี้�สามารถสร้้างอนาคตทางเลืือกที่�่หลากหลายของตนเอง แต่่กลัับมุ่�ง สร้า้ งวิสิ ัยั ทัศั น์ก์ ระแสหลักั ตามแนวความคิดิ และแนวทางปฏิบิ ัตั ิขิ องประเทศตะวันั ตก นักั อนาคตศึกึ ษา ที่�ผ่ ่่านมาเน้น้ การคาดการณ์์และพยากรณ์ม์ ากเกิินไป และให้้ความสำ�ำ คััญกัับเทคโนโลยีีมาก จนละเลย ความสำำ�คััญในวััฒนธรรมและปััญหาของสัังคมอื่ �น เป็็นผลให้้อนาคตศึึกษากลายเป็็นเครื่�องมืือของการ ครอบครองอาณานิิคมในอนาคต ด้ว้ ยเหตุดุ ังั กล่่าว อนาคตศึึกษาจึึงต้้องเพิ่่�มมุมุ มองพหุวุ ััฒนธรรมและ ความหลากหลายของสัังคม เพื่่�อช่ว่ ยให้้สังั คมเหล่า่ นี้้�ก้า้ วพ้้นจากสภาพอาณานิคิ มที่่�หลงเหลืืออยู่�ได้้ อีกงานหน่ึงที่บุกเบิกความคิดพหุวัฒนธรรมในอนาคตศึกษาคืองานของโซเฮล อินายาตอลลา (Sohail Inayatullah) ซงึ่ เสนอให้ศึกษาและตีความอนาคตทางเลือกของอารยธรรมโลก โดยใหค้ วาม ส�ำคัญมากขึ้นกับสังคมวัฒนธรรมในรูปแบบอื่นนอกเหนือจากวัฒนธรรมตะวันตก สิ่งที่อนาคตศึกษา ตอ้ งการคน้ หาไมใ่ ชข่ อ้ เทจ็ จรงิ ของอนาคต (future facts) แต่คอื การตคี วามอนาคตข้นึ ใหมท่ ่คี �ำนงึ ถงึ วฒั นธรรมทแี่ ตกตา่ งกนั ออกไป รวมทงั้ วธิ กี ารและแนวทางทสี่ งั คมวฒั นธรรมอน่ื เชน่ จีน ญี่ปนุ่ อนิ เดยี และอาหรบั ใช้ในการรบั รแู้ ละสร้างภาพอนาคตของตนเอง40 อีกโครงการหน่ึงท่ีส�ำคัญคือโครงการศึกษาอนาคตเชิงวัฒนธรรมขององค์การการศึกษา วทิ ยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแหง่ สหประชาชาตหิ รือยเู นสโก (UNESCO) ใน พ.ศ. 2533 นกั วจิ ยั จาก หลายประเทศ ซงึ่ น�ำโดยอเี ลนอรา มาซนี ี (Eleanora Masini) วเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งวฒั นธรรม กับการเปลี่ยนแปลงทางสงั คมของประเทศในแอฟริกา เอเชยี และอเมริกาใต้ แล้วพัฒนาฉากทัศน์ของ อนาคตทางวัฒนธรรมทั้งในระดับโลกและระดับภูมิภาค พร้อมด้วยข้อเสนอที่มุ่งสร้างความร่วมมือ ระหวา่ งประเทศในดา้ นวฒั นธรรม ขอ้ สรปุ หนึง่ จากงานดงั กลา่ วคอื วัฒนธรรมในพื้นที่ท่ัวโลกมีแนวโน้ม เป็นพหุนิยมมากขึ้น จึงคาดการณ์ได้ว่า อนาคตทางวัฒนธรรมของโลกจึงมีความหลากหลายมากข้ึน ดังน้ัน การศกึ ษาอนาคตจงึ ต้องปรับเปลยี่ นใหส้ อดคลอ้ งกับความเปน็ พหุนยิ มมากขน้ึ 41 นับั ตั้�งแต่ท่ ศวรรษที่่� 1980 เป็็นต้้นมา แนวคิิดและวิิธีีการด้า้ นอนาคตศึกึ ษาเริ่ม� แพร่ห่ ลายมากขึ้�น ในกลุ่�มองค์ก์ รภาคประชาสังั คมระดัับโลก โดยเฉพาะในภููมิภิ าคและประเทศอื่่�น ๆ นอกทวีีปยุโุ รปและ อเมริกิ าเหนืือ ตัวั อย่่างเช่น่ ในเม็็กซิิโก มีีการก่่อตั้�งมููลนิธิ ิิฮาเวีีย บารอส ซีีเอรา (Fundación Javier Barros Sierra) ใน พ.ศ. 2518 เพื่่�อดำำ�เนิินกิิจกรรมวิิชาการและการส่่งเสริิมงานด้้านอนาคตศึึกษา ภายในประเทศ สมาพัันธ์์อนาคตศึึกษาโลก (World Futures Studies Federation) ร่่วมกััยููเนสโก จััดการประชุุมระดัับโลกและระดัับภููมิิภาคในหลายประเทศ พร้้อมกัับจััดหลัักสููตรและการอบรม เบื้�องต้้นเกี่่�ยวกัับอนาคตศึึกษาในหลายประเทศรวมทั้�งประเทศไทย กิิจกรรมดัังกล่่าวยัังคงดำำ�เนิินการ มาถึึงปััจจุุบััน ใน พ.ศ. 2555-2558 สมาพัันธ์์อนาคตศึึกษาโลกร่่วมมืือกัับแผนงาน Participation Programme ของยููเนสโก ในการจััดการสอนและฝึึกอบรมความรู้�และทัักษะพื้�นฐานเกี่่�ยวกัับอนาคต ศึึกษาให้้กัับกลุ่�มสตรีีและเยาวชนที่่�ถููกละเลยในประเทศกำ�ำ ลัังพััฒนาหลายแห่่ง โดยเน้้นแนวคิิดและ แนวทางการศึกึ ษาอนาคตที่่�เน้้นคนเป็็นศูนู ย์ก์ ลางและความเป็น็ พหุขุ องภาพอนาคต ตามข้อ้ เสนอของ นัักอนาคตศึกึ ษาที่่เ� สนอไว้ใ้ นหนังั สือื Mankind 2000 ใน พ.ศ. 2512
อนาคตศึกษา | 40 อย่่างไรก็็ตาม แม้้ว่่าแนวคิิดพหุุนิิยมอาจได้้รัับความสนใจมากขึ้�นในกลุ่�มนัักวิิชาการด้้านอนาคต ศึึกษา แต่่ในอีีกมุุมหนึ่่�ง การยอมรัับในวงการวิิชาการอาจยัังไม่่ได้้ถ่่ายทอดออกมาเป็็นงานวางแผน นโยบายสาธารณะที่�่สะท้้อนมุุมมองพหุุนิิยมอย่่างแท้้จริิง ในงานเขีียนที่่�วิิเคราะห์์วิิวััฒนาการของ อนาคตศึึกษาหรืืออนาคตศาสตร์์ นัักสัังคมวิิทยาชาวเกาหลีีชื่่�อ ฮยุุนจูู ซง (Hyeonju Son) แบ่่งช่่วง เวลาวิวิ ัฒั นาการของอนาคตศึกึ ษาในประเทศตะวันั ตกโดยเฉพาะในสหรัฐั อเมริกิ าในช่ว่ งประมาณ 100 ปีที ี่�่ผ่่านมา ตามความคิิดของซง วงการวิิชาการด้้านอนาคตศึึกษาพััฒนามามากหลัังจากที่�่สงคราม เย็็นได้้จบสิ้�นลงในทศวรรษที่�่ 1990 โดยมีีความหลากหลายด้้านแนวคิิดและวิิธีีการมากขึ้�น กระนั้�น ก็็ตาม นัับตั้�งแต่่ทศวรรษที่่� 1990 เป็็นต้้นมา แนวคิิดอนาคตศึึกษาแบบพหุุนิิยมกลัับถููกแทนที่่�โดย กระบวนทัศั น์เ์ สรีีนิยิ มใหม่่ (neoliberal) ที่่�ครอบงำ��แนวคิิดการพััฒนาทั้�งในวงการวิิชาการและวงการ นโยบายการพััฒนาทั่่�วโลก ทำำ�ให้้งานศึึกษาอนาคตในช่่วงต่่อมาจำำ�นวนมากเป็็นการคาดการณ์์เชิิง ยุุทธศาสตร์์ที่�่ตอบโจทย์์การพััฒนาทางเศรษฐกิิจเสีียเป็็นส่่วนใหญ่่ แม้้ว่่าอาจมีีโครงการศึึกษา อนาคตเชิิงวิิพากษ์์ (critical futures studies) และการสร้้างภาพอนาคตแบบมีีส่่วนร่่วมอยู่่�บ้้าง แต่่โครงการอนาคตศึึกษาโดยมากยัังคงมุ่ �งเน้้นการใช้้เครื่ �องมืือในการคาดการณ์์เพื่่�อตอบโจทย์์ เชิิงปฏิิบััติิ มากกว่่าโจทย์์ที่่�ตั้�งคำำ�ถามเกี่่�ยวกัับมนุุษยชาติิและศีีลธรรมระดัับโลก42
41 | อนาคตศกึ ษา อนาคตเชงิ การมสี ว่ นรว่ ม และขบั เคลอ่ื นสงั คม คล่ืนความคิดต่อมาของอนาคตศึกษาคือแนวคิดการมีส่วนร่วมและการรณรงค์ขับเคลื่อนสังคม (participatory-advocacy) ซึ่งท�ำให้บทบาทและสาระของการศึกษาอนาคตไม่จ�ำกัดอยู่เพียงการ ศกึ ษาและสรา้ งภาพอนาคตโดยนกั อนาคตศาสตรท์ ไี่ ดร้ บั การอบรมและฝกึ ฝนในเชงิ ทฤษฎแี ละเทคนคิ เท่าน้ัน แต่ขยายขอบเขตเนื้อหาและเปิดกว้างกระบวนการให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีส่วนร่วมใน การวิเคราะห์และสร้างภาพอนาคตด้วยกันมากข้ึน แนวคิดน้ีเชื่อว่า กระบวนการมีส่วนร่วมในการ วเิ คราะหแ์ ละสรา้ งภาพอนาคตจะท�ำใหภ้ าพอนาคตทพี่ ฒั นาขน้ึ มาตรงกบั ความตอ้ งการของผมู้ สี ว่ นได้ สว่ นเสียมากขึน้ และจะท�ำใหส้ ามารถน�ำผลลพั ธ์ของกระบวนการคาดการณไ์ ปด�ำเนินการต่อใหบ้ รรลุ ประสิทธผิ ลได้ดยี ่ิงขน้ึ เช่นกัน แนวคิดการมีส่วนร่วมในอนาคตศึกษาสะท้อนขบวนการทางสังคมท่ีแพร่ขยายในยุโรปตะวันตก และสหรัฐอเมรกิ าในทศวรรษที่ 1960 และ 1970 ในชว่ งน้นั วงการอนาคตศกึ ษาในยุโรปใหค้ วาม ส�ำคัญอย่างมากกับเรื่องสันติภาพของโลก ในขณะท่ีวงการวิชาการด้านสังคมศาสตร์ก็พยายามหลุด พ้นจากกระบวนทัศน์แบบปฏิฐานนิยมและเข้าสู่แนวคิดหลังสมัยใหม่ (post-modern) พร้อมกันน้ี งานศกึ ษาเกย่ี วกบั อนาคตในสหรฐั อเมรกิ าเริม่ เขา้ สกู่ ารเปลยี่ นผา่ นครงั้ ใหญเ่ ชน่ กนั โดยเกดิ ขนึ้ ในชว่ ง การเปลย่ี นผา่ นทางสงั คมและการเมอื งในสหรฐั อเมรกิ าทเ่ี ปน็ ผลสบื เนอ่ื งจากการรณรงคเ์ รยี กรอ้ งสทิ ธิ พลเมือง (Civil Rights Movement) และการรณรงคต์ อ่ ต้านสงครามเวยี ดนาม ขบวนการเรยี กรอ้ งสทิ ธพิ ลเมอื งในสหรฐั อเมรกิ ามตี น้ ตอมาจากปญั หาความขดั แยง้ ทางเชอ้ื ชาตทิ ่ี เกดิ จากแนวคดิ “แบ่งแยกแตเ่ ทา่ เทยี ม” (separate but equal) ของคนทม่ี ีสีผิวแตกตา่ งกนั ในสงั คม อเมริกนั ซึ่งปฏิบัตเิ รอ่ื ยมาตลอดประวัติศาสตรข์ องประเทศ การรณรงคด์ ังกล่าวเชื่อว่า ความเหลอื่ ม ล�้ำและความไม่เท่าเทียมกันของพลเมืองอเมริกันส่วนส�ำคัญมาจากการกีดกันคนผิวด�ำในแทบทุกด้าน ของการใชช้ วี ติ ในสงั คม นบั ตงั้ แตก่ ารแบ่งแยกโรงเรยี น การใช้หอ้ งนำ้� การใชร้ ถโดยสารสาธารณะ ไป จนถงึ การห้ามคนผิวด�ำพักค้างคนื ในเมือง การเลือกปฏิบตั ิน้ีมีเรอื่ ยมาจนกระท่ังใน พ.ศ. 2498 หญิง ผิวด�ำช่ือโรซา พาร์ค (Rosa Parks) ได้ขัดขนื นโยบายการแบ่งแยกสผี ิวในรถประจ�ำทางด้วยการเขา้ ไป น่ังในบริเวณท่ีก�ำหนดไว้ใหเ้ ฉพาะคนผวิ ขาว เหตุการณ์ดังกล่าวกลายเปน็ ชนวนเหตุส�ำคญั ที่กอ่ ใหเ้ กิด การตอ่ สู้เพ่ือเรียกรอ้ งสิทธพิ ลเมอื งที่เท่าเทียมกันในสหรฐั อเมริกาในทศวรรษท่ี 1950–1980 การตอ่ สู้ ดงั กลา่ วยังคงมตี ่อเนอ่ื งมาจนถึงปัจจุบัน
อนาคตศึกษา | 42 ในช่ว่ งเวลาใกล้เ้ คีียงกันั ใน พ.ศ. 2498-2518 ได้เ้ กิิดการรณรงค์์ต่อ่ ต้้านสงครามเวีียดนาม โดยที่่� นัักศึกึ ษา นักั วิชิ าการ และคนหนุ่�มสาวกลุ่�มฮิปิ ปี้้� (hippie) จำำ�นวนมากได้้รวมกลุ่�มเดิินขบวนประท้้วง รััฐบาลสหรััฐฯ ที่�่เข้้าร่่วมสงครามในคาบสมุุทรอิินโดจีีน จนกลายเป็็นขบวนการทางสัังคมที่�่ยืืดยาวอยู่� หลายปีี การรณรงค์ต์ ่อ่ ต้า้ นการทำำ�สงครามของรัฐั บาลทำำ�ให้เ้ กิดิ การถกเถีียงด้า้ นแนวคิดิ และนโยบายใน หลาย ๆ ด้า้ นของรัฐั บาลตลอดช่่วงปลายทศวรรษที่่� 1960 และต้้นทศวรรษที่่� 1970 โดยเฉพาะอย่า่ ง ยิ่�งในประเด็็นว่่า รััฐบาลจะเลิิกสงครามได้้อย่่างไร การรณรงค์์ต่่อต้้านสงครามเวีียดนามแพร่่ขยายตััว มากขึ้�น และเพิ่่ม� แนวร่ว่ มจากกลุ่�มอื่น� ๆ อาทิิ กลุ่�มรณรงค์เ์ รีียกร้้องสิทิ ธิพิ ลเมืืองของกลุ่�มชาวอเมริิกันั เชื้�อชาติแิ อฟริิกันั กลุ่�มรณรงค์์เรีียกร้้องสิทิ ธิสิ ตรีี และกลุ่�มเรีียกร้อ้ งสิิทธิิแรงงาน ในขณะเดยี วกนั วงการวชิ าการในมหาวทิ ยาลยั ทวั่ สหรฐั อเมรกิ าไดก้ ลายเปน็ แหลง่ บม่ เพาะแนวคดิ ทมี่ งุ่ วพิ ากษว์ จิ ารณน์ โยบายการท�ำสงครามและนโยบายอนื่ ของรฐั บาล นกั วชิ าการจ�ำนวนมากน�ำเสนอ ทฤษฎเี ชงิ รากฐาน (radical theories) ทีว่ ิพากษ์แนวคดิ และวธิ กี ารปฏิบัติทม่ี มี าแต่เดมิ อย่างถอนราก ถอนโคน และน�ำเสนอแนวคดิ ทหี่ วงั วา่ จะน�ำพาสงั คมไปสสู่ นั ตภิ าพและความเปน็ ธรรมมากขน้ึ ในวงการ วชิ าการและวิจยั ในมหาวิทยาลัยเอง มกี ารตงั้ ค�ำถามและขอ้ วิพากษ์เกี่ยวกบั บทบาทของมหาวิทยาลยั โดยเฉพาะการรับเงินทุนวิจัยจากรัฐบาลกลางในโครงการวิจัยและโครงการที่ปรึกษาที่พัฒนาความรู้ เพื่อการท�ำสงคราม โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับสงครามเย็น ส่วนในวงการวิชาการและวงการวางแผน นโยบายเพอ่ื การพฒั นาและการผงั เมอื ง นกั วชิ าการจ�ำนวนหนง่ึ เรม่ิ ตงั้ ขอ้ สงสยั และปฏเิ สธแนวคดิ การ วางแผนแบบครอบคลุมตามหลกั เหตุผล (rationality) และตามแนวคดิ ปฏิฐานนยิ ม ซ่งึ เนน้ เคร่อื งมือ วเิ คราะห์เชิงวทิ ยาศาสตร์ และเรมิ่ หนั มาสนใจประเด็นด้านสทิ ธพิ ลเมือง ความเป็นธรรมในการพฒั นา และการมสี ่วนร่วมของประชาชนมากข้ึน ท่า่ มกลางกระแสการเปลี่ย�่ นแปลงครั้�งใหญ่ข่ องวงการสังั คมศาสตร์ใ์ นสหรัฐั อเมริกิ าในยุคุ ดังั กล่า่ ว กระบวนทัศั น์ข์ องอนาคตศึกึ ษาในสหรัฐั อเมริกิ าเริ่ม� ปรับั ห่า่ งออกจากแนวคิดิ เชิงิ ระบบและปฏิฐิ านนิยิ ม ตามแบบฉบับั ของแรนด์์ คอร์ป์ อเรชันั ในความคิดิ ของนักั อนาคตศึกึ ษาที่ม่�ีีชื่่อ� เสีียงคนหนึ่่ง� คือื เวนเดล เบล (Wendell Bell) จุดุ เปลี่ย�่ นสำำ�คัญั ของวงการอนาคตศึกึ ษาในสหรัฐั อเมริกิ าคือื การจััดตั้�งและตีีพิิมพ์์ผล งานของคณะกรรมการว่่าด้้วยปีี 2000 (Commission on the Year 2000) ซึ่�งจััดตั้�งโดยสถาบััน ศิิลปศาสตร์์และวิิทยาศาสตร์์แห่่งอเมริิกา (American Academy of Arts and Sciences) ใน พ.ศ. 2509 พันั ธกิจิ หลักั ของคณะกรรมการชุดุ นี้้�คือื การวิเิ คราะห์แ์ ละคาดการณ์เ์ หตุกุ ารณ์ท์ ี่อ่� าจเกิดิ ขึ้�น ใน พ.ศ. 2543 โดยเน้น้ ปััญหาด้้านสังั คมของประเทศ พร้้อมระบุปุ ััญหาและข้้อจำ�ำ กััดของวิิธีีคาดการณ์์ ที่่�ใช้อ้ ยู่�ในเวลานั้�น สาเหตุสุ ำ�ำ คัญั ของการจััดตั้�งคณะกรรมการชุุดนี้้�คืือ ปัญั หาสังั คมเศรษฐกิจิ และความ ขัดั แย้้งต่า่ ง ๆ ในสังั คมอเมริิกัันได้้ปะทุขุึ้�นมาและแพร่ข่ ยายไปทั่่ว� ประเทศ แต่ไ่ ม่ไ่ ด้ม้ ีีการเตรีียมพร้อ้ ม รับั มือื ความขัดั แย้ง้ เหล่า่ นี้�มาก่อ่ น สถาบันั ศิลิ ปศาสตร์แ์ ละวิทิ ยาศาสตร์ฯ์ จึงึ เล็ง็ เห็น็ ถึงึ ความสำ�ำ คัญั ของ การคิดิ วิเิ คราะห์แ์ ละคาดการณ์เ์ กี่ย่� วกับั ปัจั จัยั และเหตุกุ ารณ์ใ์ นอนาคต แ ละการเตรีียมพร้อ้ มเพื่่อ� รับั มือื กัับเหตุกุ ารณ์์ที่อ่� าจเกิดิ ขึ้�น43 รายงานฉบับหลักของคณะกรรมการชุดนี้ระบุว่า องค์ประกอบส�ำคัญที่จ�ำเป็นต้องพัฒนาข้ึนมา ส�ำหรับสังคมอเมรกิ ันคอื ระบบและเคร่อื งมือคาดการณป์ ัญหาสังคมที่จะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต เพ่อื เตรียม พร้อมรับมือกับการเปล่ียนแปลงด้านต่าง ๆ รายงานดังกล่าวยังเสนอทางเลือกด้านนโยบายและ ด้านสถาบันส�ำหรับการคาดการณ์อนาคต คณะกรรมการชุดดังกล่าวตีพิมพ์บทวิเคราะห์จ�ำนวนกว่า
43 | อนาคตศึกษา 60 ฉบบั ซง่ึ มเี นอ้ื หาเกย่ี วกบั การเปลย่ี นแปลงทางสงั คมและการเมอื ง อาทิ คา่ นยิ มและสทิ ธขิ องพลเมอื ง ความเหล่ือมล้�ำระหว่างคนจนกับคนรวย ความเหลื่อมล้�ำระหว่างประเทศยากจนกับประเทศร�่ำรวย บทบาทของวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยใี นสงั คม ผลกระทบของคอมพวิ เตอรต์ อ่ สงั คม รวมถงึ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีชีวภาพ44 หัวข้อการวิเคราะห์อนาคตในงานนี้เป็นเร่ืองเกี่ยวกับสังคม เศรษฐกิจและ พลเมอื งเป็นสว่ นใหญ่ ซึ่งแตกตา่ งอยา่ งสิ้นเชงิ จากงานอนาคตศกึ ษาและการคาดการณด์ า้ นการทหาร ทมี่ มี ากอ่ นหนา้ นนั้ ในชว่ งตอ่ มา นกั อนาคตศกึ ษาจากแรนดแ์ ละคนอืน่ ทอี่ ยใู่ นส�ำนกั คดิ แบบแรนดก์ ไ็ ด้ ตพี มิ พง์ านเขยี นในท�ำนองเดยี วกนั ตัวอย่างงานเขียนท่ีกลายเป็นผลงานระดับคลาสสิกคือ หนังสือ ช่ือ The Year 2000: A Framework for Speculation on the Next Thirty-Three Years โดยเฮอร์มัน คาน (Herman Kahn) และแอนโทนี วีนเนอร์ (Anthony Wiener) ผลงานของคณะกรรมการชุุดดัังกล่่าวได้้เปลี่�่ยนวงการอนาคตศึึกษาในสหรััฐอเมริิกาอย่่างมีีนััย สำำ�คััญ นัักอนาคตศาสตร์เ์ ริ่�มความสำ�ำ คัญั กับั การมองอนาคตในด้า้ นอื่�น ที่่�ไม่ใ่ ช่ก่ ารทหารมากขึ้�น อีีกทั้�ง ยังั พัฒั นาศาสตร์ด์ ้า้ นการศึกึ ษาอนาคตอย่า่ งจริงิ จังั โดยเริ่ม� ตีีพิมิ พ์ห์ นังั สือื และบทความเกี่ย�่ วกับั อนาคต ด้า้ นเศรษฐกิจิ สังั คมและเทคโนโลยีีอย่า่ งเป็น็ ระบบ อาทิิ หนังั สือื ชื่อ� The Coming of Post-Industrial Society: A Venture in Social Forecasting โดยแดเนีียล เบล (Daniel Bell) ใน พ.ศ. 2516 ซึ่�ง คาดการณ์ก์ ารเปลี่ย่� นแปลงด้า้ นเศรษฐกิจิ และสังั คมหลังั จากที่ป�่ ระเทศได้เ้ ข้า้ สู่่�ยุคุ หลังั อุตุ สาหกรรมแล้ว้ อนาคตศกึ ษากบั อนาคตโลก กระบวนทัศนห์ ลกั ของอนาคตศกึ ษาในระดับโลกปรับเปล่ยี นอกี คร้ังหนง่ึ ในชว่ งทศวรรษที่ 1970 เมอ่ื เร่ิมมีการศึกษาและตีพิมพ์ผลงานเกี่ยวกับอนาคตของระบบนิเวศและมนุษยชาติ เอกสารส�ำคัญที่ถือ เปน็ หมดุ หมายหลกั ของการปรบั เปลย่ี นกระบวนทศั นใ์ นวงการอนาคตศกึ ษาคอื รายงานชอ่ื The Limits to Growth หรอื “ขีดจ�ำกดั ของการเติบโต” โดยกลมุ่ คลับออฟโรม (Club of Rome) ใน พ.ศ. 2515 กลุ่�มคลับั ออฟโรมเป็น็ การรวมตัวั กันั ของบุคุ คลที่ต�่ ่า่ งเป็น็ ห่ว่ งเกี่ย�่ วกับั อนาคตของมนุษุ ยชาติิ จึงึ รวมตัวั กันั และก่่อตั้�งองค์์กรที่ม�ุ่่�งส่่งเสริมิ ความเข้้าใจในความท้้าทายระดับั โลกที่ม่� ีีผลต่อ่ มวล มนุุษยชาติิ และเพื่่�อเสนอแนวทางและวิิธีีแก้้ไขปััญหาที่่�ตั้�งอยู่�บนพื้�นฐานของการวิิเคราะห์์เชิิง วิิทยาศาสตร์์ ก ารสื่อ� สารและการผลัักดัันการเปลี่�่ยนแปลงเชิงิ นโยบาย45 รายงาน The Limits to Growth ได้ร้ ับั ความสนใจอย่า่ งมากทั้�งในวงการวิชิ าการและวงการนโยบายการพัฒั นาระดับั โลก สำ�ำ หรับั ในวงการอนาคตศึกึ ษา รายงานฉบับั ดัังกล่่าวถือื ว่่าเป็น็ การเปิดิ ศักั ราชใหม่่ของการ ศึึกษาอนาคตที่�่ให้้ความสำ�ำ คััญกัับสิ่�งแวดล้้อมและนิิเวศวิิทยา รวมถึึงความต้้องการและคุุณค่่า ของความเป็็นมนุุษย์์ มากกว่่าการพััฒนาที่�่เน้้นความเจริิญด้้านวััตถุุและการศึึกษาด้้วยวิิธีีการ เชิงิ วิิทยาศาสตร์์และเชิงิ เทคนิิค46 แบบจำ�ำ ลองที่ใ�่ ช้ว้ ิเิ คราะห์ใ์ นงาน The Limits to Growth เป็น็ แบบพลวัตั ระบบ (system dynamics) ที่�่ริิเริ่�มโดยเจย์์ ฟอร์์เรสเตอร์์ (Jay Forrester) แห่ง่ สถาบัันเทคโนโลยีีแมสซาชููเซท (Massachusetts Institute of Technology) หรือื MIT ผลการจำ�ำ ลองสถานการณ์ด์ ้ว้ ยคอมพิวิ เตอร์ไ์ ด้้ข้้อสรุปุ ว่า่ ถ้า้ ไม่่มีีการเปลี่่�ยนแปลงใด ๆ ในการใช้้ทรััพยากรของมนุุษย์์ การเติิบโตด้้านประชากรและการผลิิต จะจบสิ้�นลงภายในเวลาหนึ่่�งศตวรรษ ข้้อสมมติสิ ำำ�คััญของแบบจำ�ำ ลองมาตรฐาน (starndard model)
อนาคตศึกษา | 44 ของงานวิิเคราะห์์ดัังกล่่าว ได้้แก่่ (1) ไม่่มีีการเปลี่่�ยนแปลงด้้านค่่านิิยมและพฤติิกรรมของมนุุษย์์และ สัังคมโดยรวม (2) ไม่ม่ ีีการเปลี่�่ยนแปลงของโครงสร้า้ งระบบเศรษฐกิจิ แบบทุุนนิยิ ม (3) ไม่ม่ ีีสงคราม (4) ไม่ม่ ีีการประท้้วงหยุดุ งาน (5) ไม่ม่ ีีกำ�ำ แพงกีีดกั้�นการค้้าเสรีี ฯลฯ ด้ว้ ยข้้อสมมติดิ ัังกล่่าว จึงึ เกิิดข้้อ วิพิ ากษ์ว์ ิจิ ารณ์ว์ ่า่ การคาดการณ์ข์ องรายงานดังั กล่า่ วไม่ส่ ะท้อ้ นความเป็น็ จริงิ เนื่่อ� งจากเงื่อ� นไข ปัจั จัยั และข้้อมูลู ที่ใ�่ ช้ไ้ ม่่ครบถ้ว้ นสมบูรู ณ์์ อย่างไรก็ตาม รายงานดังกล่าวระบุไว้อย่างชัดเจนว่า ในความเป็นจริง ปัจจัยสมมติเหล่านี้ อาจเปล่ียนไปได้ การวิเคราะห์ในรายงานจึงใช้แบบจ�ำลองที่มีตัวแปรและค่าพารามิเตอร์ท่ีแสดง ถึงการเปลย่ี นแปลงดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม การเมอื งและเทคโนโลยที ห่ี ลากหลาย กระนน้ั กต็ าม แบบ จ�ำลองทั้งหมดก็ยังแสดงผลลัพธ์ไปในทิศทางเดียวกันว่า ระบบโลกมีข้อจ�ำกัดด้านการเติบโต และ ทา้ ยสดุ จะเขา้ สสู่ ภาวะถดถอย แมว้ า่ อาจใชเ้ วลาตา่ งกนั ในฉากทัศน์ที่แตกต่างกัน รายงานดังกล่าวยัง เสนอว่า ระบบโลกอาจสามารถเข้าสู่ดุลยภาพและมีเสถียรภาพได้ ถ้าระบบต่าง ๆ สามารถบรรลุ ชุดเงื่อนไขหน่ึงได้ ดังน้ัน จากมุมมองด้านอนาคตศึกษา งาน The Limits to Growth จึงไม่ใช่ การคาดการณ์และระบุว่า ภาพใดจะเกิดข้ึนจริงในอนาคต ยกเว้นภาพเดียวคือการเติบโตอย่างไม่ สิ้นสุด แต่ภาพอนาคตอนื่ ลว้ นแล้วแต่เปน็ ทางเลือกทก่ี �ำหนดไดด้ ว้ ยการกระท�ำของมนุษยใ์ นปัจจบุ ัน ขอ้ เสนอของรายงานฉบบั นไ้ี ดร้ บั การวพิ ากษว์ จิ ารณอ์ ยา่ งกวา้ งขวาง กลมุ่ แนวคดิ ฝา่ ยซา้ ยเหน็ วา่ แนวคิดส่ิงแวดล้อมนยิ ม (environmentalism) ในรายงานดงั กล่าวเป็นความกงั วลของชนช้นั กลางที่ ไม่ให้ความสนใจกับความยากจน และปัญหาทรัพยากรและส่งิ แวดล้อมท่ีเกิดข้ึนเป็นผลมาจากการใช้ ชวี ติ ของชนชนั้ กลางเหลา่ นน้ั นน่ั เอง สว่ นกลมุ่ แนวคดิ ฝา่ ยขวาวพิ ากษว์ า่ รายงานดงั กลา่ วไมไ่ ดค้ �ำนงึ ถงึ พฒั นาการด้านเทคโนโลยีท่สี ามารถสร้างโอกาสในการหาทรพั ยากรและวัตถดุ บิ ใหม่ ๆ ได้ รวมทงั้ ยัง ละเลยการท�ำงานของกลไกราคาทค่ี วบคมุ และก�ำกบั การผลติ ในตลาด รายงานฉบบั นย้ี งั ไดร้ บั ค�ำวพิ ากษ์ วจิ ารณจ์ ากประเทศก�ำลงั พฒั นาวา่ แนวคิดท่ีเสนอในรายงานพยายามปดิ ก้นั โอกาสในการพัฒนาของ ประเทศทม่ี าทหี ลงั นโยบายและมาตรการทเี่ สนอไวใ้ นรายงานจะท�ำใหต้ น้ ทนุ การผลติ และการพฒั นา ของประเทศก�ำลงั พฒั นาสงู มากขนึ้ แมว้ า่ รายงานฉบบั ดงั กลา่ วไดเ้ ผยแพรม่ าหลายสบิ ปแี ลว้ กต็ าม ขอ้ วพิ ากษเ์ หลา่ นยี้ งั คงไดย้ นิ อยใู่ นวงการนโยบายการพฒั นาในปจั จบุ นั โดยเฉพาะในการถกเถยี งกนั เรอ่ื ง การพฒั นาที่ยง่ั ยนื แม้ว่าเปา้ หมายการพฒั นาที่ย่งั ยืน (Sustainable Development Goals – SDGs) ไดข้ ยายขอบเขตของค�ำว่าการพัฒนาท่ยี ัง่ ยนื ไปมากกว่าประเด็นดา้ นสิง่ แวดลอ้ มอยา่ งเดยี วแล้วกต็ าม ไมว่ า่ ผลลพั ธจ์ ากการวเิ คราะหภ์ าพอนาคตในรายงานดงั กลา่ วจะไดร้ บั การยอมรบั มากนอ้ ยเทา่ ใด กต็ าม แตจ่ ากมมุ มองดา้ นพฒั นาการของอนาคตศกึ ษา รายงานนถ้ี อื วา่ ไดจ้ ดุ ประกายใหก้ บั นกั วชิ าการ และนักนโยบายท่ัวโลกทม่ี งุ่ ความสนใจไปทีก่ ารวิเคราะห์อนาคตมากข้ึน กิจกรรมของคลบั ออฟโรมได้ ผลักดันแนวคิดส�ำคัญของอนาคตศึกษาท่ีให้ความส�ำคัญกับการบูรณาการและความเป็นสหสาขาของ การท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับอนาคต รวมถึงการใช้วิธีการวิเคราะห์อนาคตด้วยการจ�ำลองสถานการณ์ และการใช้แบบจ�ำลอง รายงานดงั กล่าวยงั สร้างรากฐานเชิงวชิ าการให้กับการรณรงค์ดา้ นสิ่งแวดล้อม และกจิ กรรมการเคลอื่ นไหวเพอ่ื สงั คม โดยเฉพาะในการตง้ั กรอบของปญั หาในระดบั โลก งานชน้ิ นกี้ ลาย เป็นเอกสารอา้ งอิงพื้นฐานของการวิจยั ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม การเปล่ยี นสภาพภมู ิอากาศ และการพัฒนาที่ ยง่ั ยืนในยคุ ตอ่ มาจนถึงปัจจบุ ัน47
