Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System:DSS)

ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System:DSS)

Published by wacharaporn310, 2018-11-14 08:26:48

Description: ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System:DSS)

Search

Read the Text Version

หนว่ ยท่ี 4 ระบบสนบั สนนุ การตัดสนิ ใจ DSS 3204-2105 ระบบสารสนเทศเพ่อื การจดั การ

หนว่ ยที่ 4 ระบบสนบั สนุนการตดั สนิ ใจ DSS ระบบสนบั สนุนการตัดสนิ ใจ DSS โดยนางสาวนภัสสรณ์ วังคะฮาต รหัสนกั ศกึ ษา 6032040003นางสาวนภิ าพร บรรจบสุข รหสั นกั ศกึ ษา 6032040005นายพงศธร อมรรังสฤษดิ์ รหัสนักศึกษา 6032040011นางสาววัชราภรณ์ ชื่นจิตร รหัสนกั ศึกษา 6032040039นางสาวพนั ธิวา จาปี รหสั นกั ศกึ ษา 6032040060วิชา ระบบสารสนเทศเพื่อการจดั การ รหสั วิชา 3204-2105 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2561สาขาวชิ าคอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ สาขางานเทคโนโลยีสารสนเทศ วทิ ยาลัยเทคนคิ ปทมุ ธานี 3204-2105 ระบบสารสนเทศเพื่อการจดั การ

หน่วยท่ี 4 ระบบสนับสนุนการตัดสนิ ใจ DSSคานา รายงานฉบบั นี้เป็นสว่ นหนึ่งของวิชา ระบบสารสนเทศเพอ่ื การจดั การ 3204-2105 หนว่ ยที่ 4ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ DSS โดยมีจุดประสงค์ เพ่ือศึกษาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ DSS ซึ่งเปน็ ระบบยอ่ ยหนึ่งในระบบสารสนเทศเพ่ือการจดั การ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะช่วยผู้บริหารในเรื่องการตัดสนิ ใจในเหตุการณ์หรือกิจกรรมทางธรุ กจิ ทไี่ ม่มีโครงสรา้ งแน่นอน หรือกึ่งโครงสรา้ ง ระบบสนับสนุนการตัดสินใจอาจจะใช้กับบุคคลเดียวหรือช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเป็นกลุ่ม นอกจากนั้นยังมีระบบสนับสนุนผู้บริหารเพื่อช่วยผู้บริหารในการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์จะช่วยให้ผู้บริหารสามารถพิจารณาทางเลือกต่าง ๆ ไดอ้ ย่างรวดเร็ว คาดการณแ์ ละแกไ้ ขปญั หาไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ คณะผู้จัดทาจะต้องขอขอบคุณอาจารยว์ ิลาวัลย์ วชั โรทัย ผู้ให้ความรู้ และแนวทางการศึกษาเพื่อน ๆ ทุกคนท่ีให้ความช่วยเหลือมาโดยตลอด ผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับนี้จะให้ความรู้ และเป็นประโยชน์แก่ผ้อู ่านทกุ ๆ ท่าน นางสาวนภัสสรณ์ วงั คะฮาต นางสาวนภิ าพร บรรจบสขุ นายพงศธร อมรรังสฤษดิ์ นางสาววัชราภรณ์ ชนื่ จติ ร นางสาวพันธิวา จาปี 3204-2105 ระบบสารสนเทศเพอื่ การจดั การ

หนว่ ยที่ 4 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ DSS หนา้ 1 สารบญั 2เร่อื ง 3ระบบสนบั สนุนการตัดสนิ ใจ 3ประเภทของ DSS 6พจิ ารณาลักษณะเด่น 6สว่ นประกอบของ DSS 9การตัดสนิ ใจ 9ระดบั ของการตัดสนิ ใจภายในองค์การ 10ประโยชน์ของระบบสนับสนนุ การตดั สนิ ใจความแตกต่างระหวา่ ง DSS กับระบบสารสนเทศอนื่การพฒั นา DSS3204-2105 ระบบสารสนเทศเพอ่ื การจัดการ

หนว่ ยท่ี 4 ระบบสนับสนุนการตดั สินใจ DSS 1 หน่วยที่ 4 ระบบสนบั สนุนการตดั สนิ ใจ DSS (Decision Support Systems) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System) เป็นระบบย่อยหนึ่งในระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ โดยท่ีระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะช่วยผู้บริหารในเร่ืองการตัดสินใจในเหตุการณ์หรือกิจกรรมทางธุรกิจที่ไม่มีโครงสร้างแน่นอน หรือก่ึงโครงสร้าง ระบบสนับสนุนการตัดสินใจอาจจะใช้กับบุคคลเดียวหรือช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเป็นกลุ่ม นอกจากนั้น ยังมีระบบสนบั สนนุ ผบู้ ริหารเพ่ือชว่ ยผู้บริหารในการตัดสินใจเชงิ กลยุทธ์ ระบบสนบั สนุนการตัดสินใจ ได้เริ่มข้นึ ในชว่ ง ปี ค.ศ. 1970 โดยมีหลายบริษัทเรม่ิ ทจี่ ะพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือท่ีจะช่วยผู้บริหารในการตัดสินใจปัญหาท่ีไม่มีโครงสร้างท่ีแน่นอน หรือก่ึงโครงสร้างโดยข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลงตลอด ซึ่งระบบสารสนเทศเดิมท่ีใช้ในลักษณะระบบการประมวลผลรายการ (Transaction processing system) ไม่สามารถกระทาได้ นอกจากนั้นยังมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื ลดแรงงาน ตน้ ทนุ ท่ตี า่ ลง และยงั ชว่ ยในเรื่องการวิเคราะหก์ ารสร้างตัวแบบ (Model)เพ่ืออธิบายปัญหาและตัดสินใจปัญหาต่าง ๆ จนกระท่ังปี ค.ศ. 1980 ความพยายามในการใช้ระบบนี้เพือ่ ชว่ ยในการสนบั สนุนการตัดสนิ ใจไดแ้ พร่ออกไป ยงั กลุ่มและองค์การต่าง ๆ ภาพท่ี 1 ระบบสนับสนนุ การตัดสินใจ DSS ท่ีมา : https://is.gd/S45lZo 3204-2105 ระบบสารสนเทศเพอื่ การจดั การ