45 | อนาคตศึกษา อนาคตเชงิ บรู ณาการ และขา้ มศาสตร์ แนวคิิดหนึ่่�งที่่�ได้้รัับความสนใจมากขึ้�นวงการอนาคตศึึกษาในช่่วงประมาณ 10 กว่่าปีีที่่�ผ่่านมาคืือการ ศึกึ ษาอนาคตเชิงิ บูรู ณาการข้า้ มศาสตร์์ (Integral-transdisciplinary futures) ซึ่ง� มุ่�งบูรู ณาการแนวคิดิ และแนวทางที่ห่� ลากหลายเข้า้ ด้ว้ ยกันั เพื่่อ� ให้ก้ ารวิเิ คราะห์อ์ นาคตมีีมุมุ มองที่ก�่ ว้า้ งและระยะยาวมากขึ้�น แนวคิดิ นี้�ตั้�งอยู่�บนความเชื่อ� ที่ว่� ่า่ ความคิดิ ของมนุษุ ย์ไ์ ม่ม่ ีีทางผิดิ เสมอไปและตลอดไป นั่่น� หมายความว่า่ ในการเลือื กแนวทางหรือื วิธิ ีีการรับั รู้�และเรีียนรู้�อะไรบางอย่า่ งนั้�น ทุกุ ด้า้ น ทุกุ วิถิ ีีทางและทุกุ วิธิ ีีการล้ว้ น มีีส่ว่ นที่ถ่� ูกู ต้อ้ งด้ว้ ยกันั ทั้�งสิ้�น การศึกึ ษาวิจิ ัยั ในแต่ล่ ะศาสตร์์ ไม่ว่ ่า่ จะเป็น็ ด้า้ นวิทิ ยาศาสตร์ส์ ังั คมศาสตร์์ หรืือมนุษุ ยศาสตร์์ ต่่างก็็สร้้างความรู้�ที่�เป็็นส่่วนหนึ่่�งของการตอบคำำ�ถามสำำ�คััญและสิ่ง� ต่า่ ง ๆ ที่่�มนุษุ ย์์ ต้อ้ งการคำ�ำ ตอบ ความพยายามคาดการณด์ ว้ ยแนวคดิ จากหลายมมุ มองดว้ ยวธิ กี ารเชงิ บรู ณาการนน้ั สามารถยอ้ น กลับไปท่งี านเขียนของเอรกิ ยานส์ (Erich Jantsch) นกั ฟิสกิ ส์ชาวออสเตรียอเมริกนั ทเี่ สนอแนวคดิ การคาดการณเ์ ชงิ บรู ณาการ (integrative forecasting) ใน พ.ศ. 2509 แนวคิดดงั กล่าวเสนอให้มี การผสมผสานมิติด้านสังคม เศรษฐกิจ เทคโนโลยี การเมือง จิตวิทยาและมานุษยวิทยาในการ วางแผนและการตัดสินใจเชิงนโยบาย ต่อมา นักอนาคตศาสตร์ที่ศูนย์การศึกษาเชิงบูรณาการ (Center for Integrative Studies) ท่ีมหาวิทยาลัยแห่งมลรฐั นวิ ยอร์ก (State University of New York) ได้พฒั นากรอบแนวคิดและแนวทางในการบรู ณาการแนวโน้มระดับโลก การเปลยี่ นแปลงความ คิดครัง้ ใหญ่ในช่วงเวลาระหว่างรนุ่ อายุ รวมไปถงึ ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสงั คมและวฒั นธรรมใน ปัจจุบันในการมองภาพอนาคตระยะยาว ตามแนวคิดิ ของริชิ าร์ด์ สลอเทอร์์ (Richard Slaughter) กรอบแนวคิดิ เชิงิ บูรู ณาการในการศึกึ ษา อนาคตยอมรับั ในความซับั ซ้อ้ นของระบบ บริบิ ท และความเชื่อ� มโยงระหว่า่ งความตระหนักั รู้� (awareness) และความเป็็นจริิง (reality) แนวคิิดนี้�มุ่�งผสมผสานมุุมมองด้้านการพััฒนาที่่�ยอมรัับในระดัับ และรููปแบบที่่�แตกต่่างกัันของแต่่ละปััจเจกบุุคคลและสัังคมโดยรวมในการเข้้าถึึงการรัับรู้ �หรืือ สติิ (consciousness) แนวคิิดนี้�เป็็นไปในทิิศทางเดีียวกัับทฤษฎีีบููรณาการของเคน วิิลเบอร์์ (Ken Wilber) ซึ่�งเสนอว่่า ความรู้�และประสบการณ์์ของมนุุษย์์ทั้�งหมดสามารถจำำ�แนกได้้ใน ตาราง 4 ช่่อง (four-quadrant grid) ตามแกน “ข้้างใน-ข้้างนอก” (interior-exterior) และ
อนาคตศกึ ษา | 46 “ปััจเจกบุุคคล-ส่่วนรวม” (individual-collective) ทฤษฎีีนี้้�พยายามอธิิบายว่่าศาสตร์์และ สาขาวิิชาต่่าง ๆ รวมถึึงความรู้�และประสบการณ์์ทุุกรููปแบบสามารถบูรู ณาการเข้า้ ด้ว้ ยกันั ได้อ้ ย่า่ งไร การศกึ ษาอนาคตแนวบรู ณาการไมจ่ �ำกดั อยเู่ พยี งวธิ กี ารและเครอ่ื งมอื การวจิ ยั แบบเดมิ นกั อนาคต ศาสตรบ์ างคน เช่น มายา แวน ลีมพทุ (Maya Van Leemput) ทดลองใช้สื่ออ่ืน ๆ เช่น ภาพยนตร์ วิดีโอและศิลปะ ในการศึกษาและส่ือสารเกี่ยวกับภาพอนาคต ในขณะที่นักอนาคตศาสตร์อีกหลาย คนได้ทดลองใช้แนวคิดอนาคตศึกษากับเกม ทฤษฎีการออกแบบ และประสบการณ์แบบดื่มด�่ำ (immersive experience) ในการสรา้ งภาพและประสบการณ์เกย่ี วกบั อนาคต แนวคดิ อนาคตศกึ ษาเชงิ บรู ณาการตง้ั อยบู่ นทฤษฎที ยี่ อมรบั ในความซบั ซอ้ นของระบบและความ ส�ำคญั ของการขา้ มศาสตร์สาขา จึงถอื วา่ เปน็ แนวทางศึกษาอนาคตทีเ่ ปิดกว้างทสี่ ุดและมีศักยภาพใน การสร้างอนาคตท่ีพึงประสงค์ในระดับโลกได้ แต่ในขณะเดียวกัน ด้วยความกว้างของแนวคิดน้ีเอง ท�ำให้เกิดข้อวิพากษ์วิจารณ์จากนักวิชาการหลายกลุ่มว่า ความพยายามที่จะท�ำให้มุมมองการศึกษา อนาคตกว้างขึ้น กลับท�ำให้การศึกษาอนาคตไม่ลึกพอ อีกทั้งข้อสมมติของแนวคิดและวิธีการศึกษา ของงานเชิงบูรณาการมักขัดแย้งกัน เนื่องด้วยปรัชญาพื้นฐานที่แตกต่างกัน เนื่องจากแนวคิดการ ศกึ ษาอนาคตเชงิ บรู ณาการยงั ถอื วา่ คอ่ นขา้ งใหมใ่ นอนาคตศาสตร์ จงึ คาดไดว้ า่ ขอ้ โตแ้ ยง้ ในเชงิ ปรชั ญา แนวคดิ และวิธกี ารจะยงั คงมตี อ่ ไป
47 | อนาคตศกึ ษา ทศวรรษลา่ สดุ ของ อนาคตศกึ ษา นอกเหนือจากการใช้แนวคิดเชิงบูรณาการในการวิเคราะห์ภาพอนาคต ในช่วงประมาณ 10 ปีท่ีผ่าน มา วงการอนาคตศึกษามีวิวัฒนาการไปบ้างตามการเปลี่ยนแปลงของบริบทโลกด้านเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี สงิ่ แวดลอ้ มและการเมอื ง ค�ำศพั ทท์ ใ่ี ชเ้ รยี กอนาคตศกึ ษามเี พมิ่ มากขน้ึ ในหลายกรณใี ชส้ ลบั กันไปมา โดยเฉพาะในวงการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม อาทิ การประเมินเทคโนโลยี (technology assessment) การคาดการณ์เทคโนโลยี (technology foresight) การพยากรณ์ เทคโนโลยี (technology forecasting) รวมไปถึงการวางแผนระยะยาว (long-range planning) การเปลยี่ นแปลงส�ำคญั เกดิ ขน้ึ ในประเทศทเ่ี ปน็ ผนู้ �ำของโลกในดา้ นการคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์ เอสิ จาน ซาริทาส (Ozcan Saritas) และเดอริก อามิน (Derrick Anim) ไดว้ เิ คราะห์การเปลย่ี นแปลง ของวงการอนาคตศึกษาและการคาดการณ์เพ่ือวางแผนนโยบายในประเทศผู้น�ำด้านอนาคตศึกษา 5 แหง่ คือฟินแลนด์ สหราชอาณาจกั ร เยอรมนี ญี่ปุน่ และรสั เซยี ในชว่ ง 10 ปรี ะหว่าง พ.ศ. 2550-2560 โดยใชเ้ กณฑก์ ารวเิ คราะห์ 6 ดา้ น ไดแ้ ก่ (1) สภาพบรบิ ทของการคาดการณ์ (2) ขอบเขตการคาดการณ์ (3) ความสม�่ำเสมอในการใชเ้ ครื่องมือคาดการณใ์ นการพัฒนานโยบาย (4) กลไกทางการเงิน (5) ระดับ การมีสว่ นร่วม และ (6) การใชผ้ ลลัพธ์และการน�ำไปปฏบิ ัต4ิ 8 ทัง้ น้ี บรบิ ทเน้อื หาและกระบวนการของ กิจกรรมการคาดการณ์ใน 5 ประเทศขา้ งต้นเปลยี่ นไปดังน้ี ประการแรก กิจกรรมการคาดการณเ์ ชิงยทุ ธศาสตรใ์ น 5 ประเทศกรณีศึกษาได้ปรับเปลย่ี นจาก โครงการขนาดใหญร่ ะดับประเทศเปน็ โครงการทม่ี ีขอบเขตเน้ือหาแคบลง โดยเน้นหวั ขอ้ หรือประเด็น เฉพาะเจาะจงมากขึ้น อาทิ ความท้าทายใหญ่เร่อื งใดเร่ืองหน่ึง สาขาใดสาขาหน่ึงหรือเทคโนโลยีใด เทคโนโลยีหนึ่ง ประการที่สอง กิจกรรมการคาดการณ์ขยายขอบเขตของการมีส่วนร่วมมากขึ้น โดย เปิดให้กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้เช่ียวชาญที่หลากหลายเข้ามาร่วมกระบวนการมากขึ้น แรงขับ เคลอ่ื นส�ำคญั ของแนวโนม้ นค้ี อื ความพยายามสรา้ งกระบวนการและสภาพแวดลอ้ มที่จะท�ำใหก้ ารศกึ ษา และคาดการณอ์ นาคตสามารถสรา้ งผลลัพธ์ทีน่ �ำไปสู่การปฏิบตั ิใชจ้ รงิ ประการทส่ี าม การประยุกต์ใช้ เทคโนโลยใี หมท่ �ำใหก้ ระบวนการคาดการณส์ นั้ ลงมาก เครอ่ื งมอื ใหม่ ๆ ท�ำใหส้ ามารถเกบ็ รวบรวมและ ประมวลผลข้อมูล การสอบถามความเหน็ และการเผยแพรผ่ ลลัพธ์ โดยเฉพาะในเวทหี รือแพลตฟอร์ม (platform) บนอินเทอร์เน็ต ไดง้ า่ ยและรวดเรว็ มากขึ้น
อนาคตศึกษา | 48 การเปลย่ี นแปลงทช่ี ดั เจนทสี่ ดุ ในวงการอนาคตศกึ ษาในชว่ งหนงึ่ ทศวรรษทผี่ า่ นมาคอื วธิ กี ารคาด การณเ์ พอื่ นโยบายวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมไดพ้ ฒั นาขน้ึ มาก เนือ่ งจากความกา้ วหนา้ ของ เทคโนโลยคี อมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศ หน่วยงานด้านนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ได้ใช้วิธีการคาดการณ์ท่ีซับซ้อนและหลากหลายมากขึ้น ในการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลที่มี จ�ำนวนมาก นอกจากน้ี ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสารสนเทศยังท�ำให้การท�ำเหมืองข้อมูล (text mining) และการแบ่งกลุ่มข้อมูลเพ่ือการกวาดสัญญาณเป็นไปได้ง่ายยิ่งข้ึน การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศท่ีทันสมัย โดยเฉพาะแพลตฟอร์มบนพ้ืนท่ีออนไลน์ ท�ำให้เกิดการคาดการณ์ร่วมกันของ คนจ�ำนวนมากและหลากหลาย ตามที่เรียกกันว่าเป็นการคาดการณ์แบบเครือข่าย (networked foresight) การคาดการณ์แบบประสบการณ์ (experiential foresight) การคาดการณ์รุ่นที่ 5 (5th generation foresight) และการคาดการณ์ 2.0 (Foresight 2.0)49 กลุ่มนักอนาคตศาสตร์ในช่วง หลังเร่ิมให้ความสนใจกับการใช้ประโยชน์จากปัญญาร่วม (collective intelligence หรือ intelligence of the crowd) ส�ำหรบั การตงั้ โจทย์และการด�ำเนนิ งานวจิ ัยระยะยาว การใช้เคร่ืองมือ ด้านสารสนเทศส�ำหรับการคาดการณ์ การใชก้ ารออกแบบและแสดงภาพ (visualization) ของเรื่อง ราวท่ีแต่งขึ้น (fiction) ในการใช้เกมจ�ำลองสถานการณ์ (gamification) รวมไปถึงการประยุกต์ใช้ การคาดการณ์เชิงประสบการณ์เป็นเครื่องมือแบบใหม่ในการสร้างความรู้และเผยแพร่ผลลัพธ์สู่กลุ่ม เปา้ หมายและสู่สาธารณะ ความสนใจในวธิ กี ารและเคร่อื งมอื คาดการณท์ ่ีเปิดกว้างมากขึ้นน้ี สะท้อนแนวคดิ ใหมท่ ่ีก�ำลงั ได้ รบั ความสนใจมากขนึ้ ในวงการวชิ าการระดบั โลก คอื วทิ ยาศาสตรเ์ ปดิ (open science) วทิ ยาศาสตร์ เครอื ขา่ ย (networked science) วทิ ยาศาสตรภ์ าคพลเมอื ง (citizen science) รวมถงึ การคาดการณ์ แบบเปิด (open foresight) แนวคิดเหล่านี้มีสาระหลักอยู่ที่การเปิดกว้างกระบวนการศึกษาด้าน วทิ ยาศาสตรแ์ ละการคาดการณใ์ หก้ บั ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี และประชาชนทัว่ ไปมากขนึ้ กวา่ ในอดตี ความ ท้าทายหลักของกระบวนการคาดการณ์แนวนี้คือการเปิดให้ผู้ที่เก่ียวข้องสามารถเข้าร่วมได้มากท่ีสุด ภายใตข้ ้อจ�ำกดั ดา้ นทรัพยากรและเงื่อนไขดา้ นเทคโนโลยี ทั้งน้ี การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นสาเหตุหนึ่งท่ีท�ำให้เกิดเสียงเรียกร้องให้กระบวนการ คาดการณ์เปิดกว้างมากขึ้น ท้ังในการวางแผนนโยบายสาธารณะและการคาดการณ์ส�ำหรับธุรกิจ (corporate foresight) การเปิดกว้างของกระบวนการคาดการณ์สื่อถึงการเปลี่ยนแปลงแนวคิดพื้น ฐานเกยี่ วกบั การสรา้ งความรู้ กลา่ วคอื ในอดตี การคาดการณเ์ ปน็ เรอื่ งเฉพาะของผเู้ ชยี่ วชาญและจ�ำกดั เฉพาะสาขาวิชาและวชิ าชพี หนึง่ แตใ่ นปัจจุบัน การสร้างความรู้ในทุกด้านเรมิ่ เปดิ กว้างใหป้ ระชาชน ท่ัวไปเข้ามามสี ่วนรว่ ม และมีความเปน็ สหสาขาและสหวชิ าชีพมากขนึ้ กวา่ เดิม การพััฒนาเทคโนโลยีีเป็็นปััจจััยสำำ�คััญที่�่ทำำ�ให้้เครื่�องมืือคาดการณ์์มีีประสิิทธิิภาพมากขึ้�น โดย เฉพาะเทคโนโลยีีในการจััดเก็บ็ และรวบรวมข้อ้ มููล การเก็บ็ สำ�ำ รอง การจัดั ระเบีียบ การประมวลและ อ่่านผล และการแสดงผลและเผยแพร่่ พร้้อมกัันนี้้�ประเภทข้้อมููลที่่�ใช้้วิิเคราะห์์และผลลััพธ์์ในการ คาดการณ์์มีีความหลากหลายมากขึ้�น โดยเฉพาะเมื่ �อเปรีียบเทีียบกัับปริิมาณและคุุณภาพของข้้อมููล จากเครื่อ� งมือื ที่�เ่ คยใช้้มาในอดีีต ตััวอย่า่ งเช่่น การสำ�ำ รวจเดลฟายเป็น็ วิิธีีการหลัักในการศึึกษาอนาคต
49 | อนาคตศกึ ษา ด้้านวิิทยาศาสตร์์ เทคโนโลยีีและนวััตกรรมในหลายประเทศ เช่น่ ญี่�่ปุ่�น วิธิ ีีการดังั กล่า่ วเน้้นข้้อมููลด้า้ น อุปุ ทานเป็น็ หลักั และคำ�ำ นึงึ ถึงึ ปัจั จัยั ด้า้ นอุปุ สงค์น์ ้อ้ ยมาก ข้อ้ วิพิ ากษ์ด์ ังั กล่า่ วทำ�ำ ให้เ้ กิดิ ความพยายามใน การประยุกุ ต์ใ์ ช้เ้ ทคนิคิ วิธิ ีีในการเก็บ็ รวบรวมข้อ้ มูลู จากผู้�เกี่ย่� วข้อ้ งด้า้ นอื่น� และในประเด็น็ ที่ห�่ ลากหลาย ขึ้�นกว่า่ เดิมิ โดยใช้เ้ ครื่อ� งมือื สารสนเทศที่ท�่ ันั สมัยั และหลากหลายมากขึ้�น อกี แนวโนม้ หนึง่ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในวงการอนาคตศกึ ษาในชว่ ง 10 ปที ผ่ี า่ นมาคอื กจิ กรรมการคาดการณ์ ระดบั ชาติ โดยเฉพาะในการก�ำหนดยุทธศาสตรด์ ้านวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มคี วามซบั ซ้อนมาก ขึ้น ทั้งในด้านขอบเขตเนื้อหาและระบบและกระบวนการ หลายประเทศด�ำเนินกระบวนการ คาดการณ์ขนาดย่อม (mini-foresight) ซ่ึงเน้นการจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการระยะสั้นท่ีมุ่งสร้าง ฉากทัศน์ วัตถปุ ระสงค์หนึง่ คือเพ่ือกระตนุ้ การเรียนรแู้ ละความตระหนกั ถึงพลวัตและความส�ำคญั ของ การคาดการณ์ และเพอื่ สรา้ งความมน่ั ใจใหก้ บั ผมู้ อี �ำนาจตดั สนิ ใจเกยี่ วกบั การใชแ้ นวคดิ และเครอื่ งมอื คาดการณใ์ นการวางแผนนโยบาย แตผ่ ลลพั ธท์ เี่ กดิ ขน้ึ คอื กจิ กรรมการคาดการณร์ ะดบั ประเทศมคี วาม ซบั ซอ้ นมากขนึ้ และมวี ตั ถปุ ระสงคท์ หี่ ลากหลายและมากเกนิ ไป อกี ทง้ั ท�ำใหเ้ กดิ ความคาดหวงั มาจาก กระบวนการคาดการณ์ที่จดั ไป จนท�ำใหร้ ะบบการคาดการณร์ ะดับประเทศต้องลม้ ไป ดังในกรณีของ ประเทศอังกฤษและเยอรมน5ี 0 ดว้ ยเหตดุ งั กลา่ ว จึงเกิดแนวคิดการคาดการณ์เชิงพลวัตและปรับตัวได้ (dynamic and adaptive foresight) เพ่อื รับมอื กับความซบั ซอ้ นท่เี พิ่มมากขึ้น รวมถึงบริบทและ เงอ่ื นไขทเ่ี ปลยี่ นไปอยา่ งรวดเรว็ อกี ทงั้ เพอื่ สรา้ งทางเลอื กเตรยี มเผอ่ื ไวต้ ามเหตกุ ารณแ์ ละเงอ่ื นไขทค่ี าด ว่าจะเกดิ ขึ้นในฉากทัศนอ์ นาคต51 อนาคตศกึ ษาในทศวรรษหนา้ ในชว่ งสองสามทศวรรษทผี่ า่ นมา แนวคดิ และกจิ กรรมการคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตรส์ �ำหรบั การวางแผน นโยบายไดแ้ พรข่ ยายไปทวั่ โลก รฐั บาลระดบั ประเทศและระดบั ทอ้ งถนิ่ รวมถงึ บรษิ ทั และองคก์ รจ�ำนวน มากไดป้ ระยกุ ตใ์ ชเ้ ครอ่ื งมอื คาดการณม์ ากขนึ้ แนวโนม้ ส�ำคญั ทน่ี า่ จะสบื เนอ่ื งตอ่ ไปในอนาคตคอื เครอ่ื ง มือคาดการณ์จะมีความละเอียดและซับซ้อนมากข้ึน ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมากข้ึน และการมีส่วน ร่วมจะเปิดกว้างและหลากหลายมากข้ึน แนวโนม้ ใหญข่ องโลกในดา้ นตา่ ง ๆ ท�ำใหก้ ารคาดการณร์ ะยะยาวยิง่ ส�ำคญั มากขึน้ แนวคดิ และ วิธีการคาดการณ์ต้องปรับเปล่ียนไปตามบริบทเหล่าน้ีเช่นกัน แนวคิดการคาดการณ์แบบพลวัตและ ปรับตัวได้เป็นข้อเสนอหนึ่งในการปรับเปล่ียนแนวทางการคาดการณ์ โดยใช้แนวคิดแบบฉากทัศน์ แต่เพ่ิมกรอบเวลาให้หลากหลาย ท้ังระยะสั้น ระยะกลางและระยะยาว รวมถึงเส้นทางไปสู่อนาคต (future pathways) ท่ีหลากหลาย เพ่อื บรรลุภาพอนาคตที่พึงประสงค์และหลีกเล่ียงภาพอนาคตที่ ไมพ่ ึงประสงค์ วธิ ีการคาดการณ์อนาคตท่ตี อบรับกับเงอ่ื นไขของพลวัตการเปล่ียนแปลงท่ีรวดเรว็ และ ปัจจยั ไม่แน่นอนต่างจงึ ต้องรกั ษาความสมดุลระหวา่ งภาพอนาคตระยะยาวกบั ภาพอนาคตระยะส้ัน นอกเหนืือจากด้้านเครื่�องมืือ การคาดการณ์์เชิิงยุุทธศาสตร์์ยัังปรัับเปลี่่�ยนจากกิิจกรรมที่่�มุ่�งเน้้น เฉพาะด้้านเทคโนโลยีีไปเป็็นกิิจกรรมที่่�มีีขอบเขตเนื้�อหากว้้างมากขึ้�น โดยมุ่�งเน้้นเรื่�องสัังคมและ สิ่�งแวดล้้อมมากขึ้�น คาดว่า่ กิจิ กรรมด้า้ นการคาดการณ์์ในอนาคตอีีก 10 ปีีข้า้ งหน้า้ จะให้ค้ วามสำ�ำ คัญั
อนาคตศกึ ษา | 50 กับั เนื้�อหาและแนวทางการศึกึ ษาที่เ่� น้น้ การข้า้ มสาขา (trans-disciplinary) และอาจไปไกลถึงึ การต้า้ น สาขา (anti-disciplinary) ซึ่ง� หมายถึงึ การศึกึ ษาที่ไ�่ ม่ไ่ ด้อ้ ยู่�ในขอบเขตของสาขาวิชิ าและวิชิ าชีีพเดิมิ แต่่ เป็น็ เรื่อ� งที่ต�่ ้อ้ งใช้ค้ ำ�ำ นิยิ ามใหม่่ กรอบแนวคิดิ ใหม่่ และวิธิ ีีการใหม่ไ่ ปพร้อ้ มกันั การศึกึ ษาอนาคตในภาย ภาคหน้า้ จึงึ เปิดิ โอกาสให้ส้ าขาวิชิ าใหม่่ ๆ และนักั วิจิ ัยั และนักั คาดการณ์ใ์ นระดับั ต่า่ ง ๆ สามารถเข้า้ มา ร่ว่ มในกระบวนการได้ม้ ากขึ้�น ปจั จยั ทค่ี าดวา่ นา่ จะมผี ลกระทบมากทสี่ ดุ ตอ่ วงการอนาคตศกึ ษาในอนาคตอนั ใกลค้ อื เทคโนโลยี สารสนเทศ โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ขอ้ มลู มหาศาลหรอื บกิ๊ ดาตา้ (big data)52 ดว้ ยเทคโนโลยีทที่ นั สมยั นกั อนาคตศาสตรส์ ามารถเก็บรวบรวมและวิเคราะหข์ อ้ มลู จ�ำนวนมากได้ทนั ที (real-time) อีกท้ังแหลง่ ขอ้ มลู จะหลากหลายมากขนึ้ กวา่ แหลง่ ขอ้ มลู แบบขอ้ ความ (textual data) ทเ่ี ปน็ อยใู่ นปจั จบุ นั โดยจะ สามารถใช้ได้ทั้งขอ้ มลู ภาพ (visual data) และข้อมลู ทร่ี ับร้จู ากประสาทสัมผสั (sensory data) จาก เครื่องมอื ท่ีตรวจจับและตอบสนองส่งิ ทีเ่ กิดขนึ้ ในสภาพส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ นอกจากน้ี ขีดความ สามารถของคอมพวิ เตอรท์ เี่ พม่ิ ขนึ้ รวมถงึ การพฒั นาเทคโนโลยคี ลาวดค์ อมพวิ ตง้ิ (cloud computing) เทคโนโลยบี ลอ็ กเชน (blockchain) และปญั ญาประดษิ ฐ์ (artificial intelligence) นา่ จะเพม่ิ ศกั ยภาพ ในการสร้างการมสี ว่ นรว่ ม ความโปรง่ ใส และประสทิ ธิภาพในกระบวนการคาดการณ์ในอนาคต การพัฒนาเทคโนโลยีด้านข้อมูลและสารสนเทศท�ำให้การคาดการณ์มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในกระบวนการกวาดสญั ญาณ ซงึ่ ต้องคน้ หาและท�ำเหมืองข้อมลู จ�ำนวนมหาศาลจากพ้นื ท่ี บนโลกออนไลน์ เพื่อวิเคราะห์หาแนวโน้มและสัญญาณท่ีส�ำคัญ วิธีการหลักที่ใช้อยู่ทั่วไปคือการดูด กวาดข้อมูลจากเว็บไซต์ (web scraping) แล้วใช้วิธีการทางสถิติศาสตร์ในการวิเคราะห์ข้อมูล โดย เสรมิ ดว้ ยการประเมนิ ดว้ ยวจิ ารณญาณของผเู้ ชยี่ วชาญ อยา่ งไรกต็ าม แนวทางนมี้ กั ประสบปญั หาหลาย ประการ เชน่ การสญู เสยี ขอ้ มลู ความทนทานตอ่ การเสยี หาย (fault tolerance) อยใู่ นระดบั ต�่ำ กลา่ ว คอื เมื่อองคป์ ระกอบภายในบางอยา่ งเสียหาย ระบบปฏบิ ัตงิ านมกั ไม่สามารถท�ำงานตอ่ ไปได้ มีความ ล่าชา้ (latency) สงู มคี วามเอนเอียงตามความเห็นของผ้วู ิเคราะห์ และความสามารถในการท�ำนาย (predictive power) ไมส่ งู มาก เป็นตน้ ระบบการกวาดสัญญาณในหลายองค์กรจึงพยายามพฒั นา และประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีปญั ญาประดิษฐ์เพอื่ ลดขอ้ จ�ำกดั ในกระบวนกวาดสญั ญาณ อาทิ Machine Learning, Computer Vision และ Natural Lanaguage Processing การใช้ปญั ญาประดษิ ฐ์จงึ นา่ จะเป็นหัวใจส�ำคัญของระบบคาดการณ์ในอนาคต