หนว่ ยท่ี 4 ระบบสนบั สนนุ การตดัหสนินว่ ใยจทDี่ 4SSระบบสนบั สนนุ การตัดสินใจ DSS 2 ระบบสนับสนนุ การตัดสินใจ คืออะไร DSS เป็นซอฟต์แวร์ท่ีช่วยในการตัดสินใจเก่ียวกับการจัดการ การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการสร้างตัวแบบท่ีซับซ้อน ภายใต้ซอฟต์แวร์เดียวกัน นอกจากน้ัน DSSยังเป็นการประสานการทางานระหว่างบุคลากรกับเทคโนโลยีทางด้านซอฟต์แวร์ โดยเป็นการกระทาโต้ตอบกัน เพ่ือแก้ปัญหาแบบไม่มีโครงสร้าง และอยู่ภายใตก้ ารควบคุมของผู้ใช้ต้งั แต่เริ่มตน้ ถึงส้ินสุดข้นั ตอนหรืออาจกล่าวได้ว่า DSS เป็นระบบท่ีโต้ตอบกันโดยใช้คอมพิวเตอร์ เพ่ือหาคาตอบท่ีง่าย สะดวกรวดเร็วจากปัญหาท่ีไม่มีโครงสร้างท่ีแน่นอน ดังน้ันระบบการสนับสนุนการตัดสินใจ จึงประกอบด้วยชุดเคร่ืองมือ ข้อมูล ตัวแบบ (Model) และทรัพยากรอ่ืน ๆ ที่ผู้ใช้หรือนักวิเคราะห์นามาใช้ในการประเมินผลและแก้ไขปัญหา ดังนั้นหลกั การของ DSS จึงเป็นการให้เคร่ืองมอื ท่ีจาเป็นแกผ่ บู้ ริหาร ใน การวิเคราะห์ข้อมูลที่มีรูปแบบที่ซับซ้อน แต่มีวิธีการปฏิบัติท่ียืดหยุ่น DSS จึงถูกออกแบบเพ่ือเพิ่มประสทิ ธภิ าพในการทางาน ไมเ่ พยี งแต่การตอบสนองในเรื่องความต้องการของข้อมลู เท่าน้ัน ตั้งแต่เรม่ิ การพฒั นา DSS มีนกั วิชาการหลายทา่ นไดอ้ ธิบายความหมาย DSS เชน่ Gerrity (1971) ได้ให้ความหมายไว้ว่า DSS คือ การผสมผสานอย่างเหมาะสมระหว่างความมีเหตุผลของมนุษย์กับเทคโนโลยีสารสนเทศและชุดคาส่ังท่ีนามาใช้โต้ตอบ เพ่ือแก้ปัญหาท่ีมีความซับซ้อนความหมายน้ีจะอธิบายภาพรวมเชิงปรัชญา ซ่ึงครอบคลุมลักษณะพื้นฐานของ DSS แต่ยังไม่สามารถให้คาอธิบายลกั ษณะของปัญหาทจี่ ะต้องแก้ไขโดยอาศัย DSS เข้าชว่ ย หรือใหภ้ าพทช่ี ัดเจนของ DSS Kroenke และ Hatch (1994) ได้นาความหมายเดิมมาปรับปรุงและเสนอว่า DSS คือ ระบบโต้ตอบฉับพลันที่สนับสนุนโดยคอมพิวเตอร์ซึ่งนามาช่วยอานวยความสะดวกในการตัดสินปัญหาแบบไม่มีโครงสร้าง ในความหมายน้ีได้มีนักวิชาการหลายท่านวิจารณ์ว่า DSS สมควรที่จะช่วยผู้บริหารในการตดั สนิ ปัญหาทัง้ แบบก่ึงโครงสร้างและไม่มโี ครงสร้าง ไม่เพยี งเฉพาะปัญหาแบบใดแบบหน่ึงเท่าน้ัน Laudon และ Laudon (1994) อธิบายว่า DSS คือ ระบบคอมพิวเตอร์ท่ีนามาใช้ในระดับบริหารของแต่ละองค์การ โดยระบบจะประกอบด้วยข้อมูลและแบบจาลองในการตัดสินใจที่ซับซ้อน เพื่อนามาสนับสนุนการตัดสนิ ปัญหาแบบกึ่งโครงสร้างและไมม่ โี ครงสรา้ ง ดังน้ันสรุปความหมายของ DSS ได้ว่า คือ ระบบสารสนเทศที่สามารถโต้ตอบกับผู้ใช้โดยที่ระบบน้ีจะรวบรวมข้อมูล และแบบจาลองในการตัดสินใจที่สาคัญ เพ่ือช่วยผู้บริหารในการตัดสินปัญหาแบบก่ึงโครงสรา้ ง และไมม่ โี ครงสร้าง ปกติ DSS จะช่วยเพม่ิ ประสิทธภิ าพในการตัดสินใจของผู้บริหารโดย ประเภทของ DSS ภายหลังจากเริ่มต้นพัฒนา DSS ในทศวรรษ 1970 ได้มีผู้พยายามจาแนกประเภทของ DSSเพอ่ื ใหส้ ะดวกต่อการใชง้ าน ตวั อย่างเช่น Alter (1980) ได้ศึกษาการใช้ DSS ในองค์การต่าง ๆ โดยแบ่งการใช้ DSS ตามคุณสมบัติและระดับการใช้งานเปน็ กล่มุ ต่าง ๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. File Drawer Systems 2. Data Analysis Systems 3. Analysis Information Systems 33220044-2-2110055รระะบบบบสสาารรสสนนเทเทศศเพเพือ่ ่อื กกาารรจจดั ดั กกาารร

หน่วยท่ี 4 ระบบสนบั สนุนการตหดั นส่วนิ ยใทจ่ี D4SรSะบบสนบั สนุนการตดั สินใจ DSS 3 4. Accounting Models 5. Representational Models 6. Optimization Models 7. Suggestion Models จะเห็นว่า ถึงแม้ DSS จะถูกจัดเป็นกลุ่มต่าง ๆ แต่ก็จะมีลักษณะร่วมกัน คือ DSS จะเปลี่ยนแปลง เพ่ือสนองความต้องการของผู้ใช้ โดยปรับตัวตามระบบการทางาน และสถานการณ์ซึ่งAlter จาแนก DSS ออกตามคุณสมบัตขิ องแต่ละระบบออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. DSS แบบให้ความสาคัญกับข้อมูล (Data-Oriented DSS) เป็น DSS ทีใ่ ห้ความสาคญั กับเครื่องมือในการจัดการและการวิเคราะห์ข้อมูล การทดสอบทางสถิติ ตลอดจนการจัดข้อมูลในลกั ษณะต่าง ๆ เพ่อื ใหผ้ ูใ้ ช้ทาความเขา้ ใจสารสนเทศ และสามารถตัดสนิ ใจอยา่ งมีประสิทธิภาพ 2. DSS แบบใหค้ วามสาคญั กับแบบจาลอง (Model-Based DSS) เป็น DSS ท่ใี ห้ความสาคญักับแบบจาลองการประมวลปัญหา โดยเฉพาะแบบจาลอง พ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์ (MathematicalModel) และแบบจาลองการวิจัยขั้นดาเนินงาน (Operation Research Model) ซ่ึงช่วยให้ผู้ใช้สามารถวิเคราะห์ปัญหา และปรบั ตัวแปรทีเ่ กี่ยวข้อง เพอื่ พิจารณาเลอื กทางเลือกที่เหมาะสมทีส่ ุด พิจารณาลักษณะเดน่  ระบบประมวลผลรายการ ทาหนา้ ท่หี ลักในการบันทึกข้อมลู  ระบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ ทาหน้าท่ีสรุปข้อมูลลงในรายงานท่ีกาหนดรูปแบบไว้ ล่วงหน้า  ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ทาหน้าที่วิเคราะห์ข้อมูล และผลิตรายงานซ่ึงไม่มีรูปแบบ ตายตัว ระบบสนับสนนุ การตัดสินใจจึงเป็นเครื่องมือทีย่ ืดหยุ่นในการวเิ คราะหข์ ้อมูล ส่วนประกอบของ DSS สว่ นประกอบของ DSS สามารถจาแนกออกเป็น 4 ส่วน ดงั น้ี 1. อุปกรณ์ เป็นส่วนประกอบแรกและเป็นโครงสร้างพ้ืนฐานของ DSS โดยอุปกรณ์ท่ีเก่ียวข้องกบั ระบบสนบั สนนุ การตดั สินใจจะสามารถแบง่ ออกเป็น 3 กลุ่ม ดว้ ยกนั คือ  อุปกรณ์ประมวลผล ประกอบด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ึงในสมัยเร่ิมแรกจะใช้คอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ (Mainframe) หรือมินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer) ในสานักงานเป็นหลักแต่ ในปัจจุบันองค์การส่วนมากหันมาใช้ระบบเครือข่ายของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer) แทนเนื่องจากมีราคาถูก มีประสิทธิภาพดี และสะดวกต่อการใช้งาน ตลอดจน ผู้ใช้มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในงานสารสนเทศสูงข้ึน โดยเฉพาะผู้บริหารรุ่นใหม่ที่มี ความรู้เก่ียวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ สามารถที่จะพัฒนา DSS ข้ึนบน คอมพวิ เตอรส์ ว่ นบุคคลโดยใชช้ ดุ คาสั่งประเภทฐานข้อมลู และ Spread Sheet ประกอบ 33220044-2-2110055รระะบบบบสสาารรสสนนเทเทศศเพเพอื่ อ่ื กกาารรจจัดัดกกาารร