51 | อนาคตศึกษา เครือขา่ ยดา้ น อนาคตศึกษา ตวั ชวี้ ดั หนงึ่ ของการพฒั นาของศาสตรใ์ ดศาสตรห์ นงึ่ คอื ขนาดเครอื ขา่ ยนกั วชิ าการและผเู้ ชยี่ วชาญ รวม ถึงการรวมกลุ่มและการจัดต้ังองค์กรของผู้เช่ียวชาญในสาขาวิชาน้ัน ในช่วงต้ังแต่ทศวรรษที่ 1950 เป็นต้นมา นักวิชาการด้านอนาคตศึกษาได้ร่วมก่อตั้งสมาคมวิชาการและสมาคมวิชาชีพในหลาย ประเทศท่วั โลก อาทิ Association Internationale Futuribles ในฝรง่ั เศส Canadian Association for Futures Studies ในแคนาดา Instituto Neuvas Alternatives, SA ในเมก็ ซิโก Teihard Center for the Future of Man ในองั กฤษ Finnish Society for Futures Studies ในฟินแลนด์ World Future Society ในสหรฐั อเมริกา ในทวีปเอเชียเอง มี Japan Society of Futurology ในญี่ปุ่น และ Tamkang University ในไตห้ วัน ในระดับโลก สมาพันธ์อนาคตศึกษาโลก (World Futures Studies Federation) ซึ่งถือว่า เป็นองค์กรส�ำคญั ของวงการวชิ าการและวิชาชีพนี้ ได้กอ่ ตง้ั ขึน้ ในการประชุมวิชาการ International Futures Research Conference) ท่ีกรุงปารีสใน พ.ศ. 2516 โดยองคก์ ารยเู นสโกเปน็ ผสู้ นบั สนนุ ด้านการเงนิ ในการจดั งานของสมาพนั ธจ์ นถงึ ประมาณปลายทศวรรษที่ 1990 และยงั คงเปน็ พนั ธมติ ร ส�ำคญั ของสมาพนั ธเ์ รอ่ื ยมาจนถงึ ปจั จบุ นั ในดา้ นวชิ าชพี สมาคมนกั อนาคตศกึ ษาอาชพี (Association of Professional Futurists) กอ่ ต้ังขนึ้ ใน พ.ศ. 2545 โดยใน พ.ศ. 2563 มีสมาชกิ อยกู่ วา่ 500 คนใน 40 ประเทศทวั่ โลก53 องค์กรระหว่างประเทศและองค์กรการกุศลหลายแห่งให้ความสนใจในการสร้างเครือข่ายของ นักอนาคตศึกษา องค์กรท่ีสนับสนุนการพัฒนาอนาคตศึกษาเร่ือยมาคือองค์การยูเนสโก ซ่งึ นอกจาก สนับสนนุ งานศึกษาและวิจยั การเผยแพรส่ ง่ิ ตีพมิ พ์ และการจดั งานวิชาการเกยี่ วกบั อนาคตศกึ ษาแลว้ ยงั ด�ำเนนิ โครงการสง่ เสรมิ การเผยแพรค่ วามรพู้ น้ื ฐานดา้ นอนาคตศกึ ษาทเ่ี รยี กวา่ futures literacy ใน ประเทศสมาชิกขององค์การยูเนสโกอีกด้วย องค์ประกอบส�ำคัญของการสร้างและพัฒนาเครือข่ายด้านวิชาการและวิชาชีพคือการประชุม และสมั มนา นบั ต้ังแต่การประชุมการวจิ ัยอนาคตระหว่างประเทศครง้ั แรก (The First International Future Research Conference) ท่กี รุงออสโล นอรเ์ วยใ์ น พ.ศ. 2510 มกี ารจดั งานประชมุ ดงั กล่าว สืบเน่ืองมาต่อจากน้ันในหลายประเทศท่ัวโลก นอกจากนี้ ยังมีการประชุมของนักอนาคตศึกษาอีก กลุ่มหนึ่งคือการประชุมระดับโลกว่าด้วยอนาคต (Global Conference on the Future) ที่เมือง โตรอนโต ใน พ.ศ. 2523 ซ่งึ มผี รู้ ่วมงานกว่า 5,000 คนจากกวา่ 30 ประเทศ54 นอกจากนย้ี ังมกี าร
อนาคตศึกษา | 52 ประชุมเฉพาะเรอื่ งและระดับภูมภิ าคที่จัดโดยสมาคมอนาคตโลก (World Future Society) และสมา พนั ธ์อนาคตศกึ ษาโลก (World Futures Studies Federation - WFSF) การจัดประชมุ ระดับโลก (World Conference) ของ WFSF คร้ังลา่ สดุ คือครั้งที่ 22 โดยจดั ที่ประเทศนอร์เวย์ เมอื่ พ.ศ. 2560 ทผ่ี า่ นมา ในภมู ภิ าคเอเชยี แปซฟิ กิ กม็ กี ารรวมกลมุ่ ของนกั อนาคตศกึ ษา เชน่ เครอื ขา่ ยอนาคตศกึ ษาใน เอเชียแปซฟิ ิก (Asia-Pacific Futures Network) ซ่งึ จดั การประชมุ ประจ�ำปคี รง้ั ลา่ สดุ เปน็ ครัง้ ท่ี 5 ท่ี กรุงเทพมหานคร เมือ่ พ.ศ. 2562 ทผ่ี ่านมา อีีกตัวั ชี้�วัดหนึ่่ง� ของเครือื ข่า่ ยวิชิ าการคือื วารสารวิชิ าการและนิติ ยสารด้า้ นอนาคตศึกึ ษาและการคาดการณ์์ วารสารวิชิ าการภาษาอังั กฤษฉบับั แรกคือื Futures: The Journal of Policy, Planning and Futures Studies ซึ่�งตีีพิิมพ์์เผยแพร่่ครั้�งแรกใน พ.ศ. 2512 จำำ�นวนวารสารในด้้านนี้�เพิ่่�มจาก 12 ฉบัับใน พ.ศ. 2508 เป็น็ 122 ฉบับั ใน พ.ศ. 252155 และ 124 ฉบับั ใน พ.ศ. 2 53656 ตััวอย่่างวารสารวิิชาการ สำ�ำ คััญที่่�มีีการประเมิินคุุณภาพโดยผู้�เชี่�่ยวชาญ (peer-review) ที่่�มีีอยู่�ในปััจจุุบัันในระบบฐานข้้อมููล SCOPUS และ ISI มีีดัังต่่อไปนี้้� • European Journal of Futures Research วารสารฉบับนี้เปน็ วารสารท่ีมีการเขา้ ถึง แบบเปดิ (open access) ภายใต้แบรนด์ SpringerOpen • Foresight: The Journal of Future Studies, Strategic Thinking and Policy เร่มิ ตน้ ครัง้ แรกใน พ.ศ. 2542 โดยส�ำนกั พิมพ์ Emerald • Futures: The Journal of Policy, Planning and Futures Studies วารสาร วชิ าการฉบบั แรกทม่ี งุ่ ตพี มิ พบ์ ทความเกยี่ วกบั อนาคตศกึ ษา ใน พ.ศ. 2512 ปจั จบุ นั ตพี มิ พ์ โดยส�ำนกั พิมพ์ Elsevier • Futuribles วารสารดา้ นอนาคตศกึ ษาทต่ี พี มิ พเ์ ปน็ ภาษาฝรง่ั เศสมาตง้ั แต่ พ.ศ. 2503 โดย Futuribles Centre • Info: The Journal of Policy, Regulation and Strategy for Telecommu- nications, Information and Media วารสารนเี้ นน้ หัวข้อเกี่ยวกับอนาคตที่สมั พันธ์ กับการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีในมุมมองต่าง ๆ เร่ิมเผยแพร่เม่ือ พ.ศ 2542 โดย ส�ำนักพิมพ์ Emerald • International Journal of Foresight and Innovation Policy วารสารน้มี ุ่งไปที่ หัวข้อและประเดน็ ที่เป็น “ข่าวกรองเชงิ ยทุ ธศาสตร”์ (strategic intelligence) เผยแพร่ ครั้งแรกเม่ือ พ.ศ. 2547 โดยส�ำนกั พมิ พ์ Inderscience • Journal of Evolution and Technology วารสารนเ้ี ปิดโอกาสใหก้ บั บทความทน่ี �ำ เสนอแนวคดิ เกย่ี วกบั อนาคตทอ่ี าจดไู มน่ า่ จะเกดิ ขน้ึ หรอื หลดุ จากความเปน็ จรงิ มากเกนิ ไป จากมุมมองของวารสารวิชาการอ่ืนที่เป็นกระแสหลัก หัวข้อหลักของบทความในวารสาร นเ้ี น้นภาพอนาคตของมนุษยชาติ เริม่ เผยแพรค่ รั้งแรกใน พ.ศ. 2542 โดย Institute for Ethics and Emerging Technologies • Journal of Futures Studies: Epistemology, Methods, Applied and Alter- native Futures วารสารนี้เนน้ บทความเชิงสหสาขา เริ่มเผยแพรค่ ร้งั แรกใน พ.ศ. 2539 โดยมหาวทิ ยาลัยมหาวทิ ยาลัยต้ันเจียง (Tamkang University) ในไตห้ วนั • Long Range Planning: International Journal of Strategic Management
53 | อนาคตศึกษา วารสารนี้เน้นการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ (strategic management) โดยเป็นวารสาร ของ European Strategic Planning Federation และเผยแพร่มาต้ังแต่ พ.ศ. 2511 โดยส�ำนักพิมพ์ Elsevier • Policy Futures in Education วารสารน้ีเน้นบทความเกี่ยวกบั อนาคตของการศกึ ษา ในมมุ มองเชงิ วชิ าการ การวเิ คราะหแ์ ละวางแผนนโยบายดา้ นการศกึ ษา โดยเนน้ นวตั กรรม ด้านการศึกษาและด้านนโยบายการศึกษา โดยเร่ิมเผยแพร่ตั้งแต่ พ.ศ. 2546 โดย ส�ำนักพิมพ์ Symposium • Technological Forecasting and Social Change: An International Journal วารสาร ฉบบั นเี้ นน้ บทความดา้ นวธิ กี ารและการประยกุ ตใ์ ชก้ ารคาดการณเ์ ทคโนโลยแี ละการศกึ ษาอนาคต ในฐานะเครอื่ งมอื วางแผน โดยใหค้ วามส�ำคญั กบั ปจั จยั ดา้ นสงั คม สงิ่ แวดลอ้ มและเทคโนโลยี วารสารนเ้ี รมิ่ เผยแพรม่ าตง้ั แต่ พ.ศ. 2513 โดยส�ำนกั พมิ พ์ Elsevier • The International Journal of Forecasting วารสารนีเ้ น้นผลงานเชงิ ประจักษ์ การ ประเมนิ และการน�ำเอาผลการคาดการณไ์ ปใชป้ ระโยชนต์ อ่ รวมถงึ วธิ กี ารและแนวทางยกระดบั คณุ ภาพของการคาดการณ์ วารสารนเี้ รม่ิ เผยแพรม่ าตงั้ แต่ พ.ศ. 2528 โดยส�ำนกั พมิ พ์ Elsevier • The Journal of Forecasting วารสารน้เี น้นบทความเก่ียวกบั การคาดการณ์ และการ ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคนคิ การคาดการณเ์ พอ่ื วตั ถปุ ระสงคด์ า้ นธรุ กจิ บรหิ ารรฐั กจิ เทคโนโลยี และ ส่งิ แวดลอ้ ม วารสารนีเ้ ร่มิ เผยแพร่มาตง้ั แต่ พ.ศ. 2525 โดยส�ำนกั พิมพ์ Wiley • World Future Review: A Journal of Strategic Foresight วารสารนีม้ ุ่งส่งเสริม การแลกเปล่ียนความคิดระหว่างนักวิชาการและนักปฏิบัติที่สนใจเร่ืองอนาคต โดย เฉพาะการใช้เครื่องมือด้านอนาคตศึกษาในการช่วยการตัดสินใจ วารสารน้ีเริ่มเผยแพร่ ครั้งแรกใน พ.ศ. 2552 โดยสมาคม World Future Society ต่อมารวมเปน็ วารสารเดยี ว กบั วารสาร Futures Research Quarterly ทีต่ พี มิ พร์ ะหว่าง พ.ศ. 2528 ถึง 2551 และ วารสาร Futures Survey • World Futures: The Journal of New Paradigm Research วารสารนเี้ นน้ บทความ วจิ ยั ทนี่ �ำเสนอกระบวนทศั นแ์ ละแนวทคดิ ใหมท่ เ่ี ปน็ สหสาขาวชิ า โดยเฉพาะในจดุ เชอ่ื มตอ่ ระหว่างวิทยาศาสตร์กายภาพ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ วารสารน้ีเร่ิมเผยแพร่มา ตง้ั แต่ พ.ศ. 2545 โดยส�ำนกั พิมพ์ Taylor and Francis • Time & Society เน้นหัวข้อเก่ียวกับเวลาและสังคม ท้ังในด้านทฤษฎีและด้านวิธีการ อาทิ การใช้เวลาในองค์กร และการเปลี่ยนแปลงเก่ียวกับเวลาในการก�ำหนดนโยบายด้าน เศรษฐกิจ สงั คม รัฐกจิ และการบรหิ ารองคก์ ร วารสารนเ้ี ผยแพรม่ าต้งั แต่ พ.ศ. 2535 โดย ส�ำนกั พิมพ์ Sage นอกจากนี้ ยังมีวารสารเฉพาะทางท่ีออกฉบับพิเศษในหัวข้อเกี่ยวกับอนาคตของประเด็นส�ำคัญ ในศาสตรน์ นั้ ๆ และยงั มีนติ ยสารทไ่ี มม่ กี ารประเมินคณุ ภาพโดยผเู้ ชีย่ วชาญ แต่มีบทความทีน่ �ำเสนอ แนวคดิ เกย่ี วกบั อนาคต อาทิ Club of Amsterdam Journal: Shaping your Future in the Knowl- edge Society, Futures Bulletin, The European Foresight Monitoring Briefs, The Futurist และ Wired
อนาคตศกึ ษา | 54 สรปุ อนาคตศึกษาเป็นศาสตร์ที่พยายามสร้างและใช้ประโยชน์จากความรู้เกี่ยวกับอนาคตอย่าง เป็นระบบ พัฒนาการของศาสตร์ในช่วงหนึ่งศตวรรษที่ผ่านมาสะท้อนการเปล่ียนแปลงของ กระบวนทัศน์ของวงการวิชาการในระดับโลก จากท่ีแต่เดิมอนาคตศึกษาเน้นการสร้างความรู้ ด้วยกระบวนการเชิงวิทยาศาสตร์แบบปฏิฐานนิยม โดยมุ่งค้นหาอนาคตท่ีเป็นความจริงหนึ่ง เดียว และเน้นประเด็นยุทธศาสตร์ทางการทหารและความม่นั คง จนพัฒนามาเป็นศาสตร์ที่ใน ปัจจุบันยอมรับในแนวคิดเชิงพหุนิยมและบูรณาการมากขึ้น อนาคตศึกษาทั้งในฐานะสาขาทาง วิชาการและสาขาวิชาชีพในปัจจุบันมีกรอบแนวคิดและประเด็นวิเคราะห์ท่ีหลากหลาย รวมถึง วธิ กี ารสรา้ งความรทู้ ่เี ปดิ กว้างให้คนกลมุ่ ต่าง ๆ เข้ามามีสว่ นรว่ มมากข้ึน พรอ้ มกนั น้ี เครือข่าย ด้านอนาคตศึกษาก็ขยายจากเดิมท่ีเป็นนักวิชาการในสหรัฐอเมริกาและยุโรปเป็นส่วนใหญ่ กลายเป็นเครอื ขา่ ยระดับโลกที่มนี กั วิชาการและนกั นโยบายจากทวีปอืน่ มากขนึ้
55 | อนาคตศกึ ษา
อนาคตศกึ ษา | 56 2 แนวคดิ พน้ื ฐานของ อนาคตศกึ ษา The present is theeiarsc;hthoenefuatucLrceeo,trdftohinregwfthuoitcuhhriesI whteaolvrlkethareenadtlrluaytchwc,ooamrknpeddlise,hvismamleunianttese.. Nikola Tesla
57 | อนาคตศึกษา รอู้ นาคตไปทำ�ไม เราตอ้ งการความรเู้ กย่ี วกบั อนาคตไปท�ำไม ค�ำถามนอี้ าจฟงั ดพู น้ื ฐานมาก และดเู หมอื นวา่ คนทว่ั ไปใคร ๆ กต็ อบได้ แตค่ �ำถามนม้ี คี วามส�ำคญั อยา่ งยง่ิ ในการท�ำความเขา้ ใจเกยี่ วกบั การศกึ ษาอนาคตในฐานะการ เปน็ ศาสตรว์ ชิ าการและสาขาวชิ าชพี หนง่ึ ค�ำตอบหนง่ึ คอื เราตอ้ งการรอู้ นาคตเพอ่ื ยกระดบั ความเปน็ อยู่ และสวสั ดกิ ารของมนษุ ยใ์ หด้ ยี งิ่ ขน้ึ กวา่ ปจั จบุ นั ซง่ึ อาจเปน็ ทง้ั ในดา้ นวตั ถอุ ยา่ งเดยี วหรอื รวมไปถงึ ดา้ น จติ ใจดว้ ยกไ็ ด้ นกั อนาคตศกึ ษาบางคนอาจแยง้ วา่ วตั ถปุ ระสงคแ์ คน่ น้ั แคบเกนิ ไป เพราะยงั เปน็ มมุ มองที่ ถอื วา่ มนษุ ยเ์ ปน็ ศนู ยก์ ลางของทกุ สงิ่ โดยมองไมเ่ หน็ ถงึ ความส�ำคญั และคณุ คา่ ของสงิ่ มชี วี ติ อนื่ ๆ ทง้ั สตั ว์ และพชื รวมไปถงึ ระบบธรรมชาตอิ น่ื ทม่ี อี ยใู่ นโลก แมว้ า่ สง่ิ เหลา่ นน้ั อาจไมม่ ีประโยชนต์ อ่ มนษุ ยโ์ ดยตรง ด้ว้ ยเหตุนุ ี้้�นักั อนาคตศึกึ ษาในยุคุ หลังั จึงึ ขยายขอบเขตของเป้า้ หมายและวัตั ถุปุ ระสงค์ใ์ นการศึกึ ษา อนาคตให้ค้ รอบคลุมุ มากขึ้�น โดยมุ่�งทำำ�ให้โ้ ลกนี้�ดีขึ้�นและน่า่ อยู่�มากขึ้�น ไม่ใ่ ช่เ่ ฉพาะสำำ�หรับั มนุษุ ย์ท์ ุกุ คน แต่ร่ วมถึงึ ระบบรองรับั การมีีชีีวิติ อยู่�ของสิ่ง� มีีชีีวิติ อื่น� ๆ ในโลกนี้�ไปพร้อ้ มกันั แนวคิดิ ดังั กล่า่ วเป็น็ ไปตาม ข้อ้ เสนอของปีเี ตอร์์ ซิงิ เกอร์์ (Peter Singer) นักั ปรัชั ญาชาวอเมริกิ ันั ซึ่ง� เรีียกร้อ้ งให้ม้ ีีการขยายขอบเขต ของจริิยธรรมไปให้ก้ ว้า้ งกว่า่ ขอบเขตของสปีีชีีส์์ของมนุษุ ย์์ โดยให้ค้ รอบคลุุมถึึงสััตว์์ต่่าง ๆ1 การขยาย กรอบความคิดิ ดังั กล่า่ วยังั เป็น็ ไปตามความเชื่อ� ของสังั คมดั้�งเดิมิ หลายแห่ง่ โดยเฉพาะในสังั คมตะวันั ออก ที่�่ว่่า มนุุษย์์เป็็นเพีียงแค่่ส่่วนหนึ่่�งของธรรมชาติิ และไม่่ได้้เป็็นศููนย์์กลางของธรรมชาติิที่่�สามารถ แยกส่่วนออกมาได้้ ตามที่่แ� นวคิดิ วิิทยาศาสตร์์กระแสหลักั พยายามมาโดยตลอด ในขณะเดีียวกันั ทุกุ วัตั ถุปุ ระสงค์แ์ ละแนวคิดิ ในการศึกึ ษาอนาคต รวมถึงึ วิธิ ีีการที่น�่ ักั อนาคตศาสตร์์ ใช้ว้ ิเิ คราะห์แ์ ละคาดการณ์อ์ นาคต ย่อ่ มมีีข้อ้ สมมติแิ ละเงื่อ� นไข รองรับั และซ่อ่ นเร้น้ อยู่�เสมอ การวิเิ คราะห์์ และทำำ�ความเข้า้ ใจในข้อ้ สมมติแิ ละเงื่อ� นไขเหล่า่ นี้� จะทำ�ำ ให้เ้ ราสามารถมองเห็น็ จุดุ เด่น่ จุดุ ด้อ้ ยของแต่ล่ ะ แนวคิดิ และวิธิ ีีการอย่า่ งชัดั เจนมากขึ้�น ตัวั อย่า่ งหนึ่่ง� คือื ข้อ้ สมมติหิ ลักั ที่เ่� ป็น็ พื้�นฐานของอนาคตศึึกษาใน ยุุคแรก นั่่�นคืือข้้อสมมติิที่่�ว่่าอนาคตเป็็นเอกพจน์์ ตามแนวคิิดนี้� อนาคตเกิิดขึ้�นตามการไหลของเวลา ตามความคิดิ เชิงิ กลไกของฟิสิ ิกิ ส์แ์ บบนิวิ ตันั อนาคตจึงึ มีีหนึ่่ง� เดีียวและสามารถพยากรณ์ไ์ ด้ด้ ้ว้ ยวิิธีีการ เชิงิ วิิทยาศาสตร์์ แต่ต่ ่อ่ มาข้้อสมมตินิั้�นได้้รับั การวิิพากษ์์วิจิ ารณ์์ จนมีีการนำำ�เสนอแนวคิิดอนาคตแบบ พหููพจน์์ ซึ่ง� ขึ้�นอยู่่�กัับคนแต่่ละกลุ่�มแต่ล่ ะช่่วงเวลาที่จ�่ ะตัดั สินิ ใจว่่า ท่่ามกลางทางเลืือกอนาคตที่�เ่ กิดิ ขึ้�น ได้ห้ ลายรููปแบบนั้�น ตนเองจะเลืือกและสร้า้ งอนาคตแบบไหน
อนาคตศกึ ษา | 58 ส�ำหรับในภาษาไทยนั้น ค�ำว่า “อนาคต” ค�ำเดียว ไม่สื่อว่าเป็นค�ำเอกพจน์หรือพหูพจน์ จึงไม่ ชัดเจนว่าภาพอนาคตมีอยู่หน่ึงเดียวหรือว่ามีมากกว่านั้น แต่ในภาษาอังกฤษ ค�ำศัพท์ท่ีใช้อย่างแพร่ หลายในปัจจุบันที่สอื่ ถึงอนาคตศาสตร์คอื ค�ำว่า futures studies โดยใช้ค�ำวา่ futures เป็นพหูพจน์ แทนที่จะเป็น future เฉย ๆ การใชค้ �ำพหูพจน์ดังกล่าวสะทอ้ นถึงปรชั ญาพืน้ ฐานของอนาคตศึกษาที่ พัฒนามาต้ังแต่ทศวรรษท่ี 1960 ซึง่ มองวา่ อนาคตไมไ่ ดม้ ีอยูห่ น่งึ เดยี ว แตม่ ีอยู่หลายทางเลอื ก เน้ือหาส่วนแรกในบทนี้น�ำเสนอหลักการพื้นฐานและวัตถุประสงค์ของการศึกษาอนาคต เน้ือหา ส่วนต่อมาน�ำเสนอข้อสมมติและเงื่อนไขหลักของการศึกษาอนาคต ส่วนสุดท้ายเป็นการสรุปประเด็น โต้แย้งส�ำคัญในอนาคตศาสตร์ เนื้อหาทั้งหมดนี้มาจากประมวลงานเขียนส�ำคัญของผู้เชี่ยวชาญด้าน อนาคตศาสตร์ทม่ี ีชือ่ เสียงระดับโลก
59 | อนาคตศึกษา หลกั การและวตั ถปุ ระสงค์ ของการศกึ ษาอนาคต ค�ำว่าการศึกษาอนาคตอาจฟังดูขัดแย้งกันในตนเอง เนื่องจากอนาคตยังไม่เกิดข้ึน จึงไม่มีอยู่จริงใน ปัจจุบันท่ีเราสามารถศึกษาได้ ไม่เหมือนกับการศึกษาอดีตที่เกิดข้ึนไปแล้ว และการศึกษาเหตุการณ์ ปจั จบุ ันที่รบั รู้เชิงประจกั ษ์ดว้ ยประสาทสมั ผัสทัง้ หา้ ดงั ท่นี ักประวัติศาสตร์มักพดู เสมอวา่ เราจะเขา้ ใจ ปจั จบุ นั และอนาคตไดต้ อ่ เมอ่ื เราเขา้ ใจประวตั ศิ าสตร์ การศกึ ษาอนาคตของนกั อนาคตศาสตรจ์ งึ ตอ้ งพงึ่ ข้อมูลและความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกบั อดตี และปจั จบุ ันเท่านนั้ แตน่ กั อนาคตศาสตร์พยายามท�ำความ เขา้ ใจกบั อดตี และปจั จบุ นั ดว้ ยวตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื สรา้ งความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ความเปน็ ไปไดข้ องเหตกุ ารณ์ ที่จะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต ดงั นนั้ ส�ำหรบั นกั อนาคตศาสตร์ ประโยชนข์ องความรเู้ กย่ี วกบั อดตี และปจั จบุ นั จงึ อยู่ทอี่ นาคต และการตดั สินใจและกจิ กรรมท้งั หมดของมนษุ ยไ์ ม่ได้มงุ่ ไปทีอ่ ดตี แตม่ ุ่งไปทีอ่ นาคต หลักการความตอ่ เน่ือง ข้อมูลและความรู้เกี่ยวกับอดีตจะเป็นประโยชน์ในการท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับอนาคตได้ต่อเม่ือ สถานการณ์และเงื่อนไขท่ีเกิดขึ้นในอดีตยังคงมีอยู่ต่อไปในอนาคต ข้อสมมติหนึ่งที่เป็นพ้ืนฐานส�ำคัญ ของอนาคตศึกษาคือหลักความต่อเน่อื ง (principle of continuity) ซ่งึ เสนอว่า ปรากฏการณ์และ เงอ่ื นไขทเี่ กดิ ในอดตี จะด�ำเนนิ ตอ่ เนอ่ื งไปยงั อนาคต โดยอาจเปน็ ความตอ่ เนอ่ื งในเชงิ กายภาพ เชงิ เวลา เชงิ วัฒนธรรม หรอื เชงิ ความคดิ ความถี่�่ของการเปลี่�่ยนแปลงที่่�ประสบอยู่�เป็็นประจำำ� รวมถึึงผลลััพธ์์ของการเปลี่่�ยนแปลงนั้�น อาจทำำ�ให้้เราคิิดว่่า โลกอนาคตในอีีก 20-30 ปีีข้้างหน้้าจะแตกต่่างจากปััจจุุบัันมากจนไม่่สามารถ จำำ�ได้้ว่่าแต่่เดิิมเป็็นอย่่างไร แต่่ในความเป็็นจริิง หลายสิ่�งหลายอย่่างในอนาคตจะไม่่แตกต่่างจาก ปััจจุุบััน แม้้กระทั่่�งในช่่วงเวลาที่่�ดููเหมืือนมีีการเปลี่�่ยนแปลงครั้�งใหญ่่และอย่่างรวดเร็็ว องค์์ประกอบ หลายอย่า่ งรอบตัวั เราที่ไ่� ม่เ่ ปลี่ย�่ นแปลงน่า่ จะมีีมากกว่า่ สิ่ง� ที่เ�่ ปลี่ย่� นแปลงไป เนื่่อ� งจากการเปลี่ย่� นแปลง ทางเทคโนโลยีี เศรษฐกิิจ สังั คมและสิ่ง� แวดล้้อมดููน่า่ ตื่น� เต้้นและน่่าสนใจกว่า่ ความต่่อเนื่่อ� ง นัักอนาคต ศาสตร์จ์ ึงึ ต้อ้ งพยายามระวังั ไม่ม่ องทุกุ สิ่ง� ทุกุ อย่า่ งเป็น็ การเปลี่ย�่ นแปลงทั้�งหมด เนื่่อ� งจากภาพอนาคตมีี ทั้�งการต่่อเนื่่�องและการเปลี่ย่� นแปลง ความต่อ่ เนื่่อ� งอาจเกิดิ ขึ้�นจากปัจั จัยั หน่ว่ งที่ต�่ ่อ่ ต้า้ นการเปลี่ย่� นแปลง ทั้�งพฤติกิ รรมที่เ�่ ป็น็ นิสิ ัยั ของ แต่ล่ ะคน สถาบันั ทางสังั คม เช่น่ ประเพณีี วัฒั นธรรม กฎระเบีียบและธรรมเนีียมปฏิบิ ัตั ิิ โครงสร้า้ งพื้�นฐาน