หน่วยที่ 4 ระบบสนบั สนนุ การตหดั นสว่ินยใทจ่ี D4SรSะบบสนบั สนุนการตัดสินใจ DSS 4  อุปกรณ์ส่ือสาร ประกอบด้วยระบบสื่อสารต่างๆ เช่น ระบบเครือข่ายเฉพาะพื้นท่ี (LAN) ได้ ถูกนาเข้ามาประยุกต์ เพ่ือทาการสื่อสารข้อมูลและสารสนเทศของ DSS โดยในบางคร้ัง อาจจะใช้การประชุมโดยอาศัยส่ือวีดีโอ (Video Conference) หรือการประชุมทางไกล (Teleconference) ประกอบ เน่ืองจากผูม้ ีหน้าทตี่ ัดสนิ ใจอาจอยูก่ ันคนละพ้ืนท่ี  1.3 อุปกรณ์แสดงผล DSS ท่ีมีประสิทธิภาพจาเป็นต้องมีอุปกรณ์แสดงผลเช่น จอภาพท่ีมี ความละเอียดสูง เคร่ืองพิมพ์อย่างดี และอุปกรณ์ประกอบอื่นๆ เพื่อช่วยถ่ายทอดข้อมูล สารสนเทศ ตลอดจนสร้างความเข้าใจในสารสนเทศให้แก่ผู้ใช้ และช่วยให้การดาเนินงานมี ประสทิ ธภิ าพ 2. ระบบการทางาน มีนักวิชาการหลายท่านให้ความเห็นว่า ระบบการทางานเป็นส่วนประกอบหลักของ DSS เพราะถือว่าเป็นส่วนประกอบสาคัญในการที่จะทาให้ DSS ทางานได้ตามวัตถุประสงค์และความตอ้ งการของผู้ใช้ ซึ่งระบบการทางานจะประกอบด้วยสว่ นประกอบสาคัญ 3 สว่ นคอื  ฐานขอ้ มูล (Database) DSS จะไม่มหี น้าท่ีสร้าง ค้นหา หรือปรบั ปรงุ ข้อมูลในฐานข้อมลู ของ องค์การ เนื่องจากระบบข้อมูลขององค์การเป็นระบบขนาดใหญ่มีข้อมูลหลากหลายและ เกี่ยวข้องกับข้อมูลหลายประเภท แต่ DSS จะมีฐานข้อมูลของตัวเอง ซึ่งจะมีหน้าที่รวบรวม ข้อมูลที่สาคัญจากอดีตถึงปัจจุบันและนามาจัดเก็บ เพ่ือให้ง่ายต่อการค้นหา ซึ่งข้อมูล เหล่านี้จะถูกเก็บไว้อย่างสมบูรณ์ ครบถ้วน และแน่นอน เพื่อรอการนาไปประมวลผล ประกอบการตัดสินใจ ขณะเดียวกัน DSS อาจจะต่อเช่ือมกับระบบฐานข้อมูลขององค์การ เพอื่ ดงึ ขอ้ มูลสาคัญบางประเภทมาใช้งาน  ฐานแบบจาลอง (Model Base) มีหน้าท่ีรวบรวมแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ และ แบบจาลองในการวิเคราะห์ปัญหาท่ีสาคัญ เพื่ออานวยความสะดวกต่อผู้ใช้ปกติ DSS จะถูก พัฒนาข้ึนมาตามจุดประสงค์เฉพาะอย่าง ดังน้ัน DSS จะประกอบด้วยแบบจาลองท่ีต่างกัน ตามวตั ถปุ ระสงค์ในการนาไปใช้  ระบบชุดคาสั่งของ DSS (DSS Software System) เป็นส่วนประกอบสาคัญที่ช่วยอานวย ความสะดวกในการโต้ตอบระหวา่ งผู้ใช้กับฐานข้อมูลและฐานแบบจาลอง โดยระบบชดุ คาสั่ง ของ DSS จะมีหน้าที่จัดการ ควบคุมการพัฒนา จัดเก็บ และเรียกใช้แบบจาลองต่างๆ โดย ระบบชุดคาสั่ง ของ DSS จะมีหน้าท่ีจัดการ ควบคุมการพัฒนา จัดเก็บ และเรียกใช้ แบบจาลองต่างๆเพื่อนามาประมวลผลกับข้อมูลขากฐานข้อมูล นอกจากนี้ระบบชุดคาสั่งยัง มีหน้าที่ให้ความช่วยเหลือผู้ใช้ในการโต้ตอบกับ DSS โดยที่สามารถแสดงความสัมพันธ์ของ ส่วนประกอบทงั้ 3 ส่วนคือ o ผใู้ ช้ o ฐานแบบจาลอง o ฐานขอ้ มูล 3. ข้อมูล เป็นองค์ประกอบท่ีสาคัญอีกส่วนของ DSS ไม่ว่า DSS จะประกอบด้วยอุปกรณ์ที่ทันสมัย และได้รับการออกแบบการทางานให้สอดคล้องกันและเหมาะสมกับการใช้งานมากเพียงใด ถ้า 33220044-2-2110055รระะบบบบสสาารรสสนนเทเทศศเพเพื่อ่อื กกาารรจจัดัดกกาารร

หน่วยที่ 4 ระบบสนบั สนนุ การตหดั นส่วินยใจที่ D4SรSะบบสนับสนุนการตดั สินใจ DSS 5ข้อมูลท่ีนามาใช้ในการประมวลผลไม่มีคุณภาพเพียงพอแล้วกจ็ ะไม่สามารถช่วยสนับสนุนการตดั สินใจของผู้ใช้ได้อย่างเหมาะสม ซึ่งยังอาจจะสร้างปัญหา หรือความผิดพลาดในการตัดสินใจขึ้นได้ ข้อมูลที่จะนามาใช้กับ DSS จะแตกต่างจากข้อมูลในระบบสารสนเทศอ่ืน โดยท่ีข้อมูล DSS ที่เหมาะสม สมควรท่ีจะมลี ักษณะ ดังต่อไปนี้  มีปรมิ าณพอเหมาะแก่การนาไปใช้งาน  มคี วามถกู ตอ้ งและทันสมยั ในระดับที่เหมาะสมกับความต้องการ  สามารถนามาใช้ได้สะดวก รวดเร็ว และครบถว้ น  มีความยืดหยุน่ และสามารถนามาจัดรูปแบบ เพื่อการวิเคราะห์ได้อย่างเหมาะสม 4. บุคลากร เป็นส่วนประกอบท่ีสาคัญอีกส่วนหนึ่งของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ เน่ืองจากบุคคลจะเกี่ยวข้องกับ DSS ต้ังแต่ การกาหนดเป้าหมายและความต้องการ การพัฒนา ออกแบบ และการใช้ DSS ซ่ึงสามารถแบ่งบุคลากรที่เก่ยี วข้องกับ DSS ออกเป็น 2 กลุ่มดงั น้ี  ผู้ใช้ (End-user) เป็นผู้ใช้งานโดยตรงของ DSS ได้แก่ ผู้บริหารในระดับต่างๆตลอดจน นักวิเคราะห์และผู้เชี่ยวชาญทางด้านธุรกิจท่ีต้องการข้อมูลสาหรับประกอบการตัดสินใจใน ปญั หาที่เกดิ ขนึ้  ผู้สนับสนุน DSS (DSS Supports) ได้แก่ ผู้ควบคุมดูแลรักษาอุปกรณ์ต่างๆ ผู้พัฒนาระบบ สนับสนุนการตัดสินใจ ผู้จัดการข้อมูลและที่ปรึกษาเก่ียวกับระบบ เพ่ือให้ DSS มีความ สมบรู ณ์ และสามารถดาเนินงานอย่างเต็มประสิทธภิ าพและตรงตามความต้องการของผู้ใช้ เราจะเห็นว่าหัวใจสาคัญของ DSS ที่ดีจาเป็นที่จะต้องมีบุคลากรที่มีความสามารถเหมาะสมที่สามารถปรับตัวให้เข้ากับระบบ มีความคิดสร้างสรรค์ และสามารถทางานได้อย่างสอดคล้องกัน เพื่อให้บรรลุเปา้ หมายตามความต้องการขององค์การได้อย่างมีประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล ภาพท่ี 2 ส่วนประกอบของ DSS ท่ีมา : https://is.gd/ptHwQq 33220044-2-2110055รระะบบบบสสาารรสสนนเทเทศศเพเพ่ืออ่ื กกาารรจจัดัดกกาารร