อนาคตศกึ ษา | 60 ทางกายภาพที่ค่� งอยู่�เป็็นเวลานาน เช่่น ถนนหนทางและอาคารสิ่ง� ปลูกู สร้้าง รวมถึงึ โครงสร้้างอำำ�นาจ ของผู้้�มีีอิิทธิิพลและผู้้�นำ�ำ ที่ไ่� ม่่ต้อ้ งการให้้เกิิดการเปลี่่�ยนแปลง อีีกสาเหตุุหนึ่่�งที่่�ทำำ�ให้้เกิิดความต่่อเนื่่�องคืือพลวััตระหว่่างแนวโน้้มกัับแนวโน้้มตรงกัันข้้าม (trend-countertrend) กล่่าวคืือ เมื่�อปััจจััยหนึ่่�งมีีการเปลี่�่ยนแปลงมากขึ้�นและการเป็็นแนวโน้้ม ก็็มัักจะเกิิดแรงต่่อต้้านในทางตรงกัันข้้าม เช่่น ในสัังคมเมืืองที่�่ความเป็็นชุุมชนในละแวกบ้้านลดลง คนบางกลุ่�มก็พ็ ยายามสร้า้ งชุมุ ชนรูปู แบบอื่น� ขึ้�นมาแทนที่่� เช่น่ ชุมุ ชนบนโลกออนไลน์์ ในโลกสมััยใหม่่ ที่่�หุ่�นยนต์์และปััญญาประดิิษฐ์์สามารถทำำ�งานแทนมนุุษย์์ได้้มากขึ้�น การบริิการโดยมนุุษย์์จะได้้รัับ ความนิยิ มมากขึ้�น และในสังั คมที่ค�่ นใช้ช้ ีีวิติ ห่า่ งจากศาสนามากขึ้�น ผู้�คนอาจหาทางออกด้า้ นจิติ วิญิ ญาณ ด้ว้ ยวิิธีีการอื่น� เพื่่อ� เติมิ เต็ม็ ช่อ่ งว่่างที่่�เกิดิ จากโลกวัตั ถุนุ ิยิ ม เป็็นต้น้ แนวโน้ม้ กับั แนวโน้้มตรงกันั ข้า้ มนี้� อาจดูเู หมือื นเป็น็ ปฏิทิ รรศน์ห์ รือื พาราด็อ็ กซ์์ (paradox) ที่ด�่ ูเู หมือื นเป็น็ สภาวะที่ข่� ัดั แย้ง้ กันั ความเข้า้ ใจ ในพลวัตั ดังั กล่า่ วเป็น็ พื้�นฐานในการทำำ�ความเข้า้ ใจเกี่ย�่ วกับั การต่อ่ เนื่่อ� งและการเปลี่ย�่ นแปลงไปสู่่�อนาคต หลกั การความคลา้ ยคลงึ อย่่างไรก็็ตาม ความเข้้าใจในความต่่อเนื่่�องอย่่างเดีียวยัังไม่่เพีียงพอในการสร้้างความรู้�เกี่่�ยวกัับอนาคต อีีกหลักั การหนึ่่ง� ที่ส�่ ำ�ำ คััญคือื หลัักการความคล้้ายคลึงึ (principle of analogy) ซึ่�งถือื ว่า่ เหตุกุ ารณ์์บาง รูปู แบบเกิิดขึ้�นครั้�งแล้้วครั้�งเล่่า ดังั นั้�น ถ้า้ เราสัังเกตเห็น็ เหตุุการณ์์หนึ่่�งที่่เ� กิิดขึ้�นในรูปู แบบและลัักษณะ คล้า้ ยคลึึงกับั เหตุกุ ารณ์ท์ ี่่�เคยเกิิดขึ้�นก่่อนหน้้านี้� เราสามารถคาดคะเนได้ว้ ่่า เหตุกุ ารณ์์ในอนาคตที่จ�่ ะ เกิิดขึ้�นต่่อเนื่่�องจากเหตุุการณ์์นั้�น น่่าจะมีีลัักษณะเหมืือนหรืือคล้้ายกัับเหตุุการณ์์ที่�่เคยเกิิดขึ้�นมาก่่อน หน้า้ นั้�น หลักั การความคล้า้ ยคลึงึ เป็น็ พื้�นฐานและกรอบความคิดิ สำ�ำ หรับั การตีีความข้อ้ มูลู ที่ม�่ นุษุ ย์ร์ ับั รู้้�จาก โลกภายนอก ซึ่ง� ทำำ�ให้ช้ ่ว่ ยลดเวลาและความพยายามในการทำำ�ความเข้า้ ใจกับั สิ่ง� นั้�น ตราบใดที่บ่� ริบิ ทและ ปัจั จัยั อื่น� ๆ ยังั คงที่แ่� ละไม่เ่ ปลี่ย�่ นแปลง มนุษุ ย์เ์ ราใช้ห้ ลักั การความต่อ่ เนื่่อ� งและหลักั การความคล้า้ ยคลึงึ ในการพยากรณ์แ์ ละทำ�ำ ความเข้า้ ใจเกี่่ย� วกัับอนาคตอยู่�ตลอดเวลา แน่น่ อนว่่า ความรู้�ความเข้้าใจเกี่�่ยวกับั อดีีตไม่่ได้ก้ ลายเป็็นความรู้�ความเข้้าใจเกี่่ย� วกับั อนาคตโดย อัตั โนมัตั ิิ แต่ต่ ้อ้ งใช้ค้ วามคิดิ สร้า้ งสรรค์แ์ ละจินิ ตการพร้อ้ มกับั ความคาดหวังั และความปรารถนา ความรู้� จากอดีีตเป็็นเพีียงข้้อมููลดิิบที่�่มนุุษย์์เราใช้้วิิเคราะห์์และคาดคะเนสิ่�งที่�่น่่าจะเกิิดขึ้�นในอนาคต โดยใช้้ กรอบความคิิด สมมติิฐานหรืือทฤษฎีีอะไรบางอย่่างในการคาดคะเนนั้�น แต่่สิ่�งที่�่เราคิิดและคาดคะเน เกี่�่ยวกัับอนาคตอาจไม่่เป็็นไปตามกรอบแนวคิิดทฤษฎีีที่�่มีีอยู่�เสมอไป เนื่่�องจากแต่่ละคนอาจมีี ความคาดหวัังและความปรารถนาที่่�มีีผลต่่อการตััดสิินใจที่�่เกิินจากขอบเขตของเหตุุผลและข้้อมููลที่่�มา จากข้อ้ มูลู และประสบการณ์์ในอดีีต นอกจากข้้อมููลจากอดีีตและความปรารถนาแล้้ว ความคิิดสร้้างสรรค์์เป็็นอีีกองค์์ประกอบ สำำ�คััญของการทำ�ำ ความเข้้าใจเกี่่�ยวกัับอนาคต ความคิิดสร้้างสรรค์์หรืือจิินตนาการเป็็นส่่วนสำ�ำ คััญของ กระบวนการคิิดของมนุษุ ย์ท์ ี่ก�่ ้้าวพ้้นข้อ้ จำำ�กััดที่่�กำ�ำ หนดโดยความทรงจำ�ำ จากอดีีต ตรรกะที่ใ�่ ช้เ้ ป็็นกรอบ ในการคาดคะเน และความปรารถนาที่เ่� ป็น็ ไปตามอารมณ์์ จินิ ตนาการที่ว�่ ่า่ นี้�อาจเกิดิ จากความบังั เอิญิ ที่�่ ผสมผสานความคิดิ และข้อ้ มูลู ต่า่ ง ๆ เข้า้ ด้ว้ ยกันั แล้ว้ เกิดิ สิ่ง� ใหม่ท่ ี่ไ่� ม่เ่ คยคิดิ หรือื มีขึ้�นมาก่อ่ นก็ไ็ ด้้ แน่น่ อน ว่า่ ความคิดิ สร้า้ งสรรค์ท์ ี่ว�่ ่า่ นี้�ไม่ไ่ ด้เ้ ป็น็ ความรู้�เกี่ย่� วกับั อนาคต แต่เ่ ป็น็ สิ่ง� ที่ช�่ ่ว่ ยให้เ้ ราสามารถจินิ ตนาการได้ว้ ่า่
61 | อนาคตศกึ ษา อะไรบ้้างที่่�อาจเกิิดขึ้�นในอนาคต และเป็็นวิิธีีการเอาข้้อมููลและความเข้้าใจจากอดีีตมาผสมผสานกััน เพื่่อ� ค้น้ หาความเป็็นไปได้้ของอนาคต ด้วยหลักความต่อเน่ืองและหลักความคล้ายคลึงข้างต้น นักอนาคตศาสตร์จึงพยายามวิเคราะห์ ขอ้ มลู จากอดีต โดยใช้ตรรกะของทฤษฎแี ละกรอบความคิดประกอบกบั ความปรารถนาทีม่ อี ย่ใู นการ จินตนาการความเป็นไปได้ของอนาคต เพ่อื ตัดสินใจในการกระท�ำท่ีมุ่งบรรลุเป้าประสงค์ในการยก ระดับคุณภาพชีวิตและสวัสดิการของมนุษย์และส่งิ มีชีวิตอ่ืน ในโลก เป้าประสงค์ดังกล่าวไม่จ�ำกัดอยู่ เพียงแค่ภายในกลุ่มนักอนาคตศาสตร์ แต่เป็นเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของนักวิชาการและวิชาชีพ สาขาอนื่ ดว้ ยเชน่ กัน ไมว่ ่าจะเป็นนักวทิ ยาศาสตร์ นกั เศรษฐศาสตร์ นกั สาธารณสขุ ศาสตร์ สถาปนิก นกั วางผงั เมือง ศิลปนิ คนขบั รถเมล์และจักรยานยนต์รบั จา้ ง และแมบ่ า้ น ทกุ คนล้วนแล้วแตต่ อ้ งการ ใหส้ ิง่ ทตี่ นเองท�ำอยเู่ กดิ ประโยชน์ส�ำหรบั ตนเอง ส�ำหรบั คนอื่น รวมถึงส่งิ อืน่ ๆ ในโลกนีท้ ีแ่ ต่ละคนให้ ความส�ำคญั แตส่ ง่ิ หนง่ึ ทถี่ อื วา่ เปน็ คณุ ลกั ษณะเฉพาะของนกั อนาคตศาสตรค์ อื การคดิ เกยี่ วกบั อนาคต (prospective thinking) เป็นหลกั 2 การศกึ ษาอนาคตยงั มงุ่ เสรมิ สรา้ งความเปน็ ธรรมระหวา่ งรนุ่ (intergenerational equity) ซงึ่ เปน็ พนื้ ฐานของแนวคดิ การพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื การวเิ คราะหแ์ ละศกึ ษาอนาคตชว่ ยยกระดบั ความเปน็ อยแู่ ละ สวัสดิภาพของคนร่นุ ตา่ ง ๆ ไมเ่ ฉพาะส�ำหรบั คนรนุ่ ปจั จบุ นั ท่สี ามารถเข้ามามสี ว่ นร่วมในกระบวนการ ตัดสนิ ใจในปัจจบุ ัน แตร่ วมถงึ คนรุ่นอนาคตยังซึง่ ไมอ่ ยู่ตรงน้ี จึงไมม่ ีโอกาสร่วมในกระบวนการตัดสิน ใจท่ีมีผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของพวกเขาในอนาคต การศึกษาและค�ำนึงถึงอนาคตที่ครอบคลุม ไปถึงความต้องการ เง่อื นไขและบริบทของคนรุ่นหลัง จึงเป็นการสร้างความเป็นธรรมระหว่างรุ่นได้ ในระดบั หนึง่ ในกลุ่�มนัักอนาคตศึกึ ษาทั่่ว� ไป วัตั ถุุประสงค์พ์ื้�นฐานของการศึึกษาอนาคตคืือการค้น้ หาหรือื สร้้าง วิิเคราะห์์และประเมิินทางเลืือกของอนาคตที่�่อาจจะเกิิดขึ้�นได้้ (possible futures) อนาคตที่่�น่่าจะ เกิดิ ขึ้�น (probable futures) และอนาคตที่�่คาดหวัังให้้เกิดิ ขึ้�นหรืือพึึงประสงค์์ (preferable futures) ความแตกต่างระหว่างอนาคตศึกษากบั การคาดการณเ์ ชงิ ยุทธศาสตร์ นักวิชาการด้านอนาคตศึกษาแบ่งงานศึกษาเกี่ยวกับอนาคตในเชิงวิชาการออกจากในเชิงนโยบาย ค่อนข้างชัดเจน โดยเรียกงานในเชิงวิชาการว่า อนาคตศึกษาหรืออนาคตศาสตร์ (academic futures studies) ส่วนงานคาดการณ์ท่ีมีวัตถุประสงค์ที่เน้นการตัดสินใจเชิงนโยบายนั้น เรียกโดยทั่วไปว่า การคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์ (strategic foresight) งานท้ังสองรูปแบบมีเนื้อหาคร่อมกันอยู่มาก โดยทั้งคู่พยายามท�ำความเข้าใจในภาพอนาคตท่ีอาจเกิดข้ึนและจ�ำเป็นต้องเตรียมพร้อมและวางแผน รองรบั เหตกุ ารณท์ ี่คาดวา่ จะเกิดขนึ้ เหมอื นกัน3 งานด้า้ นการคาดการณ์เ์ ชิงิ ยุทุ ธศาสตร์ม์ุ่�งไปที่ก่� ารตัดั สินิ ใจ โดยเน้น้ การระบุุ บรรยาย และอธิบิ าย ปัจั จัยั ขับั เคลื่อ� น (drivers) ในปัจั จุบุ ันั ที่ม่� ีีผลต่อ่ การเปลี่ย่� นแปลงในอนาคต เพื่่อ� นำ�ำ ความรู้�เกี่ย่� วกับั อนาคต มาช่่วยในการตััดสิินใจที่่ช� าญฉลาดและถูกู ต้้อง ตัวั อย่่าง เช่่น ผู้�บริหิ ารบริษิ ััทน้ำำ��มัันขนาดใหญ่ต่ ้อ้ งการ รู้�ว่าอนาคตของการใช้พ้ ลัังงานในเมือื งเป็น็ อย่่างไรอีีก 10 ปีีข้า้ งหน้้า จึงึ ต้อ้ งเข้า้ ใจถึึงสถานการณ์์และ ปัจั จัยั ที่ม่� ีีผลต่อ่ การเปลี่ย�่ นแปลงสำำ�คัญั ที่ก�่ ำ�ำ ลังั เกิดิ ขึ้�น รวมทั้�งสถานการณ์ท์ ี่ม่� ีีโอกาสเกิดิ ขึ้�นสูงู ในอนาคต
อนาคตศกึ ษา | 62 อาทิิ การพัฒั นาด้า้ นเทคโนโลยีีการขนส่ง่ และการก่อ่ สร้า้ ง การบริโิ ภคของคนรุ่�นใหม่่ ฯลฯ เพื่่อ� สามารถ วางแผนยุทุ ธศาสตร์ข์ ององค์ก์ ร อีีกตัวั อย่า่ งในระดับั นโยบายสาธารณะคือื ผู้�บริหิ ารประเทศต้อ้ งกำำ�หนด นโยบายการค้้าระหว่่างประเทศในด้้านการเกษตร จึึงต้้องคาดการณ์์การเปลี่�่ยนแปลงด้้านเทคโนโลยีี ชีีวภาพและการตััดต่่อพัันธุุกรรมที่�่กำำ�ลัังเกิิดขึ้�น เช่่น เทคโนโลยีี CRISPR/Cas9 ที่�่น่่าจะมีีผลต่่อ ความสามารถในการผลิิตและการเพาะปลูกู ทั่่ว� โลก เป็น็ ต้้น การตอบประเด็็นคำ�ำ ถามเหล่่านี้� นอกจาก ต้้องวิิเคราะห์์การคาดการณ์ก์ ารเปลี่ย่� นแปลงด้า้ นเทคโนโลยีีแล้้ว ยัังต้อ้ งวิิเคราะห์ป์ ััจจััยด้้านเศรษฐกิิจ สังั คมอื่�น ๆ ด้ว้ ย เช่่น การเปลี่ย�่ นแปลงพฤติกิ รรมผู้�บริิโภค การยอมรับั ของสัังคมกับั เทคโนโลยีีใหม่ท่ ี่่� เกิดิ ขึ้�น การคาดการณ์เ์ พื่่อ� หาตอบของคำำ�ถามเหล่า่ นี้้�จึงึ มีีวัตั ถุปุ ระสงค์ม์ุ่�งเน้น้ ไปที่ก�่ ารตัดั สินิ ใจเป็น็ หลักั ดังั นั้�น ส่่วนสำ�ำ คัญั ของการคาดการณ์เ์ ชิงิ ยุุทธศาสตร์์จึึงเป็็นการพยากรณ์แ์ ละการหาทางออกที่ม่�ุ่�งไปที่่� การปฏิิบััติิจริิง อีีกมุุมมองหนึ่่�งในการนิิยามการคาดการณ์์คืือข้้อเสนอของริิชาร์์ด สลอเทอร์์ (Richard Slaughter) ที่่�มองการคาดการณ์์เป็็นกระบวนการขยายขอบเขตของการรัับรู้�ของมนุุษย์์ใน 4 ด้้านด้้วยกััน ได้้แก่่ (1) การประเมินิ ผลกระทบของการตัดั สินิ ใจการกระทำ�ำ ในปัจั จุบุ ันั (2) การตรวจจับั และหลีีกเลี่ย�่ งปััญหา ก่่อนที่�่จะเกิิดขึ้�น (3) การพิิจารณานััยของเหตุุการณ์์ที่่�อาจเกิิดขึ้�นในอนาคตต่่อปััจจุุบััน และ(4) การสร้้างวิิสััยทััศน์์ของภาพที่่ต� ้้องการให้เ้ กิดิ ในอนาคต ในขณะที่�่ เอีียน ไมลส์์ (Ian Miles) และไมเคิลิ คีีนาน (Michael Keenan) กำ�ำ หนดนิยิ ามของการคาดการณ์ว์ ่า่ เป็น็ กระบวนการรวบรวมข้อ้ มููลเชิิงลึึก เกี่ย�่ วกับั อนาคตที่เ�่ ป็น็ ระบบและมีีส่ว่ นร่ว่ มไปพร้อ้ มกับั การสร้า้ งวิสิ ัยั ทัศั น์ร์ ะยะกลางและระยะยาว เพื่่อ� เป็น็ พื้�นฐานสำ�ำ หรับั การตัดั สินิ ใจในปัจั จุบุ ันั และระดมกำ�ำ ลังั ในการทำ�ำ งานร่ว่ มกันั 4 นิยิ ามเหล่า่ นี้�แสดงให้้ เห็น็ ว่า่ การคาดการณ์์ไม่่ใช่่เป็็นเพีียงแค่เ่ ทคนิิควิธิ ีี แต่เ่ ป็น็ กระบวนการด้ว้ ยเช่น่ กันั สว่ นงานศกึ ษาอนาคตในทางวชิ าการมกั เนน้ ประเดน็ หรอื ค�ำถามในภาพใหญ่ ๆ มากกวา่ ค�ำถามท่ี มงุ่ ไปยงั การวางแผนและตดั สนิ ใจขององคก์ ร ตวั อยา่ งค�ำถามเชน่ ในอกี 30 ปขี า้ งหนา้ เทคโนโลยอี ะไร จะท�ำใหเ้ กดิ ผลกระทบในวงกวา้ งมากทส่ี ดุ การตอบค�ำถามดงั กลา่ วจ�ำเปน็ ตอ้ งวเิ คราะหภ์ าพกวา้ งของ การเปลยี่ นแปลงเทคโนโลยที งั้ หมด แลว้ จงึ วเิ คราะหผ์ ลกระทบทค่ี าดวา่ นา่ จะเกดิ ขน้ึ ภายใตช้ ดุ เงือ่ นไข และข้อสมมติต่าง ๆ วัตถุประสงค์ของการศึกษาอนาคตในแนวนี้จึงไม่ได้อยู่ทีก่ ารตัดสินใจเพอ่ื ด�ำเนิน การในเร่อื งใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ แต่เปิดประเดน็ และความเปน็ ไปได้ของทางเลอื กในอนาคตใหก้ วา้ ง ไว้ เพือ่ ใหน้ กั วิจยั คนอ่ืนวเิ คราะห์รายละเอียดต่อไป ด้วยวัตถุประสงค์และเป้าหมายมีความแตกต่างกันระหว่างการศึกษาอนาคตเพื่อการตัดสินใจใน เชิงนโยบายกับการศึกษาเพ่ือสร้างความเข้าใจในเชิงวิชาการ วิธีการศึกษาอนาคตจึงมีความแตกต่าง กันบ้างระหว่างงานทั้งสองกลุ่มนี้ เนื่องจากการศึกษาอนาคตเพ่ือการตัดสินใจเชิงนโยบายมักใช้วิธี การท่ีหลากหลายและข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ มากมาย ความหลากหลายด้านวิธีการและแหล่งข้อมูล จงึ อาจท�ำให้การศึกษาหรือการวิจัยมีความเสีย่ งที่จะได้ผลลัพธ์ทีด่ ูผวิ เผิน เม่อื เปรียบเทยี บกับงานวจิ ัย เชงิ วิชาการ ซึ่งมักด�ำเนินการตามระเบียบวิธีวิจยั ทเี่ คร่งครดั และมีประเด็นค�ำถามทเี่ จาะลกึ และแคบ เกินกว่าที่จะน�ำไปใชป้ ระโยชน์ในเชงิ นโยบาย ในงานศึกึ ษาอนาคตเพื่่อ� ตอบโจทย์ด์ ้า้ นนโยบาย นักั อนาคตศึกึ ษามักั ตั้�งคำำ�ถามว่า่ สิ่ง� ที่ว่� ิเิ คราะห์น์ั้�น ทำำ�ให้เ้ กิดิ การเปลี่ย�่ นแปลงอย่า่ งไรและเท่า่ ไหร่่ (What difference does it make?) มากกว่า่ คำ�ำ ถามว่า่
63 | อนาคตศึกษา เรารู้�จักสิ่�งนั้�นดีีมากน้้อยขนาดไหน (How well do we know it?)5 แม้้ว่่านัักวิิเคราะห์อ์ าจไม่่สามารถ ศึกึ ษาปัจั จัยั และเงื่อ� นไขในด้า้ นเศรษฐกิจิ สังั คมวัฒั นธรรม เทคโนโลยีีที่ม่� ีีผลต่อ่ ทางเลือื กเชิงิ นโยบายได้้ อย่่างครบถ้้วนและละเอีียดภายในเวลาที่่�จำำ�กััด แต่ก่ ็็สามารถระบุถุ ึึงปัจั จััยที่ส่� ำำ�คัญั ที่ส�่ ุดุ ได้้อย่่างรวดเร็็ว โดยใช้ว้ ิิธีีการด้้านอนาคตศึึกษา อีีกทั้�งผู้�บริหิ ารมัักต้อ้ งตััดสินิ ใจอย่า่ งรวดเร็็ว และไม่ส่ ามารถรอผลการ วิิเคราะห์์ที่�่สมบูรู ณ์แ์ ละละเอีียดในทุุกด้้าน โดยไม่จ่ ำ�ำ เป็็นต้้องเข้้าใจในเรื่�องใดเรื่อ� งหนึ่่�งอย่่างถ่่องแท้้ แต่่ ต้้องเข้้าใจมากพอที่จ่� ะตััดสิินใจว่า่ จะทำำ�อะไร ด้้วยเหตุุผลอย่่างไร ในทางกลัับกันั การศึกึ ษาอนาคตใน ด้้านวิิชาการต้้องการความครอบคลุุมและสมบููรณ์์ โดยถืือเป็็นหน้้าที่่�และบทบาทของนัักวิิจััย ในการทำ�ำ ความเข้้าใจในเรื่�องใดเรื่�องหนึ่่�งอย่่างละเอีียด ถี่�่ถ้้วนและถ่่องแท้้ อย่่างไรก็็ตาม งานศึึกษา อนาคตเพื่่�อตอบโจทย์์เชิิงนโยบายยัังต้้องพึ่่�งผลลััพธ์์ของการวิิเคราะห์์ในเชิิงวิิชาการพื้ �นฐานที่่�มีีมาก่่อน หน้้านั้�นด้้วยเหตุุนี้� การพััฒนาและส่่งเสริิมศาสตร์์วิิชาการและสาขาวิิชาชีีพด้้านอนาคตศึึกษาจึึงต้้อง พัฒั นากิิจกรรมการศึึกษาอนาคตทั้�งสองด้า้ นไปพร้้อมกันั การศกึ ษาอนาคตมวี ัตถปุ ระสงคอ์ ย่หู ลายประการดว้ ยกัน นกั วิชาการท่ีผ่านมาแบง่ กลุ่มกิจกรรม ของอนาคตศกึ ษาไวห้ ลายรูปแบบ หนง่ึ ในนั้นคือข้อเสนอของแฮโรลด์ ลาสเวล (Harold Lasswell) ซ่ึง แบ่งวตั ถปุ ระสงคข์ องการคาดการณ์ตามกิจกรรมหลักไว้ 5 ประการ ได้แก่ 1. การระบุเปา้ หมายและคณุ ค่าให้ชดั เจน 2. การแสดงแนวโนม้ 3. การอธบิ ายเงอ่ื นไข 4. การคาดการณ์ทม่ี โี อกาสเกิดขึ้นและน่าจะเกดิ ขึน้ หากนโยบายปัจจุบนั ยงั ด�ำเนินตอ่ ไป 5. การสรา้ ง ประเมนิ และเลอื กนโยบายทางเลอื ก เพอ่ื บรรลเุ ปา้ หมายทพี่ งึ ประสงค6์ ตอ่ มา เวนเดล เบล (Wendell Bell) นกั อนาคตศาสตรท์ ม่ี ชี อ่ื เสยี งทม่ี หาวทิ ยาลยั เยล (Yale University) ในสหรัฐอเมริกา ได้ขยายความต่อจากข้อเสนอของลาสเวลจากกิจกรรม 5 ขอ้ เปน็ 9 ขอ้ 7 ตามราย ละเอียดดงั น้ี ศกึ ษาอนาคตท่เี ปน็ ไปได้ วัตั ถุปุ ระสงค์แ์ ละกิจิ กรรมที่ส�่ ำ�ำ คัญั ของอนาคตศึกึ ษาคือื การศึกึ ษาเหตุกุ ารณ์ห์ รือื ปรากฏการณ์ท์ ี่ม�่ ีี โอกาสเกิดิ ขึ้�นได้ใ้ นอนาคต โดยการวิเิ คราะห์เ์ หตุกุ ารณ์ต์ ่า่ ง ๆ ที่เ่� กิดิ ขึ้�นอยู่�ในปัจั จุบุ ันั ด้ว้ ยมุมุ มอง กรอบ แนวคิิดหรืือวิิธีีการที่่�ไม่่เหมืือนเดิิม แม้้ว่่ามุุมมองหรืือกรอบแนวคิิดที่่�เลืือกใช้้อาจไม่่ได้้รัับความนิิยม หรืือไม่่ได้้รัับการยอมรัับในเวลานั้�นก็็ตาม การสำำ�รวจอนาคตที่�่เกิิดขึ้�นจึึงต้้องใช้้จิินตนาการและความ คิดิ สร้า้ งสรรค์์ที่ห่� ลุดุ จากกรอบความคิิดเดิมิ ๆ โดยปรับั เปลี่่�ยนมุุมมองปััญหาที่่�เกิดิ ขึ้�นอยู่�ในปััจจุบุ ันั ให้้ เป็็นโอกาส และมองอุุปสรรคขวากหนามเป็็นสิ่�งกีีดขวางที่�่สามารถก้้าวข้้ามพ้้นไปได้้ เทคโนโลยีีและ นวััตกรรมจำ�ำ นวนมากเกิิดขึ้�นมาได้้ก็็ด้้วยแนวคิิดและความมุ่�งมั่�นในทำำ�นองนี้� คำำ�ศััพท์์หนึ่่�งที่่�นิิยมใช้้ใน วงการเทคโนโลยีีและนวัตั กรรมคือื คำำ�ว่่า pain point ซึ่�งหมายถึงึ ปััญหาที่�่ผู้�บริิโภคประสบอยู่�หรือื คิิด ว่า่ มีีอยู่� แต่่ผู้้�ประกอบการหรือื นวัตั กร (innovator) ไม่่ได้ม้ อง pain point เป็น็ ปััญหา แต่่เป็น็ โอกาส ที่�่ต้้องพยายามสร้้างวิิธีีการหรืือนวััตกรรมขึ้�นมาเพื่่�อแก้้ไขและสร้้างมููลค่่าหรืือคุุณค่่าให้้กัับผู้�บริิโภค ใน ลัักษณะคล้้ายกััน นัักอนาคตศาสตร์์สามารถวิิเคราะห์์และจิินตนาการภาพอนาคตของปรากฏการณ์์
อนาคตศึกษา | 64 หนึ่่�งจากมุุมมองที่่�หลากหลาย คำ�ำ ถามที่�่นัักอนาคตศาสตร์์ถามในส่่วนนี้้�จึึงไม่่ใช่่คำำ�ถามว่่า ปััจจุุบัันเป็็น อย่า่ งไร แต่่ถามว่า่ อนาคตจะเป็น็ อะไรและอย่า่ งไรได้้บ้้าง การค้้นหาหรืือสำ�ำ รวจอนาคตที่�่เป็็นไปได้้ตั้�งอยู่�บนสมมติิฐานที่่�ว่่า ความเป็็นไปได้้ของเหตุุการณ์์ที่่� อาจเกิดิ ขึ้�นในอนาคตมีีอยู่�แล้ว้ จริิงในปััจจุบุ ััน ตััวอย่่างหนึ่่�งของความสััมพันั ธ์์ระหว่่างความเป็น็ ไปได้้ใน อนาคตกับั สภาพที่เ่� ป็น็ อยู่�ในปัจั จุบุ ันั คือื กรณีีของแก้ว้ น้ำ�ำ �ที่บ�่ างและแตกได้ง้ ่า่ ย เมื่อ� เรายกแก้ว้ น้ำ�ำ �นั้้�นอยู่่�สูงู เหนือื บ่่า ถ้้าปล่อ่ ยแก้้วน้ำำ��นั้้�นตกลงไปลงบนพื้�นคอนกรีีต แก้้วจะแตกได้้ แม้ว้ ่่าเรายัังไม่ไ่ ด้้ปล่่อยแก้ว้ น้ำำ�� นั้�นออกจากมือื แก้ว้ น้ำำ��ยังั มีีโอกาสแตกได้เ้ สมอ แน่น่ อนว่า่ แก้ว้ น้ำ�ำ �นั้้�นอาจจะไม่แ่ ตกเลย เพราะคนถือื ไม่่ ปล่อ่ ยให้ต้ กลงบนพื้�นเลยในอนาคต แต่น่ ั่่น� ก็ไ็ ม่ไ่ ด้ห้ มายความว่า่ โอกาสที่แ่� ก้ว้ น้ำ�ำ �จะตกแตกในอนาคตจะ หมดหายไป กล่า่ วคือื แก้ว้ น้ำ�ำ �นั้้�นมีีคุณุ ลักั ษณะพื้�นฐานหรือื พื้�นนิสิ ัยั (disposition) ในปัจั จุบุ ันั ที่ใ�่ นอนาคต อาจตกลงบนพื้�นแล้ว้ แตกได้้ ในทำ�ำ นองเดีียวกันั นี้� นัักอนาคตศาสตร์์เชื่อ� ว่า่ ศัักยภาพของปัจั เจกบุคุ คล กลุ่�มคนและสัังคมโดยรวมในการเติิบโตและเปลี่�่ยนแปลงในอนาคตมีีอยู่�แล้้วในปััจจุุบััน แต่่ศัักยภาพ เหล่่านี้้�มัักไม่่ได้้ใช้้ประโยชน์์อย่่างเต็็มที่่� ด้้วยเหตุุนี้� วััตถุุประสงค์์และหน้้าที่่�หนึ่่�งของอนาคตศึึกษาคืือ การสำ�ำ รวจความเป็น็ ไปได้ใ้ นอนาคต โดยการวิิเคราะห์์สิ่�งที่เ่� กิิดขึ้�นแล้้วในอดีีต หรืือมีีอยู่�แล้ว้ ในปััจจุบุ ััน ศกึ ษาอนาคตท่ีนา่ จะเกิดขนึ้ หลังั จากที่จ่� ินิ ตนาการและวิเิ คราะห์แ์ ล้ว้ ว่า่ อนาคตที่เ่� ชื่อ� ว่า่ เกิดิ ขึ้�นได้ม้ ีีอะไรบ้า้ ง วัตั ถุปุ ระสงค์แ์ ละ กิจิ กรรมต่อ่ ไปของการศึกึ ษาอนาคตคือื การวิเิ คราะห์ว์ ่า่ ปรากฏการณ์ห์ รือื เหตุกุ ารณ์ใ์ ดบ้า้ งที่ค่� าดว่า่ น่า่ จะมีีโอกาสเกิิดขึ้ �นมากหรืือมากที่�่สุุดในอนาคตภายในกรอบระยะเวลาหนึ่่�งและภายใต้้เงื่ �อนไขชุุดหนึ่่�ง ดังั นั้�น วัตั ถุปุ ระสงค์แ์ ละกิจิ กรรมหลักั อีีกประการหนึ่่ง� ของอนาคตศึกึ ษาคือื การศึกึ ษาอนาคตที่น�่ ่า่ จะเกิดิ ขึ้�นได้้ (probable futures) เหตุุการณ์์หรืือปรากฏการณ์์ที่่�ว่่านี้�มีตั้�งแต่่เรื่�องส่่วนบุุคคล เช่่นอนาคตการ ทำำ�งานหลังั จากเรีียนจบมหาวิทิ ยาลัยั เรื่อ� งระดับั กลุ่�มคน เช่น่ อนาคตของครอบครัวั หลังั จากที่ย�่ ้า้ ยบ้า้ น ไปอยู่่�ต่่างจัังหวััด ไปจนถึึงเรื่�องระดัับสัังคมโดยรวม เช่่น อนาคตของผู้้�สููงวััยไทยในอนาคต และประเด็็น ความท้้าทายระดัับโลก เช่่น สภาพภููมิิอากาศของโลกในอีีก 30 ปีีข้้างหน้้า คำำ�ถามหลัักของการศึึกษา อนาคตที่่�่�น่า่ จะเกิดิ ขึ้�นในส่ว่ นนี้้�คือื เหตุกุ ารณ์ห์ รือื ปรากฏการณ์ท์ ี่ส่� นใจอยู่�นั้�น อนาคตจะมีีโอกาสเป็น็ ไป อย่า่ งไรได้ม้ ากที่ส�่ ุดุ ถ้า้ เงื่อ� นไข บริบิ ทและปัจั จัยั ต่า่ ง ๆ ยังั คงเป็น็ ไปอย่า่ งเดิมิ ในกรณีีที่เ�่ ป็น็ ปรากฏการณ์์ ที่�่ได้้รัับผลกระทบหรืือเกิิดจากการกระทำำ�ของมนุุษย์์ คำำ�ถามสำำ�คััญในการวิิเคราะห์์อนาคตในส่่วนนี้� คืือ พฤติิกรรมมนุุษย์์ที่่�เป็็นสาเหตุุของปรากฏการณ์์นั้�นจะยัังคงเหมืือนเดิิมหรืือเปลี่่�ยนไปในอนาคต การศึึกษาอนาคตที่�่น่่าจะเกิิดขึ้�นต้้องกำำ�หนดกรอบระยะเวลาของการวิิเคราะห์์ และเงื่�อนไข หรืือข้้อสมมติิของการวิิเคราะห์์ การศึึกษาทั้�งอนาคตที่่�เชื่�อว่่าเกิิดขึ้�นได้้กัับอนาคตที่�่น่่าจะเกิิดขึ้�นต้้อง ศึึกษาสภาพปััจจุุบัันไปพร้้อมกัับแนวโน้้มจากอดีีต เพื่่อ� พิิจารณาว่่า แนวโน้ม้ ที่่�ผ่า่ นมาจะเป็็นไปอย่่าง เดิิมต่่อไปในอนาคตอีีกหรืือไม่่ตามหลัักความต่่อเนื่่�องที่�่กล่่าวมาแล้้วข้้างต้้น หากเชื่�อตามสััจธรรมที่�่ว่่า ทุุกสิ่�งทุุกอย่่างล้้วนไม่่เที่�่ยงและไม่่แน่่นอน การที่่�อนาคตเปลี่�่ยนแปลงไปจึึงเป็็นเรื่�องธรรมดา ดัังนั้�น ประเด็็นจึึงไม่่ได้้อยู่่�ที่่�ว่่า อนาคตจะเปลี่�่ยนแปลงไปหรืือไม่่ แต่่อยู่่�ที่่�ว่่าอนาคตที่�่เชื่�อว่่าเกิิดขึ้�นได้้นั้�น เป็็นแบบไหน มีีหน้้าตาเป็็นอย่่างไร ภายใต้้เงื่�อนไขที่่�เปลี่่�ยนแปลงไป ในกรณีีนี้้� นัักอนาคตศาสตร์์จะ