หน่วยท่ี 4 ระบบสนบั สนุนการตหดั นส่วนิ ยใทจี่ 4DSรSะบบสนับสนนุ การตดั สินใจ DSS 6 การตัดสนิ ใจ (Decision Making) ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ 1. การใช้ความคิดประกอบเหตุผล (Intelligence) เป็นข้ันตอนทีร่ ับรู้และตระหนักถึงปัญหาหรือโอกาสท่ีเกิดข้ึน ทาการรวบรวมข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับปัญหา นาข้อมูลมาวิเคราะห์และตรวจสอบเพ่ือแยกแยะและกาหนดรายละเอียดของปัญหาหรือโอกาส 2. การออกแบบ (Design) เป็นข้ันตอนของการพัฒนาและวิเคราะห์ทางเลือกในการปฏิบัติที่เป็นไปได้ รวมถึงการตรวจสอบและประเมินทางเลือกในการแก้ปัญหา ซึ่งอาจใช้ตัวแบบเพ่ือสร้างทางเลือกตา่ ง ๆ ในการแก้ปญั หา หรอื ออกแบบหนทางแกป้ ัญหาที่ดที ส่ี ุด 3. การคัดเลือก (Choice) ผู้ตัดสินใจจะเลือกแนวทางเลือกที่เมาะสมกับปัญหาและสถานการณ์มากท่ีสุด โดยอาจใช้เครื่องมือมาช่วยวิเคราะห์ คานวณค่าใช้จ่ายและผลตอบแทนของแต่ละแนวทางเพ่ือให้เกิดความมนั่ ใจว่าไดเ้ ลือกแนวทางท่ีดีทีส่ ุด 4.การนาไปใช้ (Implementation) เป็นข้ันตอนท่ีนาผลการตัดสินใจไปปฏิบัติและ คิดตามผลของการปฏิบัติเพ่ือตรวจสอบว่าการดาเนินงานมีประสิทธิภาพหรือมีข้อขัดข้องประการใด จะต้องแก้ไข้หรือปรับปรงุ ให้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์อย่างไร ระดับของการตัดสนิ ใจภายในองคก์ าร ปกติเราสามารถแบ่งระดับชั้นของผู้บริหาร (Management Levels) ในลักษณะเป็นลาดับข้ัน(Hierarchy) ซ่ึงมีลักษณะเป็นรูปสามเหล่ียมพีรามิด (Pyramid) ตามหลักการบริหารท่ีใช้กันอยู่ท่ัวไป ซ่ึงสามารถประยุกต์กับการจาแนกระดับของการตัดสินใจของผู้บริหารภายในองค์การ (Levels of DecisionMaking) ได้เป็น 3 ระดบั ดังนี้ ภาพที่ 3 ระดับของการตัดสนิ ใจภายในองค์การ ท่ีมา : https://is.gd/kNdJsO 33220044--22110055รระะบบบบสสาารรสสนนเทเทศศเพเพือ่ อ่ื กกาารรจจดั ดั กกาารร

หน่วยที่ 4 ระบบสนบั สนนุ การตหัดนส่วนิ ยใทจี่ D4SรSะบบสนบั สนุนการตดั สนิ ใจ DSS 7 1. การตัดสินใจระดับกลยุทธ์ (Strategic Decision Making) เป็นการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูงในองค์การ ซ่ึงจะให้ความสนใจต่ออนาคตหรือสิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้น อันได้แก่ การสร้างวิสัยทัศน์องค์การ การกาหนดนโยบายและเป้าหมายระยะยาว การลงทุนในธุรกิจใหม่ การขยายโรงงาน เป็นต้นการตัดสินใจระดับกลยุทธ์มักจะเกี่ยวข้องกับความไม่แน่นอนของสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้น ซึ่งต้องอาศัยขอ้ มลู จากทง้ั ภายนอกและภายในองค์การตลอดจนประสบการณ์ของผบู้ รหิ ารประกอบการพิจารณา 2. การตัดสินใจระดับยุทธวิธี (Tactical Decision Making) เป็นหน้าท่ีของผู้บริหารระดับกลางโดยที่การตัดสินใจในระดับนี้มักจะเกี่ยวข้องกับการจัดการ เพ่ือให้งานต่าง ๆ เป็นไปตามนโยบายของผู้บริหารระดับสูง เช่น การกาหนดยุทธวิธีทางการตลาด การตัดสินใจในแผนการเงินระยะกลาง หรือการแกไ้ ขปญั หาสาคัญทเี่ กิดขึน้ โดยไม่ได้คาดหวัง 3. การตัดสินใจระดับปฏิบัติการ (Operational Decision Making) หัวหน้างานระดับต้นมักจะตอ้ งเกย่ี วข้องกับการตัดสินใจในระดบั น้ี ซ่ึงมักจะเป็นการตดั สินใจที่เก่ียวข้องกับการปฏิบตั ิงานเฉพาะด้านท่ีมักจะเป็นงานประจาที่มีขั้นตอนซ้า ๆ และได้รับการกาหนดไว้เป็นมาตรฐาน โดยที่หัวหน้างานจะพยายามควบคุมให้งานดาเนินไปตามแผนงานที่วางไว้ เช่น การมอบหมายงานให้พนักงานแต่ละคน การวางแผนควบคุมการผลิตระยะส้นั การวางแผนเบิกจ่ายวสั ดุ และการดแู ลยอดขายประจาวัน ประโยชน์ของระบบสนบั สนนุ การตดั สนิ ใจ เป้าหมายของการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจคือช่วยลดภาระหน้าที่ของผู้บริหารในการตดั สินใจด้านต่าง ๆ และช่วยให้การตัดสินใจบริหารงานองค์กรเป็นไปอยา่ งราบรื่น โดยประโยชน์ทไี่ ดร้ บั จากการนาระบบสนบั สนุนการตัดสนิ ใจมาใช้ในองค์กรได้แก่ 1. พัฒนาประสิทธิภาพการทางานส่วนบุคคล โดยเฉพาะงานท่ีเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ ซ่ึงเป็นงานหลักของผู้บริหาร เนื่องจากระบบจะช่วยจัดเตรียมสารสนเทศท่ีมีประสิทธิภาพ เพ่ือใช้ประกอบการตัดสินใจ 2. พัฒนาประสิทธิภาพของการแก้ไขปัญหา โดยช่วยให้ผู้ตัดสินใจสามารถแก้ไขปัญหาได้รวดเร็ว และถูกต้องมากยิ่งขึ้น และยังสามารถช่วยตัดสินปัญหาก่ึงโครงสร้างและปัญหาท่ีไม่มีโครงสร้างได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยระบบอาจจะมีการจัดเตรียมสารสนเทศเกี่ยวกับการตัดสินใจของปญั หาในลักษณะเดยี วกบั ในอดีต และผลท่ไี ดร้ ับจากการตัดสินใจนั่นๆ เพ่ือพจิ ารณาประกอบการตดั สินใจของผู้ใชร้ ะบบ ซ่งึ ชว่ ยใหก้ ารตดั สนิ ใจมีความถกู ต้อง รวดเรว็ และน่าเช่ือถือมากยงิ่ ข้นึ 3. ช่วยอานวยความสะดวกในการติดต่อส่ือสาร สาหรับระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่มีการทางานในลักษณะกลุ่มที่เรียกว่า “Groupware” ทาให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจปัญหาท่ีต้องอาศัยการตัดสินใจร่วมกันของกลุ่มผู้บริหารได้ โดยทาการปรึกษา ประชุมและเรียกใช้สารสนเทศเพ่ือประกอบการตัดสินใจผ่านเทคโนโลยี เครือข่ายคอมพิวเตอร์ซ่ึงช่วยประหยัดเวลา งบประมาณ และช่วยให้การประชุมติดต่องานระหว่างผูบ้ ริหารเป็นไปโดยสะดวกช่วยให้การตัดสนิ ใจมีประสิทธิภาพมากข้ึน 4. ส่งเสริมการเรียนรู้หรือการฝึกหัด เน่ืองจากระบบสนับสนุนการตัดสินใจมีกระบวนการทางานคล้ายกระบวนการตัดสินใจของมนุษย์ ดังนั้นเม่ือมีการใช้ระบบสนับสนนุ การตัดสินใจซ้า ๆ จึงชว่ ยพัฒนาการเรียนรู้และช่วยฝึกหดั การใช้งานระบบใหก้ ับผู้ใช้ โดยผ้ใู ช้สามารถศึกษากระบวนการให้เหตุผลของระบบสนับสนุนการตัดสินใจผ่านการสอบถามถึงลักษณะปัญหา ข้ันตอนการวิเคราะห์ 33220044-2-2110055รระะบบบบสสาารรสสนนเทเทศศเพเพอ่ื ือ่กกาารรจจัดดักกาารร

หน่วยท่ี 4 ระบบสนับสนนุ การตหดั สนนิว่ ยใจที่D4SรSะบบสนบั สนุนการตดั สนิ ใจ DSS 8ปัญหา กระบวนการให้ข้อเสนอแนะ และกระบวนการให้เหตุผล โดยระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่ช่วยสง่ เสรมิ พฒั นาการเรยี นรู้ และการฝึกหัดของผู้ใชค้ อื ระบบผเู้ ช่ยี วชาญ 5. เพิ่มประสิทธิภาพการควบคุมองค์กร เนื่องจากระบบสนับสนุนการตัดสินใจมีส่วนช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพการตดั สินใจให้กับผูบ้ ริหาร ทาใหส้ ามารถบริหารและควบคุมองค์กรได้ดียิ่งขนึ้ การบริหารและควบคุมองค์กรเป็นงานท่ีต้องอาศัยการตัดสินใจหลายๆ ดังนั้นการตัดสินใจที่มีประสิทธภิ าพจะชว่ ยใหอ้ งค์กรสามารถดาเนินการไดอ้ ย่างราบร่นื เปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงคข์ ององค์กร 6. นอกจากนี้ยังช่วยเพิ่มความพึงพอใจให้กับลูกค้าและพนักงานภายในองค์กรช่วยในการตัดสินใจเพื่อเพ่ิมผลผลิต ลดต้นทุนการผลิต โดยผลผลิตยังคงมีคุณภาพตรงตามมาตรฐาน ซ่ึงผลท่ีได้รับท้ังหมดจะช่วยเพิ่มโอกาสในการแข่งขันกับองค์กรคู่แข่งท่ีประกอบธุรกิจประเภทเดียวกัน และจากประโยชน์ต่าง ๆ ของระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่กล่าวมาข้างต้น ทาให้เจ้าของธุรกิจและผบู้ ริหารต่างหันมาใหค้ วามสนใจพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจสาหรบั องค์กรของตนเพิ่มมากขึ้นเพิม่ ใหอ้ งค์กรใหร้ ับประโยชนต์ ามท่คี าดหวงั ไว้ ผู้มีหน้าที่ในการตัดสินใจเชิงธุรกิจซึ่งโดยส่วนใหญ่จะหมายถึง ผู้บริหารท่ีจะต้องทาการตัดสินใจดาเนินธุรกิจหรือวางแผนการดาเนินงานเป็นประจาทุกวัน แผนงานเหล่านี้ล้วนเป็นปัญหาที่ผู้ตัดสินใจจะต้องตัดสินใจแก้ไข ซึ่งจะต้องอาศัยข้อมูลและสารสนเทศประกอบการตัดสินใจ บางปัญหาผู้ตัดสินใจก็มีข้อมูลและสารสนเทศครบถ้วน ทาให้ทราบถึงผลลัพธ์ท่ีต้องการได้อย่างง่าย แต่บางปัญหาท่ีมีข้อมูลไม่เพียงพอ ก็ต้องอาศัยการประมาณ หรือคาดคะเน จากประสบการณ์ของผู้บริหารเองดงั นั้นจึงมกี ารแบ่งแยกประเภทของปญั หาออกเป็น 3 แบบได้แก่  ปัญหาแบบมีโครงสร้าง (Structured problem) เป็นปัญหาที่มีวิธีการแก้ไขปัญหา ได้อย่างชัดเจนแน่นอน หรือสามารถจาลองปัญหาได้ด้วยสูตรทางคณิตศาสตร์ และ แทนคา่ ในสูตรจนสามารถคานวณหาคาตอบได้อย่างชัดเจน หรือกลา่ วอีกนัยหน่ึงคือ ปัญหาทผ่ี ู้ตัดสินใจมีข้อมูลและสารสนเทศประกอบการตัดสินใจอย่างครบถ้วน และ สามารถนาไปใชแ้ กป้ ญั หาไดโ้ ดยการเขยี นโปรแกรม  ปัญหาแบบไม่มีโครงสร้าง (Unstructured problem) เป็นปัญหาที่ไม่สามารถหา วิธีการแก้ไขได้อย่างชัดเจนและแน่นอน ไม่สามารถจาลองได้ด้วยสูตรทาง คณิตศาสตร์หรือกล่าวอีกนัยหน่ึงคือ ปัญหาท่ีผู้ตัดสินใจมีข้อมูลและสารสนเทศไม่ เพียงพอต่อการแกไ้ ขปญั หา จึงตอ้ งอาศัยประสบการณข์ องผูใ้ ชต้ ดั สนิ ใจแก้ไขปญั หา  ปั ญ ห า แ บ บ กึ่ ง โ ค ร ง ส ร้ า ง ( Semi structured problem) เ ป็ น ปั ญ ห า ที่ มี ลักษณะเฉพาะส่วนมากจะไมเ่ กิดซ้า และไม่มีกระบวนการดาเนินการมาตรฐานหรือ เป็นปัญหาท่ีมีวิธีการแก้ไขเพียงบางส่วนเท่านั้น ส่วนท่ีเหลือจะต้องอาศัย ประสบการณ์หรือความชานาญในการตัดสินใจแก้ไขปัญหา ส่วนเทคโนโลยี สารสนเทศให้ได้แค่การสนับสนุนเท่านั้น โดยการพัฒนาในด้านปัญญาประดิษฐ์ อาจจะช่วยใหก้ ารตดั สินใจประเภทน้ีมคี ุณภาพมากขึ้นได้ 33220044-2-2110055รระะบบบบสสาารรสสนนเทเทศศเพเพ่ืออ่ื กกาารรจจัดดั กกาารร