65 | อนาคตศึกษา ตั้�งคำำ�ถามว่่า อนาคตที่เ่� ชื่อ� ว่่าเกิดิ ขึ้�นได้ม้ ากที่่�สุดุ นั้�นเป็็นอย่า่ งไร ถ้้าเงื่อ� นไขเปลี่�ย่ นแปลงไป ตัวั อย่า่ งเช่่น ถ้้าเป็น็ ประเด็็นปััญหาที่่�เกี่่ย� วข้อ้ งกัับกิจิ กรรมของมนุุษย์์ ก็จ็ ะถามว่่า ภาพอนาคตน่า่ จะเป็น็ อย่า่ งไร ถ้า้ พฤติิกรรมของมนุษุ ย์เ์ ปลี่�่ยนไปจากที่เ่� คยเป็็นอยู่�ในอดีีตและเป็น็ อยู่�ในปััจจุบุ ันั กแรผวนยภอานพาทคี่ต3 (Futures Cone) ดดั แปลงจาก: Voros (2003) ในการวเิ คราะหอ์ นาคตที่เชื่อวา่ เกิดข้นึ ได้ นักอนาคตศาสตร์มักเรมิ่ จากการวิเคราะหเ์ ง่ือนไขและ ขอ้ สมมตขิ องเหตกุ ารณห์ รอื ประเดน็ ทส่ี นใจ แลว้ จงึ ประมาณการและคาดการณก์ ารเปลย่ี นแปลงไปยงั อนาคตตามหลักการความคลา้ ยคลึง ตัวอยา่ งงานในแนวน้มี อี ยู่มาก เชน่ ในรายงาน The Limits to Growth งานวเิ คราะหด์ า้ นการใชท้ รพั ยากรของมนษุ ยเ์ รม่ิ จากการก�ำหนดขอ้ สมมตขิ องการเปลย่ี นแปลง ดา้ นพฤตกิ รรมการใชท้ รพั ยากรของมนษุ ยแ์ ละดา้ นอน่ื ๆ แลว้ จงึ ค�ำนวณผลกระทบทค่ี าดวา่ นา่ จะเกดิ ขนึ้ ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ในงานนี้ การคาดการณก์ ารเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศโลกเป็นการวิเคราะห์ ดว้ ยแบบจ�ำลองคณติ ศาสตรภ์ ายใตข้ อ้ สมมตแิ ละเงอ่ื นไขตา่ ง ๆ ทง้ั นี้ เหตกุ ารณท์ วี่ เิ คราะหว์ า่ นา่ จะเกดิ ขน้ึ จะแมน่ ย�ำหรอื ใกลเ้ คยี งกบั เหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ขนึ้ จรงิ ในอนาคตหรอื ไมแ่ ละเทา่ ใดนน้ั ขน้ึ อยกู่ บั เงือ่ นไข และขอ้ สมมตทิ ใ่ี ชใ้ นการคาดการณ์ ดว้ ยเหตดุ งั กลา่ ว นกั อนาคตศาสตรจ์ งึ ใหค้ วามส�ำคญั กบั การท�ำความ เขา้ ใจในเง่ือนไขและข้อสมมติทใ่ี ชใ้ นแบบจ�ำลอง และเลือกข้อสมมตทิ สี่ มเหตุสมผลมากที่สุด การวิเิ คราะห์ค์ วามสมเหตุสุ มผลของข้อ้ สมมติแิ ละเงื่อ� นไขนั้�น จำ�ำ เป็น็ ต้อ้ งใช้ค้ วามรู้�ที่ม� ีีการสะสมมา ก่อ่ นหน้า้ นี้� ทั้�งนี้� ในกระบวนการศึกึ ษาหรือื คาดการณ์อ์ นาคต นักั อนาคตศาสตร์อ์ าจไม่ไ่ ด้ว้ ิเิ คราะห์แ์ ละ พิสิ ูจู น์ค์ วามสมเหตุสุ มผลหรือื ความสัมั พันั ธ์เ์ ชิงิ เหตุกุ ับั ผล (causality) ระหว่า่ งปัจั จัยั ต่า่ ง ๆ ด้ว้ ยตนเอง เนื่่อ� งจากการพิสิ ููจน์แ์ ละอธิบิ ายความสัมั พันั ธ์ด์ ังั กล่า่ วจำ�ำ เป็น็ ต้อ้ งมีีกรอบทฤษฎีีและกระบวนการวิจิ ัยั ที่�่ ใช้้เวลาในการพิิสููจน์์ หน้้าที่�่และบทบาทหลัักของนัักอนาคตศาสตร์์จึึงไม่่ได้้อยู่่�ที่�การพิิสููจน์์สมมติิฐาน และอธิบิ ายปรากฏการณ์ด์ ้ว้ ยทฤษฎีี แต่่ใช้้กระบวนการและวิธิ ีีการศึึกษาอนาคตที่�่ประมวลความรู้�และ
อนาคตศึกษา | 66 ข้อ้ มูลู จากหลายแหล่ง่ เข้า้ ด้ว้ ยกันั ดังั นั้�น นักั อนาคตศาสตร์จ์ ึงึ มีีบทบาทในการนำ�ำ เอาความรู้�ที่น� ักั วิจิ ัยั คน อื่�นได้้ค้้นพบหรืือพิสิ ููจน์์ไว้้แล้ว้ มาประมวลและประยุกุ ต์ใ์ ช้ใ้ นกระบวนการศึกึ ษาและคาดการณ์์อนาคต นักอนาคตศาสตร์ช่ือโจเซฟ โวรอส (Joseph Voros) พัฒนาภาพกรวยอนาคต (futures cone) ที่แสดงถึงความแตกต่างระหว่างอนาคตในระดับความเป็นไปได้ต่าง ๆ ทั้งอนาคตท่ีอาจเกิดข้ึนได้ (possible) อนาคตทเ่ี ชือ่ วา่ เกดิ ขนึ้ ได้ (plausible) อนาคตท่นี า่ จะเกิดขึ้น (probable) อนาคตที่หวัง ว่าจะเกิดข้ึน (preferable futures) และอนาคตท่ีไม่มีทางเกิดข้ึน (preposterous futures) รวม ไปถงึ ฉากทัศน์ของภาพอนาคตท่ีอยูใ่ นขอบเขตของอนาคตที่เชอื่ ว่าเกิดขึ้นได้ และเหตุการณไ์ มค่ าดฝัน ซ่งึ อาจอย่ใู นขอบเขตของอนาคตทเี่ ชื่อวา่ เกดิ ข้นึ ไดห้ รือในขอบเขตของอนาคตท่อี าจเกดิ ขึน้ ได8้ ศึกษาภาพลกั ษณข์ องอนาคต อีกวัตถุประสงค์และกิจกรรมส�ำคัญของนักอนาคตศาสตร์คือการศึกษาภาพลักษณ์ของอนาคต (images of the future) ท่ีผู้คนในองค์กรหรือสังคมมีต่ออนาคตขององค์กรหรือสังคมของตนเอง นกั อนาคตศาสตรท์ �ำหนา้ ทเี่ ปน็ ผคู้ น้ หาและวเิ คราะหว์ า่ คนในองคก์ รหรอื สงั คมหนึง่ มคี วามคดิ หรอื ภาพ ลกั ษณเ์ กย่ี วกบั รปู แบบ คณุ ลกั ษณะและองคป์ ระกอบของภาพอนาคตขององคก์ รหรอื สงั คมของตนเอง อย่างไรบา้ ง และความคิดหรอื ภาพลกั ษณ์นนั้ มีผลอย่างไรบา้ งต่อพฤตกิ รรมและกิจกรรมในปัจจุบัน กรอบแนวคดิ และทฤษฎสี �ำคญั ทนี่ กั อนาคตศาสตรใ์ ชว้ เิ คราะหภ์ าพลกั ษณข์ องอนาคตคอื ทฤษฎวี า่ ดว้ ยการเปลีย่ นแปลงทางสังคม (theories of social change) ทีเ่ นน้ การวเิ คราะห์ทศั นคติและความ คิดที่มีผลต่อการตัดสินใจและพฤติกรรม แนวคิดหลักในกลุ่มน้ีได้แก่ แนวคิดภาพลักษณ์ของอนาคต (image of the future) แนวคิดเกยี่ วกบั การพัฒนา (developmental construct) ความคาดหวัง (expectations, anticipations) ความหวงั (hope) และความกลวั (fear) งานวจิ ัยบกุ เบกิ ในเร่อื งน้ีคอื การศึกษาภาพลักษณ์ของอนาคตในจาเมกา (A Study of Images of the Future in Jamaica) โดยเจมส์ เอ เมา (James A. Mau)9 ในงานนี้ ผู้วจิ ัยลงส�ำรวจภาคสนาม ในช่วงการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองครั้งใหญ่ของจาเมกาในยุคต้นทศวรรษที่ 1960 ซ่งึ เป็นช่วงการ รณรงค์ประกาศเอกราชจากอังกฤษ เน้ือหาของการส�ำรวจและการวิเคราะห์มุ่งไปท่ีทัศนคติของผู้คน เก่ียวกับเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นในอดีต แนวโน้มการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนในสังคม รวมถึงอนาคตของ ประเทศ เมาสรา้ งดชั นคี วามเชอ่ื ในความกา้ วหนา้ (Index of Belief in Progress) ทมี่ าจากภาพลกั ษณ์ เกยี่ วกบั อนาคตของผนู้ �ำในสงั คม โดยแบง่ เปน็ ภาพลกั ษณใ์ นเชงิ บวกและเชงิ ลบ แลว้ น�ำดชั นดี งั กลา่ วไป วิเคราะหค์ วามสัมพนั ธ์กับปจั จัยอื่น ๆ ข้อค้นพบหนง่ึ ของงานศึกษานค้ี อื ผูน้ �ำที่รบั รูเ้ ก่ียวกบั ปัญหา ความไม่พอใจ ความหวงั และความ กังวลของคนในสังคมจะมีภาพลักษณ์เก่ียวกับอนาคตที่ดีกว่าผู้น�ำท่ีรับรู้น้อยกว่า ข้อสรุปหน่งึ ของเมา คอื ความเชอื่ ในความกา้ วหนา้ ในอนาคตไมไ่ ดเ้ ปน็ เพยี งอดุ มคตลิ อย ๆ แตก่ ไ็ มไ่ ดต้ งั้ อยบู่ นฐานของความ เปน็ จรงิ อยา่ งเดียวเสมอไป ในทางกลบั กัน ภาพลักษณข์ องอนาคตท่ีเปน็ ลบเกิดมาจากความไม่รับรู้ใน ความเปน็ จรงิ ได้เช่นกัน งานวจิ ยั ของเมาชิ้นนแี้ สดงถงึ สาเหตหุ รอื ต้นตอของภาพลกั ษณ์ของอนาคตทีม่ ี ผลตอ่ การตดั สนิ ใจในปจั จุบัน
67 | อนาคตศึกษา งานอนาคตศกึ ษาอกี ชนิ้ หนงึ่ ทใี่ หค้ วามส�ำคญั กบั ภาพลกั ษณข์ องอนาคต คอื งานศกึ ษาภาพลกั ษณ์ ของอนาคตในอารยธรรมตะวนั ตก (A Study of Images of the Future in Western Civilization) ตี พมิ พใ์ น พ.ศ. 2504 โดย เฟรด โพลกั (Fred Polak)10 งานนถ้ี อื วา่ เปน็ งานเขยี นส�ำคญั ระดบั คลาสสกิ ใน วงการอนาคตศกึ ษา ในงานนี้ โพลกั ไมไ่ ดเ้ นน้ ทสี่ าเหตหุ รอื ปจั จยั ทมี่ ผี ลตอ่ ภาพลกั ษณเ์ กย่ี วกบั อนาคตดงั ในกรณขี องจาเมกา แตม่ งุ่ ไปทผ่ี ลลพั ธข์ องภาพลกั ษณข์ องอนาคตตอ่ การเปลย่ี นแปลงของสงั คมโดยรวม โพลักน�ำเสนอประวัติศาสตร์ของอารยธรรมตะวันตกในยุคสมัยโบราณ นับต้ังแต่อารยธรรม ซเู มอร์ (Sumer) ยคุ กรีก ยคุ ฟ้นื ฟศู ิลปวิทยา ยคุ เรืองปัญญา มาจนถึงยุคสมยั ใหมใ่ นชว่ งกลางศตวรรษ ท่ี 20 ในหนงั สือเล่มดงั กล่าว โพลักอธบิ ายใหเ้ ห็นวา่ ภาพลักษณท์ ผ่ี ้คู นมีตอ่ สังคมของตนเองในชว่ งใด ช่วงหน่ึงจะมีผลต่อการเจริญรุ่งเรืองและการถดถอยตกต�่ำของสังคมนั้น อารยธรรมท่ีมีความรุ่งเรือง ในอดีตมกั มคี วามสามารถในการจนิ ตนาการเก่ยี วกบั อนาคต ข้อสรุปหนง่ึ ของโพลกั คือ ความสามารถ ในการจนิ ตนาการเกยี่ วกับอนาคตของอารยธรรมตะวันตกในชว่ งกลางศตวรรษท่ี 20 เรมิ่ ตกต�่ำลง ซึ่ง สอื่ ถงึ ความถดถอยของอารยธรรมตะวนั ตกทเี่ กดิ ขนึ้ ในชว่ งอนาคตตอ่ มา สมมตฐิ านดงั กลา่ วสอดคลอ้ ง กบั ผลลพั ธจ์ ากงานวจิ ยั ดา้ นสงั คมศาสตรจ์ �ำนวนหนงึ่ ทเี่ สนอวา่ ภาพลกั ษณอ์ นาคตทเ่ี ปน็ บวกจะน�ำไปสู่ ผลลพั ธท์ เ่ี ปน็ บวกดว้ ยเชน่ กนั เนอื่ งจากภาพลกั ษณอ์ นาคตทเี่ ปน็ บวกท�ำใหค้ นสามารถรบั มอื และจดั การ กับปญั หาและก้าวขา้ มอปุ สรรคทเ่ี กดิ ขน้ึ เพอ่ื บรรลเุ ป้าหมายระยะยาวท่ีตั้งไว้ในใจ แม้ว่าภาพอนาคต บางภาพอาจดเู หมือนเป็นมายาคติก็ตาม11 ดว้ ยอทิ ธพิ ลของงานวจิ ยั ของเมาและโพลัก ประเด็นเกย่ี วกบั ภาพลักษณอ์ นาคตจึงกลายเป็นงาน วิจัยส�ำคัญกลุ่มหนึ่งในอนาคตศึกษา โดยครอบคลุมท้ังเนื้อหาและองค์ประกอบของภาพลักษณ์ ท่ีมา และสาเหตุ รวมถึงผลลพั ธแ์ ละผลกระทบของภาพลักษณ์ในอนาคตท่ีมตี ่อพฤติกรรมและการตดั สินใจ ของปัจเจกบคุ คล กลุม่ คนและสังคมโดยรวม หวั ขอ้ การศกึ ษามตี ้งั แตก่ ารศึกษาเปรียบเทยี บความหวัง และความกลวั ของคนทัว่ ไปในหลายประเทศ12 ภาพลกั ษณอ์ นาคตของชนชนั้ น�ำผวิ ขาวในแอฟรกิ าใต1้ 3 รวมถงึ งานวจิ ยั เชิงชาติพนั ธุ์วรรณนา (ethnographic research) ของรอเบิรต์ เทกสเ์ ตอร์ (Robert Textor) เก่ยี วกบั ภาพลักษณอ์ นาคตของประเทศไทยทีว่ เิ คราะหผ์ า่ นความเชอ่ื ของผู้ให้ขอ้ มูลคนไทย14 ศึกษาองคค์ วามรู้พื้นฐานของอนาคตศกึ ษา ศาสตรใ์ ดศาสตรห์ นง่ึ จะพฒั นาไดย้ อ่ มตอ้ งเสรมิ สรา้ งองคค์ วามรพู้ นื้ ฐานในเชงิ ปรชั ญา ทฤษฎแี ละ แนวคดิ พนื้ ฐานทส่ี ามารถน�ำไปตอ่ ยอดตอ่ ไปได้ โดยเฉพาะในเชิงญาณวิทยา ซึ่งศกึ ษาที่มา ธรรมชาติ ขอบเขต และความสมเหตสุ มผลของความรู้เก่ยี วกบั อนาคต ดว้ ยเหตุน้ี วัตถปุ ระสงค์และกจิ กรรมหลัก ประการหนึ่งของงานวิจัยด้านอนาคตศึกษาคือการพัฒนาพื้นฐานทางปรัชญาของความรู้ที่สร้างข้ึนมา และวิธีวิทยาท่ีท�ำใหเ้ กดิ ความร้ใู นศาสตรน์ ี้ ตามความคิดของเวนเดล เบล พ้ืนฐานทางปรัชญาของอนาคตศึกษาในบางด้านถือว่าพัฒนามา แล้วระดับหนงึ่ แต่มบี างส่วนทีพ่ ฒั นามาน้อยมาก ในด้านวิธกี ารวิเคราะหแ์ ละสร้างทางเลอื กของภาพ อนาคตอยา่ งเปน็ ระบบนนั้ ถอื วา่ พฒั นามาไดด้ ี โดยมงี านศกึ ษาเชงิ ประจกั ษจ์ �ำนวนมากทนี่ �ำวธิ กี ารศกึ ษา อนาคตเหลา่ นไ้ี ปใช้ อาทิ วธิ กี ารเดลฟายและวธิ กี ารวจิ ยั อนาคตแบบชาตพิ นั ธว์ุ รรณนา รวมถงึ การจ�ำลอง สถานการณด์ ว้ ยคอมพวิ เตอรแ์ ละการจดั กระบวนการสรา้ งภาพอนาคตแบบมสี ว่ นรว่ ม15 แตใ่ นทางกลบั
อนาคตศึกษา | 68 กัน องค์ความรู้เชิงปรัชญาท่ีรองรบั แนวคิดหลกั ของอนาคตศึกษา ทง้ั อนาคตท่เี ปน็ ไปได้ อนาคตทีเ่ ช่อื ว่าเกดิ ข้นึ ได้ และอนาคตท่ีคาดหวงั ใหเ้ กดิ ขนึ้ ยังไมไ่ ดร้ ับการพฒั นามากเทา่ ใดนกั งานเขยี นท่ีอภิปราย ประเด็นด้านญาณวิทยาของอนาคตศึกษายังมีอยู่ไม่มากเท่ากับงานเขียนเชิงประยุกต์ ตัวอย่างงาน เขียนในเชิงปรัชญาของอนาคตศกึ ษาหลกั ๆ เปน็ งานของ โอลาฟ เฮลเมอร์ (Olaf Helmer)16 รชิ ารด์ สลอเทอร์ (Richard Slaughter)17และเวนเดล เบล (Wendell Bell)18 ศกึ ษาพืน้ ฐานด้านจริยธรรมของอนาคตศึกษา นอกจากองคค์ วามร้พู น้ื ฐานในดา้ นปรชั ญาและด้านวิธกี าร วัตถุประสงค์อกี ประการหน่ึงของงาน วจิ ยั ดา้ นอนาคตศกึ ษาคอื การศกึ ษาพน้ื ฐานดา้ นจรยิ ธรรม เหตผุ ลทน่ี กั อนาคตศกึ ษาตอ้ งใหค้ วามส�ำคญั กบั พนื้ ฐานดา้ นจรยิ ธรรมเกยี่ วเนอ่ื งโดยตรงกบั วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั อกี ประการหนง่ึ ของการศกึ ษาอนาคต นนั่ คอื การคน้ หาหรอื สรา้ งอนาคตทค่ี สดหวงั ใหเ้ กดิ ขนึ้ หรอื พงึ ประสงค์ นอกเหนอื ไปจากการศกึ ษาภาพ อนาคตท่ีเชื่อว่าเกิดข้ึนได้และอนาคตท่ีเช่ือว่าเกิดข้ึนได้ การศึกษาว่าอนาคตที่พึงประสงค์เป็นอย่างไร น้ัน มเี น้ือหาที่เก่ียวพนั โดยตรงกับค�ำถามทวี่ า่ สังคมท่ดี เี ป็นอยา่ งไร เนื่องจากอนาคตที่พึงประสงค์และแนวคิดสังคมท่ีดีสื่อถึงคุณค่าหรือความพึงพอใจท่ีมีความเป็น อตั วสิ ยั (subjectivity) นักอนาคตศาสตร์จึงตอ้ งหาหลกั การเหตุผลและวิธีการประเมนิ ระดับความพึง ประสงค์ของทางเลอื กอนาคตต่าง เพ่อื ตอบให้ไดว้ า่ ท�ำไมทางเลอื กนัน้ จงึ ดีกว่าทางเลือกอืน่ ด้วยเหตนุ ้ี นกั อนาคตศาสตรจ์ งึ ตอ้ งศกึ ษาและตระหนกั ถงึ พน้ื ฐานทางจรยิ ธรรม ซึง่ อาจเปน็ เกณฑห์ รอื มาตรฐานท่ี เปน็ ไปตามธรรมเนยี มปฏบิ ตั หิ รอื คา่ นยิ มของสงั คมทมี่ อี ยแู่ ลว้ แตเ่ ดมิ แตเ่ กณฑห์ รอื มาตรฐานของสงั คม ที่ดีในอนาคตน้ันอาจมาจากพื้นฐานทางจริยธรรมท่ีกว้างกว่ากรอบคุณค่าหรือค่านิยมของสังคมท่ีมีมา แตเ่ ดมิ กไ็ ด้ เชน่ แนวคดิ สทิ ธมิ นษุ ยชนขนั้ พนื้ ฐานอาจขดั กบั ธรรมเนยี มปฏบิ ตั ดิ งั้ เดมิ ของชมุ ชนหนึง่ แต่ เป็นหลักการพื้นฐานที่สังคมทั่วโลกให้ความส�ำคัญมากขึ้น และแนวคิดการพัฒนาท่ีย่ังยืน ซึ่งเน้นการ ใช้ทรัพยากรธรรมชาติท่ีค�ำนึงถึงคนรุ่นหลัง อาจขัดกับประเพณีและนิสัยในการใช้ทรัพยากรของผู้คน ในสงั คมหนง่ึ แต่ถอื เปน็ หลักการและบรรทัดฐานทส่ี งั คมโลกใหค้ วามส�ำคัญมากขึ้น ดังน้ันการค�ำนึงถงึ อนาคตทพ่ี งึ ประสงคจ์ งึ ตอ้ งสรา้ งชดุ เหตผุ ลทางจรยิ ธรรมใหมท่ ส่ี ามารถใชย้ นื ยนั วา่ อนาคตทพ่ี งึ ประสงค์ ตอ้ งค�ำนงึ ถงึ คนทัง้ โลกและคนร่นุ หลัง ไม่ใช่เพียงเพอ่ื ความพงึ พอใจของคนในชมุ ชนและคนรนุ่ ปัจจุบนั ยงิ่ การพฒั นาดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมกา้ วหนา้ มากเทา่ ไหรแ่ ละเปลย่ี นแปลงไป อยา่ งรวดเรว็ เทา่ ใด ความจ�ำเปน็ ในการก�ำหนดพนื้ ฐานทางจรยิ ธรรมดา้ นอนาคตศาสตรย์ ิง่ ส�ำคญั เทา่ นนั้ เทคโนโลยีหลายอย่างท่ีเกิดขึ้นใหม่ท�ำให้ต้องต้ังค�ำถามด้านจริยธรรมที่ไม่เคยมีมาก่อน เช่น การตัด ต่อพันธุกรรม การผลติ เนื้อสตั ว์จากการปลูกถ่ายเซลลใ์ นห้องทดลองโดยไม่ตอ้ งมกี ารเล้ียงและฆ่าสัตว์ การเกบ็ ขอ้ มลู สว่ นบคุ คลผา่ นทางอปุ กรณเ์ ครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ ในครวั เรอื นหรอื กลอ้ งวงจรปดิ ทต่ี ดิ ตง้ั ในพนื้ ที่ สาธารณะ การตดั สินเลือกของรถยนต์ไร้คนขับวา่ จะชนใครในกรณีท่ีเกิดอุบตั เิ หตุ ฯลฯ ด้วยเหตุนี้ หน้าท่ีและบทบาทส�ำคัญประการหน่ึงของนักอนาคตศาสตร์ คือการระบุและแสดง คุณค่าและแนวคิดพ้ืนฐานทางจริยธรรมของการศึกษาอนาคตให้ชัดเจนมากข้ึน รวมไปถึงการสร้าง เกณฑ์และมาตรฐานที่มีความเป็นวัตถุวิสัยระดับหน่ึงท่ีสามารถน�ำมาใช้ในการประเมินเป้าหมายและ องคป์ ระกอบของทางเลอื กอนาคตทพ่ี งึ ประสงค์ เกณฑแ์ ละมาตรฐานเหลา่ นคี้ รอบคลมุ ไปถงึ การพฒั นา
69 | อนาคตศึกษา และประมวลจรรยาบรรณดา้ นวชิ าชพี ของนกั อนาคตศาสตร์ ดงั ทม่ี กี ารก�ำหนดหลกั จรรยาบรรณ (code of conduct) ในวชิ าชีพอนื่ ๆ ตีความอดีตและปรับทศิ ทางปัจจบุ ัน มนษุ ยเ์ รามกั ตดั สนิ ใจในเรือ่ งตา่ ง ๆ โดยใชป้ ระสบการณแ์ ละสิง่ ทเี่ รยี นรมู้ าจากอดตี มาเปน็ กรอบ นับตั้งแต่ประสบการณ์วัยเด็กท่ีเริ่มล้มลุกคลุกคลาน ลองผิดลองถูกเพื่อลุกขึ้นนั่ง ตั้งไข่ เดินวิ่งและขี่ จักรยาน ไปจนถงึ การเรียนในหอ้ งเรยี นและประสบการณ์ชวี ิตในสังคม ความผดิ พลาดในอดีตมักเป็น บทเรยี นใหเ้ ราปรบั แนวคดิ และแนวทางการด�ำเนนิ ชวี ติ และการท�ำงาน ในขณะเดยี วกนั ความส�ำเรจ็ ท่ี ผา่ นมาท�ำใหเ้ รารวู้ า่ อะไรบา้ งทคี่ วรท�ำตอ่ ไป เพอื่ บรรลเุ ปา้ หมายทเี่ ราตอ้ งการในอนาคต ดงั นน้ั จงึ เปน็ เรอ่ื งธรรมชาตทิ คี่ วามทรงจ�ำของอดตี มกั ใชเ้ ปน็ กรอบคดิ ของภาพลกั ษณใ์ นอนาคตทกี่ �ำหนดพฤตกิ รรม ในปัจจบุ ัน ประเดน็ ทนี่ กั อนาคตศาสตรด์ งั เชน่ เวนเดล เบล เสนอไวค้ อื ความเชือ่ หรอื ภาพลกั ษณท์ เ่ี รามเี กยี่ ว กบั อนาคตสามารถก�ำหนดภาพลกั ษณข์ องอดตี ไดเ้ ชน่ กนั กลา่ วคอื ภาพทเ่ี รามองเหน็ และคาดหวงั เกย่ี ว กันอนาคตของตนเอง ของสงั คม และของโลก สามารถก�ำหนดกรอบแนวคดิ และมมุ มองท่ีเรามตี ่อสิ่ง ท่ีเกิดไปแล้วในอดีตได้ ตัวอย่างหน่ึงคืองานวิจัยของเวนเดล เบลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างภาพ ลกั ษณใ์ นอนาคตกบั มมุ มองเกย่ี วกบั ประวตั ศิ าสตรข์ องประเทศจาเมกาในยคุ กอ่ นการประกาศเอกราช หลงั สงครามโลกครั้งท่ี 219 ข้อคน้ พบส�ำคัญประการหน่ึงคอื กอ่ นการปกครองตนเอง เนื้อหาในหนงั สอื ประวตั ศิ าสตรเ์ ตม็ ไปดว้ ยเรือ่ งราวเกยี่ วกบั คนขาวและระบบอาณานคิ ม แตห่ ลงั จากนน้ั เมือ่ ไดป้ กครอง ตนเองแล้ว เร่อื งราวในประวัติศาสตร์ที่ผู้คนพูดถึงและเรียนรู้กลับกลายเป็นเร่ืองความไม่เป็นธรรมใน สังคม การใช้แรงงานทาส และเรอ่ื งราวอน่ื ทีไ่ มไ่ ด้พูดถึงมากอ่ น การปรับเปล่ยี นเร่อื งราวเก่ียวกบั อดตี นเี้ กดิ ขน้ึ จากภาพอนาคตของประเทศทมี่ งุ่ เขา้ สกู่ ารประกาศเอกราชในชว่ งตอ่ มา ซึง่ ชาวจาเมกาเชือ่ วา่ จะน�ำไปสสู่ งั คมทมี่ อี สิ รภาพและเปน็ ธรรมมากกวา่ เดมิ ประวตั ศิ าสตรใ์ นกรณนี จ้ี งึ เปน็ เรอ่ื งราวทมี่ นษุ ย์ เลา่ ใหต้ นเองฟังเกีย่ วกบั สงั คมและชีวิตทีต่ นเองตอ้ งการในอนาคต20 ดงั นน้ั วัตถุประสงค์อีกประการหน่งึ ของการศกึ ษาอนาคตคือ การสรา้ งกรอบในการตคี วามอดตี ขึ้นใหม่ ไปพร้อมกับการก�ำหนดกรอบในการตัดสินใจและกิจกรรมที่จะท�ำในปัจจุบัน จากท่ีกล่าวมา ก่อนหน้าน้ี การศึกษาอนาคตเกี่ยวข้องโดยตรงกับการวางแผนที่มุ่งสร้างการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน ความเข้าใจและความมุ่งหวังเกี่ยวกับอนาคตท�ำให้เราสามารถเข้าใจกับสิ่งท่ีเกิดขึ้นในปัจจุบันได้ดีขึ้น เพราะการท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับภาพปัจจุบัน ไม่ได้พ่ึงเพียงประสบการณ์ท่ีเกิดขึ้นในอดีตและแนว โนม้ ที่จะเป็นต่อไปในอนาคต แตร่ วมไปถึงความมุง่ หวังท่ีเราต้องการให้เกิดข้ึนในอนาคตดว้ ยเชน่ กนั ตััวอย่่างหนึ่่�งที่่�แสดงให้้เห็็นว่่าเป้้าหมายในอนาคตมีีผลต่่อมุุมมองเกี่่�ยวกัับปััจจุุบัันและอดีีตคืือ กรณีี “น้ำำ��ครึ่�งแก้้ว” คำำ�ถามที่�เ่ รามัักได้ย้ ินิ อยู่่�ประจำ�ำ คืือ แก้ว้ น้ำำ��ที่ม่� ีีน้ำำ��อยู่�ครึ่ง� หนึ่่ง� นั้�น เป็น็ แก้้วน้ำำ��ที่จ�่ ะ เต็ม็ ครึ่ง� หนึ่่ง� หรือื ว่า่ งครึ่ง� หนึ่่ง� คำำ�ตอบหนึ่่ง� คือื แ ก้ว้ น้ำำ��เต็ม็ ครึ่ง� หนึ่่ง� หรือื ว่า่ งครึ่ง� หนึ่่ง� ขึ้�นอยู่่�กับั ว่า่ กำำ�ลังั จะ เติมิ น้ำ�ำ �หรือื กำำ�ลังั จะดื่ม� น้ำ�ำ �21 เพราะถ้้าหากต้อ้ งการจะเติมิ น้ำำ��ให้้เต็ม็ ก็็จะตอบว่่า แก้ว้ น้ำำ��นั้้�นเต็็มไปครึ่ง� หนึ่่�งแล้ว้ ในทางกลับั กััน ถ้้าคิดิ ว่่ากำำ�ลังั จะดื่ม� น้ำ�ำ �ให้้หมด ก็็จะตอบว่่า น้ำำ��ในแก้้วนั้�นหมดไปแล้ว้ ครึ่�งหนึ่่ง� ตัวั อย่่างนี้�แสดงให้เ้ ห็น็ ว่า่ วัตั ถุปุ ระสงค์ท์ ี่�ต่ ่่างกันั ทำำ�ให้เ้ รามีีมุมุ มองที่ต่� ่่างกัันเกี่�ย่ วกัับสิ่�งที่เ่� กิิดขึ้�นมาก่่อน
อนาคตศึกษา | 70 หน้า้ นั้�น ถ้้าเราต้อ้ งการดื่ม� น้ำำ�� แต่ม่ ีีคนดื่�มไปแล้ว้ ก่่อนครึ่�งหนึ่่ง� เราจะคิิดแบบหนึ่่ง� แต่ถ่ ้า้ เราต้อ้ งการเท น้ำ�ำ �ทิ้้�ง เราจะคิดิ อีีกแบบหนึ่่�ง ดว้ ยเหตนุ ้ี การศกึ ษาอนาคตชว่ ยใหเ้ ราสามารถสรา้ งความสมดลุ ระหวา่ งสิง่ ทเี่ ราเชอื่ เกย่ี วกบั อดตี สง่ิ ที่เราเชื่อเกี่ยวกับปัจจบุ นั และสง่ิ ทเี่ ราคาดหวังส�ำหรบั อนาคต โดย (1) ตีความเกย่ี วกับอดีตขนึ้ ใหม่ (2) เขา้ ใจในสง่ิ ทีเ่ กิดข้นึ ในปจั จุบัน (3) ตัดสนิ ใจและเริ่มท�ำส่ิงต่าง ๆ ในปจั จุบนั และ (4) สร้างความ สมดุลระหว่างทรพั ยากรทีเ่ รามใี นปจั จุบนั กบั ในอนาคต ประมวลความรู้และคณุ คา่ ส�ำหรับการเปลยี่ นแปลงทางสังคม อกี บทบาทหนงึ่ ของนกั อนาคตศาสตรค์ อื การประมวลความรเู้ พอื่ การออกแบบและด�ำเนนิ โครงการ เพื่อการเปล่ียนแปลงทางสังคม ไม่ว่าจะเป็นโครงการพัฒนาท่ีริเริ่มโดยภาครัฐ ภาคเอกชนหรือภาค ประชาสงั คม นโยบายหรอื โครงการพฒั นาใด ๆ กต็ ามยอ่ มตอ้ งผา่ นกระบวนการรเิ ริม่ และวางแผน การ สรา้ งและประเมนิ ทางเลอื ก และการด�ำเนนิ โครงการ ความรทู้ ี่จ�ำเปน็ ตอ้ งใชใ้ นการด�ำเนนิ โครงการตง้ั แต่ ต้นจนจบมีอยู่มากและหลากหลาย ไม่จ�ำกัดเพียงความรู้เชิงวิเคราะห์ที่ผ่านกระบวนการค�ำนวณหรือ พิจารณาเชิงตรรกะ แต่รวมไปถึงความรู้และทักษะในการบริหารจัดการความรู้สึกและความสัมพันธ์ ระหวา่ งบคุ คลของผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ตลอดกระบวนการ นกั อนาคตศาสตรม์ บี ทบาทส�ำคญั ในการชว่ ย วเิ คราะห์ ประมวลและจดั ระบบความรู้ ไปพรอ้ มกบั การประสานคณุ คา่ และคา่ นยิ มของผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ น เสยี ในองค์กรหรอื สงั คมโดยรวม กระบวนการวางแผนและพััฒนาใด ๆ ย่่อมจำำ�เป็็นต้้องมีีความรู้�เฉพาะทางของผู้�เชี่่�ยวชาญมา ช่่วยให้้คำำ�ตอบในแต่่ละเรื่�อง ในขณะเดีียวกััน การประสานและบููรณาการความรู้�เฉพาะทางเหล่่า นี้้�มีีความสำำ�คััญอย่่างมากในการออกแบบนโยบายการพััฒนาสำำ�หรัับอนาคต เนื่่�องจากการดำำ�เนิิน โครงการในโลกแห่่งความเป็็นจริิงมีีความซัับซ้้อนและแตกต่่างอย่่างมากจากโครงการวิิจััยที่�่ผู้ �ศึึกษา สามารถลดทอน ย่่อส่่วนและตั้�งข้้อสมมติิตามที่�่ต้้องการ นอกจากความรู้�เชิิงวิิทยาศาสตร์์แล้้ว ความ เข้า้ ใจในกระบวนการทางสังั คม วัฒั นธรรมและการเมือื ง ถือื เป็น็ ความรู้�อีกชุดุ หนึ่่ง� ที่ส่� ำ�ำ คัญั ในการดำำ�เนินิ โครงการเพื่่�อการเปลี่่�ยนแปลงทางสัังคม ด้้วยเหตุุนี้� จึึงจำำ�เป็็นต้้องมีีผู้้�ประสานความรู้�และคุุณค่่าที่�่ หลากหลายเข้้าด้้วยกัันในการแปลงวิิสััยทััศน์์หรืือเป้้าหมายในอนาคตออกเป็็นกิิจกรรมที่�่ดำำ�เนิินการได้้ ในปััจจุุบััน เพื่่อ� ผลิติ ผลลัพั ธ์์ที่�่มีีประสิิทธิิภาพและพึงึ ประสงค์์ นัักอนาคตศาสตร์ส์ ามารถเลืือกใช้้เครื่�อง มือื ต่า่ ง ๆ ในการดำำ�เนิินโครงการให้เ้ ป็็นไปได้้อย่า่ งราบรื่�น ส่งเสริมการมสี ว่ นร่วมแบบประชาธิปไตยในการออกแบบอนาคต ในยุคเร่ิมต้นของอนาคตศึกษาช่วงหลังสงครามโลกคร้ังท่ีสอง กระบวนทัศน์หลักของศาสตร์คือ การวเิ คราะหท์ างเลอื กอนาคตดว้ ยวธิ กี ารเชงิ ระบบโดยผเู้ ชย่ี วชาญ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคห์ ลกั คอื การสรา้ ง ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการทหาร แตช่ ว่ งหลงั มานวี้ ตั ถปุ ระสงคส์ �ำคญั ของศาสตรค์ อื การสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ ม แบบประชาธปิ ไตยในกระบวนการสรา้ งและออกแบบอนาคตของคนทกุ ระดบั ในสงั คม นกั อนาคตศกึ ษา จ�ำนวนหนง่ึ ทมี่ อี าชพี ใหค้ �ำปรกึ ษากบั องคก์ รหรอื รฐั บาลในการวเิ คราะหอ์ นาคตเพอ่ื วางแผนยทุ ธศาสตร์ อาจไมใ่ หค้ วามส�ำคญั กบั กระบวนการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนทวั่ ไปเทา่ ใดนกั เพราะหวั ขอ้ และประเดน็
71 | อนาคตศึกษา ปัญหาท่ีเป็นโจทย์ของการศึกษาจ�ำกัดอยู่ภายในกรอบความสนใจขององค์กรที่ว่าจ้าง แต่ส�ำหรับนัก อนาคตศาสตร์ทั่วไป โดยเฉพาะสมาชิกในสมาพันธ์อนาคตศึกษาโลก (World Futures Studies Federation) วัตถุประสงค์ส�ำคัญของศาสตร์คือการกระตุ้นและส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมแบบ ประชาธิปไตยมากขน้ึ ในงานศึกษาและด�ำเนินการวางแผนเพ่ืออนาคต วตั ถปุ ระสงคข์ อ้ นป้ี รากฏชดั เจนในวธิ กี ารศกึ ษาและสรา้ งภาพอนาคตหลายวธิ ดี ว้ ยกนั เชน่ ในการ ประชมุ ปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื อนาคต (futures workshops) นกั อนาคตศาสตรจ์ ะใหค้ วามส�ำคญั อยา่ งมากกบั การเลอื กผเู้ ขา้ ประชมุ โดยเนน้ การเปดิ โอกาสใหม้ ตี วั แทนจากกลมุ่ คนทหี่ ลากหลาย อกี ทงั้ ยงั จดั เตรยี มวธิ ี การและขนั้ ตอนในการประชมุ ทเ่ี ปดิ โอกาสใหค้ นกลมุ่ ตา่ ง ๆ สามารถแสดงความคดิ เหน็ และแลกเปลย่ี น ความรแู้ ละภาพลกั ษณอ์ นาคตของตนเองกบั ผเู้ ขา้ รว่ มประชมุ คนอน่ื ไดอ้ ยา่ งเสรี แนน่ อนวา่ กระบวนการ พฒั นาและสรา้ งภาพอนาคตทสี่ ะทอ้ นหลกั การประชาธปิ ไตยอาจตอ้ งใชเ้ วลานานและทรพั ยากรมากกวา่ การวเิ คราะห์ ออกแบบและตดั สนิ ใจโดยผเู้ ชย่ี วชาญอยา่ งเดยี ว การถกเถยี งและโตแ้ ยง้ กนั ของแตล่ ะคน อาจท�ำใหก้ ระบวนการชา้ ลง และในบางประเดน็ อาจหาวธิ แี กไ้ ขปญั หาแบบฉนั ทามตไิ มไ่ ด้ กระนนั้ กต็ าม นกั อนาคตศาสตรเ์ ชือ่ วา่ กระบวนการพฒั นาและเลอื กภาพอนาคตดว้ ยกนั ของคนในสงั คมจะท�ำใหเ้ กดิ ความเข้าใจและความเคารพในความคิดท่แี ตกตา่ งมากขน้ึ และจะน�ำไปสผู่ ลลพั ธท์ ่ดี ีกวา่ ในระยะยาว สื่อสารและผลกั ดันอนาคตทพี่ ึงประสงค์ นักอนาคตศาสตร์บ่อยครั้งอาจมีบทบาทมากกว่าการเป็นผู้ประมวลความรู้และคุณค่าของคนอื่น และมีบทบาทมากกว่าการกระตุ้นและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการสร้างภาพ อนาคตและก�ำหนดทศิ ทางของการเปลย่ี นแปลงทางสงั คม รวมถงึ บทบาททม่ี ากกวา่ การเปน็ ผปู้ ระสาน กระบวนการสรา้ งภาพอนาคตและวสิ ยั ทัศน์ส�ำหรับองค์กรหรือสงั คม นกั อนาคตศาสตร์สามารถแสดง บทบาทเชิงรุกมากกว่าน้ัน ท้ังในการประเมินว่า ภาพอนาคตใดเป็นภาพท่ีพึงประสงค์ส�ำหรับองค์กร หรือสังคม รวมถึงการสือ่ สารและเผยแพร่ภาพอนาคตทีพ่ ึงประสงค์ให้กลุ่มคนอ่นื ๆ หรือสาธารณชน ไดร้ บั รู้ และการรณรงคเ์ รยี กรอ้ งและผลกั ดันใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงนโยบายหรือสถาบนั เพื่อให้ภาพ อนาคตท่ตี ้องการเกิดขึน้ จริง การมสี ว่ นรว่ มโดยตรงในการผลักดนั นโยบายถือวา่ เปน็ บทบาททางการเมอื ง ดังนั้น อาจกลา่ วได้ ว่า วัตถุประสงค์ของอนาคตศึกษาอาจไม่จ�ำกัดอยู่เพียงแค่การศึกษาและวิเคราะห์อนาคตเพ่ือเตรียม พรอ้ มส�ำหรบั การวางแผนเทา่ นนั้ แตร่ วมไปถงึ การมสี ว่ นรว่ มทางการเมอื งโดยตรง ในกรณนี ้ี นกั อนาคต ศาสตรจ์ งึ ไมใ่ ชเ่ ปน็ เพยี งนกั วเิ คราะหท์ อ่ี ยบู่ นหอคอยงาชา้ ง แตเ่ ปน็ นกั ปฏบิ ตั คิ นหนึง่ ทชี่ ว่ ยสรา้ ง เผยแพร่ และใชป้ ระโยชนจ์ ากความรเู้ กยี่ วกับอนาคตเพื่อการตัดสนิ ใจในปจั จุบนั การน�ำเสนอความคิดเพือ่ การ ปฏบิ ตั ิจรงิ จึงถือเปน็ วัตถปุ ระสงค์ส�ำคัญของอนาคตศกึ ษาในปจั จุบัน
อนาคตศึกษา | 72 ข้อสมมติใน การศกึ ษาอนาคต วิธีการคน้ หาความรไู้ ม่วา่ ในศาสตรใ์ ดกต็ ามย่อมต้ังอยู่บนขอ้ สมมติและเง่ือนไขทางปรชั ญา ทฤษฎแี ละ แนวคดิ บางประการ ซง่ึ มผี ลตอ่ การน�ำความรทู้ ค่ี น้ พบไปใชป้ ระโยชนต์ อ่ อนาคตศาสตรก์ ม็ ขี อ้ สมมตแิ ละ เงอ่ื นไขอยหู่ ลายประการเชน่ กนั นกั อนาคตศาสตรแ์ ละนกั คาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตรต์ อ้ งท�ำความเขา้ ใจ ในข้อสมมตแิ ละเงอ่ื นไขเหลา่ น้ี เพื่อวเิ คราะหแ์ ละแปลผลจากข้อมลู ได้อย่างถกู ตอ้ งและแมน่ ย�ำมากขึ้น ขอ้ สมมตสิ �ำคัญของอนาคตศกึ ษามีดงั ต่อไปน2้ี 2 เวลากบั อนาคต ข้้อสมมติิเกี่�่ยวกัับเวลาเป็็นพื้�นฐานเบื้�องต้้นที่�่สุุดของการทำำ�ความเข้้าใจเกี่่�ยวกัับอนาคต การรัับรู้�และ ความเข้้าใจของมนุุษย์์เกี่่�ยวกัับเวลามีีผลอย่่างยิ่�งต่่อการรัับรู้�เกี่�่ยวกัับเหตุุการณ์์ และปรากฏการณ์์ ต่่าง ๆ ที่่�เกิิดขึ้�นในธรรมชาติิ การดำำ�เนิินชีีวิิตของมนุุษย์์และสิ่�งมีีชีีวิิตอื่�น ๆ รวมไปถึึงการพััฒนา ความรู้้�ด้้านต่่าง ๆ นัักวิิจััยทั้�งในสาขาวิิทยาศาสตร์์ธรรมชาติิ เช่่น ฟิิสิิกส์์ และสาขาสัังคมศาสตร์์และ มนุุษยศาสตร์์ต่่างมีีคำำ�อธิิบายและข้้อสมมติิหลายประการเกี่�่ยวกัับสิ่�งที่�่เรีียกว่่าเวลา ในอนาคตศึึกษา เช่่นกััน ข้้อสมมติิเกี่�่ยวกัับเวลาเป็็นพื้�นฐานของข้้อสมมติิอื่�น ๆ เกี่�่ยวกัับอนาคต รวมถึึงแนวคิิดทฤษฎีี ที่่�นัักอนาคตศาสตร์์ใช้้วิิเคราะห์์และคาดการณ์์ปรากฏการณ์์ในอนาคต ข้อสมมติหลักเกี่ยวกับเวลาท่ีเป็นพ้ืนฐานของอนาคตศึกษากระแสหลักในปัจจุบันเป็นไปตาม แนวคิดฟิสิกส์แบบนวิ ตนั กลา่ วคือ เวลาผ่านไปอย่างต่อเนอื่ ง เป็นเสน้ ตรงไปทางเดียว และย้อนกลับ ไม่ได้ ดว้ ยข้อสมมตดิ งั กลา่ ว จงึ เกดิ ข้อสมมติสืบเนอ่ื งวา่ เหตุการณ์หน่ึงเกิดข้ึนก่อนหรอื หลงั เหตกุ ารณ์ อนื่ และความตอ่ เนอ่ื งของเวลาเปน็ สง่ิ ก�ำหนดอดตี ปจั จบุ นั และอนาคต เวนเดล เบล (Wendell Bell) อธิบายประเด็นส�ำคญั ของข้อสมมตนิ ไี้ ว้โดยสรุปดงั น้ี เหตุการณ์และกระบวนการ การรัับรู้�เกี่่�ยวกัับเวลาเป็็นส่่วนหนึ่่�งของการดำำ�รงชีีวิิตของมนุุษย์์ ซึ่�งสามารถแยกแยะเหตุุการณ์์ที่่�เกิิด ขึ้�นในปััจจุุบัันจากสิ่�งที่่�เกิิดขึ้�นในอดีีตและอนาคต เวลาที่่�ว่่านี้�มีทั้�งเวลาในเชิิงกายภาพ (physical time) เวลาในเชิงิ ชีีวภาพ (biological time) เวลาในเชิงิ จิติ วิทิ ยา (psychological time) และเวลาเชิงิ สังั คม (social time)23 นักั คิดิ และนักั เขีียนในอดีีตหลายคน เช่น่ เอมิลิ ดูรู ์ไ์ กม์์ (Emile Durkheim) เสนอว่า่ เวลาเป็็นเพีียง
73 | อนาคตศึกษา สิ่�งที่่�มนุษุ ย์ค์ ิดิ ขึ้�น ในขณะที่พ�่ ิทิ ิริ ิมิ โซโรคินิ (Pitirim Sorokin) และรอเบิริ ์ต์ เมอร์ต์ ันั (Robert Merton) เสนอ ว่า่ เวลาในเชิงิ ดาราศาสตร์์ (astronomical time) เป็น็ เพีียงหนึ่่ง� ในหลายความคิดิ เกี่ย่� วกับั เวลาที่ม�่ นุษุ ย์์ คิดิ ขึ้�น และเวลาเป็น็ เครื่�องมือื หนึ่่�งของระบบการสร้า้ งการร่่วมมืือทางสัังคม (social collaboration)24 อยา่ งไรกต็ าม เวนเดล เบล ใหค้ วามเหน็ แตกตา่ งออกไปวา่ แนวคดิ วา่ ดว้ ยเวลาเหลา่ นไ้ี มไ่ ดแ้ ยกสง่ิ ทีเ่ รยี กวา่ เวลา (time) ออกจากการรับรู้เก่ยี วกับเวลาของมนษุ ย์ (human perception of time) ใน การศกึ ษาอนาคต ซงึ่ เกย่ี วขอ้ งโดยตรงกบั เวลา นกั อนาคตศาสตรต์ อ้ งแยกแยะใหช้ ดั เจนระหวา่ งเวลาใน เชิงวัตถุวิสยั คือเวลาทไี่ ม่ขนึ้ อยูก่ บั ความคดิ ของมนุษย์ กบั เวลาในเชงิ อตั วิสยั คอื เวลาทร่ี บั รู้โดยมนษุ ย์ ท้ังน้ี การท�ำความเขา้ ใจกับสถานการณ์ เหตุการณ์ ปรากฏการณ์ และกระบวนการตา่ ง ๆ ในอนาคต ศึกษา ต้องค�ำนงึ ถึงมิตขิ องเวลาใน 4 ดา้ นด้วยกนั ได้แก่ ล�ำดบั เวลา (เหตุการณ์เกิดขึน้ กอ่ นหรอื หลัง) ชว่ งเวลา (เกดิ ขน้ึ นานเทา่ ไหร)่ ต�ำแหนง่ ของเวลา (เกดิ ขน้ึ เมือ่ ไหรต่ ามปฏทิ นิ ) และอตั ราเกดิ ซำ้� (ความถี่ ของการเกดิ เหตกุ ารณเ์ ดยี วกนั )25 การวเิ คราะหแ์ ละคาดการณอ์ นาคตตอ้ งเขา้ ใจในความแตกตา่ งระหวา่ ง มติ ขิ องเวลาทงั้ 4 ดา้ นนี้ เวลาผ่านไปอยา่ งต่อเนอ่ื ง ไปในทิศทางเดียว และย้อนกลับไม่ได้ ข้อ้ ถกเถีียงว่า่ เวลาผ่า่ นไปอย่า่ งต่อ่ เนื่่อ� ง (continuous) หรือื ไม่ต่ ่อ่ เนื่่อ� ง (discrete) เป็น็ คำำ�ถามนักั คิดิ นักั วิจิ ัยั พยายามพิสิ ูจู น์ม์ าเป็น็ เวลานาน นักั ฟิสิ ิกิ ส์บ์ างกลุ่�มเสนอว่า่ เวลามีีคุณุ ลักั ษณะดังั เช่น่ แสง ซึ่ง� ประกอบ ด้้วยองค์ป์ ระกอบย่่อยที่่แ� บ่่งออกได้ท้ ี่่เ� รีียกว่่า ควอนต้้า (quanta) คุณุ ลัักษณะดัังกล่่าวแสดงว่่าเวลาไม่่ ได้ผ้ ่า่ นไปอย่า่ งต่อ่ เนื่่อ� ง แต่แ่ นวคิดิ ดังั กล่า่ วยังั อยู่�ในขั้�นของการพิสิ ูจู น์เ์ ชิงิ วิทิ ยาศาสตร์์ และเกินิ ขอบเขต ของการวิิเคราะห์ข์ องอนาคตศึึกษาในปัจั จุุบััน ข้อ้ สมมติิหลักั ของการศึกึ ษาอนาคตในปัจั จุบุ ัันจึึงเชื่อ� ว่า่ เวลาเป็็นดังั เช่น่ พื้�นที่�่ (space) ที่ม่� ีีความต่อ่ เนื่่�องและเชื่�อมต่่อกัันอย่่างไม่่สิ้�นสุดุ ข้อ้ สมมติเิ กี่ย�่ วกับั ทิศิ ทางของเวลามีีนัยั สำำ�คัญั สำำ�หรับั การศึกึ ษาอนาคตเช่น่ กันั ข้อ้ ถกเถีียงในที่น�่ ี้้�คือื เวลาเคลื่�อนไหวผ่่านไปในทิศิ ทางเดีียว เคลื่อ� นไหวเป็็นวงกลม (circular) ที่ย่� ้อ้ นกลัับมาจุดุ ตั้�งต้น้ หรืือ เคลื่�อนไหวเป็็นวงจร (cyclical) ที่่�มีขึ้�นมีีลง นักั ประวัตั ิศิ าสตร์แ์ ละสังั คมศาสตร์บ์ างกลุ่�มเสนอว่า่ ชุมุ ชน เกษตรกรรมในยุุคโบราณเชื่อ� ว่่า เวลาผ่า่ นไปเป็น็ วงจรตามฤดููกาลของแต่ล่ ะปีี และหมุนุ เวีียนไปเรื่�อย ๆ ดังั นั้�น แนวคิดิ ของวันั สัปั ดาห์แ์ ละปีจี ึงึ สะท้อ้ นความเชื่อ� ในการย้อ้ นกลับั ของเวลาเป็น็ วงจรต่อ่ มาความเชื่อ� ในทิศิ ทางของเวลาที่เ�่ ป็น็ วงจรถูกู แทนที่ด�่ ้ว้ ยแนวคิดิ ที่ว่� ่า่ เวลาผ่า่ นไปในทิศิ ทางเดีียว (unidirectional) โดย เฉพาะเมื่อ� อารยธรรมและสังั คมมนุษุ ย์เ์ ริ่ม� ขยายใหญ่ข่ึ้�นและมีีความซับั ซ้อ้ นมากขึ้�น จึงึ ต้อ้ งมีีการวางแผน เพื่่อ� ก่อ่ สร้า้ งอาคารและโครงสร้า้ งพื้�นฐานในเมือื ง เพื่่อ� ทำ�ำ สงคราม เพื่่อ� พาณิชิ ยกรรมและการค้า้ ระหว่า่ ง เมือื งและระหว่า่ งทวีีป การวางแผนนัยั หนึ่่ง� คือื การควบคุมุ และบริหิ ารจัดั การกับั เวลาและทรัพั ยากรต่า่ ง ๆ ในอนาคต แม้ว้ ่า่ ความเชื่อ� ในวงจรเวลายังั คงมีีอยู่�เรื่อ� ยมา แต่ค่ วามเชื่อ� ในเวลาที่เ�่ คลื่อ� นผ่า่ นไปในทิศิ ทาง เดีียวและไปข้า้ งหน้า้ ได้ร้ ับั การยอมรับั และแพร่ห่ ลายมากขึ้�น แนวคิดิ นี้�เป็น็ ไปตามพัฒั นาการและการแพร่่ ขยายของกลุ่�มศาสนาจูเู ดโอ-คริสิ เตีียน ซึ่ง� เชื่อ� ว่า่ เวลามีีจุดุ เริ่ม� ต้น้ แ ละประวัตั ิศิ าสตร์เ์ คลื่อ� นไปข้า้ งหน้า้ 26 กลุ่�มนักั อนาคตศาสตร์ส์ มัยั ใหม่ก่ ็ย็ ึดึ ข้อ้ สมมติเิ กี่ย่� วกับั รูปู แบบและทิศิ ทางการเคลื่อ� นไหวของเวลา ในทำ�ำ นองเดีียวกันั ตามความคิดิ ของเวนเดล เบล แม้ว้ ่า่ เหตุกุ ารณ์แ์ ละปรากฏการณ์ใ์ นธรรมชาติแิ ละการ
อนาคตศกึ ษา | 74 ดำ�ำ เนินิ กิจิ กรรมในสังั คมมนุษุ ย์อ์ าจดูเู หมือื นว่า่ เกิดิ ขึ้�นเป็น็ วงจร เช่น่ ฤดูกู าล การทำำ�งาน และการพักั ผ่อ่ น แต่่นั่่น� ไม่่ได้้หมายความว่่า เวลาผ่่านไปแล้้วย้อ้ นกลัับมาเป็็นวงจร ข้้อสมมติิหลัักของอนาคตศาสตร์ใ์ น ปััจจุุบัันคือื เวลาเคลื่อ� นผ่่านไปข้้างหน้้าและไม่่ย้้อนกลับั มา (irreversible) เหตุการณท์ ่ีเกดิ ขึ้นในอนาคตอาจไม่เคยเกดิ มากอ่ น ข้้อสมมติิที่�่สองของอนาคตศึึกษาคืือ สิ่�งที่่�เกิิดขึ้�นในอนาคตอาจไม่่เคยเกิิดขึ้�นมาก่่อนในอดีีต สิ่�งที่�่ว่่านี้� อาจเป็็นสิ่�งของที่�่จัับต้้องได้้ทั้�งในเชิิงกายภาพและชีีวภาพ หรืือเป็็นเหตุุการณ์์และปรากฏการณ์์ทาง สัังคม ด้ว้ ยข้อ้ สมมตินิี้� ความรู้�และประสบการณ์จ์ ากอดีีตอาจไม่่สามารถใช้เ้ ป็็นพื้�นฐานหรือื หลัักอ้า้ งอิิง ให้้กับั การตััดสิินใจและการดำ�ำ เนิินการในอนาคตเสมอไป ทั้�งนี้� นัักอนาคตศาสตร์เ์ ชื่อ� ว่า่ ความเร็ว็ ของ การเปลี่่�ยนแปลงมีีผลต่อ่ การรับั รู้�และทำำ�ความเข้้าใจของมนุุษย์์ เมื่ อ� การเปลี่ย�่ นแปลงด้า้ นเศรษฐกิิจ สิ่�ง แวดล้อ้ ม สังั คมวัฒั นธรรมและเทคโนโลยีีเป็น็ ไปอย่า่ งช้า้ ๆ ความรู้�ความเข้า้ ใจเกี่ย�่ วกับั อดีีตและปัจั จุบุ ันั สามารถใช้้เป็น็ กรอบแนวคิดิ และแนวทางของการตััดสินิ ใจและการดำำ�เนินิ การเพื่่�ออนาคตได้้ เนื่่อ� งจาก อนาคตอาจไม่แ่ ตกต่า่ งมากจากปััจจุบุ ันั และอดีีต แต่่เมื่�อการเปลี่�่ยนแปลงเป็น็ ไปอย่่างรวดเร็็ว ความรู้� และประสบการณ์์จากอดีีตอาจไม่่เป็็นประโยชน์ใ์ นการเตรีียมพร้อ้ มสำ�ำ หรับั อนาคต จึงึ จำ�ำ เป็น็ ต้อ้ งสร้า้ ง กระบวนการรับั รู้�ข้อมูลู และเรีียนรู้�องค์์ความรู้้�ชุดใหม่ส่ ำำ�หรัับอนาคต ไมม่ ขี อ้ เทจ็ จริงเกี่ยวกบั อนาคต เงื่อ� นไขสำำ�คัญั อีีกประการหนึ่่ง� ในอนาคตศึกึ ษาคือื อนาคตไม่ม่ ีีหลักั ฐานที่ส่� ามารถสังั เกตและพิสิ ูจู น์ไ์ ด้ใ้ น เชิงิ ประจักั ษ์์ จึงึ ไม่ม่ ีีข้อ้ เท็จ็ จริงิ เกี่ย่� วกับั อนาคต (future facts) แต่ถ่ ้า้ เราไม่ม่ ีีข้อ้ เท็จ็ จริงิ เกี่ย�่ วกับั อนาคตแล้ว้ เราจะสามารถรับั รู้�เกี่ย�่ วกับั อนาคตได้อ้ ย่า่ งไร ประเด็น็ นี้้�ถือื เป็น็ ปฏิทิ รรศน์ห์ รือื พาราด็อ็ กซ์์ (paradox) ของ อนาคตศึกึ ษา กล่า่ วคือื เราพยายามสร้า้ งความรู้�เกี่ย่� วกับั อนาคตโดยที่ไ่� ม่ม่ ีีข้อ้ เท็จ็ จริงิ เกี่ย่� วกับั อนาคตด้ว้ ย การค้น้ หาและพิสิ ูจู น์ข์ ้อ้ เท็จ็ จริงิ เกี่ย่� วกับั อดีีต สร้า้ งทางเลือื กในปัจั จุบุ ันั และจินิ ตนาการความเป็น็ ไปได้้ ในอนาคต เงื่อ� นไขหรือื ข้อ้ สมมติทิ ี่่ว� ่า่ ไม่ม่ ีีความเป็น็ ไปได้ใ้ นอดีีตและข้อ้ เท็จ็ จริงิ เกี่ย�่ วกับั อนาคต ถือื เป็น็ ประเด็็นหนึ่่ง� ที่่น� ักั อนาคตศาสตร์เ์ กือื บทั้�งหมดเห็็นพ้้องต้้องกััน27 ด้วยเหตนุ ้ี อนาคตจงึ เปน็ พื้นท่ขี องความไม่แน่นอน (uncertainty) นักอนาคตศาสตรต์ อ้ งประสบ กบั ความทา้ ทายในการสรา้ งองคค์ วามรเู้ กยี่ วกบั อนาคตทแ่ี มน่ ย�ำทส่ี ดุ เทา่ ที่จะท�ำได้ เพอ่ื สรา้ งทางเลอื ก ในการด�ำเนินการและตัดสินใจอยา่ งถูกตอ้ งทส่ี ดุ ในขณะเดียวกนั นกั อนาคตศาสตรต์ ระหนักดวี า่ การ คาดการณ์เกี่ยวกับอนาคตไม่ถือว่าเป็นความรู้ที่แท้จริง เนื่องจากไม่ได้มีข้อเท็จจริงท่ีสามารถพิสูจน์ได้ แตอ่ ยา่ งน้อยกส็ ามารถสร้างทางเลือกของภาพอนาคตท่เี ชือ่ ว่าเกดิ ขนึ้ ได้ การคิดิ เกี่�ยวกับั อนาคตเป็น็ พื้้�นฐานของมนุษุ ย์์ อีีกข้้อสมมติิหนึ่่�งที่ส่� ำำ�คัญั ของอนาคตศึกึ ษาคืือ การคิิดเชิิงอนาคต (futures thinking) เป็น็ พื้�นฐานของ การกระทำ�ำ ของมนุุษย์์ ดัังที่�่กล่่าวมาในบทนำำ� การคิิดคำำ�นึึงเกี่�่ยวกัับอนาคตเป็็นพื้�นฐานของการดำ�ำ รง ชีีวิติ ของมนุษุ ย์ม์ าแต่ไ่ หนแต่ไ่ ร นักั อนาคตศาสตร์จ์ ึงึ ยึดึ ข้อ้ สมมตินิี้�เป็น็ หลักั การในการวิเิ คราะห์แ์ ละการ
75 | อนาคตศกึ ษา คาดการณ์์ อย่่างไรก็็ตาม นักั อนาคตศาสตร์์ตระหนัักดีีถึงึ ข้อ้ จำ�ำ กัดั ที่ว�่ ่า่ ผู้�คนทั่่�วไปไม่ไ่ ด้้คำำ�นึงึ ถึงึ อนาคต ได้้ดีีและได้้ไกลเท่่าที่ค�่ วร โดยมากมักั มีีข้อ้ จำำ�กัดั ในการเรีียนรู้�เพื่่�อพิิจารณาและคำ�ำ นึงึ ถึงึ อนาคต เพราะ มีีข้อ้ มููลที่จ่� ำำ�กัดั หรือื ไม่่มีีวิธิ ีีการที่เ�่ หมาะสม นอกจากนี้� ผู้�คนทั่่ว� ไปมักั ไม่่มองภาพระยะยาว และมุ่�งเน้น้ แต่่เหตุุการณ์์ที่่�เกิิดขึ้�นตรงข้้างหน้้าหรืืออนาคตระยะสั้�น ข้้อจำำ�กััดเหล่่านี้�ไม่่ได้้เกิิดเฉพาะกัับการตััดสิิน ใจระดัับปััจเจกบุคุ คลเท่่านั้�น แ ต่่รวมไปถึึงการตััดสิินใจร่่วมกัันของผู้�คนในสัังคมโดยรวม28 ความรู้เกีย่ วกับอนาคตเป็นความรู้ทม่ี ปี ระโยชน์ท่ีสุด ข้อ้ สมมติสิ ำ�ำ คัญั อีีกประการหนึ่่ง� คือื ความรู้�เกี่ย�่ วกับั อนาคตทั้�งในแง่ข่ องปัจั เจกบุคุ คลและในแง่ข่ องสังั คม ส่่วนรวมถืือเป็็นความรู้�ที่�มีีประโยชน์์ที่�่สุุดสำำ�หรัับการดำำ�เนิินกิิจกรรมเพื่่�อดำำ�รงชีีวิิต การตััดสิินใจที่�่มีี เป้า้ หมายชััดเจนจะเกิิดประโยชน์ห์ รืือไม่่และเท่า่ ใดนั้�นขึ้�นอยู่่�กัับความรู้�เกี่ย�่ วกับั อนาคตที่แ�่ ต่ล่ ะคนหรือื แต่ล่ ะกลุ่�มคนมีีอยู่่�กับั ตัวั รวมถึงึ ความสามารถในการใช้ข้ ้อ้ มูลู ความรู้�นั้�นในกระบวนการตัดั สินิ ใจเพื่่อ� ให้้ ได้ผ้ ลลัพั ธ์ท์ ี่�่ดีีที่�่สุดุ ตามเป้า้ หมายที่่�ตั้�งไว้้ ความรู้้�ดัังกล่่าวมีตั้�งแต่ค่ วามรู้�ที่ไ� ด้้จากการคาดการณ์์ระยะสั้�น เช่น่ การตัดั สินิ ใจเมื่อ� ขับั รถและต้อ้ งเลี่ย�่ งอุบุ ัตั ิเิ หตุุ เส้น้ ทางที่ข�่ ับั แล้ว้ จะไปถึงึ จุดุ หมายได้เ้ ร็ว็ และปลอดภัยั ที่ส�่ ุุด ไปจนถึงึ ความรู้้�สำ�หรัับการตััดสินิ ใจที่�ม่ ีีเป้า้ หมายระยะยาว เช่่น การเลืือกคณะหรืือสาขาเรีียนใน มหาวิทิ ยาลััย การเลืือกงาน การเลืือกที่�่อยู่�อาศัยั หรืือแม้แ้ ต่่การเลืือกคู่�ครอง ทางเลือื กเหล่่านี้้�ล้้วนต้อ้ ง มีีข้้อมููลและความรู้�เกี่�่ยวกัับอนาคตในด้า้ นต่่าง ๆ เพื่่�อประกอบการตัดั สิินใจ นกั อนาคตศาสตรเ์ ชอ่ื วา่ ความรเู้ กยี่ วกบั อดตี สามารถชว่ ยใหเ้ ราสามารถท�ำความเขา้ ใจในปจั จบุ นั ไดด้ ยี งิ่ ขน้ึ อกี ทง้ั ยงั ชว่ ยสรา้ งแนวทางทช่ี นี้ �ำการตดั สนิ ใจทมี่ ผี ลตอ่ อนาคต อยา่ งไรกต็ าม ความเขา้ ใจใน อดีตอย่างเดียวไม่สามารถสร้างข้อมูลได้อย่างสมบูรณ์และมากเพียงพอที่จะท�ำให้เราสามารถเตรียม พรอ้ มและจดั การกบั สถานการณใ์ นอนาคตไดท้ ง้ั หมด การศกึ ษาอนาคตจงึ จ�ำเปน็ ตอ้ งปรบั เปลย่ี นขอ้ มลู เกย่ี วกับอดตี ให้เป็นความรเู้ กี่ยวกบั อนาคตทีส่ มเหตสุ มผลและมคี วามเป็นไปได้ ขัน้ ตอนแรกของกระบวนการดังกลา่ วคอื การพสิ ูจน์ว่าความรเู้ กยี่ วกับอดตี ทีม่ อี ยู่น้นั ถูกต้องหรือ ไม่ ดว้ ยการตรวจสอบแหลง่ ขอ้ มลู และประเมนิ การตคี วามทเ่ี คยมมี าเกยี่ วกบั ขอ้ มลู นน้ั ขน้ั ตอนตอ่ มาคอื การประเมนิ วา่ ความรู้เกี่ยวกับอดีตสามารถประยุกต์ใช้ในการตัดสินใจภายใต้สถานการณ์ปัจจุบัน ได้หรือไม่ แล้วจึงวิเคราะห์ต่อว่า ผลลัพธ์ของการกระท�ำในปัจจุบันจะเป็นอย่างไรบ้างในอนาคต ข้ันตอนสุดท้ายคือการสืบหาหลักฐาน ทั้งในเชิงตรรกะ เชิงทฤษฎี และเชิงประจักษ์ เพ่ือโต้แย้งและ หักล้างสมมติฐานเก่ียวกับภาพอนาคตท่ีสร้างข้ึนมาจากข้อมูลในอดีต ขั้นตอนเหล่านี้จะช่วยตัดสินได้ วา่ ข้อมูลความรจู้ ากอดตี สามารถใช้กบั สถานการณ์ในอนาคตได้หรือไม่ อดีีตมีีความสำ�ำ คัญั ในฐานะเป็น็ พื้�นฐานสำำ�หรับั การมองอนาคต ทั้�งในกรณีีที่เ่� ราต้อ้ งการภาพอนาคต ที่�่คล้้ายกัับภาพอดีีตที่�่ดีี และในกรณีีที่่�เราไม่่ต้้องการให้้อนาคตเหมืือนกัับอดีีตที่่�เป็็นความผิิดพลาด ความรู้�เกี่ย�่ วกับั อดีีตเป็น็ พื้�นฐานสำ�ำ หรับั การสร้า้ งและทดสอบความเชื่อ� เกี่ย่� วกับั อนาคต แต่ภ่ าพอนาคต ก็็ขึ้�นอยู่่�กัับการจิินตนาการด้้วยความคิิดเชิิงตรรกะ ซึ่�งช่่วยเปลี่�่ยนความรู้�เกี่่�ยวกัับอดีีตเป็็นความรู้�เกี่�่ยว กับั อนาคต แต่่ในบางกรณีี ความรู้�เกี่ย่� วกัับอดีีตกลายเป็็นอุุปสรรคมากกว่่าเป็็นโอกาส และทำ�ำ ให้้ภาพ อนาคตแคบลงมากกว่่าช่่วยขยายภาพให้้กว้้างขึ้�น ในกรณีีดัังกล่่าว แต่่ละคนแต่่ละสัังคมจึึงจำำ�เป็็น