หนว่ ยท่ี 4 ระบบสนับสนนุ การตหัดนส่วนิ ยใทจ่ี 4DSรSะบบสนบั สนุนการตัดสินใจ DSS 9 ภาพท่ี 4 ประโยชน์ของระบบสนับสนุนการตดั สินใจ ที่มา : https://is.gd/yfcBWn ความแตกต่างระหว่าง DSS กับระบบสารสนเทศอืน่ 1. DSS ให้ความสาคัญกับการนาสารสนเทศไปประกอบการตัดสินใจของผู้ใช้ มิใช่การรวบรวม การหมุนเวียน และการเรียกใช้ข้อมูลในงานประจาวันเหมือนระบบสารสนเทศสาหรับการปฏบิ ตั กิ าร 2. DSS ถูกพัฒนาให้สามารถจัดการข้อมลู เพ่ือสนับสนุนการตัดสนิ ใจในปัญหาก่ึงโครงสร้างและไมมีโครงสร้าง ซ่ึงมักจะเป็นปัญหาของผู้จัดการระดับกลางและผู้บริหารระดับสูง ขณะที่ระบบสารสนเทศในสานักงานจะเก่ียวขอ้ งกบั การทางานประจาวนั ของพนักงาน หรอื หวั หน้างานระดับต้น 3. DSS ถูกพัฒนาให้เหมาะสมกับการแก้ปัญหาของผู้ใช้ โดยต้องมีความยืดหยุ่น สมบูรณ์และสะดวกต่อการใช้งาน ซึ่งแตกต่างจากระบบสารสนเทศในการปฏิบัติงานท่ีเก็บรวบรวม จัดระเบยี บ และจดั การสารสนเทศทั่วไปขององค์การ 4. ปจั จบุ ัน DSS มีแนวโน้มทจ่ี ะถูกพัฒนาขนึ้ ใหเ้ หมาะสมกับการใช้งานบนเครือ่ งคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เน่ืองจากการขยายตัวของการใช้งานคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในกลุ่มบุคคลระดับต่างๆขององค์การ รวมท้ังบุคลากรในระดับผู้บริหารขององค์การที่มีความสนใจและมีความรู้ในเทคโนโลยีสารสนเทศมากข้นึ 5. ผู้ใช้มีส่วนสาคัญในการออกแบบและการพฒั นา DSS เนื่องจากปัญหาในการตัดสินใจจะมีลักษณะที่เฉพาะตัว ตลอดจนผู้ใช้แต่ละคนจะเก่ียวข้องกับปัญหา หรือมีความถนัดในการใช้งานระบบสารสนเทศท่ีแตกต่างกัน ประกอบกับผู้ใช้ส่วนมากจะมีความรู้เก่ียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศสงู ข้ึน ปัจจุบันการพัฒนา DSS จะนิยมใชว้ ิธกี ารทดลองปฏิบัติแบบตอบโต้ (Interactive) หรือการทาต้นแบบ (Prototyping Approach) เพ่ือทดลองใช้และพัฒนาระบบอย่างต่อเนื่องจนกว่าจะเป็นท่ีพอใจของผใู้ ช้ 33220044-2-2110055รระะบบบบสสาารรสสนนเทเทศศเพเพื่ออื่กกาารรจจดั ดักกาารร

หนว่ ยที่ 4 ระบบสนับสนนุ การตหดั นส่วนิ ยใทจี่ 4DSรSะบบสนับสนุนการตดั สนิ ใจ DSS 10 การพฒั นา DSS การพัฒนา DSS จะมีความแตกต่างจากการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโดยท่ัวไปเน่ืองจาก DSS ถูกออกแบบและพัฒนาข้ึนสาหรับผู้ใช้เฉพาะกลุ่ม โดย DSS จะต้องการข้อมูลในปริมาณที่เหมาะสมและตามความต้องการของผู้ใช้ ซึ่งมีปริมาณน้อยแต่เจาะจงกว่าระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ แต่ DSS ต้องอาศัยแบบจาลองการวิเคราะห์ปัญหา ซึ่งสลับซับซ้อนกว่าระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการมาก นอกจากน้ี DSS โดยส่วนมากจะถูกออกแบบมาอย่างเฉพาะเจาะจงเพือ่ ใช้ในการสนบั สนนุ และการแก้ปญั หาเฉพาะอยา่ ง ซง่ึ ต้องการความยืดหยุ่นในการปรับตวั ใหเ้ ข้ากับสถานการณ์ที่เหมาะสม ดงั น้ันการพัฒนา DSS จึงจาเป็นท่ีจะต้องให้ผู้ใช้มีสว่ นร่วมในการพัฒนา ด้วยซ่ึงเราจะกล่าวถึงขน้ั ตอนการพฒั นาระบบ DSS ดังตอ่ ไปน้ี 1. การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) เป็นข้ันตอนแรกในการพัฒนา DSS โดยมีเปา้ หมายเพื่อทจ่ี ะกาหนดถึงปัญหา ตลอดจนวิเคราะห์หาขั้นตอนท่ีสาคัญในการตดั สินใจแก้ปัญหานั้นๆ โดยผู้ท่ีจะใช้ระบบสมควรที่จะมีส่วนร่วมในข้ันตอนน้ีเป็นอย่างย่ิง เนื่องจากผู้ใช้จะรับทราบและเกี่ยวข้องกับปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในการทางาน จึงสามารถกาหนดและสรุปปัญหาอย่างครอบคลุมจากนั้นกลุ่มผู้วิเคราะห์ระบบจะศึกษาถึงความเหมาะสมและความพอเพียงของข้อมูลที่จะนามาวิเคราะห์ ตลอดจนลักษณะของปัญหาว่าเหมาะกับการใช้ DSS ช่วยหรือไม่ ก่อนที่ข้ามไปยังข้ันตอนตอ่ ไป 2. การออกแบบระบบ (System Design) DSS จะเป็นระบบสารสนเทศท่ีมีความพิเศษในตัวเองท่ีสามารถเปล่ียนแปลงและพัฒนาไปเร่ือย ๆ ผู้ออกแบบควรจะออกแบบให้ระบบ มีความยืดหยุ่นสูงสามารถปรับตัวได้ตามความเหมาะสมและมีความสะดวกต่อผู้ใช้ ประการสาคัญ DSS จะเกี่ยวข้องกับปัญหากึ่งโครงสร้าง หรือไม่มีโครงสร้าง ซึ่งยากต่อการกาหนดรายละเอียดและกาหนดแนวทางการตัดสินใจล่วงหน้า โดยเฉพาะการกาหนดคณุ สมบัตขิ องระบบและตรรกะของการตัดสินใจการพัฒนา DSS จึงนิยมใช้วิธี “การพัฒนาการจากต้นแบบ ( Evolutionary PrototypingApproach)” โดยสร้างต้นแบบ (Prototype) ข้ึนเพ่ือการศึกษาและทดลองใช้งานในขณะเดียวกันจากน้ันจึงพัฒนาให้ระบบต้นแบบมีความสมบูรณ์ขึ้น ประการสาคัญการทาต้นแบบข้ึนมาทดลองใช้งานทาใหก้ ารออกแบบรดั กุม และชว่ ยลดความผดิ ผลาด เมอ่ื นาระบบไปประยกุ ต์ใช้งานจริง 3. การนาไปใช้ (Implementation) DSS จะแตกต่างจากระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการโดยท่ัวไปที่ผู้ใช้จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบจากแรกเร่ิมต้นจนถึงสภาวะปัจจุบันและจะพัฒนาต่อไปในอนาคต ดังนั้นนักพัฒนาระบบสมควรที่จะเก็บรายละเอียดและข้อมูลของระบบไว้อย่างดีเพื่อที่จะนามาใช้อ้างอิงในอนาคต นอกจากนี้การติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการทางานของระบบนับเป็นสิ่งสาคัญในการตรวจสอบการทางานของระบบหลังการนาไปใช้งาน โดยท่ีผู้ออกแบบสมควรจะประเมินปญั หาท่ีเกดิ ข้นึ เพอ่ื จาไปใชป้ รับปรุงแก้ไขระบบในอนาคต 33220044-2-2110055ระรบะบบบสสาราสรสนนเทเทศศเพเพื่อื่อกการาจรจัดัดกการาร

หน่วยท่ี 4 ระบบสนบั สนนุ การตหัดสนิน่วยใจที่D4SรSะบบสนบั สนนุ การตดั สนิ ใจ DSS 11 ภาพที่ 4 การพัฒนา DSS ท่ีมา : https://is.gd/yfcBWn สรปุ ปัจจุบันความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้ผู้ใช้สามารถพัฒนา DSS บนคอมพวิ เตอรส์ ่วนบุคคล โดยใช้ชุดคาสง่ั ประเภท Spread Sheet เชน่ Excel หรอื Lotus เปน็ พื้นฐานโดยสร้างแบบจาลองการตัดสินใจและปรับเปลี่ยนข้อมูลของตัวแปรแต่ละตัว เพ่ือทดสอบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น เช่น การปรับราคาสินค้าจะมีผลต่อยอดขายอย่างไร เป็นต้น ซึ่งผู้ใช้สามารถนาแบบจาลองสาหรับการตัดสินใจมาทดสอบปฏิบัติในสถานการณ์จาลอง (Simulated Situation) จนกว่าจะสามารถให้ผลลัพธท์ ่พี อใจ ซงึ่ จะสง่ ผลตอ่ รูปแบบและพัฒนาการของ DSS สาหรับการใช้งานทางธรุ กิจในอนาคต เราสามารถสรปุ ว่า DSS จะแตกต่างจากระบบสารสนเทศสาหรับการปฏิบัติการท่ีแลกเปลี่ยนเกบ็ รวบรวม และประมวลผลขอ้ มูล คือ DSS จะจดั การกับขอ้ มูลให้เปน็ สารสนเทศที่เหมาะสมกับการตัดสินใจของผู้ใช้ โดย DSS จะใช้ข้อมูลที่ประมวลผลจากระบบการปฏิบัติการมาจัดระเบียบ และวิเคราะห์ตามคาสั่งและความสนใจของปัญหา นอกจากนี้ DSS ยังช่วยเร่งพัฒนาการและความเข้าใจในศกั ยภาพในการทางานของเทคโนโลยสี ารสนเทศที่ครอบคลมุ มากกวา่ การปฏิบตั ิงานประจาวนั 33220044-2-2110055ระรบะบบบสสาราสรสนนเทเทศศเพเพอ่ื อ่ืกการาจรจัดดักการาร

หนว่ ยที่ 4 ระบบสนับสนุนการตดั สนิ ใจ DSS บรรณนานกุ รมระบบสนับสนุนการตัดสินใจ. [ออนไลน์] เข้าถึงไดจ้ าก : https://is.gd/clThfN. (วันทสี่ ืบคน้ ข้อมูล : 30 ตุลาคม 2561)ส่วนประกอบของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก : https://is.gd/r3ELid (วนั ทส่ี ืบค้นข้อมูล : 30 ตุลาคม 2561)การพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก : https://is.gd/3Akw26 (วันที่ สืบคน้ ข้อมูล : 30 ตลุ าคม 2561) 3204-2105 ระบบสารสนเทศเพ่อื การจัดการ

หน่วยท่ี 4 ระบบสนับสนนุ การตดั สนิ ใจ DSS คณะผู้จัดทาประวตั ิส่วนตวั ชอื่ : นายพงศธร สกลุ : อมรรังสฤษด์ิ ชอ่ื เลน่ : นอ๊ ต สญั ชาติ : ไทย เชอื้ ชาติ : ไทย ศาสนา : พุทธ ลักษณะนิสัย : รา่ เรงิ ข้อี าย ตลกเฮฮา อัธยาศยั ดี เบอรโ์ ทรศัพท์ : 062-582-7210 E-mail : [email protected] ท่ีอยู่ : 56/2 หมู่ที่ 1 ตาบลบา้ นกระแชง อาเภอเมืองปทุมธานี จงั หวดั ปทุมธานี 12000ประวตั กิ ารศึกษา  ระดับประถมศกึ ษา โรงเรยี นเทศบาลเมืองปทุมธานี  ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ โรงเรียนปทุมวิไล  ระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชพี สาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ วิทยาลยั เทคนิคปทุมธานี  ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสงู สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ วทิ ยาลยั เทคนิค ปทุมธานีผลงานและรางวัล  รางวัลชนะเลิศ การแข่งขนั ”การขายสนิ คา้ ออนไลน์” ระดบั หน่วย ปีการศกึ ษา 2560  รางวัลชนะเลิศ การแข่งขัน”การขายสินคา้ ออนไลน์” ระดับอาชวี ศึกษาจังหวัดปทมุ ธานี ปีการศึกษา 2560  รางวัลชนะเลศิ การแข่งขัน”การขายสินค้าออนไลน์” ระดบั ภาค ภาคตะวนั ออกและกรงุ เทพมหานคร ปีการศึกษา 2560  รางวัลชนะเลศิ การแข่งขัน”การขายสินค้าออนไลน์” ระดับชาติ ปกี ารศึกษา 2560  รางวลั ผมู้ ีพฤติกรรมด้านกิจกรรมดีเดน่ ประจาปีการศกึ ษา 2560 3204-2105 ระบบสารสนเทศเพ่อื การจัดการ