อนาคตศกึ ษา | 76 ต้อ้ งสร้า้ งทางเลือื กของภาพอนาคตที่พ่� ึงึ ประสงค์ข์ึ้�นมาใหม่่ นักั อนาคตศาสตร์เ์ ชื่อ� ว่า่ ไม่ว่ ่า่ จะเป็น็ ในกรณีี ไหนก็ต็ าม ความรู้�เกี่�่ยวกัับอนาคตมีีประโยชน์ส์ ำ�ำ หรับั การตััดสิินใจในปัจั จุบุ ััน อนาคตทเี่ ปิดกวา้ ง อกี ขอ้ สมมตหิ นงึ่ ในอนาคตศาสตรค์ อื อนาคตไมไ่ ดถ้ กู ก�ำหนดไวแ้ ลว้ และไมใ่ ชว่ า่ มนษุ ยเ์ ราจะไมส่ ามารถ เปล่ียนอนาคตได้ นักอนาคตศาสตร์โดยท่ัวไปเช่ือว่า อนาคตเต็มไปด้วยโอกาสและมีความเป็นไปได้ เสมอ อนาคตจงึ ไม่ได้มเี พ่ือให้ค้นพบ แต่เพ่อื เปดิ กวา้ ง ดว้ ยขอ้ สมมตินี้ อนาคตจงึ เกย่ี วขอ้ งโดยตรงกบั เสรภี าพ เนอ่ื งจากอนาคตจะเปน็ อยา่ งไรนนั้ สว่ นหนง่ึ ขน้ึ อยกู่ บั สง่ิ ทเี่ ราเลอื กที่จะท�ำในปจั จบุ นั แตไ่ มใ่ ช่ วา่ อนาคตจะเปดิ กวา้ งไปทงั้ หมด ขอบเขตของอนาคตอาจจ�ำกัดด้วยบริบทและเงอ่ื นไขต่าง ๆ ทั้งด้าน ชวี ภาพ กายภาพ เศรษฐกจิ สงั คม การเมือง และจิตวิทยา จากมุมมองนี้ อนาคตจึงเตม็ ไปด้วยความ เปน็ ไปได้ เงอื่ นไข ความแน่นอนและความไม่แน่นอน รวมถงึ โอกาสและขอ้ จ�ำกัดไปพร้อมกนั ผลลพั ธใ์ นอนาคตเกิดจากการกระท�ำของปัจเจกบคุ คลและกลมุ่ บคุ คล พร้อมกนั น้ี นกั อนาคตศาสตร์เชอ่ื วา่ ปจั เจกบคุ คล กลมุ่ คนและองคก์ รทางสงั คมมอี �ำนาจควบคมุ ปจั จยั ที่ก�ำหนดการกระท�ำในปัจจุบันและโอกาสท่ีเกิดขึ้นในอนาคต กระนั้นก็ตาม คนคนหนึ่งอาจควบคุม อนาคตของตนเองไดบ้ างสว่ น แตก่ ม็ บี างอยา่ งทค่ี วบคมุ โดยบคุ คลอืน่ หรอื กลมุ่ คนอืน่ ในสงั คม ขอ้ สมมติ นีถ้ อื เป็นพื้นฐานส�ำคัญของอนาคตศกึ ษา เพราะสอื่ ความหมายวา่ เราต้องการศึกษาอนาคตไม่ใช่เพยี ง เพอ่ื รู้เท่านัน้ แต่เพื่อควบคุมและจัดการกบั อนาคตด้วยการตดั สินใจและการกระท�ำในปัจจุบัน ข้อสมมตินี้ประกอบกับข้อสมมติว่าด้วยอนาคตที่เปิดกว้าง ถือเป็นความท้าทายหลักของอนาคต ศาสตร์ ความทา้ ทายในประเดน็ นค้ี อื อนาคตทวี่ า่ เปดิ กวา้ งนน้ั เปดิ กวา้ งจรงิ เทา่ ใด ภายใตข้ อ้ จ�ำกดั และ เง่ือนไขใด ในขณะเดียวกัน อนาคตทว่ี ่าขน้ึ อยกู่ ับเงือ่ นไขต่าง ๆ น้ัน สามารถก�ำหนดและควบคุมได้โดย ความตั้งใจและความสมัครใจของมนุษย์เองมากน้อยเท่าใด อะไรบ้างท่ีสามารถเปล่ียนแปลงได้ ด้วย ความเป็นไปได้มากนอ้ ยเท่าใด และดว้ ยความพยายามของเราเองเท่าใด ในขณะเดยี วกัน อนาคตอะไร บา้ งทไี่ มส่ ามารถเปลย่ี นแปลงไดภ้ ายใตเ้ งอ่ื นไขและขอ้ จ�ำกดั ทมี่ อี ยู่ บทบาทส�ำคญั ของนกั อนาคตศาสตร์ คอื การท�ำใหเ้ ราเห็นถงึ ทกุ ส่ิงท่ีสามารถเปล่ยี นแปลงได้ และทกุ สิง่ ที่ขึ้นอยู่กับความตั้งใจของเราเอง สาระหลักั ของข้อ้ สมมตินิี้�เป็น็ เรื่อ� งความเป็น็ องค์ร์ วมและการพึ่่ง� พากันั ของระบบต่า่ ง ๆ ในโลก และ ไม่่มีีระบบหรืือหน่่วยใดในโลกที่่�แยกขาดออกจากกัันได้้ ดัังนั้�น การทำำ�ความเข้้าใจในความสััมพัันธ์์เชิิง พลวัตั ของโลกจึงึ ต้อ้ งเริ่ม� จากการยอมรับั ว่า่ หน่ว่ ยวิเิ คราะห์ห์ นึ่่ง� ใดย่อ่ มมีีผลกระทบสืบื เนื่่อ� งต่อ่ หน่ว่ ยอื่�น อยู่�เสมอ ไม่่มากก็็น้้อย ข้้อสมมติิว่่าด้้วยความสััมพัันธ์์แบบพึ่่�งพากััน (interdependence) ของ สิ่�งต่่าง ๆ ในโลกทำำ�ให้้การมองอนาคตต้้องมีีมุุมมองแบบองค์์รวมและแบบข้้ามศาสตร์์ (transd- disciplinary) แนวคิิดหนึ่่�งเป็็นที่่�ยอมรัับในปััจจุุบัันทั้�งในวงการวิิทยาศาสตร์์ สัังคมศาสตร์์ และ ศาสตร์์อื่�น ๆ โดยเฉพาะในด้า้ นนิเิ วศวิทิ ยาและการพัฒั นาที่ย�่ั่ง� ยืนื คือื แนวคิดิ ที่ว�่ ่า่ ระบบเศรษฐกิจิ สังั คม และระบบอื่�นในระดัับโลกล้้วนพึ่่�งพาทรััพยากรของทั้�งโลก อีีกทั้�งยัังเกี่�่ยวข้้องและพึ่่�งพาซึ่�งกัันและกััน การศึึกษาและการวางแผนเพื่่�อความยั่ �งยืืนจึึงต้้องใช้้ความรู้ �และความเชี่่�ยวชาญด้้านเทคนิิคและด้้าน องค์์กรของทุกุ ภาคส่ว่ นทั้�งโลก จึงึ จะประสบความสำ�ำ เร็จ็ ได้้
77 | อนาคตศกึ ษา ความเกยี่ วเนอ่ื งและพง่ึ พาซง่ึ กนั และกนั ระหวา่ งสง่ิ ตา่ ง ๆ ในโลกนท้ี �ำใหก้ ารตดั สนิ ใจและการด�ำเนนิ การด้านนโยบายจ�ำเป็นต้องมีมุมมองเชิงบูรณาการ นักอนาคตศาสตร์ในช่วงหลังจึงขยายมุมมองการ วเิ คราะหใ์ หค้ รอบคลมุ ผลกระทบและผลลพั ธท์ ไ่ี มไ่ ดต้ ง้ั ใจไวก้ อ่ น (unintended consequences) โดยไม่ จ�ำกดั เฉพาะผลกระทบขน้ั แรกของสาเหตหุ รอื หนว่ ยวเิ คราะหท์ ตี่ งั้ ใจไวแ้ ตต่ น้ ยกตวั อยา่ งเชน่ การพฒั นา เทคโนโลยีด้านพลังงานในเครื่องใชไ้ ฟฟา้ ช่วยลดการประหยดั ใชพ้ ลงั งานตอ่ หนว่ ย แตท่ �ำให้ผู้บรโิ ภคใช้ พลงั งานโดยรวมมากขนึ้ เพราะคดิ วา่ ไดป้ ระหยดั พลงั งานตอ่ หนว่ ยไปแลว้ หรอื ทเ่ี รยี กวา่ ผลสะทอ้ นกลบั (rebound effect) อกี กรณีหนง่ึ คือ การใชม้ าตรการเพมิ่ ความปลอดภยั ในการเดนิ ทาง เช่น การใช้ หมวกกันน็อคและเข็มขัดนิรภัย ท�ำให้คนขับขี่รถจักรยานยนต์หรือคนขับรถยนต์รู้สึกปลอดภัยมากข้ึน จงึ ขบั รถเสย่ี งมากขนึ้ และอาจท�ำใหอ้ บุ ตั เิ หตโุ ดยรวมไมล่ ดลงหรอื กลบั เพิม่ ขน้ึ มากกวา่ เดมิ ปรากฏการณ์ นี้เรียกว่าการชดเชยความเสยี่ ง (risk compensation) หรอื ผลกระทบเพลซ์มัน (Peltzman effect) อกี นัยหนึง่ ของความเกี่ยวเนอื่ งและการพึ่งพาซง่ึ กนั และกันของสงิ่ ตา่ ง ๆ ในโลกคอื การตดั สนิ ใจ และการด�ำเนนิ การใด ๆ ย่อมจ�ำเปน็ ต้องใช้ความรแู้ ละความเช่ยี วชาญขา้ มศาสตร์และสาขา ด้วยเหตุนี้ อนาคตศาสตรจ์ งึ พยายามกา้ วพน้ ความเชย่ี วชาญเฉพาะสาขาและการแบง่ แยกวชิ าการและวชิ าชพี ออก เปน็ สาขาและกลมุ่ ยอ่ ย ดว้ ยความตระหนกั วา่ ไมม่ ีศาสตรห์ รอื สาขาหนง่ึ เดยี วทส่ี ามารถตอบค�ำถามหนง่ึ ได้ ครบถว้ นทกุ ดา้ นทกุ มมุ มอง ดังน้ัน หัวข้อด้านอนาคตศาสตร์จึงมักเน้นประเด็นที่วิเคราะห์และด�ำเนนิ การได้จากมุมมองของศาสตร์และสาขาท่ีหลากหลาย คณะผู้วิจัยงานด้านอนาคตศึกษาจึงมักมาจาก หลากหลายสาขาทร่ี ว่ มวิเคราะห์และสงั เคราะหอ์ งคค์ วามรเู้ ก่ียวกับประเดน็ ปัญหาเดยี วกนั อนาคตบางภาพดกี ว่าภาพอนื่ อีกข้อสมมติหนึ่งที่เป็นพื้นฐานของอนาคตศาสตร์คือความเชื่อที่ว่า อนาคตบางภาพดีกว่าอนาคตภาพ อนื่ ดงั นน้ั เมอ่ื นกั อนาคตศาสตรว์ เิ คราะหแ์ ละสรา้ งชดุ ทางเลอื กของอนาคตไดแ้ ลว้ ขนั้ ตอนตอ่ ไปคอื การ ประเมนิ วา่ ทางเลอื กอนาคตไหนทพี่ งึ ประสงคม์ ากกวา่ กนั นกั อนาคตศาสตรอ์ าจชว่ ยผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ในการประเมินทางเลือกอนาคตให้ได้อย่างถูกต้องและแม่นย�ำ ด้วยการแสดงผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้นใน อนาคตแตล่ ะภาพ หรอื ดว้ ยการวิเคราะห์คณุ ค่า (value) ที่ใชใ้ นการประเมินทางเลือกของอนาคตท่ีพึง ประสงค์ รวมทงั้ การวเิ คราะหแ์ ละแสดงขอ้ สมมตทิ เี่ ปน็ พนื้ ฐานของคณุ คา่ ในการประเมนิ ใหก้ ระจา่ งแจง้ คณุ คา่ ทวี่ า่ นอ้ี าจเปน็ คา่ นยิ มและธรรมเนยี มปฏบิ ตั ทิ เี่ ปน็ สากล ซง่ึ ไมข่ น้ึ อยกู่ บั พน้ื ทห่ี รอื สงั คมวฒั นธรรม ใด หรืออาจเป็นคุณค่าเฉพาะพืน้ ทห่ี รือสังคมวัฒนธรรมกไ็ ด้
อนาคตศึกษา | 78 อนาคตศกึ ษากับทฤษฎี การเปลยี่ นแปลง การศึกษาอนาคตโดยพื้นฐานคือการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนในอดีตและปัจจุบันเพื่อ สรา้ งความรู้เกีย่ วกับอนาคต หากไม่มีการเปลีย่ นแปลง ก็ย่อมไมม่ ีอดตี ไมม่ ีปัจจบุ นั และไม่มีอนาคต อนาคตศึกษาจึงเป็นศาสตร์ที่มุ่งท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงในมิติต่าง ๆ แล้วน�ำความ เข้าใจนั้นมาคาดการณ์การเปล่ียนแปลงที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต ความเข้าใจในการเปล่ียนแปลง จงึ เปน็ พื้นฐานส�ำคญั ของอนาคตศึกษา จุดเริม่ ตน้ ของอนาคตศึกษาและการคาดการณ์เชิงยทุ ธศาสตร์ คอื การพรรณนาและอธบิ ายการเปลยี่ นแปลง นับต้ังแตร่ ปู แบบ ขอบเขต ระดบั และความเรว็ ของการ เปลย่ี นแปลง ไปจนถงึ สาเหตแุ ละผลลพั ธข์ องการเปลยี่ นแปลงนน้ั งานดา้ นอนาคตศาสตรจ์ งึ อาจเหมอื น งานประวตั ศิ าสตรต์ รงทเี่ ปน็ การวเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะหป์ รากฏการณท์ เ่ี กดิ ขนึ้ ในอดตี อยา่ งเปน็ ระบบ ส่วนท่ีเพิ่มขึ้นมาคือการน�ำความรู้นั้นมาคาดการณ์ต่อว่า การเปล่ียนแปลงท่ีเคยเกิดขึ้นในอดีตจะแปร เปล่ยี นไปอยา่ งไรในอนาคต ประเภทของการเปล่ยี นแปลง การเปล่ียนแปลงเป็นพื้นฐานของการคงอยู่ของสรรพสิ่งในโลก และเป็นองค์ประกอบท่ีพบเห็นอยู่ ท่ัวไป หน่ึงในไตรลักษณ์ตามหลักสัจธรรมทางพุทธศาสนาท่ีระบุถึงปกติวิสัยหรือสภาพท่ีเป็นไปตาม ธรรมชาติ คอื อนิจจัง ซง่ึ หมายถึงความไม่เท่ยี งหรือความไมถ่ าวรคงทีแ่ น่นอนและอยู่สภาพเดมิ ตลอด ไป ตามแนวคิดดังกลา่ ว สรรพส่งิ ในโลกนย้ี ่อมเปล่ยี นแปลงอยเู่ สมอ ไมม่ สี ่ิงใดหยุดนงิ่ อยทู่ เ่ี ดิมและคง สภาพอยา่ งเดมิ ไดต้ ลอดไป เพยี งแต่บางสง่ิ อาจเปลีย่ นแปลงชา้ จนดเู หมือนไมเ่ ปล่ียนแปลง บางอยา่ ง อาจเปล่ียนแปลงเร็ว จนสังเกตไมท่ นั การเปลย่ี นแปลงมผี ลอยา่ งยงิ่ ตอ่ การด�ำรงชพี และวถิ ชี วี ติ ของมนษุ ย์ โดยเปน็ บอ่ เกดิ ของทง้ั โอกาส ความคาดหมาย และความหวงั รวมถึงความไม่แนน่ อน ความกงั วล หรือแม้แต่ความกลวั การใช้ชีวติ ท่ามกลางการเปลย่ี นแปลงอาจเปน็ ความสนกุ สนาน ตืน่ เต้นและท้าทายส�ำหรับบางคน แต่ส�ำหรับคน อ่ืน อาจท�ำให้เกิดความสับสนและเหน็ดเหน่อื ย ความรู้สึกได้ถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นส่วนหน่งึ ของสติ ของมนุษย์ และความเช่อื ท่ีว่า มนุษย์เราสามารถท�ำให้เกิดการเปล่ียนแปลงได้ในระดับปัจเจกหรือใน ระดบั สงั คม ถอื เป็นองคป์ ระกอบส�ำคญั ของการท�ำความเข้าใจเกี่ยวกบั ตนเองของมนุษย์ นักปรัชญาได้เสนอและถกเถียงเก่ียวกับความหมายของค�ำว่าการเปล่ียนแปลงมาเป็น เวลานาน และมีประเด็นปลีกย่อยที่จะสนใจแต่เกินขอบเขตเน้ือหาของหนังสือเล่มนี้ อย่างไรก็ตาม
79 | อนาคตศกึ ษา ในบทน้ี ขอก�ำหนดนิยามพ้ืนฐานของการเปลี่ยนแปลงเพื่อเป็นพืน้ ฐานส�ำหรับการท�ำความเข้าใจเก่ยี ว กับอนาคตไว้ว่า การเปลี่ยนแปลงคือความแตกต่าง (difference) หรือความผิดกัน (non identity) ใน คณุ ลกั ษณะของสง่ิ (things)29 ตวั อยา่ งหนง่ึ ของการเปลยี่ นแปลง (change) เกดิ ขนึ้ เมอ่ื อณุ หภมู ริ ะหวา่ ง ต�ำแหนง่ หนงึ่ กบั อกี ต�ำแหนง่ หนงึ่ บนผนื โลกแตกตา่ งกนั หรอื เมอื่ ความกดดนั อากาศทว่ี ดั ไดใ้ นพน้ื ทห่ี นง่ึ แตกตา่ งจากอกี พนื้ ทหี่ นง่ึ อยา่ งไรกต็ าม ในบรบิ ททว่ั ไปและในการศกึ ษาอนาคต ค�ำวา่ การเปลี่ยนแปลง ส่อื ถึงความแตกตา่ งในคุณลกั ษณะของสง่ิ ทีเ่ กดิ ข้นึ ในช่วงเวลาหนงึ่ กลา่ วคอื เป็นการเปล่ียนแปลงใน มติ ิของเวลา (temporal change) แนวคิดการเปลย่ี นแปลงมีความเก่ยี วพันกบั แนวคดิ ว่าด้วยสาเหตุ (cause) แมว้ า่ ยังมขี ้อถกเถยี ง ในเชิงปรัชญา แต่ก็เป็นท่ียอมรับอย่างน้อยในวงการปรัชญาตะวันตกว่า การเปล่ียนแปลงสามารถ แยกออกจากสาเหตุได้ กล่าวคือ การเปล่ียนแปลงท่ีไม่มีสาเหตุ (uncaused change) สามารถเกิด ข้ึนได้ท้ังในเชิงแนวคิด (conceptually) และในสภาพจริง ดังในกรณีของการสลายกัมมันตรังสี (radioactive decay) ในทางกลับกัน สาเหตุประการหน่ึงอาจท�ำให้สิ่งหนึ่งไม่เปล่ียนแปลงก็เป็นได้ ด้วยเหตุน้ี สาเหตุจงึ ไม่ได้เป็นท้ังเงอ่ื นไขจ�ำเป็น (necessary condition) และเงอื่ นไขเพียงพอ (suffi- cient condition) ของการเปลย่ี นแปลงในสง่ิ หนึ่งส่งิ ใด30 ระดับการเปลยี่ นแปลง ความสนใจในอนาคตศกึ ษาเพมิ่ มากขนึ้ ในชว่ งนี้ สว่ นหนงึ่ นา่ จะมาจากความตระหนกั ถงึ การเปลย่ี นแปลง อยา่ งรวดเร็วและในวงกว้างในดา้ นต่าง ๆ ของโลกปัจจบุ ัน นับตงั้ แตพ่ ฒั นาการด้านเทคโนโลยรี อบตวั อาทิ เทคโนโลยสี ารสนเทศ โดยเฉพาะอินเทอร์เนต็ และอปุ กรณส์ อื่ สารอ่ืน ๆ ท่ีใชก้ นั อยู่ในชีวติ ประจ�ำ วนั มนษุ ยใ์ นโลกปจั จบุ นั ใชโ้ ทรศพั ทม์ อื ถอื อยตู่ ลอดเวลา จนเหมอื นกบั เปน็ สว่ นหนงึ่ ของรา่ งกายมนษุ ย์ และดูเหมือนเป็นเรื่องธรรมดาแล้ว แตไ่ มน่ านมาน้ี คนจ�ำนวนมากยงั ไม่มีแมแ้ ต่โทรศัพท์ต้งั โต๊ะที่บ้าน เศรษฐกจิ โลกทเี่ ชอ่ื มโยงกนั อยา่ งแยกไมอ่ อกกด็ เู หมอื นจะเปลย่ี นแปลงตลอดเวลา ถงึ กบั ตอ้ งมชี อ่ งขา่ ว เศรษฐกจิ ของสถานโี ทรทศั นท์ เ่ี สนอข่าวอยู่ตลอดเวลา และมขี ้อมูลราคาการซอ้ื ขายห้นุ วิ่งตรงขา้ งล่าง จอโทรทศั นอ์ ยตู่ ลอดเวลา ในดา้ นการเมอื งกด็ เู หมอื นจะมกี ารเปลยี่ นแปลงอยเู่ สมอ ทกุ ๆ วนั ดเู หมอื น จะมีการประชุมผู้น�ำประเทศ มีการชุมนุมประท้วงไม่ว่าเร่ืองใดก็เรื่องหน่ึง มีการต่อสู้และท�ำสงคราม ในพ้ืนท่ีใดที่หน่ึงในโลก การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศในระดับโลกมาพร้อมกับภัยพิบัติทาง ธรรมชาติทเ่ี กดิ ขน้ึ ตลอดเวลาและพยากรณ์ไม่ได้ว่าจะเกิดขึน้ เมือ่ ไหร่อย่างไร การเปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเร็วในดา้ นเทคโนโลยี เศรษฐกจิ สงั คมและการเมอื งเหล่านี้ เกดิ ขึ้นไป พรอ้ มกบั การรับรู้ข้อมูลในปรมิ าณและความรวดเร็วท่ไี ม่เคยมมี ากอ่ นในอดีต ชีวติ คนเราในปัจจบุ นั ก็ เต็มไปด้วยขอ้ มูลขา่ วสารที่เข้ามาในหลายรูปแบบ ท้งั บนสื่อโซเชยี ล ทง้ั ทางเฟซบกุ๊ ไลน์และทวติ เตอร์ เว็บไซต์ส�ำนักขา่ ว และรายการข่าวทางโทรทัศน์ ขอ้ มลู และข่าวเหลา่ น้ลี ว้ นแล้วแต่น�ำเสนอภาพของ การเปล่ียนแปลงในเรอื่ งราว รูปแบบและระดบั ความเรว็ ตา่ ง ๆ รายงานข่าวทีเ่ ปล่ยี นทุกชัว่ โมง และ ขา่ วด่วนทีเ่ ปลย่ี นทุก ๆ นาที จะเหน็ ไดว้ า่ สงั คมเราใหค้ วามสนใจและความส�ำคญั กบั การเปลี่ยนแปลง มากกว่าสิ่งท่ีไม่เปล่ียนแปลงและคงท่ี ความสนใจดังกล่าวสะท้อนสัญชาตญาณและประสาทสัมผัส ของมนุษย์ที่รับรู้และตอบสนองกับการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนรอบตัวเรา แทนที่จะเสียเวลาไปกับสิ่งที่ ไม่เปลย่ี นแปลงและคงท่ีอยูเ่ ช่นเดมิ
อนาคตศึกษา | 80 ในช่วงหลัง เราอาจได้ยินคนพูดหรืออ่านเจอหัวข้อบทความในนิตยสารที่ว่า อินเทอร์เน็ตหรือ เทคโนโลยบี างอยา่ งท�ำใหท้ กุ สง่ิ ทกุ อยา่ งเปลย่ี นแปลงไป ประโยคดงั กลา่ วคงเปน็ เพยี งแคก่ ารสรา้ งความ ตนื่ เตน้ และนา่ สนใจใหก้ บั ผฟู้ งั และผอู้ า่ น เพราะในความเปน็ จรงิ อนิ เทอรเ์ นต็ ไมไ่ ดท้ �ำใหท้ กุ สง่ิ ทกุ อยา่ ง เปลยี่ นไป แนน่ อนวา่ การพฒั นาดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศไดท้ �ำใหช้ วี ติ คนเราและสงั คมมนษุ ยเ์ ปลยี่ น ไปมาก เช่นเดียวกบั การพฒั นาเทคโนโลยีดา้ นอน่ื ๆ ท้ังการแพทย์ การเกษตร การเดนิ ทาง ฯลฯ และ การเปล่ยี นแปลงดา้ นการเมอื งในอดีต ทงั้ ระบอบการปกครอง รฐั บาล ผนู้ �ำประเทศ รวมไปถงึ สงคราม ระหว่างประเทศ และการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกท่ีเป็นประเด็นส�ำคัญอยู่ในปัจจุบัน เหตุการณ์และสาเหตุเหล่านี้ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่และชัดเจน โดยส่งผลกระทบต่อชีวิต คน สังคมและสงิ่ แวดลอ้ มในวงกวา้ ง ทา่ มกลางการเปลย่ี นแปลงครง้ั ใหญท่ เ่ี กดิ ขน้ึ นี้ หลายสง่ิ หลายอยา่ งกอ็ าจไมไ่ ดเ้ ปลยี่ นแปลงไปมาก นกั จากมมุ มองดังกล่าว ก็อาจมีคนโตแ้ ยง้ ไดว้ า่ การพฒั นาเทคโนโลยสี ารสนเทศทีผ่ า่ นมาไม่ไดท้ �ำให้ ความโหยหาปฏิสมั พันธก์ บั ผู้คนของมนุษย์ลดน้อยลงไป มนุษย์กย็ ังเปน็ สัตว์สงั คมอยูเ่ ช่นเดิม เพียงแต่ รปู แบบปฏิสมั พันธอ์ าจเปลีย่ นไปเท่านนั้ ส่วนในด้านการเมือง ก็อาจมีขอ้ โตแ้ ยง้ วา่ การเปล่ียนแปลง รฐั บาลหรอื ผนู้ �ำประเทศกอ็ าจไมไ่ ดท้ �ำใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงเชงิ โครงสรา้ งการเมอื งเทา่ ใด เพราะกลมุ่ ทนุ กย็ งั คงกมุ อ�ำนาจอยเู่ หมอื นเดมิ สงั คมโลกสงั คมไทยกย็ งั ประสบปญั หาความเหลอ่ื มลำ้� ความยากจน และความเสอ่ื มโทรมของสง่ิ แวดลอ้ มอยเู่ ชน่ เดมิ ตามความคดิ น้ี ค�ำอา้ งวา่ มกี ารเปลย่ี นแปลงเกดิ ขนึ้ อยู่ มากนน้ั ละเลยประเดน็ ปญั หาหลายอย่างในเชงิ โครงสร้างที่ไมไ่ ด้เปลีย่ นแปลงไปเลย ข้อถกเถียงเก่ียวกับความเปลี่ยนแปลงและความคงท่ีเป็นพ้ืนฐานของหลักการส�ำคัญในการ ศึกษาการเปล่ียนแปลงเพื่อคาดการณ์อนาคต กล่าวคือ การศึกษาอนาคตต้องระบุได้ว่า อะไรบ้างได้ เปล่ยี นแปลงไป และในรปู แบบและระดับเท่าใด พรอ้ มกนั น้ี กต็ ้องระบถุ ึงและเขา้ ใจดว้ ยวา่ อะไรบา้ ง ที่ยังคงเหมอื นเดมิ และไมเ่ ปลย่ี นแปลงไปจากเดิม อนาคตทางเลือก อีกแนวคิดหนึ่งท่ีเป็นพ้ืนฐานของอนาคตศึกษาคืออนาคตทางเลือก ซ่ึงหมายถึงการท�ำความเข้าใจ ว่า การเปล่ียนแปลงจะเกิดขึ้นได้อย่างไรบ้างในอนาคตตามระดับความเป็นไปได้ท่ีหลากหลาย ท้ังนี้ สังเกตได้จากค�ำว่า futures ที่เติม s เพ่ือส่ือถึงความเป็นพหูพจน์ของอนาคต แนวคิดอนาคตทาง เลือกน้ีส่ือให้เห็นว่า การศึกษาอนาคตไม่ได้มุ่งไปท่ีการท�ำนาย (predict) ว่าอนาคตจะเกิดอะไรข้ีน แต่เป็นการวิเคราะห์หาภาพอนาคตที่สามารถเกิดขึ้นได้ในระดับความเป็นไปได้ต่าง ๆ เพ่ือวางแผน และเตรียมพร้อมรับมือกับภาพอนาคตที่อาจเกิดขึ้นได้ แนวคิดอนาคตทางเลือกเก่ียวโยงกับแนวคิด ความไม่แน่นอนและความแน่นอน รวมถงึ ข้อสมมติ (assumptions) ของภาพอนาคตทคี่ าดการณไ์ ว้ การพยากรณ์ (forecast) หรือการคาดการณ์จะแม่นย�ำหรือไม่นั้น ก็ขึ้นอยู่กับข้อสมมติท่ีตั้งไว้เกี่ยว กบั สาเหตุของการเปล่ียนแปลง เข้าใจการเปล่ยี นแปลงข้างนอก เพือ่ สร้างการเปลยี่ นแปลงขา้ งใน การศึกษาอนาคตโดยเฉพาะในการคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์มุ่งไปที่การเปลี่ยนแปลงสองส่วน ส่วน แรกคือการท�ำความเข้าใจเก่ียวกับการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นทั้งภายนอกและภายในองค์กร ระบบ
81 | อนาคตศึกษา หรือพื้นท่ีท่ีสนใจ เพ่ือค้นหาและสร้างภาพอนาคตทางเลือก ส่วนท่ีสองเป็นการก�ำหนดและด�ำเนิน การเปล่ียนแปลงที่มุ่งไปสู่อนาคตท่ีพึงประสงค์ ด้วยการวางแผนและการด�ำเนินการ รูปแบบการ เปล่ียนแปลงทั้งสองสัมพันธ์ซ่ึงกันและกัน ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนใน โลกภายนอกและภายในองค์กรเป็นพ้ืนฐานของความเข้าใจในเหตุการณ์ที่อาจเกิดข้ึนได้ในอนาคต และเป็นพ้ืนฐานของทางเลือกว่าจะท�ำอะไรได้บ้างเพื่อให้อนาคตเป็นไปตามที่ต้องการ เมื่อได้เลือก เส้นทางท่ีต้องการด�ำเนินการแล้ว จึงเป็นการวางแผนและการด�ำเนินการตามแผนต่อไป ดังน้ัน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในโลกภายนอกไม่ได้ก�ำหนดภาพอนาคตของปัจเจกบุคคล องค์กร หรอื สงั คมที่ตายตวั เสมอไป แต่ละคนแต่ละองคก์ รมีทางเลอื กทส่ี ามารถด�ำเนนิ การได้ เพอ่ื ให้ ภาพอนาคตเปน็ ไปตามท่ตี นเองตอ้ งการ ในขณะเดยี วกนั ก็ไมไ่ ด้หมายความว่าแตล่ ะคนแตล่ ะองคก์ ร สามารถสรา้ งอนาคตไดต้ ามทตี่ นเองตอ้ งการไดท้ ง้ั หมดและเสมอไป ขอ้ จ�ำกดั และเงอ่ื นไขภายนอกกม็ ี ผลต่อทางเลือกและภาพอนาคตที่แต่ละคนสามารถสรา้ งได้เชน่ กนั มิติของการเปล่ยี นแปลง ในการวเิ คราะหก์ ารเปลยี่ นแปลงเพอ่ื เปน็ ฐานส�ำหรบั การศกึ ษาอนาคต นกั อนาคตศาสตรม์ กั วเิ คราะห์ การเปลย่ี นแปลงใน 4 มิติดว้ ยกัน ไดแ้ ก่ (1) ท่มี าของการเปล่ียนแปลง (2) ช่วงเวลาการเปลย่ี นแปลง (3) อัตราการเปลย่ี นแปลง และ (4) รูปแบบการเปล่ยี นแปลง31 ท่ีมาของการเปลีย่ นแปลง การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นจากสองแหล่งด้วยกัน คือ จากโลกภายนอกและจากภายในตัวเอง การ เปลี่ยนแปลงจากภายนอกมีผลต่อปัจเจกบุคคลและองค์กร ในขณะที่การเปล่ียนแปลงจากภายใน มุ่งหวังให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในส่ิงแวดล้อมภายนอก ภาพอนาคตเกิดจากปฏิสัมพันธ์ของการ เปลย่ี นแปลงของทงั้ สองแหลง่ น้ี แนวคดิ เกยี่ วกบั การเปลยี่ นแปลงนเี้ ปน็ พน้ื ฐานของกระบวนการศกึ ษา อนาคตและการคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตรท์ ใ่ี ชอ้ ยทู่ ว่ั ไป การกวาดสญั ญาณเปน็ ขนั้ ตอนและวธิ กี ารหนง่ึ ในการท�ำความเขา้ ใจกบั การเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ ภายนอกและอาจมผี ลตอ่ ปจั เจกและองคก์ ร ในขณะ ทกี่ ารก�ำหนดภาพอนาคตทพี่ งึ ประสงค์ การสรา้ งวสิ ยั ทศั น์ และการพยากรณย์ อ้ นกลบั (backcasting) น�ำไปสูก่ ารวางแผนและการด�ำเนนิ การทที่ �ำให้เกดิ การเปลี่ยนแปลงขน้ึ จรงิ การวิเคราะห์การเปล่ียนแปลงในระดับโลกที่กว้างกว่าสภาพแวดล้อมรอบตัวเป็นองค์ประกอบ ส�ำคญั ของการศกึ ษาอนาคต นกั อนาคตศาสตรใ์ ห้ความส�ำคัญกับการเปลีย่ นแปลงในระดบั โลก ไมใ่ ช่ เพราะเหตกุ ารณแ์ ละปรากฏการณใ์ นระดบั โลกส�ำคญั กวา่ ในระดบั ทอ้ งถน่ิ หรอื ในระดบั ปจั เจก แตเ่ ปน็ เพราะการเปล่ียนแปลงในระดับโลกมักมองไม่เห็นหรือมองเห็นไม่ชัดเจนจากมุมมองในระดับท่ีเล็ก ลงมา เนอ่ื งจากคนทว่ั ไปโดยมากใหค้ วามสนใจและความส�ำคญั กบั ปจั จยั และสภาพแวดลอ้ มทเี่ กดิ รอบ ขา้ งตนเอง ความเขา้ ใจในการเปลยี่ นแปลงในระดบั โลกท�ำใหป้ จั เจกและองคก์ รสามารถวเิ คราะหไ์ ดว้ า่ การเปลย่ี นแปลงในระดบั โลกจะมผี ลกระทบตอ่ อนาคตของตนเองหรอื ไม่ และตอ้ งวางแผนเพือ่ เตรยี ม พรอ้ มและรบั มอื ไดอ้ ยา่ งไร ในขณะเดยี วกนั ความเขา้ ใจในการเปลยี่ นแปลงระดบั โลกกท็ �ำใหส้ ามารถ ตดั สนิ ใจไดว้ า่ แตล่ ะคนแตล่ ะองคก์ รเหน็ ทางเลอื กและตดั สนิ ใจมสี ว่ นรว่ มในการสรา้ งการเปลยี่ นแปลง ทที่ �ำให้ภาพอนาคตดีกว่าท่เี ป็นอยู่ในปจั จบุ นั ไดอ้ ย่างไรบ้าง
อนาคตศึกษา | 82 ในการคาดการณเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตรท์ ม่ี งุ่ ศกึ ษาอนาคตเพอ่ื การวางแผนในระดบั องคก์ ร การวเิ คราะห์ การเปลย่ี นแปลงมงุ่ ไปท่หี น่วยวิเคราะห์ 3 ระดบั ไดแ้ ก่ ระดับภายในองค์กร ระดับสภาพแวดล้อมของ องค์กรหรือพื้นที่ และระดับโลก การเปล่ียนแปลงในระดับสภาพแวดล้อมขององค์กรอาจสังเกตได้ ง่าย เน่ืองจากมีปฏิสัมพันธ์โดยตรงกับองค์กรและเกิดอยู่เป็นประจ�ำ คล้ายกับคล่ืนเหนือน้�ำทะเลใน มหาสมุทรที่ปรับระดับสูงต�่ำตามความรุนแรงของลมที่พัดอยู่เหนือน้�ำ แต่การเปลี่ยนแปลงระดับโลก อาจขึ้นอย่างช้า ๆ ในระดับท่ีลึกกว่า แต่มีผลกระทบในวงกว้างกว่าและหลีกเลี่ยงได้ยากกว่า ดังเช่น คลื่นใต้น้�ำในมหาสมทุ ร อย่างไรก็ตาม การแบ่งระหว่างการเปล่ียนแปลงระดับสภาพแวดล้อมกับระดับโลกมีนัยท่ีข้ึนอยู่ กับบรบิ ทของประเด็นทีต่ ้องการวเิ คราะห์ หน่ึงในตัวอย่างของความแตกตา่ งระหวา่ งการเปล่ียนแปลง ระดบั สภาพแวดลอ้ มกบั ระดบั โลกคอื เหตกุ ารณน์ ำ�้ ทว่ ม สถานการณน์ ำ้� ทว่ มในลมุ่ นำ�้ เจา้ พระยาอาจถอื เป็นการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนประจ�ำในระดับสภาพแวดล้อมของพื้นที่นี้ แต่หากช่วงเวลาและความถี่ ของน้�ำท่วมเปล่ียนแปลงจากแนวโน้มเดิม และหากสาเหตุของน�้ำท่วมส่วนหนึ่งเกิดจากระดับน้�ำทะเล ท่ีสูงมากข้ึน การเปล่ียนแปลงท่ีสังเกตเห็นเป็นสถานการณ์น้�ำท่วมน้ัน อาจสื่อถึงสภาพภูมิอากาศท่ี เปลี่ยนแปลงไปในระดบั โลก เหตกุ ารณ์นำ้� ท่วมอาจถือเปน็ การเปลย่ี นแปลงในระดับโลกดว้ ยเชน่ กัน อีกตัวอย่างหนึ่งคือการที่พนักงานจ�ำนวนหนึ่งต้องออกจากงานถือเป็นการเปลี่ยนแปลงในระดับ องคก์ รหรือระดบั ทอ้ งถ่นิ แต่อาจเกดิ จากสาเหตุท่ีบริษทั ผผู้ ลิตสินค้าไม่สามารถแขง่ ขนั ไดใ้ นตลาดโลก เนอ่ื งจากประเทศอน่ื มตี น้ ทนุ แรงงานทถี่ กู กวา่ หรอื เกดิ จากนโยบายกดี กนั การคา้ ของประเทศผซู้ อื้ สนิ คา้ ในทวีปอเมริกาเหนือหรือยโุ รป ซึ่งเป็นปจั จยั ในระดับโลก เปน็ ต้น ในกระบวนการวิิเคราะห์์เพื่่�อศึึกษาอนาคต ประเด็็นการเปลี่่�ยนแปลงในระดัับโลกมัักแบ่่งออก เป็็นกลุ่�มตามสาขาหรืือหััวข้้อที่�่ช่่วยให้้สามารถวิิเคราะห์์ได้้ง่่ายขึ้�น กรอบแนวคิิดหนึ่่�งที่�่นิิยมใช้้ใน กลุ่�มนัักอนาคตศึึกษาและคาดการณ์์คืือ STEEP (social, technological, economic, environmental, and political) หรืือประเด็็นปััจจััยด้้านสัังคม เทคโนโลยีี เศรษฐกิิจ สิ่�งแวดล้้อม และการเมืือง ในบางกรณีี อาจเพิ่่�มประเด็็นด้้านคุุณค่่า (value) เข้้าไปด้้วย นอกจาก STEEP แล้้ว ยัังมีีกรอบแนวคิิดที่�่คล้้ายกััน อาทิิ PESTEL หรืือ PESTLE ซึ่�งเพิ่่�มปััจจััยด้้านกฎหมาย (legal) เข้้าไปในการวิิเคราะห์์ STEEPLE และ STEEPLED ซึ่�งเพิ่่�มประเด็็นด้้านจริิยธรรม (ethics) และด้้านประชากร (demographic) และ PMESII-PT (political, military, economic, social, information, infrastructure, physical environment, and time) ไม่่ว่่าจะใช้้กรอบแนวคิิดใด ก็็ตาม ความเข้้าใจพื้้�นฐานเกี่่�ยวกัับกรอบแนวคิิดเหล่่านี้้�คืือ ปััจจััยที่�่แยกออกมาเป็็นกลุ่�มเหล่่านี้� มีีผลก ระทบซึ่�งกัันและกััน แม้้ว่่าเราไม่่อาจสามารถระบุุและทำำ�ความเข้้าใจเกี่�่ยวกัับการเปลี่่�ยนแปลงในทุุก ด้้านได้้ แต่่การระบุุและเข้้าใจในการเปลี่่�ยนแปลงสำำ�คััญในระดัับโลก มีีความสำำ�คััญอย่่างยิ่�งต่่อการ คาดการณ์์การเปลี่�่ยนแปลงที่่�อาจเกิิดขึ้ �นในอนาคตระยะยาว ช่วงเวลาการเปลย่ี นแปลง วััตถุุประสงค์์หลัักของการกวาดสััญญาณการเปลี่�่ยนแปลงคืือการมองให้้เห็็นภาพชััดที่�่สุุดภายในระยะ ห่่างจากจุุดมองของแต่่ละคน โดยอาจเป็็นการมองระดัับภายในองค์์กรไปจนถึึงระยะห่่างออกไปใน ระดับั ประเทศและระดับั โลก วััตถุปุ ระสงค์์ของการกวาดสัญั ญาณที่ม�ุ่่�งไปที่ภ�่ าพที่่ไ� กลที่�่สุดุ นั้�น สะท้้อน
83 | อนาคตศึกษา อยู่�ในคำ�ำ ศัพั ท์์ภาษาอัังกฤษ คำำ�ว่่า horizon scanning ที่�ใ่ ช้้สื่�อถึึงการกวาดสัญั ญาณ นอกเหนือื จากคำ�ำ ว่่า environmental scanning ที่่�ใช้อ้ ยู่�ทั่ว� ไป คำ�ำ ว่า่ horizon หรือื เส้้นขอบฟ้้าสื่�อถึึงจุดุ ไกลสุดุ บนโลก นี้้�ที่่ม� นุุษย์ส์ ามารถมองเห็น็ ได้้ด้ว้ ยตาเปล่่า อยา่ งไรกต็ าม การกวาดสญั ญาณการเปลยี่ นแปลงไมไ่ ดม้ กี รอบเพยี งในดา้ นพน้ื ท่ี (space) เทา่ นน้ั แตม่ กี รอบดา้ นเวลา (time) ดว้ ยเชน่ กนั โดยอาจแบง่ เปน็ กรอบเวลาระยะสน้ั ระยะกลาง และระยะยาว ในโครงการคาดการณ์เชิงยุทธศาสตร์เพื่อการวางแผนมักมีการก�ำหนดปีเป้าหมาย เช่น พ.ศ.2575, พ.ศ.2580, ค.ศ.2030, ค.ศ.2040 หรืออาจก�ำหนดเป็นกรอบระยะเวลาไว้ เชน่ ระยะเวลา 5 ปี 10 ปี หรือ 20 ปี ตัวเลขเหล่านเี้ ป็นเพยี งกรอบกว้าง ๆ ของการก�ำหนดช่วงเวลาของการเปลีย่ นแปลง ตัวเลข ที่ใชจ้ ึงมกั เปน็ ตวั เลขกลม ๆ ทไี่ ม่ไดส้ อื่ ถงึ ความเฉพาะเจาะจงของปีใดเปน็ พเิ ศษ ชว่ งระยะเวลาท่วี เิ คราะหก์ ารเปลี่ยนแปลงยังแปรผันไปตามประเด็นและหัวขอ้ ทสี่ นใจ บางเรื่อง มีความหมายและนัยของการเปล่ียนแปลงในระยะยาว เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ใน ขณะท่ีการเปลี่ยนทางการเมืองมักเกิดข้ึนในช่วงระยะเวลาสั้น นักอนาคตศาสตร์มักให้ความสนใจ กับการเปลี่ยนแปลงในระยะยาว โดยเฉพาะการเปล่ียนแปลงในระดับโลก ซ่งึ มักใช้เวลานานกว่าการ เปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอ้ มในระดบั องค์กรหรอื ระดบั ทอ้ งถ่ิน ด้วยเหตนุ ี้ งานคาดการณร์ ะดับโลก จ�ำนวนมากจึงตงั้ ชว่ งระยะเวลาการวิเคราะห์ไวท้ ่ี 20 หรอื 30 ปีจากเวลาปัจจุบัน ข้อโต้แยง้ หนง่ึ เก่ียวกบั ระยะเวลาการคาดการณค์ ือชว่ งเวลา 20 ปยี าวเกินไป ปัจจัยหลายอยา่ ง เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และเพียงไม่กี่ปีก็เปล่ียนจากหน้ามือเป็นหลังมือ ท่ีผ่านมางานวางแผนเชิง ยุทธศาสตร์ขององค์กรหรือประเทศโดยมากจึงมุ่งไปที่ระยะเวลา 3-5 ปีเป็นอย่างมาก ดังน้ัน การ มองภาพระยะยาวเกินไป อาจเป็นการเสียเวลาและทรัพยากรในการคาดการณ์และวางแผนโดยใช่ เหตุ อย่างไรก็ตาม การมองภาพระยะยาวเป็นเร่อื งส�ำคัญ ท้ังในด้านระยะเวลาของผลกระทบที่เกิด จากการตัดสินใจในปจั จบุ ัน และในด้านระยะเวลากว่าที่องคก์ รหรอื ปัจเจกสามารถผลักดนั ใหเ้ กดิ การ เปลี่ยนแปลงในเชงิ โครงสร้างได้จรงิ การตัดสินใจหลายอย่างในปัจจุบันมีผลสืบเน่ืองเป็นเวลานาน นับต้ังแต่การตัดสินใจส่วนบุคคล เชน่ การตดั สนิ ใจซอ้ื หรอื ผอ่ นบา้ น การเลอื กคคู่ รอง ไปจนถงึ การตดั สนิ ใจระดบั ประเทศ เชน่ การตัดสิน ใจลงทุนในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ในเมือง การลงทุนในระบบการศึกษาและการ วิจัยพ้ืนฐาน เป็นต้น การตัดสินใจบางอย่างอยู่ติดกับประเทศ พื้นท่ีและสังคมนั้นเป็นเวลานานมาก เช่น การเลือกมาตรฐานเทคโนโลยีระดับโครงสร้างพื้นฐาน เช่น การเลือกแรงดันไฟฟ้า 220 โวลต์ การเลอื กมาตรฐานขบั รถบนช่องเลนซ้ายของถนน การเลือกขนาดกวา้ งของรางรถไฟแบบสแตนดาร์ด เกจ เปน็ ตน้ เนอ่ื งจากการตัดสนิ ใจในปจั จุบนั มผี ลระยะยาวไปอีกเปน็ เวลานาน การคาดการณร์ ะยะ ยาวจงึ มีความส�ำคัญอย่างย่ิงในการตัดสินใจและวางแผนด�ำเนินการในปจั จุบัน ในขณะเดยี วกนั การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างทงั้ ในด้านเศรษฐกจิ สงั คม การเมอื ง หรือแม้แต่ เทคโนโลยี มกั ไม่ได้เกิดข้ึนอยา่ งรวดเร็วฉบั พลันโดยไม่มสี าเหตใุ ด ๆ มาก่อนหนา้ นั้น การเปลีย่ นแปลง แบบพลกิ ผนั หรอื ดสิ รปั ชนั (disruption) มกั เกดิ มาจากการเปลยี่ นแปลงในระดบั เลก็ ยอ่ ย แตส่ ะสมการ เปล่ียนแปลงเร่อื ยมาจนผ่านจุดผลิกผัน (tipping point) ที่สร้างพลังการเปลี่ยนแปลงคร้ังใหญ่ ตาม แนวคดิ นี้ การผลกั ดันใหเ้ กิดการเปล่ยี นแปลงในหลายกรณตี ้องใช้เวลานานหลายปหี รือหลายทศวรรษ กวา่ จะเหน็ ผลลพั ธ์อยา่ งชัดเจน การมองภาพอนาคตทางเลือกในระยะยาวจงึ เปน็ สงิ่ จ�ำเป็น
อนาคตศกึ ษา | 84 อัตั ราการเปลี่�ยนแปลง ความเข้าใจว่าการเปล่ียนแปลงเกิดขึ้นในระดับเร็วช้าขนาดไหนและในรูปแบบใด ถือเป็นพ้ืนฐานของ การคาดการณ์อนาคต การเปลี่ยนแปลงมีทง้ั ท่ีเปน็ ไปอย่างตอ่ เนือ่ งอยา่ งชา้ ๆ ไปเรอ่ื ย ๆ ในระยะยาว ไปจนถึงการเปลี่ยนแปลงอย่างพลิกผันอย่างรวดเร็วภายในช่วงเวลาสั้น และไม่ต่อเน่อื งจากแนวโน้ม เดิม การคาดการณ์เหตุการณ์หรือปัจจัยที่เปล่ียนแปลงอย่างต่อเน่อื งเป็นไปง่ายกว่าการเปล่ียนแปลง แบบไม่ต่อเน่อื ง เน่อื งจากมนุษย์มีเวลาในการท�ำความเข้าใจและปรับตัวกับส่งิ ท่ีค่อย ๆ เปลี่ยนแปลง และมีประสบการณ์ในการรับรู้และคาดเดาการเปล่ียนแปลงในอนาคตตามแนวโน้มเดิมได้ การคาด การณแ์ นวนคี้ อื การตอ่ แนวโนม้ (trend extrapolation) ซง่ึ ถอื เปน็ วธิ กี ารพนื้ ฐานในการคาดการณภ์ าพ อนาคต นกั อนาคตศาสตรบ์ างคนเรียกวิธีการน้วี ่าเป็นการสรา้ งภาพอนาคตฐาน (baseline future)32 ในทางกลัับกััน การเปลี่่�ยนแปลงที่่�เกิิดขึ้�นจำำ�นวนมากไม่่ได้้เป็็นไปตามแนวโน้้มเดิิม อย่่างน้้อย จากมุุมมองของคนหรืือองค์์กรที่�่ไม่่ได้้กวาดสััญญาณการเปลี่่�ยนแปลงไปนอกขอบเขตองค์์กรหรืือพื้ �นที่่� แวดล้้อมรอบตััว เหตุกุ ารณ์์ทำำ�นองนี้้�มีีอยู่�จำ�ำ นวนมากในประวัตั ิิศาสตร์์ เช่น่ วิกิ ฤติิน้ำ�ำ �มันั ใน พ.ศ.2516 วิิกฤตการณ์์การเงินิ ในเอเชีีย พ.ศ.2540 หรืือที่�่เรีียกว่่าวิกิ ฤติิต้้มยำำ�กุ้้�ง วิกิ ฤติิสิินเชื่�อซับั ไพรม์ห์ รืือวิิกฤต แฮมเบอร์เ์ กอร์ใ์ น พ.ศ.2550 เหตุกุ ารณ์ก์ ่อ่ การร้า้ ย 9-11 รวมไปถึงึ การเกิดิ โรคระบาดใหญ่โ่ ควิดิ -19 ไป ทั่่�วโลก การเปลี่�่ยนแปลงที่�่เกิิดอย่่างรวดเร็็วและผลิิกผัันไปจากแนวโน้้มเดิิม มัักทำ�ำ ให้้ผู้�คนไม่่สามารถ รับั มืือได้้ เพราะไม่่มีีประสบการณ์์มาก่่อนหรืือมีีอยู่่�น้อ้ ยมาก และไม่่ได้้วางแผนเตรีียมพร้้อมไว้้ การเปลย่ี นแปลงแบบผลกิ ผนั ไมต่ อ่ เนือ่ งและเหนอื ความคาดหมายนเี้ ปน็ อกี สาเหตสุ �ำคญั ทที่ �ำให้ ตอ้ งมกี ารศึกษาอนาคตอยา่ งเปน็ ระบบ เน่อื งจากไม่สามารถท�ำนายได้หรือท�ำนายไดย้ ากว่า เหตุการณ์ ที่ไม่ตอ่ เนอื่ งจะเกิดขึน้ เมือ่ ใดและในรูปแบบใด เนอื่ งจากเหตกุ ารณท์ ีไ่ ม่ต่อเนือ่ งนอ้ี าจมผี ลกระทบในวง กวา้ ง นกั อนาคตศาสตรจ์ งึ ใหค้ วามสนใจและความส�ำคญั เปน็ พเิ ศษกบั การเปลยี่ นแปลงรปู แบบดงั กลา่ ว โดยเฉพาะเหตกุ ารณห์ รือปัจจยั ที่มีนัยส�ำคญั ในระดบั โลกและในระยะยาว รปู แบบการเปล่ยี นแปลง การเปล่ียนแปลงมีอยู่หลายรูปแบบ ซ่ึงสามารถแสดงได้ด้วยเส้นกราฟลักษณะต่างกัน ในภาพรวม สามารถแบง่ รปู แบบการเปลย่ี นแปลงได้ 4 แบบดว้ ยกนั 33แบบแรกการเปลยี่ นแปลงเปน็ เสน้ ตรง (linear) ส่ือถึงการเปลี่ยนแปลงที่อัตราการเปลี่ยนแปลงคงที่ในทุกช่วงเวลา แม้ว่ารูปแบบการเปลี่ยนแปลงนี้ สามารถเข้าใจได้ง่าย และมีการประยุกต์ใช้แนวคิดนี้อย่างแพร่หลายในการวิเคราะห์การเปล่ียนแปลง ด้านต่าง ๆ กต็ าม การเปล่ียนแปลงในโลกแหง่ ความเปน็ จรงิ แทบไมม่ ีรูปแบบท่ีเปน็ เส้นตรง แบบทส่ี องการเปลยี่ นแปลงแบบเลขชีก้ �ำลังหรือเอกซ์โพเนนเชียล (exponential) หมายถึงการ เปล่ียนแปลงที่อัตราการเปลี่ยนแปลงในแต่ละช่วงเวลาเพ่ิมข้ึนตามขนาดหรือจ�ำนวนรวมของปัจจัย ท่ีวิเคราะห์ ตัวอย่างการเปล่ียนแปลงในรูปแบบนี้มีอยู่มาก อาทิ การขยายตัวของไวรัสและเช้ือโรค การเพมิ่ ขึ้นของประชากรโลก ปฏิกริ ยิ าลูกโซน่ ิวเคลยี ร์ การค�ำนวณดอกเบยี้ แบบทบต้น รวมไปถงึ กฎ ของมวั ร์ (Moore's law) ซึ่งอธิบายปรมิ าณของทรานซสิ เตอรบ์ นวงจรรวมทคี่ าดวา่ จะเพิ่มเป็นเท่าตวั ประมาณทุกสองปี และต่อมาใช้ในการท�ำนายการพัฒนาความเร็วของไมโครโปรเซสเซอร์ นัยส�ำคัญ ของการเปลี่ยนแปลงลักษณะนี้คือ อัตราการเปล่ียนแปลงท่ีเพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็วภายในระยะเวลาสั้น อาจท�ำใหก้ ารเตรียมพรอ้ มรับมอื เปน็ ไปไดย้ ากมากข้นึ
85 | อนาคตศกึ ษา รููปแบบที่่�สามของการเปลี่่�ยนแปลงคืือการเปลี่่�ยนแปลงเชิิงเส้้นกำำ�กัับ (asymptotic) หรืือเชิิง ลอการิิทึึม (logarithm) เมื่ �อการเพิ่่�มขึ้�นหรืือลดลงเข้้าสู่�ขี ดจำ�ำ กััด โดยที่�่อััตราการเปลี่่�ยนแปลงลดลง ตามช่ว่ งเวลาที่ผ่� ่า่ นไป ในด้้านเศรษฐศาสตร์์ กฎผลตอบแทนลดน้้อยถอยลง (Law of diminishing returns) เป็น็ รููปแบบหนึ่่�งของการเปลี่่�ยนแปลงที่ม่�ุ่�งเข้า้ สู่�ขีดจำ�ำ กััด ตััวอย่่างของการเปลี่่ย� นแปลงในรููป แบบนี้� ได้้แก่่ กรณีีที่่�การเพิ่่�มจำ�ำ นวนคนงานในการก่่อสร้้างอาคารอาจทำ�ำ ให้้สามารถทำำ�งานได้้เร็็วมาก ขึ้�น แต่เ่ มื่อ� เพิ่่ม� จำำ�นวนคนงานไปเรื่อ� ย ๆ ก็็ไม่่ได้เ้ พิ่่ม� ความเร็็วในการสร้้างอาคารเท่่าใดนััก นัักเรีียนอ่่าน หนัังสือื เตรีียมสอบเป็็นระยะเวลาหลายชั่�วโมง มัักเริ่�มรู้้�สึกล้า้ และเหนื่่�อยมากขึ้�นในชั่�วโมงหลังั ๆ และ เริ่�มจำ�ำ อะไรไม่่ค่อ่ ยได้้ เกษตรกรเติิมปุ๋๋ย� เคมีีในการปลููกพืชื ไร่่ แต่เ่ ติิมไปมาก ๆ ก็็ไม่่ได้้ทำ�ำ ให้ผ้ ลผลิิตเพิ่่ม� มากขึ้�นเท่่าใดนักั ผลตอบแทนหรืืออััตรากำ�ำ ไร (profit margin) จากนวัตั กรรมที่่�ตอนแรกอยู่�ในระดับั สูงู มาก เมื่อ� วันั เวลาผ่า่ นไป มีีสินิ ค้า้ คู่�แข่ง่ หรือื ทดแทน และผู้�บริโิ ภคต้อ้ งการสินิ ค้า้ ใหม่่ ก็อ็ าจทำ�ำ ให้อ้ ัตั รา กำ�ำ ไรลดลงไปเรื่อ� ย ๆ ได้้ การประเมนิ ปรากฏการณท์ มี่ กี ารเปลยี่ นแปลงในรปู แบบลอการทิ มึ นจี้ ะขนึ้ อยกู่ บั มมุ มองของแตล่ ะ คน บางคนอาจมองวา่ การเพิม่ ขน้ึ แบบลอการทิ มึ ยงั คงแสดงถงึ การเพิม่ ขน้ึ ของปจั จยั นน้ั แตบ่ างคนอาจ มงุ่ เนน้ ไปทอ่ี ตั ราการเปล่ียนแปลงที่ลดลงมากกว่า ความเข้าใจในการเปล่ียนแปลงในรูปแบบน้จี ะชว่ ย ใหส้ ามารถคาดการณไ์ ดว้ า่ สง่ิ ทก่ี �ำลงั เกดิ ขนึ้ นน้ั อยใู่ นชว่ งการเปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ หรอื อยใู่ นชว่ ง ท่อี ตั ราการเปลยี่ นแปลงเร่ิมลดลงและเขา้ สู่ขดี จ�ำกดั ช่วงสุดทา้ ยแล้ว รููปแบบสุุดท้้ายคืือการเปลี่่�ยนแปลงแบบวงจร (cyclic) ซึ่�งเป็็นการเปลี่่�ยนแปลงกลัับไปกลัับ มาระหว่่างค่่าสููงสุุด (maximum) กัับค่่าต่ำำ�� สุุด (minimum) การเปลี่�่ยนแปลงทางธรรมชาติิหลาย ๆ อย่า่ งเป็น็ ไปในรููปแบบลูกู ตุ้�มที่�่ย้อ้ นกลัับไปกลับั มา หรือื แบบหยิินหยาง เช่น่ การเพิ่่�มขึ้�นลดลงของ อุุณหภููมิิตามฤดููกาล การขึ้�นลงของระดัับน้ำ�ำ �ทะเล รวมไปถึึงการเปลี่�่ยนแปลงในระดัับเศรษฐกิิจ เช่่น วงจรหรือื วัฏั จักั รทางเศรษฐกิจิ ที่ม�่ ีีเติบิ โตและมีีการถดถอยลดลง และการเปลี่ย่� นแปลงทางการเมือื ง เช่น่ ชััยชนะในการเลืือกตั้�งที่�ผ่ ลัดั กันั แพ้ผ้ ลัดั กันั ชนะระหว่่างขั้�วการเมืืองแนวอนุุรักั ษ์น์ ิิยมกัับแนวก้้าวหน้า้ เป็็นต้้น ความเข้า้ ใจในการเปลี่ย�่ นแปลงรููปแบบนี้� ทำ�ำ ให้้สามารถคาดการณ์ไ์ ด้้ว่่า น่่าจะมีีการย้้อนกลัับ ของกระแสได้เ้ มื่�อถึึงเวลาหนึ่่ง� ที่�เ่ หมาะสม รูปแบบการเปล่ียนแปลงข้างต้นถือเป็นลักษณะแบบต่อเนื่อง ส่วนการเปลี่ยนแปลงแบบไม่ต่อ เนื่องสามารถแสดงไดด้ ว้ ยกราฟตวั เอส หรอื ทเ่ี รยี กวา่ เอสเคริ ฟ์ (S-curve) โดยแบง่ ชว่ งการเปลยี่ นแปลง ออกเป็น 3 ยุค ได้แก่ (1) ยุคเก่า คือ ช่วงเวลาการเปลี่ยนแปลงน้อยและเป็นไปตามแนวโน้มเดิม (2) ยุคเปลีย่ นผ่าน คอื ช่วงเวลาทีส่ ภาพแวดลอ้ มหรอื ปจั จัยเปล่ียนแปลงไป โดยเร่ิมจากเหตุการณใ์ หม่ ทแี่ ตกตา่ งจากเดมิ และไมเ่ คยเกดิ ขน้ึ มากอ่ น และ (3) ยคุ ใหม่ คอื ชว่ งเวลาที่ปจั จยั และคณุ ลกั ษณะของ ระบบนนั้ แตกตา่ งจากเดมิ ไปมาก แตเ่ รมิ่ ลงตวั แลว้ แนวคดิ เอสเคริ ฟ์ นน้ี ยิ มใชอ้ ธบิ ายการแพรข่ ยายดา้ น เทคโนโลยีและนวัตกรรม ข้อแตกต่างระหว่างการเปลี่ยนแปลงแบบเอสเคิร์ฟกับแบบเอกซ์โพเนนเชีย ลอยูต่ รงทคี่ วามตระหนกั วา่ การเตบิ โตใด ๆ ยอ่ มมขี อ้ จ�ำกดั จงึ ไมม่ กี ารเตบิ โตแบบเอกซโ์ พเนนเชยี ลไปได้ เร่ือย ๆ และตลอดไป ในขณะเดียวกัน อตั ราการเตบิ โตทีล่ ดลงอาจแสดงถึงขีดจ�ำกัดท่ีมอี ยูข่ องระบบ ในปจั จบุ ัน และเปน็ จุดเริม่ ตน้ ของเอสเคริ ฟ์ ใหม่กเ็ ปน็ ได้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320