หน่วยที่ 4 ระบบสนบั สนุนการตดั สนิ ใจ DSSประวตั ิส่วนตวั ชอื่ : นางสาวพันธวิ า สกุล : จาปี ช่ือเลน่ : วินเนอร์ สญั ชาติ : ไทย เชอื้ ชาติ : ไทย ศาสนา : พุทธ ลักษณะนิสัย : ร่าเรงิ ตลกเฮฮา อธั ยาศัยดี พงึ่ พาได้ เบอรโ์ ทรศัพท์ : 088-568-9014 E-mail : [email protected] ทอี่ ยู่ : 95/10 หมู่ 3 ตาบลบางพนู อาเภอเมืองปทุมธานี จงั หวัดปทุมธานี รหสั ไปรษณีย์ 12000ประวัตกิ ารศกึ ษา • ระดบั ประถมศึกษา โรงเรียนบ้านหลุง (ใหม่บรุ พาคม) • ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ โรงเรยี นบ้านหลงุ (ใหมบ่ รุ พาคม) • ระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยชี า่ งกลพาณิชยการนครราชสมี า • ระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ช้ันสูง สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ วิทยาลยั เทคนิค ปทุมธานีผลงานและรางวัล • รางวลั ชนะเลิศการแขง่ ขัน “ประกอบเคร่ืองคอมพิวเตอร์”ระดบั ภายใน ปกี ารศึกษา 2557 • รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 2“การประกวดมารยาทไทย”ระดับภายใน ปกี ารศึกษา 2557 • รางวลั รองชนะเลศิ อันดบั 1“การแข่งขันบาสเก็ตบอล”ระดับภายใน ปีการศึกษา 2557 • รางวลั ชนะเลิศ การแข่งขนั “การขายสินค้าออนไลน์” ระดบั หน่วย ปกี ารศกึ ษา 2560 • รางวัลชนะเลิศ การแขง่ ขนั “การขายสนิ ค้าออนไลน์” ระดับอาชีวศึกษาจังหวดั ปทมุ ธานี ปีการศกึ ษา 2560 • รางวัลชนะเลิศ การแข่งขนั “การขายสินค้าออนไลน์” ระดบั ภาค ภาคตะวันออกและกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2560 • รางวัลชนะเลศิ การแขง่ ขนั “การขายสนิ ค้าออนไลน์” ระดบั ชาติ ปีการศึกษา 2560 • รางวลั ผมู้ ผี ลการเรยี นดเี ดน่ สมควรเปน็ แบบอย่าง ประจาปีการศกึ ษา 2560 3204-2105 ระบบสารสนเทศเพ่ือการจดั การ

หนว่ ยที่ 4 ระบบสนับสนนุ การตดั สนิ ใจ DSSประวตั ิส่วนตวั ชื่อ : นางสาวนภัสสรณ์ สกลุ : วงั คะฮาต ช่อื เล่น : หมวย สัญชาติ : ไทย เชื้อชาติ : ไทย ศาสนา : พุทธ ลักษณะนสิ ัย : เงียบ น่งิ อัธยาศยั ดี เบอรโ์ ทร : 094-7489308 Email : [email protected] ท่ีอยู่ : 77/204 ซอย 14 ม.ดวงแกว้ ต.บ้านใหม่ อ.ปากเกร็ด จ. นนทบุรี 11120ประวัตกิ ารศึกษา  ระดบั อนุบาลศึกษา โรงเรียนชลประทานวิทยา  ระดับประถมศึกษา โรงเรียนชลประทานวทิ ยา  ระดบั มธั ยมศึกษา โรงเรยี นนวมนิ ทราชินูทิศ หอวงั นนทบรุ ี  ระดับประกาศนียบัตรวชิ าชพี สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกจิ วิทยาลยั เทคนิคปทุมธานี  ระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชน้ั สงู สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกจิ วทิ ยาลัยเทคนคิ ปทมุ ธานีผลงานและรางวัล  เปน็ ผ้เู ขา้ รว่ มแสดงกิจกรรมกีฬาและนันทนาการ “กองเชยี รเ์ พลงมารช์ วทิ ยาลยั เทคนิค ปทมุ ธานี”  ไดใ้ หค้ วามร่วมมอื กับทางราชการในการปฏบิ ัติงานโครงการสารวจผู้มรี ายได้นอ้ ย  ได้เข้ารว่ มจัดโครงการส่งเสรมิ กิจกรรมอาสาพฒั นา กิจกรรมวนั เดก็ แห่งชาติ ๒๕๖๑ ณ โรงเรยี นวดั โบสถ์(บวรธรรมกิจวิทยา) 3204-2105 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

หน่วยท่ี 4 ระบบสนับสนนุ การตดั สินใจ DSSประวัติส่วนตวั ชอ่ื : นางสาวนิภาพร สกุล : บรรจบสุข ชอ่ื เลน่ : แสตมป์ สัญชาติ : ไทย เชือ้ ชาติ : ไทย ศาสนา : พทุ ธ ลักษณะนิสัย : ร่าเริง แจม่ ใส อธั ยาศยั ดี ขเี ้ลน่ เป็นกนั เอง เบอรโ์ ทร : 064-2443370 Email : [email protected] ท่อี ยู่ : 100/58 หมู่ 2 ต.บางขะแยง อ.เมอื ง จ.ปทมุ ธานี 12000ประวัติการศึกษา  ระดับประถมศึกษา โรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์)  ระดับมธั ยมศึกษา โรงเรียนปทมุ ธานี \"นนั ทมนุ บี ารุง\"  ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ สาขาคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ วิทยาลัยเทคนคิ ปทุมธานี  ระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพชัน้ สูง สาขาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ วิทยาลยั เทคนิคปทุมธานีผลงานและรางวลั  เปน็ ผูเ้ ข้าร่วมแสดงกจิ กรรมกีฬาและนันทนาการ “กองเชียรเ์ พลงมาร์ชวทิ ยาลยั เทคนิค ปทุมธานี”  ไดใ้ หค้ วามรว่ มมือกบั ทางราชการในการปฏิบตั ิงานโครงการสารวจผูม้ ีรายได้นอ้ ย  ไดเ้ ข้ารว่ มจัดโครงการส่งเสริมกจิ กรรมอาสาพฒั นา กจิ กรรมวนั เดก็ แห่งชาติ ๒๕๖๑ ณ โรงเรยี นวดั โบสถ(์ บวรธรรมกจิ วทิ ยา) 3204-2105 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

หน่วยท่ี 4 ระบบสนับสนนุ การตัดสนิ ใจ DSSประวัติส่วนตวัชื่อ : นางสาว วัชราภรณ์ สกุล : ชน่ื จติ รชือ่ เลน่ : มกุสญั ชาติ : ไทย เชอื้ ชาติ : ไทยศาสนา : พุทธลกั ษณะนสิ ัย : เงยี บ น่ิง อัธยาศัยดีเบอร์โทร : 096-4201225Email : [email protected]ท่ีอยู่ : 98 หมู่ 10 ซอยใจเอ้อื ต.บางคูวัด อ.เมือง จ.ปทมุ ธานี 12000ประวตั ิการศกึ ษา ระดับประถมศึกษา โรงเรียนวดั บางนางบญุ ระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนวดั บางนางบญุ ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชพี สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วทิ ยาลยั เทคนิคปทุมธานี ระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชน้ั สูง สาขาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ วทิ ยาลัยเทคนคิ ปทุมธานีผลงานและรางวัล  เป็นผ้เู ข้ารว่ มแสดงกิจกรรมกีฬาและนนั ทนาการ”กองเชียร์เพลงมาร์ชวิทยาลัยเทคนิค ปทุมธานี”  ได้ให้ความรว่ มมือกับทางราชการในการปฏบิ ตั ิงานโครงการสารวจผู้มีรายไดน้ อ้ ย  ได้เขา้ ร่วมจัดโครงการส่งเสริมกิจกรรมอาสาพฒั นา กิจกรรมวันเดก็ แห่งชาติ ๒๕๖๑ ณ โรงเรยี นวัดโบสถ(์ บวรธรรมกิจวทิ ยา) 3204-2105 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

หน่วยที่ 4 ระบบสนบั สนุนการตดั สนิ ใจ DSS อาจารยผ์ สู้ อนช่อื : วิลาวัลย์ วชั โรทัยครผู ูส้ อน วิชาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ (3204-2105)ตาแหน่งครู วิทยฐานะครชู านาญการแผนกวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกจิ วิทยาลยั เทคนคิ ปทุมธานี 3204-2105 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

หนว่ ยท่ี 4 ระบบสนบั สนนุ การตัดสนิ ใจ DSS 3204-2105 ระบบสารสนเทศเพ่อื การจดั การ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook