2 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมือง และพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดปัตตานี เร่อื ง การศึกษาความเคลอื่ นไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้งั ผู้เขยี น สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร 2562 จังหวัดปัตตานี สามารถ ทองเฝือ และ เอกรนิ ทร์ ต่วนศิริ เลขมาตรฐานสากลประจำ�หนังสอื (e-book) 978-616-476-156-8 รหสั สงิ่ พิมพส์ ถาบนั สวพ.63-77-00.0 (ebook) ประสานงาน วริศรา อัมพรศิริธรรม สงวนลขิ สิทธ ์ิ © 2563 ลิขสิทธ์ิของสถาบันพระปกเกล้า จัดพมิ พ์โดย สำ�นักวจิ ยั และพฒั นา สถาบนั พระปกเกล้า ศนู ย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาฯ อาคารรัฐประศาสนภักดี ชนั้ 5 (โซนทศิ ใต้) เลขท่ี 120 หมู่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลกั ส่ี กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ 0-2141-9596 โทรสาร 0-2143-8177 http://www.kpi.ac.th
3 ค�ำน�ำสถาบันพระปกเกล้า การเลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรเมอื่ วนั ท่ี 24 มนี าคม พ.ศ.2562 เปน็ การเลอื กตงั้ ครง้ั แรก ภายหลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ซึ่งได้มีการเปลี่ยนแปลง กติกาท่ีเก่ียวข้องกับการเลือกตั้งหลายประการ ได้แก่ การน�ำระบบการเลือกต้ังท่ีเรียกว่า “การเลือกต้ัง แบบจัดสรรปันส่วนผสม” มาใช้ โดยก�ำหนดให้แต่ละเขตเลือกต้ังมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ หนงึ่ คน และประชาชนผมู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตง้ั มสี ทิ ธอิ อกเสยี งลงคะแนนเลอื กตงั้ ไดค้ นละหนง่ึ คะแนน สว่ นสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรแบบบญั ชรี ายชอ่ื นน้ั เปน็ การจดั สรรโดยค�ำนวณจากคะแนนรวมทพ่ี รรคการเมอื งไดจ้ าก การเลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรแบบแบง่ เขตทวั่ ประเทศ การก�ำหนดใหพ้ รรคการเมอื งสามารถเสนอ รายชอื่ บคุ คลซงึ่ สมควรไดร้ บั แตง่ ตงั้ เปน็ นายกรฐั มนตรไี มเ่ กนิ สามรายชอื่ การก�ำหนดในเรอื่ งคณุ สมบตั แิ ละ ลักษณะต้องห้ามของผู้สมัครรับเลือกตั้ง รูปแบบและวิธีการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง ตลอดจนบทลงโทษ กรณีกระท�ำความผิดเกี่ยวกับการเลือกตั้งท่ีเข้มข้นกว่าการเลือกตั้งครั้งก่อนๆ นอกจากน้ี การเลือกตั้ง เมื่อวันท่ี 24 มีนาคม 2562 ยังเกิดข้ึนท่ามกลางบริบทและสภาพแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ และ การเมอื งทเี่ ปลย่ี นแปลงไปจากการเลอื กตง้ั ทว่ั ไปครงั้ หลงั สดุ เมอ่ื ปี 2554 เปน็ อยา่ งมาก อาทิ การวา่ งเวน้ จากการเลือกต้ังเกือบแปดปีท�ำให้มีผู้มีสิทธิเลือกตั้งครั้งแรก (First Time Voter) มากกว่า 7 ล้านคน การเปลีย่ นแปลงอยา่ งฉบั พลนั ของเทคโนโลยกี ารสอื่ สาร (Digital Disruption) ท�ำใหส้ อื่ ใหม่ (new media) เข้ามามีอิทธิพลในการเลือกตั้งอย่างเด่นชัดเป็นคร้ังแรก การเปล่ียนแปลงในกติกาและสภาพแวดล้อม ดังกล่าวท�ำให้เกิดการเปล่ียนแปลงในกระบวนการจัดการเลือกตั้ง ยุทธวิธีการหาเสียงของผู้สมัครและ พรรคการเมอื ง รวมถงึ พฤตกิ รรมการตดั สนิ ใจลงคะแนนของประชาชนอยา่ งมนี ยั ยะส�ำคญั และนา่ สนใจยงิ่ สถาบนั พระปกเกลา้ ขอขอบคณุ รองศาสตราจารย์ ดร.สามารถ ทองเฝอื และผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ เอกรนิ ทร์ ตว่ นศริ ิ ทไี่ ดส้ รา้ งสรรคผ์ ลงานวจิ ยั เรอ่ื ง “การศกึ ษาความเคลอื่ นไหวทางการเมอื งและพฤตกิ รรม การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดปัตตานี” และหวังว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน ์ ตอ่ สงั คมไทย และผสู้ นใจทว่ั ไปในการท�ำความเขา้ ใจปรากฎการณใ์ นการเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร ในวันท่ี 24 มนี าคม พ.ศ. 2562 ต่อไป ศาสตราจารยว์ ฒุ สิ าร ตนั ไชย เลขาธิการสถาบนั พระปกเกลา้ กันยายน 2563
4 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมือง และพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดปัตตานี ค�ำน�ำผู้เขียน หนงั สอื “การศกึ ษาความเคลอ่ื นไหวทางการเมอื งและพฤตกิ รรมการเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผแู้ ทน ราษฎร 2562 จังหวัดปัตตานี” จัดท�ำข้ึนจากรายงานการวิจัย “การศึกษารูปแบบ วิธีการ และผลกระทบ การเลอื กตง้ั ภายใตร้ ฐั ธรรมนญู ใหม่ กรณศี กึ ษาจงั หวดั ปตั ตาน”ี ไดร้ บั ทนุ สนบั สนนุ จากสถาบนั พระปกเกลา้ ส�ำหรบั งานวจิ ัยชน้ิ นีถ้ ือว่าเป็นความทา้ ทายอยา่ งยิ่ง ดว้ ยปัจจยั 3 ประการด้ังนี้ ประการแรก การเลอื กตง้ั ครง้ั นอ้ี ยภู่ ายใตร้ ฐั ธรรมนญู ใหม่ ฉบบั ปี พ.ศ. 2560 โดยมพี ระราชบญั ญตั ิ ประกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยการเลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร พ.ศ. 2561 หลายมาตราถอื วา่ เปน็ เรอื่ งใหม่ มีความแตกต่างจากครั้งที่ผ่านมา ท�ำให้พรรคการเมืองและผู้ลงสมัครเลือกต้ัง ต้องศึกษาใหม่ท้ังหมด หากกล่าวในเฉพาะพ้ืนที่จังหวัดปัตตานี ก็มีความเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัด เช่น มีพรรคการเมืองส่ง ผลู้ งสมคั รจ�ำนวนมาก นน้ั กห็ มายความวา่ ทกุ คะแนนเสยี งยอ่ มสง่ ผลตอ่ พรรคในสดั สว่ นคะแนนบญั ชรี ายชอ่ื ของพรรคตามรัฐธรรมนญู ใหม่ ประการท่ีสอง ภูมิทัศน์การเปลี่ยนแปลงทางส่ือออนไลน์ (Social Media) ส่งผลต่อรูปแบบ วธิ กี าร หาเสยี งของพรรคการเมอื งและผลู้ งสมคั รเลอื กตง้ั “ปรากฏการณใ์ หม”่ ส�ำหรบั พน้ื ทจ่ี งั หวดั ปตั ตานี ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ท�ำให้ผู้สมัครบางรายไม่สามารถสื่อสารทางสื่อออนไลน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ยกเว้นผสู้ มคั รท่เี ปน็ คนรนุ่ ใหม่ แต่ใช่ว่าจะไดค้ ะแนนเสยี งจากการเลอื กต้งั ตามกระแสส่ือออนไลน์ แม้ว่า สอื่ ออนไลนจ์ ะทะลทุ ะลวงไปถงึ ในหมบู่ า้ น หากทวา่ ระบบหวั คะแนน สายสมั พนั ธท์ างดา้ นเครอื ญาติ ระบบ อปุ ถมั ภก์ ย็ งั คงมผี ลตอ่ ผลการเลอื กตงั้ ทผี่ า่ นมา แตก่ ารเลอื กตงั้ ครง้ั นใี้ นเขตเลอื กตงั้ ท่ี 1 ของจงั หวดั ปตั ตานี ซึ่งเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีท่ีมีนักศึกษาจ�ำนวนเกือบหน่ึงหม่ืนคน ก็มีผลสะเทือนต่อผู้สมัครหน้าเก่า ด้วยเหตุผลของกระแสพรรคคนรุ่นใหม่ท่ีได้รับความนิยมจากเยาวชน คนหนุม่ สาวจ�ำนวนมาก ดงั นน้ั จึงท�ำให้ผู้ลงสมัครรบั เลอื กตง้ั เห็นถงึ ความจ�ำเป็นของส่อื ออนไลนม์ ากข้นึ ประการที่สาม ความรุนแรงจากเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ท่ีเป็น บริบทหลักหนึ่งในจังหวัดปัตตานี ท�ำให้การเลือกตั้งครั้งนี้มีความเกี่ยวข้องอย่างยิ่งต่อแนวนโยบายทาง ดา้ นสนั ตภิ าพ หรอื การลดความรนุ แรง การเลอื กตง้ั ครงั้ นก้ี เ็ ชน่ กนั การปราศรยั หาเสยี งของผสู้ มคั รเลอื กตงั้ ของพรรคการเมืองต่าง ๆ กต็ ้องกลา่ วถงึ แนวทางการแก้ไขปญั หาความรุนแรงในจงั หวัดชายแดนภาคใต้ ตอ่ เนอื่ งดว้ ยนโยบายทางดา้ นเศรษฐกจิ ทตี่ อ้ งการแกไ้ ขปญั หาเรอ่ื งปากทอ้ งของชาวบา้ นทปี่ ระสบปญั หา
5 ในแตล่ ะกลมุ่ อาชพี มนี โยบายยอ่ ยทเี่ จาะเฉพาะ อาทเิ ชน่ ปญั หาประมง ปญั หายางพารา เปน็ ตน้ กลา่ วคอื ปจั จยั ทางด้านความรนุ แรงและเศรษฐกิจมผี ลต่อพฤติกรรมของผูล้ งคะแนนเสยี งครง้ั นี้เป็นอยา่ งยิง่ ด้วยเหตุข้างต้นจังหวัดปัตตานีท่ีถือว่าเป็นพื้นที่พิเศษท่ีมีเหตุการณ์ความไม่สงบนั้น จากตั้งแต่ ไม่มีสื่อออนไลน์จนกระทั่งทุกคนใช้สื่อออนไลน์กันหมดก็ย่อมส่งผลต่อพฤติกรรมการเลือกตั้ง ท้ังตัว ผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งและผู้ใช้สิทธิเลือกต้ัง โดยแนวโน้มที่จะเกิดข้ึนในอนาคตคือ ส่ือออนไลน์จะเป็น สอ่ื หลกั ของการสอื่ สารทางดา้ นการเมอื งของผลู้ งสมคั รรบั เลอื กตง้ั โดยอาจจะสง่ ผลตอ่ ความเปลยี่ นแปลง ของระบบเครือข่ายระบบอุปถัมภ์โดยตรง ในแง่ท่ีว่าทุกคนสามารถเข้าถึงและรับรู้ถึงความเปลี่ยนแปลง ทางดา้ นดา้ นสงั คม เศรษฐกจิ การเมอื งในพนื้ ทอ่ี น่ื ๆ ความเตบิ โตของคนรนุ่ ใหมย่ อ่ มสง่ ผลตอ่ ผลู้ งสมคั ร รับเลือกต้ัง หากทว่าทั้งหมดน้ีน้ัน ปัจจัยชี้ขาดส�ำคัญหลักก็คือระบบการเลือกตั้งภายใต้รัฐธรรมนูญ ฉบบั ปี พ.ศ. 2560 กย็ อ่ มมผี ลตอ่ ระบบนเิ วศนท์ างการเมอื ง ทงั้ ความคดิ ความหวงั ความฝนั และโอกาส ทจี่ ะเหน็ วา่ การเมอื งในระบบรฐั สภาคอื พนื้ ทข่ี องการตอ่ รองทางอ�ำนาจทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ และสามารถเปน็ พื้นท่หี ลกั จะผลักดนั หนุนเสริมก่อให้เกดิ สันตภิ าพในพ้ืนท่ี ขอขอบคณุ สถาบนั พระปกเกลา้ ส�ำหรบั การใหท้ นุ สนบั สนนุ การวจิ ยั และทมี เจา้ หนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบ ของโครงการนี้ทกุ ท่าน ทก่ี รุณาติดตามและประสานงานอยา่ งดเี ยีย่ ม สุดท้าย ผู้วิจัยขอขอบคุณผู้ที่ให้ข้อมูลท้ังหมด ไม่ว่าจะเป็นคณะกรรมการการเลือกต้ังจังหวัด ปตั ตานี ผสู้ มคั รจากพรรคการเมอื งตา่ ง ๆ ทงั้ ทไ่ี ดร้ บั เลอื กตงั้ และทไ่ี มไ่ ดร้ บั เลอื กตง้ั สอื่ มวลชน นกั วชิ าการ ตวั แทนภาคประชาสงั คม กล่มุ ตดิ ตามการเลอื กต้ังและผู้ใหส้ ัมภาษณ์ท้งั หมด ดว้ ยความนับถือ สามารถ ทองเฝอื เอกรินทร์ ต่วนศิริ คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์
6 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมือง และพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดปัตตานี บทสรุปผู้บริหาร หนังสือ การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิก สภาผู้แทนราษฎร 2562 จงั หวดั ปตั ตานี จดั ท�ำขนึ้ จากรายงานวจิ ัย “เรอื่ ง การศกึ ษารปู แบบ วิธีการ และ ผลกระทบการเลือกต้ังภายใต้รัฐธรรมนูญใหม่ กรณีศึกษาจังหวัดปัตตานี” มีวัตถุประสงค์หลักส�ำคัญ เพ่ือที่จะศึกษาเกี่ยวกับความเคล่ือนไหวทางการเมืองระดับพ้ืนที่ในช่วงเวลาการเลือกต้ังท่ัวไปปี 2562 ในจังหวัดปัตตานีเพื่อท�ำความเข้าใจพฤติกรรมการเมืองภายใต้กติกาใหม่ทางการเมืองที่ได้ก�ำหนดข้ึน ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ซ่ึงถือว่ามีความส�ำคัญเป็นอย่างยิ่งที่จะน�ำไปสู ่ การพฒั นาการเมอื งการปกครองของประเทศในระบบประชาธปิ ไตยตอ่ ไป ส�ำหรบั โครงการวจิ ยั น้ี ทางผวู้ จิ ยั ไดท้ �ำการเลือกพ้ืนทขี่ องจังหวัดปตั ตานเี ปน็ กรณศี ึกษา โดยมวี ัตถปุ ระสงค์ของการศกึ ษาในโครงการนีอ้ ย ู่ หกประการดว้ ยกนั ดงั นี้ ประการแรกคอื เพอ่ื ศกึ ษาบรรยากาศทางการเมอื งและความเคลอื่ นไหวทางการเมอื ง ขององค์กรและกลุ่มทางการเมืองท่ีเก่ียวข้องกับการเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในจังหวัดปัตตานี ประการที่สอง เพื่อศึกษาความเคล่ือนไหวและพฤติกรรมทางการเมืองของผู้สมัครรับเลือกต้ังสมาชิก ผู้แทนราษฎรในจังหวัดปัตตานี ประการที่สามคือเพื่อศึกษาบทบาทของหน่วยงานภาครัฐ บริษัทเอกชน องค์กรสาธารณะและองคก์ รอืน่ ๆ ทีเ่ ข้ามามบี ทบาทที่เก่ยี วข้องกับการเลือกตัง้ สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร ในเขตจงั หวดั ปตั ตานี ประการทส่ี ี่ เพอ่ื ศกึ ษาการเปลย่ี นของพฤตกิ รรมทางการเมอื ง แบบแผนพฤตกิ รรม ทางการเมอื ง ของประชาชนและกลมุ่ การเมอื งในสว่ นทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร ในจังหวัดปัตตานี ประการท่ีห้าเพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ทรัพยากรต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่อง ค่าใช้จ่าย เพื่อให้เห็นมูลค่าของการใช้จ่ายในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใน จงั หวดั ปตั ตานี และวตั ถปุ ระสงคป์ ระการสดุ ทา้ ยคอื เพอ่ื ศกึ ษาการเปลย่ี นแปลงของขว้ั อ�ำนาจทางการเมอื ง การยา้ ยพรรคการเมอื ง ปจั จยั ทส่ี ง่ ผลตอ่ การตดั สนิ ใจทางการเมอื ง รวมทงั้ การวเิ คราะหผ์ ลการเลอื กตง้ั ท่ี เกดิ ขึ้นในเขตจังหวัดปัตตานี ส�ำหรบั การวิจยั น้เี ปน็ การวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วจิ ยั ไดก้ �ำหนดแนวทางการวจิ ยั ที่เน้นการวิจัยเอกสารและการสัมภาษณ์รับฟังความคิดเห็นจากผู้มีส่วนเก่ียวข้องในขอบเขตพ้ืนท่ีของ การวจิ ัยทีไ่ ดก้ �ำหนดเอาไวค้ อื จังหวัดปตั ตานี ผลจากการวิจัยในคร้ังน้ีพบว่า จังหวัดปัตตานีเป็นจังหวัดหน่ึงที่มีความรุนแรงในพ้ืนท่ีจังหวัด ชายแดนภาคใตต้ ลอดระยะเวลา 15 ปที ผี่ า่ นมา ในการเลอื กตง้ั ครง้ั นท้ี างหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งไดเ้ ฝา้ ระวงั และมีการก�ำกับดูแลความปลอดภัยในการก่อเหตุความไม่สงบเป็นพิเศษในทุกหน่วยเลือกตั้งท่ีม ี
7 ทั้งหมด 803 หน่วยเลือกต้ัง ครอบคลุมทั้งจังหวัด ทางคณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวัดปัตตาน ี ได้ร่วมมือกับหน่วยความมั่นคงได้จัดให้มีทหารจ�ำนวน 2 นายเข้ามาดูแลรักษาความปลอดภัยและ อ�ำนวยความสะดวกใหก้ ารเลอื กตง้ั ด�ำเนนิ ไปอยา่ งราบรน่ื ส�ำหรบั ในการจดั การเลอื กตงั้ ครง้ั นยี้ งั คงก�ำหนด เขตเลือกต้ังในจังหวัดปัตตานีทั้งส้ิน 4 เขต มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเขตละ 1 คน เช่นเดียวกันกับ การจัดแบ่งเขตเลือกต้ังในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2554 คร้ังก่อนหน้านี้ ดังนี้คือ เขตเลอื กตงั้ ที่ 1 ประกอบดว้ ยอ�ำเภอเมอื งปตั ตานแี ละอ�ำเภอยะหรง่ิ (เฉพาะต�ำบลบางปู ต�ำบลแหลมโพธิ์ ต�ำบลตะโละกาโปร์ ต�ำบลยามู ต�ำบลราตาปันยัง ต�ำบลตาแกะ ต�ำบลปิยามุมัง ต�ำบลตะโละ ต�ำบล ตาลอี ายร์ และต�ำบลปลุ ากง) มผี สู้ มคั ร สส.ทง้ั สน้ิ 35 คนจาก 35 พรรคการเมอื ง โดยมผี ไู้ ดร้ บั การเลอื กตงั้ เปน็ สส.เขต 1 คอื นายอนั วาร์ สาและ สงั กดั พรรคประชาธปิ ตั ย์ ดว้ ยคะแนนเสยี งจ�ำนวน 19,883 คะแนน เขตเลือกต้ังท่ี 2 ประกอบด้วยอ�ำเภอหนองจิก อ�ำเภอโคกโพธ์ิและอ�ำเภอแม่ลาน มีผู้สมัคร สส.ท้ังสิ้น 34 คน จาก 34 พรรคการเมือง โดยมีผู้ได้รับการเลือกต้ังเป็น สส.เขต 2 คือนายอับดุลบาซิม อาบู จากพรรคภูมิใจไทย ด้วยคะแนนเสียงจ�ำนวน 17,652 คะแนน เขตเลือกต้ังที่ 3 ประกอบด้วยอ�ำเภอ ปะนาเระ อ�ำเภอสายบรุ ี อ�ำเภอไมแ้ กน่ อ�ำเภอกะพอ้ อ�ำเภอยะหรงิ่ (ยกเวน้ ต�ำบลบางปู ต�ำบลแหลมโพธ ิ์ ต�ำบลตะโละกาโปร์ ต�ำบลยามู ต�ำบลราตาปันยัง ต�ำบลตาแกะ ต�ำบลปิยามุมัง ต�ำบลตะโละ ต�ำบล ตาลีอายร์ และต�ำบลปุลากง) มีผู้สมัคร สส.จ�ำนวนทั้งสิ้น 36 คน จาก 36 พรรคการเมือง โดยมีผู้ได้รับ การเลือกตั้งเป็น สส.เขต 3 คือนายอนุมัติ ซูสารอ สังกัดพรรคประชาชาติ คะแนนเสียงจ�ำนวน 36,799 คะแนน และเขตเลอื กตงั้ ที่ 4 ประกอบดว้ ยอ�ำเภอยะรงั อ�ำเภอมายอและอ�ำเภอทงุ่ ยางแดง มผี สู้ มคั ร สส. ในเขตนี้จ�ำนวนทง้ั สน้ิ 25 คน จาก 25 พรรคการเมือง ผู้ไดร้ ับการเลอื กตัง้ เปน็ สส.เขต 4 คือนายสมมตุ ิ เบญ็ จลกั ษณ์ สงั กดั พรรคประชาชาตดิ ว้ ยคะแนนเสยี งจ�ำนวน 29,323 คะแนน สรปุ ในภาพรวมของผสู้ มคั ร รับเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในการเลือกตั้ง 2562 ของจังหวัดปัตตานีในคร้ังนี้มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 130 คน มจี �ำนวนผมู้ าใชส้ ทิ ธเิ ลอื กตง้ั ทงั้ หมดคดิ เปน็ รอ้ ยละ 79.32 จ�ำนวนผมู้ าใชส้ ทิ ธเิ ลอื กตงั้ 387,213 คน จากจ�ำนวนผมู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตง้ั ทง้ั สน้ิ 488,162 คน ซง่ึ มจี �ำนวนมากทส่ี ดุ เทา่ ทเี่ คยมกี ารเลอื กตงั้ มากอ่ นหนา้ นี้ ทง้ั จ�ำนวนผสู้ มคั รและผมู้ าใชส้ ทิ ธเิ ลอื กตงั้ เนอ่ื งจากความตน่ื ตวั ในทางการเมอื งมมี ากขน้ึ และการหา่ งหาย จากการเลือกต้ังท่ัวไปนานถึงแปดปีเป็นปัจจัยหน่ึงท่ีท�ำให้พฤติกรรมความสนใจและการมีส่วนร่วม ในทางการเมืองของประชาชนในจังหวัดปัตตานีเพิ่มข้ึนกว่าเดิม นอกจากน้ีประชาชนในจังหวัดปัตตานี หวังว่าหลังการเลือกตั้งและการได้มาซ่ึงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรน้ันจะเป็นปัจจัยท่ีมีส่วนช่วยหนุนเสริม ในกระบวนการสร้างความสันตสิ ุขและสนั ติภาพใหเ้ กิดขึ้นได้อีกดว้ ย เมอื่ พจิ ารณาผลการเลอื กตงั้ ครง้ั กอ่ นหนา้ นใ้ี นปี 2554 นนั้ พบวา่ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรจงั หวดั ปัตตานสี ่วนใหญ่ทไี่ ดร้ ับคะแนนเสียงสงู สุดในแตล่ ะเขตการเลอื กต้ังครั้งน้นั เปน็ ผสู้ มคั รสมาชิกสภาผ้แู ทน ราษฎรคนเดียวกันกับท่ีได้รับคะแนนเสียงสูงสุดในการเลือกตั้งในครั้งนี้จ�ำนวนสามคนจากทั้งหมดส่ีคน ได้แก่ นายอันวาร์ สาและ นายอนุมัติ ซูสารอ และนายสมมุติ เบ็ญจลักษณ์ และหน่ึงในสามคนมีการ เปล่ียนแปลงไปสังกัดในพรรคการเมืองอื่นแทน คือ นายอนุมัติ ซูสารอ จากพรรคมาตุภูมิย้ายมาสังกัด
8 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมือง และพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดปัตตานี ในพรรคประชาชาติ และนายสมมุติ เบ็ญจลักษณ์ จากพรรคภูมิใจไทยย้ายมาสังกัดในพรรคประชาชาติ เช่นเดียวกัน นอกจากน้ี ผลการเลือกต้ังในคร้ังนี้ยังสะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมการเมืองของประชาชน โดยส่วนใหญ่ในจังหวัดปัตตานีที่ยังคงนิยมและเช่ือม่ันในตัวของผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนเดิม แมว้ า่ บางคนไดย้ า้ ยพรรคไปสงั กดั ในพรรคการเมอื งอนื่ แทนแลว้ กต็ าม สง่ิ นอ้ี าจแสดงใหเ้ หน็ วา่ ผสู้ มคั รสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรคนดังกล่าวอาจปฏิบัติหน้าที่ของตนเองอย่างจริงจังจนสามารถชนะใจของประชาชน ได้อีกคร้ัง นอกจากนี้แล้วการเลือกตั้งท่ัวไปในคร้ังน้ียังสะท้อนให้เห็นถึงพฤติกรรมการต่ืนตัวด้านการมี สว่ นรว่ มในทางการเมอื งของประชาชนในจงั หวดั ปตั ตานมี ากยงิ่ ขน้ึ กวา่ ครงั้ ทผ่ี า่ นมา สงั เกตไดจ้ ากจ�ำนวน ของผอู้ อกมาใชส้ ทิ ธเิ ลอื กตง้ั ทเี่ พม่ิ ขน้ึ เมอ่ื เทยี บกบั การเลอื กตงั้ ทว่ั ไปปี 2554 ดว้ ยจ�ำนวนทเ่ี พม่ิ ขน้ึ รอ้ ยละ 2.48 และพบวา่ ประชาชนสว่ นใหญ่ยังให้ความสนใจในทางการเมืองดว้ ยวิธีการตา่ งๆ อาทิเช่น การร่วม รับฟงั การปราศรยั ของพรรคการเมอื งตา่ งๆ ร่วมรับฟังนโยบายของพรรคและผูส้ มัครท่ีตนเองสนใจเพ่ือ ประกอบการตดั สนิ ใจในการเลอื กตงั้ กนั อยา่ งคบั คง่ั การแสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั การหาเสยี งของแตล่ ะ พรรคการเมือง บ้างก็เข้าไปมีส่วนร่วมในการรณรงค์หาเสียงให้กับพรรคการเมือง เป็นต้น ซ่ึงทั้งหมดน้ี ถอื เปน็ กจิ กรรมการมสี ว่ นรว่ มทางการเมอื งของประชาชนในพน้ื ทจ่ี งั หวดั ปตั ตานที ส่ี นใจและใหค้ วามส�ำคญั กับการใช้สิทธิของตนเพ่ือก�ำหนดทิศทางทางการเมืองในพ้ืนท่ีของตนเอง และอาจกล่าวได้ว่าประชาชน ในจงั หวัดปตั ตานไี ดเ้ รียนรู้ที่จะมีส่วนรว่ มในทางการเมอื งมากข้นึ น้นั เอง
สารบัญ 9 ค�ำน�ำสถาบันพระปกเกลา้ 3 ค�ำน�ำผเู้ ขียน 4 บทสรุปผบู้ รหิ าร 6 สารบญั 9 สารบัญตาราง 11 สารบัญภาพ 12 สารบญั แผนภมู ิ 13 บทที่ 1 บทน�ำ 15 1.1 หลักการและเหตผุ ล 15 1.2 วัตถุประสงค ์ 17 1.3 ขอบเขตของการศกึ ษา 17 1.4 วธิ ีการศกึ ษาวิจัย 20 1.5 ระยะเวลาท�ำการศึกษา 21 1.6 ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะได้รบั 21 บทที่ 2 ขอ้ มลู ทวั่ ไปเกย่ี วกับการเลือกต้ังในจงั หวดั ปัตตาน ี 23 2.1 หน่วยการปกครอง 23 2.2 ข้อมลู สถิตปิ ระชากร 25 2.3 ท�ำเนียบสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรจงั หวัดปตั ตาน ี 26 2.4 การแบ่งเขตการเลือกต้งั และผู้สมัครการเลอื กต้งั 28 2.5 ความแตกตา่ งระหว่างเขตการแบง่ เขตแบบเก่าและแบบใหม่ 29 2.6 ผู้มีสทิ ธเิ ลอื กตั้ง 30 2.7 จ�ำนวนพรรคการเมืองและผูส้ มัครรับเลอื กตงั้ 30
10 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมือง และพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดปัตตานี บทท่ี 3 พฤติกรรมการเลือกตัง้ 35 3.1 แนวคิดพฤติกรรมและการเลอื กตง้ั 35 3.2 นโยบายท่นี า่ สนใจของพรรคการเมืองท่ีมีความโดดเด่นในจังหวัดปตั ตาน ี 42 3.3 อตั ลกั ษณ์พเิ ศษของการหาเสียงในพ้ืนท่ี 52 3.4 การใช้จา่ ยในการหาเสยี งเลอื กตั้ง 54 บทท่ี 4 ผลการเลอื กตั้ง 57 4.1 พฤตกิ รรมทางการเมืองของประชาชน 57 4.2 ผลการเลือกตงั้ 63 4.3 ผู้เกย่ี วขอ้ งกบั การเลือกตงั้ 73 บทที่ 5 รูปแบบ วธิ กี าร และผลกระทบการเลือกต้งั ภายใต้รฐั ธรรมนญู ใหม่ 99 5.1 บทบาทของคณะกรรมการการเลอื กตง้ั จงั หวดั ปตั ตาน ี 100 5.2 บทบาทของกลุ่มภาคประชาสงั คม 102 5.3 เลอื กพรรคหรอื วา่ เลอื กคน? 105 5.4 ส�ำหรับการเลือกต้งั มีผลตอ่ สันติภาพอยา่ งไร? 109 5.5 บทบาทของสือ่ มวลชนต่อการเลือกต้ัง 110 5.6 รปู แบบและวธิ ีการหาเสยี งของผู้สมัครเลือกตงั้ ในจังหวดั ปัตตาน ี 114 บทที่ 6 วิเคราะห์ บทสรุป และข้อเสนอแนะ 123 บรรณานุกรม 129 บุคลานกุ รม 135 ภาคผนวก 137 ผลคะแนนการเลอื กตัง้ สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร แบบแบ่งเขตเลือกต้ัง จงั หวดั ปัตตานี วันท่ี 24 เดือนมีนาคม พุทธศกั ราช 2562 (อย่างไมเ่ ปน็ ทางการ) 137 ผลคะแนนการเลือกตั้งลว่ งหนา้ นอกเขต พุทธศกั ราช 2562 146
11 สารบัญตาราง 24 25 ตารางท่ี 1 หน่วยการปกครองจงั หวัดปตั ตาน ี 26 ตารางท่ี 2 จ�ำนวนประชากรรายอ�ำเภอในปี 2560 30 ตารางท่ี 3 ท�ำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี 60 ตารางท่ี 4 รายชอ่ื พรรคการเมอื งและผูส้ มัครรับเลอื กตงั้ เขตต่างๆ ในจงั หวดั ปัตตาน ี ตารางที่ 5 จ�ำนวนบัตรเลอื กต้งั ล่วงหนา้ จงั หวดั ปตั ตาน ี 62 ตารางท่ี 6 ขอ้ มลู การใชส้ ิทธิเลอื กตั้งสมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎร แบบแบง่ เขตเลอื กต้งั 64 จังหวัดปตั ตานี (วันที่ 24 มีนาคม 2562) ตารางท่ี 7 รายงานผลคะแนนเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร แบบแบง่ เขตเลือกตั้งที่ 1 65 จงั หวดั ปัตตาน ี 66 ตารางที่ 8 รายงานผลคะแนนเลือกต้งั สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบแบง่ เขตเลอื กต้งั ท่ี 2 67 จังหวดั ปัตตานี ตารางท่ี 9 รายงานผลคะแนนเลือกตัง้ สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร แบบแบ่งเขตเลอื กตั้งท่ี 3 69 จงั หวดั ปตั ตาน ี 69 ตารางท่ี 10 รายงานผลคะแนนเลือกตง้ั สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร แบบแบง่ เขตเลือกตั้งท่ี 4 จงั หวัดปัตตาน ี ตารางท่ี 11 เปรยี บเทียบรายชือ่ ผ้สู มคั รสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรทไ่ี ดร้ บั คะแนนเสยี งสูงสุด และการสังกดั พรรคในการเลือกตงั้ ท่ัวไป พุทธศกั ราช 2554 และ 2562 ตารางที่ 12 เปรียบเทยี บคะแนนผสู้ มัครสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรที่ไดร้ บั คะแนนเสียงสงู สดุ ในการเลือกตั้งทวั่ ไป พุทธศักราช 2554 และ 2562
12 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมือง และพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดปัตตานี สารบัญภาพ ภาพท่ี 1 ลกั ษณะการแบง่ เขตเลือกตั้ง จงั หวัดปัตตาน ี 29 ภาพท่ี 2 ตวั อยา่ งการน�ำเสนอข่าวของ THE UNIQUEX 83 ภาพที่ 3 ตวั อยา่ งการจดั เวทใี หผ้ สู้ มคั รไดเ้ ขา้ มาร่วมพดู คุย พบปะนกั ศกึ ษา 84 ภาพท่ี 4 ตวั อย่างการจดั เวทใี ห้มีการวิเคราะห์การเลอื กตัง้ 84 ภาพท่ี 5 นักศึกษาล่ารายช่ือ ถอดถอน กกต. หลังจากการเลือกต้ังท่วั ไป 85 ภาพที่ 6 มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปตั ตานรี วมตวั กันรณรงคไ์ ม่เล่อื นเลือกตั้ง 86 ภาพท่ี 7 ก้าวแรกของเยาวชนร่นุ ใหมส่ ู่การเลือกตงั้ 2562 87 ภาพท่ี 8 กิจกรรมรณรงคโ์ คง้ สุดท้าย (Big Day) จังหวัดปัตตานี 88 ภาพที่ 9 งบประมาณในการจัดการเลอื กตงั้ 90 ภาพท่ี 10 ตวั อยา่ งการน�ำเสนอขอ้ มลู ของเพจ Projek SAMA SAMA 91 ภาพที่ 11 เพจ Projek SAMA SAMA ไดร้ ว่ มจดั ดเี บตออนไลนเ์ พ่ือพดู คยุ กับผสู้ มัคร 92 ภาพที่ 12 เพจ Projek SAMA SAMA กบั กิจกรรมแสดงความคดิ เห็นทางการเมือง 93 ภาพท่ี 13 เพจ Projek SAMA SAMA กับการตดิ ตามบรรยากาศการเลอื กตงั้ 94 และการนับคะแนน ณ หน่วยเลือกตง้ั 95 ภาพที่ 14 สถานีโทรทัศน์ที่น�ำเสนอขา่ วบรรยากาศการเลือกตงั้ ในจังหวัดปตั ตานี 96 ภาพที่ 15 ปา้ ยไวนิล 96 ภาพที่ 16 เวทปี ราศรัย 97 ภาพที่ 17 การลงพื้นทพี่ บปะประชาชน
13 สารบัญแผนภูมิ แผนภมู ทิ ี่ 1 ผู้สมคั รสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรท่ีไดร้ ับคะแนนเสียงสูงสดุ ในแต่ละเขตการเลอื กต้งั 68 จงั หวดั ปัตตานี 71 แผนภมู ทิ ่ี 2 เปรยี บเทียบจ�ำนวนผมู้ าใชส้ ทิ ธเิ ลือกต้งั สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจงั หวดั ปัตตานี พุทธศักราช 2554 และ 2562
14 การศึกษารูปแบบ วิธีการ และผลกระทบการเลือกต้ัง ภายใต้รัฐธรรมนูญใหม่ กรณีศึกษาจังหวัดปัตตานี
15 บทที่ 1 บทน�ำ 1.1 หลักการและเหตุผล การเลอื กตงั้ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในปี พ.ศ. 2562 เปน็ การเลอื กตงั้ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ภายหลงั จากทปี่ ระเทศไทยไมไ่ ดม้ ี การเลือกต้ังติดต่อกันถึงระยะเวลา 8 ปี ซ่ึงเป็นช่วงระยะเวลาท่ีมีความเปล่ียนแปลงเกิดขึ้นในโครงสร้าง ของทางอ�ำนาจ และโครงสรา้ งของสถาบันการเมืองไทยอย่างทไ่ี ม่เคยปรากฏมาก่อน ในส่วนของโครงสร้างทางอ�ำนาจน้ัน การเว้นว่างของการเลือกต้ังในห้วงระยะเวลา 8 ปีน้ี ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการรัฐประหารในวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 ซึ่งเป็นเหตุการณ์ต่อเน่ืองในบริบท ของความขัดแย้งทางการเมืองในประเทศไทยในช่วงระยะเวลากว่าทศวรรษก่อนหน้าน้ัน โดยชนวนของ ความขดั แยง้ ลา่ สดุ อยทู่ เี่ รอ่ื งพระราชบญั ญตั นิ ริ โทษกรรมซงึ่ ไดน้ �ำไปสกู่ ารตอ่ ตา้ นรฐั บาล เหตกุ ารณค์ วามขดั แยง้ ทางการเมอื ง และการใชค้ วามรนุ แรงทงั้ ในเขตกรงุ เทพมหานครและเมอื งใหญห่ ลายเมอื งในประเทศไทย ในชว่ งระยะเวลาดงั กลา่ ว ไดเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงในโครงสรา้ งของความสมั พนั ธท์ างอ�ำนาจของ ประเทศไทยหลายประการ ทงั้ การเกดิ ขนึ้ ของกลมุ่ การเมอื งโดย กปปส. ทป่ี ระสบความส�ำเรจ็ ในการระดม ความสนบั สนุนจากทัว่ ประเทศ ต่อเนื่องมาจนถึงการรฐั ประหาร และแม้กระทัง่ ชว่ งหลงั รัฐประหาร ก็ยัง มีการแสดงออกทางการเมืองของกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ และปฏิกิริยาโต้ตอบของรัฐบาลในการจ�ำกัด การแสดงออกทางการเมือง เช่นการเรยี กพบนักการเมอื งทม่ี บี ทบาทเด่น การสง่ ทหารไปเฝา้ ระวงั ที่บา้ น นักการเมือง หรือเรียกตัวนักการเมืองเข้าพบ คสช. เพ่ือปรับทัศนคติ ซึ่งเกิดควบคู่กับการแสดงออกเชิง สัญลักษณ์ของกลุ่มที่ไม่เห็นด้วยกับรัฐประหาร เช่น กลุ่มประชาธิปไตยใหม่และกลุ่มอ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้อง นอกจากน้ีในช่วงระยะเวลาดงั กลา่ วนี้ ได้มกี ารเสริมบทบาทของขา้ ราชการ โดยมกี ารโยกย้ายสับเปลีย่ น ขา้ ราชการหลายคนใหเ้ ขา้ ไปท�ำงานดา้ นยทุ ธศาสตรช์ าติ ตลอดจนการสนบั สนนุ บทบาททเ่ี ดน่ ชดั มากขน้ึ ใหก้ บั ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ เป็นต้น
16 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมือง และพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดปัตตานี แมจ้ ะมกี ารจ�ำกดั การแสดงออกทางการเมอื ง แตใ่ นระยะเวลาทผี่ า่ นมากลมุ่ ผลประโยชน์ตา่ งๆ หลายกลมุ่ ประสบความส�ำเรจ็ ในการสรา้ งความเปน็ สถาบนั ทางการเมอื งใหก้ บั ตนเอง โดยพฒั นาไปเปน็ พรรคการเมอื ง เชน่ กลมุ่ กปปส. ทกี่ ลายไปเปน็ พรรครวมพลงั ประชาชาตไิ ทย กลมุ่ ของนายไพบลู ย์ นติ ติ ะวนั ที่ได้พัฒนาไปเป็นพรรคประชาชนปฏิรูป และกลุ่มที่เกิดขึ้นจากการรวมตัวของ 4 รัฐมนตรี ได้แก่ พรรค พลงั ประชารฐั ตลอดจนมกี ลมุ่ นกั กจิ กรรมสงั คมทม่ี คี วามสนใจทจ่ี ะตง้ั พรรคการเมอื ง เชน่ พรรคอนาคตใหม่ ท่ี นายธนาธร จงึ รงุ่ เรอื งกจิ และ รศ.ดร. ปยิ บตุ ร แสงกนกกลุ อดตี อาจารยค์ ณะนติ ศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ เป็นผู้ร่วมก่อตั้งพรรค และการประกาศเปล่ียนอุดมการณ์เพ่ือย้ายพรรคการเมืองของ นกั การเมอื งหลายคนทีต่ อ้ งปรบั ตวั ภายใตร้ ฐั ธรรมนูญใหม่ นอกจากการเคลอ่ื นไหวทางการเมอื งแลว้ ในสว่ นของรฐั บาลเอง ไดม้ กี ารประกาศใชร้ ฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญอีก 3 ฉบับ ได้แก ่ พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยการเลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบ รฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยคณะกรรมการการเลอื กตง้ั และพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยพรรคการเมอื ง จากโครงสร้างดังกล่าวนี้ ได้ส่งผลให้การเลือกต้ังแตกต่างจากการเลือกต้ังท่ีผ่านมาตั้งแต่หลังป ี พ.ศ. 2544 โดยสน้ิ เชิง เช่น การเลือกต้งั แบบบัตรใบเดยี ว โดยใช้การนบั คะแนนแบบจดั สรรปนั ส่วนผสม ยงั มมี าตรการใหม่ทีก่ �ำหนดรายละเอียดเกย่ี วกับการเลอื กต้ังขน้ั ตน้ (แมภ้ ายหลังจะมีมาตรา 44 ออกมา สร้างความยืดหยุ่นให้กับมาตรการดังกล่าว) เง่ือนไขใหม่เกี่ยวกับการจัดตั้งพรรคการเมือง หน้าท่ีและ สถานภาพของสมาชิกพรรคการเมือง และคณะกรรมการบริหารพรรค รวมท้ังการก�ำหนดโทษของ พรรคการเมืองไว้สูงมาก การก�ำหนดอัตราค่าใช้จ่ายในการเลือกต้ังของพรรคการเมืองและวิธีการ หาเสียงเลือกต้ังของพรรคการเมืองในมาตรา 62-83 ของพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย การเลอื กต้งั บทบาททเี่ พมิ่ มากขน้ึ ของคณะกรรมการการเลอื กตง้ั พรอ้ มกบั การประกาศยทุ ธศาสตรช์ าต ิ 20 ปี และแผนการปฏริ ปู ประเทศ 13 ดา้ น ซง่ึ ลว้ นแลว้ แตเ่ ปน็ กตกิ า หรอื บทบญั ญตั ใิ หมท่ เ่ี กดิ ขน้ึ ทจี่ ะสง่ ผล ตอ่ โครงสรา้ งทางการเมอื ง และการเปลย่ี นแปลงของสถาบนั การเมอื งไทยอกี หลายสถาบนั ซงึ่ ยงั ไมน่ บั ถงึ พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู อกี หลายฉบบั ทใ่ี หบ้ ทบาทหนา้ ทกี่ บั องคก์ รอน่ื ๆ มากขนึ้ ซงึ่ จะมผี ล ต่ออ�ำนาจและบทบาทของผแู้ ทนราษฎรและรัฐบาลท่ีจะเกดิ ขน้ึ ภายหลงั การเลือกตั้ง ด้วยการเปล่ียนแปลงในโครงสร้างทางอ�ำนาจ และโครงสร้างของสถาบันการเมืองในช่วงระยะ เวลา 8 ปีท่ีผ่านมา จึงเป็นที่จับตามองว่า การเลือกตั้งคร้ังนี้จะสามารถบรรเทาความขัดแย้งท่ีเกิดขึ้นมา เป็นระยะเวลากว่าทศวรรษได้หรือไม่ และจะท�ำให้ประเทศไทยเข้าสู่ระบอบประชาธิปไตย ที่มีคุณภาพ ได้หรือไม่ จะท�ำให้การปฏิรูปการเมืองเกิดข้ึนจริงหรือไม่ พฤติกรรมทางการเมืองของประชาชนจะมี การเปลย่ี นแปลงไปอยา่ งไร ประชาชนมกี ารเรยี นรทู้ างการเมอื งมากขน้ึ หรอื ไม่ และภายใตก้ รอบกตกิ าใหมน่ ้ี ผลของการเลอื กตงั้ ยงั จะยนื ยนั ความตง้ั มน่ั ของระบบพรรคการเมอื ง หรอื ความเขม้ แขง็ ของพรรคการเมอื ง บางพรรคทเี่ คยก่อร่างสร้างตวั มาจากรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ไดห้ รอื ไม่
17 การจับตาของประเด็นทั้งหลายที่กล่าวมานั้น จึงควรจะได้รับการศึกษาเชิงลึกเก่ียวกับ การเคลอ่ื นไหวทางการเมอื งในระดบั พนื้ ที่ เพอ่ื การท�ำความเขา้ ใจพฤตกิ รรมการเมอื งกตกิ าใหมท่ างการเมอื ง ซง่ึ มคี วามส�ำคญั เปน็ อยา่ งยงิ่ ทจี่ ะน�ำไปสกู่ ารพฒั นาการเมอื งการปกครองไทยในระบอบประชาธปิ ไตยตอ่ ไป 1.2 วัตถุประสงค์ 2.1 เพ่ือศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมือง ขององค์กรและกลุ่มทางการเมืองท่ีเกี่ยวข้องกับ การเลือกตงั้ สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรในจังหวัดปตั ตานี 2.2 เพื่อศึกษาบทบาทของหน่วยงานภาครัฐ คณะกรรมการเลือกต้ัง (กกต.) จังหวัดปัตตาน ี กลมุ่ ภาคประชาสงั คม ทเี่ ขา้ มามบี ทบาททเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรในเขตจงั หวดั ปตั ตานี 2.3 เพ่ือศึกษาการเปลี่ยนของพฤติกรรมทางการเมือง แบบแผนพฤติกรรมทางการเมือง ของประชาชน และกลุ่มการเมือง ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในจังหวัด ปัตตานี 2.4 เพอ่ื ศกึ ษาพฤตกิ รรมการใชท้ รพั ยากรตา่ งๆ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในเรอ่ื งคา่ ใชจ้ า่ ย เพอื่ ใหเ้ หน็ มูลค่าของการใชจ้ า่ ยในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับการเลือกตง้ั สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรในจังหวัดปัตตานี 2.5 เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของขั้วอ�ำนาจทางการเมือง การย้ายพรรคการเมือง ปัจจัยท่ี ส่งผลตอ่ การตัดสินใจทางการเมือง รวมทั้งการวเิ คราะหผ์ ลการเลือกตงั้ ทีเ่ กิดขึ้นในเขตจงั หวัดปัตตานี 1.3 ขอบเขตของการศึกษา 1.3.1 ขอบเขตดา้ นเวลา ขอบเขตด้านเวลาของการศึกษาประกอบไปด้วย การศึกษาตั้งแต่ช่วงก่อนการเลือกตั้ง ช่วง ระหวา่ งการมพี ระราชกฤษฎกี าก�ำหนดใหม้ กี ารเลอื กตง้ั วนั เลอื กตง้ั จนถงึ ประมาณ 1 เดอื น ภายหลงั จาก คณะกรรมการเลือกต้งั ประกาศรับรองผลการเลอื กตั้งอย่างเปน็ ทางการในจงั หวดั ปัตตานี 1.3.2 ขอบเขตประชากร ประชากรท่ีท�ำการศึกษาได้แก่ ผู้ลงสมัครรับเลือกต้ัง หน่วยงานภาครัฐ ภาคประชาสังคม สื่อมวลชน และองคก์ รอืน่ ๆ ท่ีตดิ ตามและมสี ่วนรว่ มในการเลือกตง้ั เขตจังหวดั ปตั ตานี
18 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมือง และพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดปัตตานี 1.3.3 ขอบเขตพ้นื ท่ี พนื้ ทีเ่ ขตเลือกตง้ั จ�ำนวน 4 เขต ในจงั หวดั ปตั ตานี 1.3.4 ขอบเขตเนอื้ หา ก. การต้ังมั่นของความเปน็ พรรคการเมือง 1) โดยศกึ ษาการแขง่ ขนั ทางการเมอื ง โครงสรา้ งของตระกลู การเมอื ง หรอื เครอื ขา่ ยทางการเมอื ง ในเขตพนื้ ทจี่ งั หวดั วา่ มกี ารเปลยี่ นแปลงสงั กดั พรรคการเมอื งจากการเลอื กตง้ั 3 ครงั้ ทผ่ี า่ นมา หรอื ไม่ และหากมกี ารเปลย่ี นแปลง อะไรคอื ปจั จยั ทท่ี �ำใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลง แตถ่ า้ หาก ไม่มีการเปล่ียนแปลง โปรดระบุสาเหตุท่ีผู้สมัครรับเลือกต้ัง หรือเครือข่ายการเมืองเดิม ยังคงอย่ใู นพรรคการเมอื งเดิมโดยไมเ่ ปลี่ยนแปลง 2) การเปล่ียนแปลงพรรคการเมืองของผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง หรือเครือข่ายทางการเมือง มผี ลตอ่ รปู แบบการแพช้ นะ ของผสู้ มคั รรบั เลอื กตง้ั หรอื ไม่ อยา่ งไร หากไมม่ ี อะไรคอื ปจั จยั ทที่ �ำให้ผลของการเลือกต้ังออกมาในรูปแบบนน้ั 3) การเลือกตั้งระบบใหม่ท่ีเป็นแบบบัตรใบเดียวที่บีบคั้นให้คนต้องเลือกคนหรือเลือก พรรคการเมือง มีผลต่อการตัดสินใจของผู้ลงคะแนนเสียงเลือกต้ังหรือไม่ อย่างไร ผู้ลงคะแนนเสียงเลือกตั้งใช้ปัจจัยอะไรมาก�ำหนดให้ตนเลือกพรรค หรือเลือกผู้สมัคร รับเลอื กตง้ั คนไหน อย่างไร 4) การที่แต่ละพรรคต้องด�ำเนินนโยบายตามยุทธศาสตร์ชาติ มีผลท�ำให้นโยบายของ แตล่ ะพรรคในเขตพน้ื ทมี่ คี วามแตกตา่ งกนั หรอื ไม่ ในสว่ นของนโยบายพรรคทแ่ี ตกตา่ งกนั มีอิทธิพลต่อการลงคะแนนเสียงเลือกต้ัง ของผู้ลงคะแนนเสียงหรือไม่ หากเปรียบเทียบ กบั ปจั จยั ดา้ นตวั บคุ คลของผลู้ งสมคั รรบั เลอื กตง้ั นโยบายพรรคหรอื ตวั บคุ คลมอี ทิ ธพิ ลตอ่ การตัดสนิ ใจของผู้ลงคะแนนเสียงเลือกตั้งมากกว่ากัน 5). สภาพการณ์ที่เปล่ียนไปของเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี ซึ่งส่ิงต่างๆ เหล่าน้ีท�ำให้ ผู้ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง มีความนิยม หรือมีความผูกพันกับพรรคการเมืองต่างไปจาก การเลือกตั้งครั้งท่ีแล้วหรือไม่ ท้ังน้ีเพ่ือค�ำถามว่า 8 ปีที่ไร้การเลือกตั้งน้ัน ความเป็น พรรคการเมอื ง หรอื ความนยิ มในพรรคการเมอื ง ยงั สามารถฝงั รากลกึ ในสงั คมไทยไดห้ รอื ไม ่ เพราะเหตุใด
19 ข. พฤติกรรมการเลอื กตงั้ เป็นการศึกษาวิเคราะห์ เปรียบเทียบ ในทุกประเด็น เช่น การเลือกต้ังในคร้ังน้ีมีความเหมือน หรอื แตกตา่ งจากการเลอื กตงั้ ทเี่ คยผา่ นมาในพนื้ ทหี่ รอื ไม่ มปี ระเดน็ ใดบา้ ง มกี ารเปลยี่ นแปลงทส่ี �ำคญั ใน เรอ่ื งใด และสง่ ผลกระทบส�ำคญั ในเรอื่ งการพฒั นาประชาธปิ ไตยอยา่ งไรนอกจากนย้ี งั ศกึ ษาความแตกตา่ ง หลากหลาย (diversity) ของผู้สมัคร ในมิติความหลากหลายทางเพศ ชาติพันธุ์ ลักษณะทางกายภาพ (พกิ าร) และการท�ำงานในพน้ื ที่ รวมถงึ การแขง่ ขนั ทางการเมอื งทงั้ ในสว่ นทส่ี ามารถเหน็ ไดช้ ดั เจน เชน่ การ รณรงคห์ าเสยี ง กลยทุ ธ์ วธิ กี าร การน�ำเสนอนโยบาย ตลอดจนการแขง่ ขนั ในสว่ นทป่ี ดิ บงั เชน่ การซอ้ื เสยี ง การใชอ้ ิทธิพลของหนว่ ยงานการแทรกแซงดว้ ยวธิ กี ารตา่ งๆ เป็นต้น ค. การใช้เงนิ ในการหาเสยี งเลอื กต้ัง 1) ศึกษาผลของการบังคับใช้มาตรการควบคุมค่าใช้จ่ายในการเลือกต้ังตามกฎหมายใหม่ โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบเจตนารมณ์ของกฎหมายกับผลที่เกิดข้ึนจริงในระดับพ้ืนที่ ผา่ นการศกึ ษาบทบาทและวธิ กี ารปฏบิ ตั งิ านของผจู้ ดั การเลอื กตงั้ วา่ มวี ธิ คี วบคมุ ตรวจสอบ ค่าใช้จ่ายในการเลือกตั้งของพรรคการเมือง/นักการเมืองในพื้นท่ีอย่างไร ได้ผลหรือไม่ และพฤตกิ รรมของผสู้ มคั ร/พรรคการเมอื งวา่ มปี ญั หาอปุ สรรคในการปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย หรอื ไม่ มคี วามพยายามทจ่ี ะหลบเลี่ยงกฎหมายหรือไม่ อย่างไร 2) ศึกษาอิทธิพลของการใช้จ่ายเงินของผู้สมัครและพรรคการเมืองมีต่อประชาชน และผล ของการเลอื กตง้ั ทง้ั การใชจ้ า่ ยเงนิ ทถี่ กู กฎหมายและไมถ่ กู กฎหมาย โดยใหค้ วามส�ำคญั กบั การส�ำรวจในพนื้ ทวี่ า่ ยงั มกี ารซอ้ื สทิ ธขิ ายเสยี งอยหู่ รอื ไม่ มรี ปู แบบหรอื กระบวนการอยา่ งไร ในการซอ้ื เสยี ง หรอื หากมกี ารใหเ้ ปน็ ผลประโยชนอ์ นื่ นอกจากตวั เงนิ ผลประโยชนด์ งั กลา่ ว คอื อะไร เปน็ การแลกเปลยี่ นผลประโยชนใ์ นรปู แบบใด และการซอ้ื เสยี งไมว่ า่ จะในรปู แบบ ใดยงั มอี ทิ ธิพลตอ่ การตดั สินใจของผลู้ งคะแนนเสยี งเลอื กต้ังหรอื ไม่ อยา่ งไร 3) สงั เกต และชวี้ ดั ความรสู้ กึ ถงึ ทศั นคตแิ ละการใหเ้ หตผุ ลของบคุ คลทว่ั ไปในการรบั รเู้ กย่ี วกบั การซอ้ื เสยี ง แลกผลประโยชน์ และสรา้ งเครอื ขา่ ยอปุ ถมั ภใ์ นพนื้ ท่ี โดยพจิ ารณาวา่ ประชาชน ทั่วไปสามารถยอมรับพฤติกรรมดังกล่าวได้หรือไม่ เพราะเหตุใด และประชาชนท่ัวไป มกี ารตอบสนองต่อพฤตกิ รรมดังกล่าวอย่างไรบา้ ง ง. นโยบายเพ่ือการยตุ คิ วามรุนแรงและกระบวนการพดู คุยเพอื่ สนั ตสิ ขุ ศึกษานโยบายของพรรคการเมืองของผู้ลงสมัครเลือกต้ังในการแก้ไขปัญหาความไม่สงบใน จงั หวดั ชายแดนภาคใต้
20 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมือง และพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดปัตตานี 1.4 วิธีการศึกษาวิจัย ประเภทของข้อมลู สามารถแบง่ ออกไดด้ ั้งน้ี ขอ้ มลู ปฐมภมู ิ (Primary data) เปน็ ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการเกบ็ ขอ้ มลู ภาคสนามทไ่ี ดจ้ ากการสมั ภาษณ์ เชงิ ลกึ (In-depth Interview) จากกลมุ่ ตวั อยา่ งทไี่ ดก้ �ำหนดไวใ้ นการศกึ ษาวจิ ยั ครงั้ นี้ โดยการลงพนื้ ทใ่ี นพนื้ ท่ี จังหวัดปตั ตานี และน�ำขอ้ มลู จากภาคสนามน�ำมาวเิ คราะห์ตามกรอบแนวคิดในการศกึ ษา ขอ้ มูลทตุ ยิ ภมู ิ (Secondary data) เปน็ ข้อมูลทไี่ ดจ้ ากการศกึ ษาค้นควา้ แนวคิดและทฤษฎี ท้งั ที่ ตพี มิ พเ์ ปน็ เอกสารภาษาไทยและภาษาองั กฤษ จากต�ำรา บทความทางวชิ าการ เอกสารของทางราชการ และองค์กรเอกชน หนังสือ งานค้นคว้า วิจัย บทความ หนังสือพิมพ์ และรายงานสถิติต่างๆ ท้ังในและ ตา่ งประเทศ โดยเฉพาะทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับงานศึกษาชนิ้ นี้ วธิ ีวทิ ยาในการศกึ ษา การวิธกี ารเก็บขอ้ มลู การเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) การศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผู้ศึกษา ได้ลงพื้นสัมภาษณ์ผู้ที่เก่ียวข้อง ตั้งแต่ ประธานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจ�ำจังหวัดปัตตานี (กกต. จังหวัดปัตตานี) ผู้สมัครเลือกตั้งทั้ง 4 เขต โดยผู้สมัครที่ได้รับการเลือกต้ังเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร องค์กรพัฒนาเอกชน (NGO) นักสื่อสารมวลชน ฯลฯ โดยท้ังหมดน้ีผู้วิจัยได้ท�ำการจดบันทึกและบันทึก เสียงการสัมภาษณ์ไว้ท้ังหมดขณะการสัมภาษณ์โดยท�ำการถอดข้อความค�ำต่อค�ำอย่างเคร่งครัด เพื่อ ป้องกันความผิดพลาดระหว่างการสัมภาษณ์ และน�ำเน้ือหามาวิเคราะห์เพ่ือแยกประเภท (Categories) สรปุ รวบยอด (Conceptualize) ขนึ้ มา จากนน้ั จงึ หาความสมั พนั ธแ์ ละการเชอื่ มโยงระหวา่ งกนั เพอ่ื ใหเ้ กดิ ขอ้ สรปุ ทางด้านวชิ าการอันเปน็ ข้ันตอนท่มี ีความส�ำคัญ สงั เกตการณแ์ บบไมม่ สี ว่ นรว่ ม (Non participative) การวจิ ยั แบบไมม่ สี ว่ นรว่ มหรอื สงั เกตการณ์ แบบไม่มีส่วนร่วม (Non participative Observation) เป็นการสังเกตการณ์ท่ีผู้วิจัยไม่ได้เข้าไปมีส่วนร่วม ในกจิ กรรมตา่ งๆ ทเี่ กดิ ขน้ึ โดยเสมอื นการเปน็ คนขา้ งนอกแตท่ ง้ั น้ี เจตนาเพอื่ ตอ้ งการใหไ้ ดข้ อ้ มลู ในลกั ษณะ ทมี่ คี วามเปน็ ธรรมชาตมิ ากทส่ี ดุ อาทเิ ชน่ การสงั เกตการณก์ ารปราศรยั ของพรรคการเมอื งตา่ งๆ ในเขตพนื้ ท ี่ จังหวัดปัตตานี การเขา้ ร่วมวงเสวนาอภปิ รายการเลอื กตง้ั จากองค์กรต่างๆ ท่ีจดั ข้ึนในพนื้ ท่ี ในขัน้ ตอนน้ี มคี วามส�ำคญั ต่อการทราบถึงบรรยากาศการเลือกตงั้ ในพ้ืนทจ่ี ังหวดั ปัตตานี การเก็บรวบรวมข้อมลู ทตุ ยิ ภมู ิ (Secondary data) เปน็ ขอ้ มลู ทไ่ี ด้คัดเลอื กและรวบรวมจาก การศึกษาเอกสาร บทความ วิจัย หนังสือ วารสาร สิ่งตีพิมพ์ โดยเฉพาะข้อมูลในพ้ืนท่ีออนไลน์ท่ีถือว่า เป็นข้อมูลที่มีความส�ำคัญอย่างยิ่งต่อการเลือกต้ังคร้ังนี้ ตลอดจนประกาศต่างๆ ของคณะกรรมการ การเลือกต้ังมีผลต่อการเลือกตั้งคร้ังน้ีอย่างมีนัยยะส�ำคัญท้ังในแง่ของวิธีการการหาเสียงเลือกตั้งและ ผลของการเลอื กตงั้ คร้งั นี้
21 วิธีการเก็บข้อมูลของงานศึกษาวิจัยช้ินน้ี เป็นเรื่องของวิธีวิทยา (Methodology) ซ่ึงว่าด้วย วิธีการในการได้มาซ่ึงความรู้ ฐานข้อมูลของการท�ำงานวิจัยช้ินน้ี ก่อนท่ีน�ำไปสู่การวิเคราะห์อีกช้ันหน่ึง โดยอาศัยวิธีการศึกษาเชิงคุณภาพเป็นเคร่ืองมือส�ำคัญในการศึกษา ได้แก่ กรอบของกฎหมาย เช่น ข้ันตอนการเลือกต้ังตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 และพระราชบัญญัติประกอบ รฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยการเลอื กตงั้ พ.ศ. 2560 อ�ำนาจหนา้ ทขี่ องคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ตามพระราชบญั ญตั ิ ประกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยคณะกรรมการการเลอื กตง้ั และบทบาทของพรรคการเมอื งตามพระราชบญั ญตั ิ ประกอบรัฐธรรมนญู ว่าดว้ ยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 ขอ้ มลู เชงิ พน้ื ทใ่ี นจงั หวดั ปตั ตานี เชน่ ขอ้ มลู ประชากร ขอ้ มลู พรรคการเมอื งทม่ี ผี สู้ มคั รรบั เลอื กตง้ั ในจงั หวดั ทกี่ �ำหนดทง้ั ในการเลอื กตง้ั ปจั จบุ นั และการเลอื กตง้ั ในอดตี และขอ้ มลู ประวตั ผิ ลู้ งสมคั รรบั เลอื กตงั้ พร้อมความเป็นเครือญาติ หรือเครือข่ายของนักการเมืองเก่า ทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น และ ผลการเลือกต้ังยอ้ นหลงั 3 ครงั้ ในเขตจังหวดั จังหวดั ปตั ตานี 1.5 ระยะเวลาท�ำการศึกษา 1 มกราคม 2562 – 30 กันยายน 2562 1.6 ประโยชน์ที่ได้รับ 1. ทราบถงึ บรรยากาศทว่ั ไป ความรคู้ วามเขา้ ใจ และความเคลอ่ื นไหวของประชาชน คณะกรรมการ เลือกตั้ง องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พรรคการเมืองและนักการเมืองในพ้ืนท่ี องค์กรเอกชน องค์กร สาธารณะ และหนว่ ยงานภาครฐั รวมถงึ องคก์ รอน่ื ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การเลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร 2. ทราบถึงบทบาทและการท�ำงานของคณะกรรมการการเลือกตั้งระดับต่างๆ รวมถึงปัญหา อุปสรรค และการแก้ไขปัญหาทเี่ กดิ ข้ึนจากการบริหารจัดการการเลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร
22 การศึกษารูปแบบ วิธีการ และผลกระทบการเลือกต้ัง ภายใต้รัฐธรรมนูญใหม่ กรณีศึกษาจังหวัดปัตตานี
23 บทที่ 2 ข้อมูลทั่วไปเก่ียวกับการเลือกต้ัง ในจังหวัดปัตตานี ข้อมูลทั่วไปเก่ียวกับประวัติศาสตร์ของจังหวัดปัตตานี นับว่าเป็นเร่ืองท่ีมีความส�ำคัญย่ิงต่อ การพนิ จิ พเิ คราะหภ์ มู ทิ ศั นก์ ารเมอื ง บทนจ้ี ะน�ำเสนอใหเ้ หน็ ภาพประวตั ศิ าสตรก์ ารเมอื งในจงั หวดั ชายแดน ภาคใต้ 2.1 หน่วยการปกครอง จังหวัดปัตตานี แบ่งหน่วยการปกครองออกเป็น 12 อ�ำเภอ 115 ต�ำบล 642 หมู่บ้าน โดยมี หน่วยการปกครองส่วนท้องถ่ิน ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลเมือง 2 แห่ง เทศบาลต�ำบล 15 แห่ง และองคก์ ารบริหารสว่ นต�ำบล 96 แหง่ โดย 12 อ�ำเภอ จังหวัดปตั ตานี ไดแ้ ก่ 1. อ�ำเภอเมืองปตั ตานี 7. อ�ำเภอปะนาเระ 2. อ�ำเภอโคกโพธ์ิ 8. อ�ำเภอมายอ 3. อ�ำเภอหนองจิก 9. อ�ำเภอทุง่ ยางแดง 4. อ�ำเภอสายบุรี 10. อ�ำเภอกะพอ้ 5. อ�ำเภอยะหรง่ิ 11. อ�ำเภอแม่ลาน 6. อ�ำเภอยะรงั 12. อ�ำเภอไม้แกน่ หนว่ ยการปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ จงั หวดั ปตั ตานี ประกอบดว้ ย อบจ. 1 แหง่ เทศบาลเมอื ง 2 แหง่ เทศบาลต�ำบล 15 แห่ง และ องค์การบริหารส่วนต�ำบล 96 แหง่ ดังนี้
24 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมือง และพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดปัตตานี 1. องคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัดปัตตานี 10. เทศบาลต�ำบลมะกรดู 2. เทศบาลเมอื งปัตตานี 11. เทศบาลต�ำบลยะหริ่ง 3. เทศบาลเมอื งตะลบุ ัน 12. เทศบาลต�ำบลบางปู 4. เทศบาลต�ำบลเตราะบอน 13. เทศบาลต�ำบลตันหยง 5. เทศบาลต�ำบลรูสะมิแล 14. เทศบาลต�ำบลตอหลัง 6. เทศบาลต�ำบลหนองจิก 15. เทศบาลต�ำบลปะนาเระ 7. เทศบาลต�ำบลบ่อทอง 16. เทศบาลต�ำบลพ่อม่ิง 8. เทศบาลต�ำบลโคกโพธ์ิ 17. เทศบาลต�ำบลมายอ 9. เทศบาลต�ำบลนาประดู่ 18. เทศบาลต�ำบลมะรัง ตารางที่ 1 หน่วยการปกครองจังหวดั ปัตตานี อ�ำเภอ เนื้อที่ ตำ� บล หมบู่ า้ น อบต. เทศบาล ชุมชน ร้อยละ ระยะหา่ ง (ตร.กม.) ของพืน้ ที่ จากจงั หวดั ในจงั หวัด 1.เมอื งปตั ตานี 96.837 13 66 9 2 19 (กม.) 12 1 4.99 0.05 2.ยะรงั 183.952 12 72 11 2 - 9.48 11 3 - 11.93 15 3.หนองจิก 231.526 12 76 14 4 - 17.49 8 8 2 - 10.14 26 4.โคกโพธ์ิ 339.414 12 82 10 1 - 7.42 14 8 2 - 11.14 43 5.ยะหรงิ่ 196.829 18 81 3 - 20 9.20 29 4 - 2.84 50 6.ปะนาเระ 144.058 10 53 3 - - 5.93 65 3 - - 4.83 45 7.มายอ 216.136 13 59 96 17 - 4.60 68 - 100 30 8.สายบุรี 178.424 11 64 39 - 9.ไม้แกน่ 55.201 4 17 10.ทุ่งยางแดง 114.970 4 23 11.กะพอ้ 93.815 3 27 12.แม่ลาน 89.194 3 22 รวม 1,940.356 115 642 ที่มา : ท่ีท�ำการปกครองจังหวดั ปัตตานี, 2559
25 2.2 ข้อมูลสถิติประชากร ขอ้ มูลสรปุ จ�ำนวนครวั เรอื น ประชากร ผ้มู สี ทิ ธเิ ลือกต้งั และหนว่ ยเลือกตัง้ ตารางที่ 2 จำ� นวนประชากรรายอ�ำเภอในปี 2560 ที่ เขต อ�ำเภอ ครวั เรือน ประชากร ผมู้ สี ทิ ธิเลือกตั้ง เลอื กตง้ั (ณ 24 ม.ค. 62) (ณ 31 ธ.ค. 60) (ณ 1 ธ.ค. 61) 1 1 เมืองปตั ตานี 45,500 132,628 91,342 40,207 2 1 ยะหริ่ง เขต 1 13,661 59,711 131,549 รวมเขตเลอื กตัง้ ที่ 1 59,161 192,339 49,366 55,484 3 2 โคกโพธิ์ 20,155 68,180 11,763 116,613 4 2 หนอกจิก 20,405 79,856 18,848 5 2 แม่ลาน 4,317 16,876 48,363 32,386 รวมเขตเลอื กตง้ั ที่ 2 44,877 164,912 12,575 8,782 6 3 ยะหร่งิ เขต 3 6,318 27,829 120,954 7 3 สายบรุ ี 17,399 69,844 63,652 39,773 8 3 ปะนาเระ 11,870 46,336 15,760 119,185 9 3 กะพอ้ 4,328 18,452 488,301 10 3 ไม้แกน่ 3,284 12,637 รวมเขตเลอื กต้ังท่ี 3 43,199 175,098 11 4 ยะรงั 22,090 93,131 12 4 มายอ 13,546 60,333 13 4 ทงุ่ ยางแดง 5,626 23,983 รวมเขตเลอื กต้ังที่ 4 41,262 177,447 รวมทัง้ ส้นิ 188,499 709,796 ท่ีมา : ส�ำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจ�ำจังหวัดปัตตาน,ี 2562
26 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมือง และพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดปัตตานี 2.3 ท�ำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี ตารางท่ี 3 ทำ� เนียบสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรจังหวัดปัตตานี ชดุ ที่ ปี พ.ศ. สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร สงั กัด 1 2476 นายแทน วเิ ศษสมบตั ิ ไมส่ ังกัดพรรคการเมือง 2 2480 พระพพิ ิธภักดี ไม่สงั กัดพรรคการเมือง (ตนกมู กุ ดา อับดุลบุตร) 3 2481 พระพพิ ิธภกั ดี ไม่สังกัดพรรคการเมือง (ตนกมู ุกดา อบั ดลุ บุตร) 4 2489 นายเจรญิ สบื แสง ไมส่ งั กัดพรรคการเมือง นายจรูญ สืบแสง (เลอื กตั้งเพมิ่ เติม) ไมส่ ังกัดพรรคการเมือง 5 2491 นายเจรญิ สบื แสง ไม่สังกดั พรรคการเมอื ง 6 2492 นายเจริญ สืบแสง ไม่สงั กัดพรรคการเมอื ง 7 2495 พระพิพธิ ภกั ดี ไมส่ ังกดั พรรคการเมอื ง (ตนกูมุกดา อับดุลบตุ ร) 8 2500 นายบันเทงิ อับดุลบุตร สงั กัดพรรคเสรีมนงั คศิลา นายอามีน โต๊ะมีนา สงั กัดพรรคเสรมี นงั คศลิ า 9 2500 นายเจริญ สืบแสง ไมส่ งั กัดพรรคการเมือง นายอามีน โต๊ะมนี า ไม่สงั กัดพรรคการเมอื ง 10 2512 นายวไิ ล เบญจลักษณ์ สงั กัดพรรคประชาธิปตั ย์ นายบันเทงิ อับดุลบตุ ร สงั กดั พรรคสหประชาไทย 11 2518 นายทวศี ักดิ์ อบั ดลุ บตุ ร สังกดั พรรคชาติไทย นายก�ำธร ลาชโรจน์ สังกดั พรรคชาติไทย นายสดุ ิน ภูยทุ ธานนท์ สังกดั พรรคเกษตรสังคม 12 2519 นายเดน่ โต๊ะมนี า สงั กดั พรรคประชาธิปตั ย์ นายสุรพงษ์ ราชมุกดา สงั กดั พรรคประชาธิปัตย์ นายสุดิน ภูยทุ ธานนท ์ สงั กัดพรรคประชาธปิ ัตย์ 13 2522 นายเดน่ โต๊ะมนี า สังกัดพรรคประชาธิปตั ย์ นายทวีศกั ด์ิ อบั ดลุ บตุ ร สังกัดพรรคสยามประชาธปิ ไตย นายก�ำธร ลาชโรจน์ สงั กดั พรรคสยามประชาธิปไตย นายวัยโรจน์ พพิ ิธภักดี สังกดั พรรคกิจสงั คม (เลือกตง้ั ซ่อมแทน นายก�ำธร ซง่ึ เสียชีวิต)
27 ชุดที่ ปี พ.ศ. สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร สงั กดั 14 2526 นายเดน่ โตะ๊ มีนา สังกัดพรรคชาติไทย สังกัดพรรคชาติไทย นายทวศี ักดิ์ อบั ดุลบุตร สังกัดพรรคชาติไทย นายเทีย่ ง เรอื งประดษิ ฐ ์ สังกดั พรรคประชาธิปัตย์ 15 2529 นายเด่น โตะ๊ มนี า สังกดั พรรคประชาธปิ ตั ย์ นายปรีชา บุญมี สงั กัดพรรคสหประชาธิปไตย นายสดุ นิ ภูยุทธานนท ์ สงั กดั พรรคประชาชน → พรรคเอกภาพ 16 2531 นายเดน่ โตะ๊ มนี า สงั กดั พรรคประชาชน → พรรคเอกภาพ นายปรชี า บญุ มี สงั กดั พรรคชาตไิ ทย นายทวีศกั ดิ์ อบั ดลุ บตุ ร สังกดั พรรคความหวังใหม่ 17 2535 นายเดน่ โต๊ะมีนา สงั กัดพรรคความหวังใหม่ นายมุข สุไลมาน สงั กดั พรรคสามคั คีธรรม นายสดุ นิ ภูยุทธานนท ์ สังกัดพรรคความหวงั ใหม่ 18 2535 นายเด่น โตะ๊ มนี า สังกดั พรรคความหวงั ใหม่ นายมขุ สไุ ลมาน สงั กดั พรรคความหวงั ใหม่ นายสดุ ิน ภยู ุทธานนท ์ สังกัดพรรคประชาธปิ ัตย์ เขตเลือกตง้ั ท่ี 1 19 2538 นายวยั โรจน์ พพิ ธิ ภักด ี สงั กัดพรรคประชาธปิ ัตย์ เขตเลือกตั้งท่ี 1 นายมะรีเปง็ จะปะกิยา สงั กัดพรรคความหวงั ใหม่ เขตเลอื กตั้งท่ี 2 นายมุข สุไลมาน สงั กดั พรรคความหวงั ใหม่ เขตเลอื กต้ังที่ 2 นายสดุ ิน ภยู ทุ ธานนท ์ สงั กัดพรรคประชาธปิ ตั ย์ เขตเลอื กตง้ั ท่ี 1 สงั กดั พรรคความหวังใหม่ เขตเลอื กตง้ั ที่ 1 20 2539 นายวยั โรจน์ พิพธิ ภักด ี สังกัดพรรคความหวงั ใหม่ เขตเลือกตั้งท่ี 2 นายเดน่ โต๊ะมีนา สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เขตเลือกต้งั ท่ี 2 นายมุข สไุ ลมาน สงั กดั พรรคประชาธปิ ัตย์ เขตเลือกตัง้ ที่ 1 พันต�ำรวจโทเจะ๊ อสิ มาแอ เจ๊ะโมง สังกัดพรรคประชาธปิ ัตย์ เขตเลือกตง้ั ท่ี 2 สงั กัดพรรคประชาธปิ ตั ย์ เขตเลือกต้งั ที่ 3 21 2544 นายวัยโรจน์ พิพิธภกั ด ี สงั กดั พรรคพรรคไทยรกั ไทย เขตเลือกตัง้ ท่ี 4 พนั ต�ำรวจโทเจ๊ะอิสมาแอ เจ๊ะโมง สังกดั พรรคประชาธิปตั ย์ เขตเลอื กต้งั ที่ 1 นายสมมารถ เจะ๊ นา สังกัดพรรคประชาธิปตั ย์ เขตเลอื กตั้งท่ี 2 นายมขุ สไุ ลมาน สังกดั พรรคประชาธิปัตย์ เขตเลอื กตั้งที่ 3 สังกัดพรรคประชาธิปตั ย์ เขตเลือกตง้ั ที่ 4 22 2548 นายอนั วาร์ สาและ นายอสิ มาแอล ยดี อรอแม นายโมฮามดั ยาสรี ยูซง นายซาตา อาแวกอื จิ
28 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมือง และพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดปัตตานี ชดุ ที่ ปี พ.ศ. สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎร สงั กัด 23 2550 นายอันวาร์ สาและ สังกดั พรรคประชาธปิ ตั ย์ เขตเลอื กต้งั ท่ี 1 สังกดั พรรคประชาธิปตั ย์ เขตเลือกตง้ั ที่ 1 นายอิสมาแอล เบญอบิ รอฮมี สังกดั พรรคเพ่อื แผน่ ดิน เขตเลือกตั้งที่ 2 นายนิมุคตาร์ วาบา สังกัดพรรคเพ่อื แผ่นดิน เขตเลอื กตง้ั ท่ี 2 นายยซุ รี ซสู ารอ สังกดั พรรคประชาธปิ ัตย์ เขตเลือกตั้งท่ี 1 24 2554 นายอันวาร์ สาและ สังกดั พรรคประชาธปิ ัตย์ เขตเลือกตงั้ ท่ี 2 นายอสิ มาแอล เบญอบิ รอฮมี สังกัดพรรคมาตุภมู ิ เขตเลอื กต้ังที่ 3 นายอนมุ ตั ิ ซสู ารอ สังกัดพรรคภูมิใจไทย เขตเลือกตั้งท่ี 4 นายสมมตุ ิ เบ็ญจลกั ษณ์ สังกัดพรรคประชาธปิ ัตย์ เขตเลอื กตั้งท่ี 1 25 2562 นายอนั วาร์ สาและ สงั กดั พรรคภูมใิ จไทย เขตเลอื กตั้งท่ี 2 (ปัจจบุ นั ) นายอับดลุ บาซิม อาบู สงั กัดพรรคประชาชาติ เขตเลือกตัง้ ที่ 3 นายอนมุ ัติ ซสู ารอ พรรคประชาชาติ เขตเลอื กต้ังที่ 4 นายสมมตุ ิ เบ็ญจลกั ษณ์ 2.4 การแบ่งเขตการเลือกต้ังและผู้สมัครการเลือกต้ัง ราชกิจจานุเบกษา ประกาศคณะกรรมการการเลือกต้ัง เร่ือง การแบ่งเขตเลือกต้ังสมาชิก สภาผแู้ ทนราษฎร แบบแบง่ เขตเลอื กตงั้ พทุ ธศกั ราช 2561 ก�ำหนดใหจ้ งั หวดั ปตั ตานี มเี ขตเลอื กตง้ั จ�ำนวน ทัง้ สิน้ 4 เขต ใหม้ สี มาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎรเขตละ 1 คน โดยแต่ละเขตประกอบดว้ ยแตล่ ะอ�ำเภอ ดังน้ี เขตเลอื กตง้ั ท่ี 1 ประกอบดว้ ย อ�ำเภอเมอื งปตั ตานี และอ�ำเภอยะหรงิ่ (เฉพาะต�ำบลบางปู ต�ำบลแหลมโพธ์ิ ต�ำบลตะโละกาโปร์ ต�ำบลยามู ต�ำบลราตาปันยัง ต�ำบลตาแกะ ต�ำบลปิยามุมัง ต�ำบลตะโละ ต�ำบลตาลอี ายร์ และต�ำบลปุลากง) เขตเลอื กตง้ั ท่ี 2 ประกอบด้วย อ�ำเภอหนองจกิ อ�ำเภอโคกโพธิ์ และอ�ำเภอแมล่ าน เขตเลอื กตง้ั ที่ 3 ประกอบดว้ ย อ�ำเภอปะนาเระ อ�ำเภอสายบรุ ี อ�ำเภอไมแ้ กน่ อ�ำเภอกะพอ้ อ�ำเภอยะหร่ิง (ยกเว้นต�ำบลบางปู ต�ำบลแหลมโพธ์ิ ต�ำบลตะโละกาโปร์ ต�ำบลยามู ต�ำบลราตาปันยัง ต�ำบลตาแกะ ต�ำบลปยิ ามุมงั ต�ำบลตะโละ ต�ำบลตาลอี ายร์ และต�ำบลปุลากง) เขตเลือกตง้ั ที่ 4 ประกอบดว้ ย อ�ำเภอยะรงั อ�ำเภอมายอ และอ�ำเภอทงุ่ ยางแดง
29 2.5 ความแตกต่างระหว่างเขตการแบ่งเขตแบบเก่าและ แบบใหม่ ในการจดั การเลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร พ.ศ.2562 ยงั คงก�ำหนดเขตเลอื กตง้ั ในจงั หวดั ปัตตานีทั้งสิ้น 4 เขต มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเขตละ 1 คน เช่นเดียวกันกับที่มีการจัดเขตเลือกตั้ง ในการเลอื กตง้ั สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร พ.ศ.2554 ภาพที่ 1 ลักษณะการแบ่งเขตเลือกตั้ง จังหวัดปัตตานี ที่มา : ect.go.th/pattani/ewt_news.php?nid=260)
30 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมือง และพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดปัตตานี 2.6 ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ส�ำหรบั ผมู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตง้ั ในเขตพน้ื ทจ่ี งั หวดั ปตั ตานี ตามขอ้ ก�ำหนดผมู้ คี ณุ สมบตั เิ ลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร (บคุ คลทอ่ี ายไุ มต่ ำ�่ กวา่ 18 ป)ี จงั หวดั ปตั ตานี เดอื นธนั วาคม พ.ศ. 2561 จ�ำนวนทงั้ สนิ้ 488,301 คน 2.7 จ�ำนวนพรรคการเมืองและผู้สมัครรับเลือกต้ัง จ�ำนวนพรรคการเมืองในการเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ.2562 จังหวัดปัตตานี มจี �ำนวนพรรคการเมอื งทัง้ สิน้ 39 พรรค มีผูส้ มคั รรับเลือกตั้งจ�ำนวนทั้งสิน้ 136 คน ดังตาราง ตารางที่ 4 รายชือ่ พรรคการเมอื งและผสู้ มคั รรับเลอื กตง้ั เขตต่างๆ ในจังหวัดปัตตานี ลำ� ดับ พรรค ผู้ลงสมัครรบั เลือกตั้ง เขต 1 เขต 2 เขต 3 เขต 4 1 ประชาธิปตั ย์ อันวาร์ อิสมาแอล คอเลฟ ฟรดี ี สาและ เบญอบิ รอฮีม เจะ๊ นา เบญอิบรอน วรวทิ ย์ สมมุติ 2 ประชาชาติ บารู มูฮ�ำมัดอารีฟนี อนมุ ตั ิ เบ็ญจลกั ษณ์ สนทิ จะปะกิยา ซูสารอ อทิ ธพิ ล นาแว นาวินพฒั นรตั น์ 3 ชาติไทยพัฒนา บณั ฑิต เอกอนนั ต์ อับดุลรามนั มฮู �ำมัดอาลาวี อับดุลบุตร วันอารียส์ กลุ มะยูโซะ บือแน อรณุ ซาตา 4 ภูมใิ จไทย เบ็ญจลักษณ์ อับดลุ บาซมิ อาบู อบั ดุลกอฮาร์ อาแวกือจิ อภิศักด์ิ อาแวปูเตะ วนั ฮูเซน หะยีมะ แวหะยี 5 รวมพลัง มูฮ�ำมัดปาเรซ ศิรวชั โชติ โมฮามัดยาสรี อันวาร์ ประชาชาตไิ ทย โลหะสณั ห์ รตั นมาลา ยูซง สะมาแอ อสั มาน 6 อนาคตใหม่ โต๊ะมนี า วนั นอร์ อาลีฟ หะยีเมาะลอ มาแฮ 7 พลังประชารัฐ อศั มี นัซรูดดนี หยดี าโอะ ฮจั ยดี าโอะ 8 เพือ่ ไทย นาเซร์ พงค์ประเสรฐิ
31 ล�ำดับ พรรค ผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง เขต 1 เขต 2 เขต 3 เขต 4 อาแซ 9 เศรษฐกจิ ใหม่ มฮู ัมมะซายดี ซเู ฟียน อสิ มาแอ บงิ เฮาะมะ สะดียามู ยาดา อับดลุ ฮารีส เฟาซี อดลุ ยศาสน์ 10 เสรรี วมไทย ดอเลา๊ ะ อดั นนั เซ็ง อับดลุ ตอเละ นฤเบศร์ สุหลง ปูเตะ สามอ ขวญั เช้ือ อาหะมะ 11 คลองไทย รอมลี ชาญฤทธ์ิ ยารอน๊ะ เวาะผา แวหะมะ หนูชแู กว้ มะแซ เจ๊ะโมฮ�ำหมัดอสิ ชยนั ต์ ฟิตรี เจะ๊ โมง 12 พลังท้องถิน่ ไท เพชรล้อม มูฮ�ำมัดรอปี อุสมาน มดู อ อุดมศักดิ์ หมอ้ แหล่ อับดุลเลาะ แก่ แวนดิ มัจญด์ ิยะฮ์ 13 ชาติพัฒนา ณรงค์ รอฮนั นี อาสนั มะเซ็ง เจะเลาะ ประสาน อฎั ฐพล ยแู มน 14 ถน่ิ กาขาว เพช็ รภิมล ดอฮิง ฮมั เสยี ะ แมะยะ ชาววิไล อับดลุ อาริ มูดอ ปเู งิน สามะ ยะโกะ มะเย็ง 15 ครูไทย ซารพี ๊ะ รอแม ปานสุ ซี ซามูดิง เพือ่ ประชาชน เจ๊ะนะ สาเมาะ สารี ไพโรจน์ ตอยบสั 16 เพ่อื แผน่ ดนิ คณานรุ กั ษ์ อามนี า ดวงฤดี ยาซิง มสุ ตอปา เพช็ รภมิ ล นิลจันทร์ รสุ ดี สะแม แนราฮงิ 17 พลงั ไทยรกั ไทย อับดุลกอเดร์ ญฮู นั อซั มนั อานสั ประดู่ หะยเี ดง็ อาแซ ดอรเ์ ลาะห์ อสั มนู ี 18 พลังชาติไทย เจะ๊ อุบง สมมาตร ซาบารี พรหมด�ำเนนิ มะลี 19 ประชาชนปฏิรปู 20 พลเมอื งไทย มฮู �ำมดั อาแว 21 ประชาธปิ ไตย สะมาแอ อภิเชษฐ์ ใหม่ สะมะแอ เจะเลง็ แวสะแม 22 พลงั สังคม แวสุหลง
32 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมือง และพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดปัตตานี ล�ำดับ พรรค ผูล้ งสมคั รรบั เลือกตง้ั เขต 1 เขต 2 เขต 3 เขต 4 23 แผ่นดนิ ธรรม คณนภคั เฉลมิ พล นกุ ูล เติมศกั ดิ์ ปานแกว้ ธรรมชาติ ขวญั ทอง ถาวรสุข 24 รักษผ์ ืนปา่ นริ ายา โรสรี่ ซาวีย๊ะ รสุ ณี ประเทศไทย เลาะนะ ศรตี ลุ าการ หะยีแวและ เอ่ียมเด 25 ประชาภิวฒั น์ หายาตี ซาลฮี ะ นิอลิ ยัส นูรฮายาตี บูสะมนั เซง็ นิมะ บลู ะ 26 ประชานิยม รอเสะ ขาเดร์ แวปา อิบราเฮม เจะหะ มูซอ แวตาเยะ กอตอ 27 เพอื่ ธรรม บัญญตั ิ อนุวตั ร เจะดงิ ยโู ซะ มะเด็ง ดอเลาะเซาะ ดาเลง็ หามะ 28 พลงั อบั ดลุ เล๊าะ ไซดอาลี อับดุลสาลาม มูฮัมมดั อัสนาน ประชาธิปไตย สะดียามู ไซดอเู ซ็ง ยูโซะ กาหมะ๊ 29 ภมู พิ ลงั เกษตรกร ขนิษฐา แวฮานี ธปิ ตั ยา ไทย อรญั ญภาค แวแยนา กิม้ เสม็ 30 ภราดรภาพ อามเี น๊าะ อายิ เสาเดาะ ดอเลาะ ดาโอะ ยูโซะ มามะ สาและ 31 ไทรักธรรม ประกาศ เจษฎา สุพรรณี ฮาซนั แก้วแกมพทุ ธ บาเหม ศรปี าน หมกั หมัน 32 ไทยธรรม พารดี ๊ะ สีฮาบดู นิ มะสกุ รี สรู ียา หมดั เจรญิ หะยมี ะเดง็ สาเมาะ ฮามะ 33 พลงั ไทยรกั ชาติ บดนิ ทร์ อายุ อดลุ ย์ มีแฮ สะสอเล็ง สาและ 34 ประชาไทย อคั รเดช ดนุ ยา มะลี ฮมั ฎาณ เลิศตระกูลทรัพย์ เบญฮาริศ ดามะ บอื ซา 35 เพ่ือชาติ อนตั ตา ดอรอหะ กอเดร์ ประสทิ ธิ์ แข็งแรง สะมุดิง สอื แต แท่นเอยี ด 36 สยามพฒั นา สดุ ใจ ชมุ นุมมณี 37 ประชาธรรมไทย นริ นั ดร์ อับดลุ ฮากมั หะ ซไู รยา แวดือราแม ยเี จะหลง เบญ็ จ์วรรณมาศ
33 ล�ำดบั พรรค ผู้ลงสมัครรับเลอื กตง้ั เขต 4 38 พลังไทสร้างชาติ 39 ทางเลอื กใหม่ เขต 1 เขต 2 เขต 3 ไตยีบา สาและ ตอเละ ยุโซะ๊
34 การศึกษารูปแบบ วิธีการ และผลกระทบการเลือกต้ัง ภายใต้รัฐธรรมนูญใหม่ กรณีศึกษาจังหวัดปัตตานี
35 บทที่ 3 พฤติกรรมการเลือกต้ัง 3.1 แนวคิดพฤติกรรมและการเลือกต้ัง ในการศึกษาเก่ียวกับพฤติกรรมการเลือกต้ัง ได้ก�ำหนดแนวคิดและทฤษฎีไว้ 2 แนวคิดด้วยกัน ไดแ้ ก่ แนวคดิ เกี่ยวกับพฤตกิ รรม แนวคดิ เกย่ี วกบั การเลือกตง้ั และเศรษฐศาสตร์การเมือง 3.1.1 แนวคดิ เก่ียวกบั พฤติกรรม พฤติกรรม หมายถึง การกระท�ำหรือการที่แสดงออกทางกล้ามเนื้อ ความคิดและความรู้สึก เพ่ือตอบสนองส่ิงเร้า พฤติกรรมจัดเป็นกิจกรรมต่างๆ ท่ีอินทรีย์เป็นผู้กระท�ำ ท้ังท่ีแสดงออกมาให้เห็น รวมทงั้ ทซี่ อ้ นเรน้ ไวภ้ ายใน และพฤตกิ รรมนน้ั บคุ คลอนื่ สามารถสงั เกตเหน็ ไดด้ ี เชน่ การนอน การเคลอ่ื นไหว อริ ยิ าบถและกริ ยิ าทา่ ทางตา่ งๆ จดั เปน็ พฤตกิ รรมภายนอก สว่ นการกระท�ำภายในบคุ คล ซงึ่ ผอู้ น่ื ไมส่ ามารถ รับรู้ หรอื สามารถสงั เกตไดโ้ ดยตรง แตใ่ ช้เครอ่ื งมือวัดได้ เช่น เราสามารถวัดความดันเลือด การเปดิ ของ ม่านตา คลื่นสมอง แรงต้านทานไฟฟา้ ของผิวหนัง เปน็ ต้น เหล่านีจ้ ัดเปน็ พฤตกิ รรมภายใน สว่ น ทรงพล ภมู พิ ฒั น์ กลา่ วถงึ ความหมายของพฤตกิ รรม คอื การแสดงออกซงึ่ ปฏกิ ริ ยิ าอาการ หรือ การกระท�ำของมนุษย์(และสัตว์ดว้ ย) พฤติกรรมแบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คือ 1. พฤตกิ รรมภายนอก (Overt Behavior) ไดแ้ ก่ พฤตกิ รรมทผี่ อู้ น่ื สามารถสงั เกต ไดโ้ ดยตรงจาก ประสาททงั้ 5 ( หู ตา จมูก ปาก และผวิ หนัง) พฤติกรรมภายนอก แยกได้เปน็
36 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมือง และพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดปัตตานี • พฤติกรรมท่ีสังเกตได้โดยตรงไม่ต้องใช้เครื่องมือช่วย (บางท่านเรียกว่า พฤติกรรมโมล่าร์ : Molar behavior) เชน่ หวั เราะ ร้องไห้ อ้าปาก กระโดด • พฤตกิ รรมทส่ี งั เกตไดโ้ ดยตรง โดยใชเ้ ครอ่ื งมอื ชว่ ย เรยี กพฤตกิ รรมประเภทนวี้ า่ พฤตกิ รรม โมเลกลุ (Molecular behavior) เชน่ การเดนิ ของหวั ใจ , ความดนั ของโลหติ , ความตา้ นทาน กระแสไฟฟ้าท่ผี ิวหนัง 2. พฤติกรรมภายใน (Covert Behavior) ไดแ้ ก่ พฤตกิ รรมที่เกดิ ขนึ้ ภายในตัวของบุคคล จะโดย รู้สึกตัวหรือไม่รู้สึกตัวก็ตาม ปกติผู้อื่นจะไม่สามารถสังเกตพฤติกรรมประเภทนี้ได้โดยตรง ถ้าไม่บอก ไม่แสดงออกมาให้เป็นที่สังเกต พฤติกรรมภายในจึงเป็นเรื่องของประสบการณ์ส่วนบุคคล (Private Experience) ตนเท่านัน้ รู้ ตัวอย่างเช่น ความคดิ ความจ�ำ จินตนาการ ความฝัน และพฤตกิ รรมการรู้สึก ต่างๆ เชน่ กลวั เสยี ใจ หิว เจ็บ เพลีย ฯลฯ • พฤติกรรมภายในท่ีเกิดข้ึนโดยรู้สึกตัว เช่น หิว เหน่ือย ต่ืนเต้น ช่ืนชม พฤติกรรมเหล่าน้ี เจา้ ของพฤตกิ รรมรสู้ กึ ตวั วา่ มนั เกดิ แตเ่ จา้ ของพฤตกิ รรมอาจจะควบคมุ หรอื เกบ็ ความรสู้ กึ ตา่ งๆ ท่เี กดิ ข้ึนได้ ไม่แสดงออกซง่ึ กริ ิยาอาการหรอื สัญญาณใดๆ • พฤติกรรมภายในท่ีเกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัว พฤติกรรมบางอย่างเกิดขึ้นภายใน โดยบางคร้ัง บคุ คลไมร่ สู้ กึ ตวั แตม่ ผี ลตอ่ พฤตกิ รรมภายนอกของบคุ คลผนู้ น้ั เชน่ ความขลาด หวาดกลวั ความคดิ ความคาดหวงั ความปรารถนา ความสขุ ใจ ศนั สนยี ์ ตนั ตวิ ทิ (2543 : 33-34) ไดก้ ลา่ วถงึ พฤตกิ รรมทแ่ี ตกตา่ งไปบา้ ง แตโ่ ดยความหมายแลว้ มีความสอดคลอ้ งกนั คอื พฤตกิ รรมบางอยา่ งเราสามารถรับร้ไู ดด้ ้วยอวัยวะรับความรูส้ กึ (Sense organ) เช่นเวลาเรายนื นั่ง พดู คุย ดีใจ เสียใจ หรือโกรธ แต่พฤตกิ รรมบางอย่างเราสงั เกตเหน็ ไมไ่ ด้ อาจรไู้ ด้โดย มีเครือ่ งมือวดั พฤติกรรม เชน่ เคร่ืองมอื จับเท็จ เราอาจแบง่ พฤติกรรมเป็น 2 แบบ คอื แบบท่ี 1 Special pattern เปน็ พฤตกิ รรมทเ่ี กดิ ขนึ้ จากการท�ำงานของรา่ งกายหลายๆ สว่ นรว่ มกนั เชน่ การเคลอ่ื นไหวของน้วิ หวั แม่มือและน้วิ ช้ี เวลาถอื ของเล็กๆ แบบที่ 2 Temporal pattern เปน็ พฤตกิ รรมท่เี กดิ จากการท�ำงานของรา่ งกายต่อเนอ่ื งกัน เวลา ท่ีเรายนื่ มือไปหยบิ วัตถุ เราต้องใชส้ ายตามองดูวตั ถุพร้อมกับยืน่ มือไปหยิบวัตถนุ ้ัน กล่าวโดยสรุป พฤติกรรมเป็นการแสดงออกโดยรวมของส่ิงมีชีวิตต่างๆ ทั้งเป็นการแสดงออก ภายนอก และการแสดงออกภายใน การจะศึกษาพฤติกรรมให้เข้าใจจะต้องท�ำความเข้าใจเกี่ยวทฤษฎี พฤตกิ รรมดงั นี้
37 ส�ำหรับทฤษฎใี นการศกึ ษาพฤติกรรมกล่าวถงึ ทฤษฎีท่สี �ำคัญ 2 ทฤษฎี คือ 1) ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis theory) ผู้น�ำเสนอทฤษฎีนี้คือ ซิกมันด์ ฟรอยด์ นกั จติ วทิ ยาชาวออสเตรยี เขากลา่ วถงึ พฤตกิ รรมของมนษุ ยไ์ วว้ า่ พฤตกิ รรมเกดิ จากพลงั ของจติ 2 ลกั ษณะ คือ จิตส�ำนึก (Conscious) และจิตใต้ส�ำนึก (Unconscious) น่ันคือพฤติกรรมท่ีแสดงออกมาถูกควบคุม โดยจติ ส�ำนึก แตจ่ ติ ส�ำนึกน้ันจะเกิดข้ึนไดก้ ็ต้องอาศัยแรงกระตนุ้ ผลักดนั จากภายในอันไดแ้ ก่ จิตไรส้ �ำนกึ ซง่ึ เปน็ ทรี่ วมของความตอ้ งการ ความปรารถนา และความเกบ็ กดตา่ งๆ ดงั นนั้ จติ ใตส้ �ำนกึ จงึ เปน็ พลงั งาน อันก่อให้เกิดการแสดงพฤติกรรมตา่ งๆ ออกมา 2) ทฤษฎพี ฤตกิ รรมนยิ ม (Behavioral theory) กลมุ่ ทฤษฎพี ฤตกิ รรมนยิ มกลมุ่ แรกทใ่ี หค้ �ำอธบิ าย เก่ียวกับบุคลิกภาพตามแนวคิดของทฤษฎีพฤติกรรมนิยม คือ พาฟลอฟ วัตสัน และ สกินเนอร์ ซ่ึงได้ น�ำเสนอทฤษฎีการเรียนรู้แบบคลาสสิก และลงมือกระท�ำ นักคิดในทฤษฎีกลุ่มน้ีไม่ค่อยให้ความเช่ือถือ แรงจูงใจภายในตัวบุคคล ว่าเป็นปัจจัยส�ำคัญในการก�ำหนดลักษณะพฤติกรรมและบุคลิกภาพ แต่ให้ ความสนใจกับสิ่งเร้าภายนอก รวมท้ังกระบวนการให้การเสริมแรงมากกว่าโดยให้ความเห็นว่า บุคคลจะ มีบุคลิกภาพเช่นไร ข้ึนอยู่กับเขาได้รับการเสริมแรงจากบุคคลและกลุ่มสังคมในวัยท่ีผ่านมาอย่างไร เช่น คนท่ีมีนิสัยก้าวร้าว อาจเกิดจากการที่เม่ือเขาก้าวร้าวแล้ว ได้รับการชื่นชม (เสริมแรงบวก) คนข้ีอาย อาจได้รับการชมเชยเมื่อแสดงความข้ีอาย (เสริมแรงบวก) หรือถูกท�ำโทษเม่ือแสดงตน (เสริมแรงบวก) นอกจากน้ันแล้ว ทฤษฎียังเช่ือว่า พฤติกรรมหรือบุคลิกภาพของบุคคลเกิดจากการสังเกตตัวแบบ แลว้ มกี ารเลยี นแบบเกดิ ขน้ึ อยา่ งไรกด็ นี กั ทฤษฎกี ลมุ่ นม้ี กั ถกู วพิ ากษว์ า่ อธบิ ายบคุ ลกิ ภาพของบคุ คลอยา่ ง ผิวเผิน โดยลืมนึกถึงพลังขับด้านชีวภาพและด้านความรู้ความคิดซึ่งเป็นพลังขับที่ส�ำคัญในการก�ำหนด ลักษณะพฤติกรรมและบุคลิกภาพของบคุ คลเชน่ เดยี วกนั ส�ำหรับแนวคิดพฤตกิ รรมในทางการเมอื งนั้น เปน็ การแสดงออกทางการเมือง ซง่ึ จะมีผลก่อให้ เกิดการเปล่ียนแปลงทางการเมือง ดังน้ันพฤติกรรมทางการเมือง จึงเก่ียวข้องกับกิจกรรมทางการเมือง เช่น การเลือกต้ัง ได้แก่ การไปใช้สิทธิเลือกต้ัง การมีส่วนร่วมในการรณรงค์หาเสียง การเข้ารับสมัคร รบั เลอื กตง้ั เปน็ ตน้ การเขา้ รว่ มประชาพจิ ารณ์ การเขา้ รว่ มตอ่ สทู้ างการเมอื ง ซง่ึ ณรงค์ สนิ สวสั ด์ิ กลา่ ววา่ พฤตกิ รรมทางการเมอื งของบคุ คลเชน่ การเขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มในทางการเมอื งในระดบั ตา่ งๆ การไปลงคะแนน เสียงเลือกตั้ง การช่วยพรรคการเมืองหาเสียง การลงสมัครรับเลือกตั้ง การเดินขบวนหรือแสดงออกซ่ึง การคัดค้านรัฐบาล การเลือกพรรคการเมืองที่เห็นว่าดีที่สุด การเลือกอุดมการณ์ทางการเมืองท่ีเห็นว่า ดีท่ีสุด รวมไปถึงพฤติกรรมของผู้น�ำการเมือง เป็นต้น พฤติกรรมทางการเมืองที่มีลักษณะเด่นคือ การมี ส่วนรว่ มทางการเมือง
38 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมือง และพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดปัตตานี 3.1.2 แนวคดิ เกีย่ วกบั การเลอื กต้งั (1) ความหมายของการเลอื กตัง้ นกั วชิ าการไดใ้ หค้ วามหมายไว้ดงั นี้ วิสุทธ์ิ โพธ์ิแท่น (พัฒนาประชาธิปไตย...พัฒนาการเมืองไทย ส�ำนักงานเลขาธิการสมาชิก สภาผแู้ ทนราษฎร : 2554) ใหค้ วามหมาย การเลอื กตงั้ วา่ การทบ่ี คุ คลไดเ้ ลอื กบคุ คลหนงึ่ หรอื บคุ คลหลายๆ คน หรือเลือกจากบัญชีรายช่ือผู้เข้าสมัครรับเลือกต้ังบัญชีหนึ่ง หรือบัญชีจ�ำนวนหน่ึงจากบัญชีรายชื่อ หลายๆ บญั ชีเพอื่ ใหไ้ ปกระท�ำการอันหนึ่งอันใดแทนตน พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว (2540 : 217) ให้ความหมาย การเลือกตั้งว่าเป็นกิจกรรมที่ส�ำคัญย่ิงใน กระบวนการทางการเมอื งและการปกครอง เพราะการเลอื กตง้ั เปน็ การแสดงออกซงึ่ เจตจ�ำนงของประชาชน ในการปกครองประเทศ เจตจ�ำนงดงั กลา่ วปรากฏอยใู่ นลกั ษณะของการเรยี กรอ้ ง (Demand) หรอื สนบั สนนุ (Support) ตอ่ การตัดสนิ ใจทั้งหลายในระบบการเมือง (2) ความส�ำคัญของการเลือกตง้ั วชั รา ไชยสาร (2541) การเลอื กตง้ั ตวั แทนประชาชนเปน็ กระบวนการทางการเมอื งอยา่ งหนง่ึ ใน ระบบการปกครองทเี่ ชอื่ วา่ อ�ำนาจอธปิ ไตยหรอื อ�ำนาจสงู สดุ ในการปกครองเปน็ ของปวงชน ซง่ึ คดิ คน้ ขน้ึ แทนระบบการปกครองทถี่ อื คตอิ �ำนาจอธปิ ไตยเปน็ ของบคุ คลใดเปน็ พเิ ศษ เปน็ เครอื่ งมอื ใหค้ วามชอบธรรม ในอ�ำนาจปกครองของตน การเลอื กตัง้ เปน็ กระบวนการทีเ่ ลอื กสรรรัฐบาลท่ีจะท�ำการปกครองและสรา้ ง ความชอบธรรมให้แก่อ�ำนาจการปกครองของผู้ปกครองให้เป็นไปโดยสันติการเลือกตั้งในประเทศที่มี พรรคการเมอื งหรอื กลมุ่ การเมอื งมากกวา่ หนงึ่ พรรคหรอื หนง่ึ กลมุ่ มบี ทบาทส�ำคญั ในการยตุ ขิ อ้ ขดั แยง้ ใน ระบบการเมืองโดยเคารพและปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์กติกา และกติกาดงั กลา่ วจะท�ำใหค้ ตู่ อ่ สทู้ างการเมอื ง ยอมรบั ผลการตดั สนิ ของผเู้ ลอื กตงั้ โดยฝา่ ยทช่ี นะจะไดร้ บั มอบอ�ำนาจจากประชาชนใหท้ �ำการปกครองใน ชว่ งระยะเวลาทก่ี �ำหนดไว้ สว่ นฝา่ ยแพก้ จ็ ะหาทางเอาชนะในคราวตอ่ ไปตามวถิ ที างทกี่ ฎเกณฑแ์ ละกตกิ าได้ ก�ำหนดไว้ วธิ กี ารเชน่ นชี้ ว่ ยอ�ำนวยใหก้ ารสบื ตอ่ อ�ำนาจทางการเมอื งและการปกครองเปน็ ไปอยา่ งสนั ตวิ ธิ ี ไมต่ อ้ งอาศยั วธิ กี ารทผี่ ดิ กฎหมายและไมช่ อบธรรม เชน่ การปฏวิ ตั ริ ฐั ประหารอนั เปน็ กลไกในการสบั เปลย่ี น อ�ำนาจ ดงั นน้ั กระบวนการเลอื กตงั้ ภายในเงอื่ นไข ทก่ี ลา่ วมานจี้ งึ แตกตา่ งไปจากการเลอื กตงั้ ในประเทศ ที่มีพรรคการเมืองท่ีมีอ�ำนาจและอิทธิพลมากที่สุดเพียงพรรคเดียว หรือกลุ่มคณะบุคคลเพียงคณะเดียว ซงึ่ ใชใ้ นการเลอื กตง้ั เปน็ ขอ้ อา้ งในการสรา้ งความชอบธรรมในอ�ำนาจการปกครองเทา่ นนั้ มไิ ดใ้ ชเ้ ปน็ กลไก เพื่อขจัดความขดั แย่งหรือเพ่อื ตดั สินการสืบตอ่ อ�ำนาจแต่อยา่ งใด การเลอื กตงั้ เปน็ กลไกการใชอ้ �ำนาจอธปิ ไตยหรอื การมสี ว่ นรว่ มทางการเมอื งของประชาชนผเู้ ปน็ เจา้ ของอ�ำนาจอธปิ ไตยโดยการใชส้ ทิ ธเิ ลอื กตงั้ ผแู้ ทนทม่ี นี โยบายตรงกบั ความตอ้ งการของตนเอง ใหไ้ ปใช้ อ�ำนาจอธปิ ไตยแทนตนดว้ ยความชอบธรรม เพอื่ ลดภาวะความตงึ เครยี ดขจดั ความขดั แยง้ หรอื การสบื ตอ่ อ�ำนาจและเป็นกลไกที่จะควบคุมให้ผู้แทนท่ีด�ำรงต�ำแหน่งจากการเลือกต้ังตระหนักอยู่เสมอว่าต้องม ี
39 ความรบั ผดิ ชอบตอ่ ประชาชน เพราะวา่ ประชาชนเปน็ ผกู้ �ำหนดอนาคตทางการเมอื งของตน ดว้ ยการเลอื ก หรือไม่เลือกตนกลับมาท�ำหน้าท่ีผู้แทนอีก ดังนั้น การเลือกตั้งจึงมีผลต่อการพัฒนาทางการเมือง โดย ประชาชนจะต้องส�ำนึกถึงความจ�ำเป็นในการปฏิบัติหน้าที่พลเมืองซ่ึงต้องมีส่วนร่วมในการเลือกผู้แทน เลือกรัฐบาล เลือกรูปแบบและวิธีด�ำเนินการปกครอง เลือกนโยบายสาธารณะ เลือกระบบเศรษฐกิจซ่ึง ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้จะเอื้อต่อการธ�ำรงไว้และบูรณาการทางการเมืองที่พึงปรารถนา ตลอดจนส่งเสริม ให้ประชาชนให้มีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยมากข้ึน การเลือกต้ังทุกระดับไม่ว่าจะ เป็นการเลือกตั้งระดับชาติหรือระดับท้องถิ่นถือว่าเป็นวาระแห่งชาติการเลือกตั้งจึงเป็นกระบวนการ ทางการเมืองที่ส�ำคัญยิ่งต่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ดังนั้น เพ่ือให้การเลือกตั้งเป็นไปตาม เจตนารมณข์ องประชาชนและบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคข์ องแตล่ ะประเทศ จงึ ตอ้ งพฒั นาปรบั ปรงุ หรอื ปฏริ ปู ระบบ และกระบวนการเลอื กตง้ั ให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจในปจั จุบัน (3) ประเภทของการเลอื กตง้ั ชยั อนนั ต์ สมทุ รวณิช (2524) แบง่ ตามทม่ี าของการเลอื กต้ัง เปน็ 3 ประเภท คอื 1) การเลือกต้ังท่ัวไป (General – Election) หมายถึงการเลือกตั้งท่ีผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกต้ัง ทวั่ ประเทศมาลงคะแนนเสยี งพรอ้ มๆ กนั การเลอื กตงั้ ทว่ั ไปมี 2 กรณี คอื ครบวาระทจ่ี ะตอ้ งมกี ารเลอื กตงั้ และการยบุ สภา ซงึ่ การเลอื กตง้ั ทวั่ ไปนจี้ ะเปน็ เครอ่ื งชว้ี ดั กระแสความคดิ ทางการเมอื งของประชาชนไดเ้ ปน็ อยา่ งดี แตจ่ ะชวี้ ดั ไดม้ ากนอ้ ยเพยี งใด ขนึ้ อยกู่ บั ระบบพรรคการเมอื งของประเทศนนั้ ๆ อาทเิ ชน่ ประเทศ ในระบบสองพรรคการเมอื ง การเลอื กตงั้ ทวั่ ไปจะเปน็ กจิ กรรมทางการเมอื งทเ่ี ปน็ เครอ่ื งชว้ี ดั วา่ ประชาชน ยังคงสนับสนุนรัฐบาลเดิมต่อไปอีกหรือไม่ ส�ำหรับประเทศท่ีเป็นระบบหลายพรรคการเมือง ลักษณะ การจดั ตงั้ รฐั บาลเปน็ รฐั บาลผสม ผลการเลอื กตง้ั ทว่ั ไปไมอ่ าจชวี้ ดั ไดช้ ดั เจนวา่ ประชาชนตอ้ งการรฐั บาล เดิมหรือรัฐบาลใหม่ได้ เพราะการจัดตั้งรัฐบาลข้ึนอยู่กับการรวบรวมเสียงข้างมากของพรรคการเมือง ตา่ งๆ หลงั จากการเลอื กตง้ั ไดห้ รอื ไม่ อยา่ งไรกต็ าม การเลอื กตง้ั ทวั่ ไปกย็ งั เปน็ ภาพสะทอ้ นความคดิ เหน็ วัฒนธรรมทางการเมือง และแนวโน้มของกระแสความคิดทางการเมืองของประชาชนในประเทศหรือ ในเขตเลอื กตง้ั นนั้ ๆ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี เชน่ ความแตกตา่ งของจ�ำนวนผไู้ ปใชส้ ทิ ธเิ ลอื กตง้ั ในเขตเมอื งกบั ชนบท ปรมิ าณและลกั ษณะการซอื้ สทิ ธิ ขายเสยี งในเขตเลอื กตงั้ ตา่ งๆ ความนยิ มพรรคการเมอื งใดพรรคการเมอื ง หน่ึงในเขตกรงุ เทพมหานครกบั ส่วนภูมภิ าคอืน่ ๆ เปน็ ต้น 2) การเลือกตั้งซ่อม (By – Election) ในกรณีที่ผู้แทนขาดจากสมาชิกภาพ เช่น ตายลาออก หรือเพราะเหตุอื่นๆ ก็จะมีการเลือกตั้งซ่อมให้ได้ผู้แทนราษฎร การเลือกต้ังซ่อมนี้อาจจะมีความส�ำคัญ ไม่เท่ากับการเลือกตั้งท่ัวไป อย่างไรก็ตาม การเลือกต้ังซ่อมในเขตการเลือกตั้งที่ประชาชนมีความสนใจ ทางการเมืองอยู่บ้างแล้ว การเลือกตั้งซ่อมก็จะเป็นเคร่ืองมือในการวัดความนิยมพรรคการเมืองใด พรรคการเมืองหนงึ่ หรือรฐั บาลได้
40 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมือง และพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดปัตตานี 3) การเลอื กตง้ั ซำ้� (Re - Election) หมายถงึ การเลอื กตงั้ ทจ่ี ดั ใหม้ ขี น้ึ ในเขตเลอื กตงั้ ใดเลอื กตง้ั หนงึ่ โดยเฉพาะ ซึ่งอาจจะเกิดจากการฟ้องร้องต่อศาลว่ามีการเลือกตั้งโดยมิชอบเพื่อขอให้ศาลส่ังให้ม ี การเลือกต้ังใหม่ถ้าศาลมีค�ำพิพากษาว่าเขตการเลือกตั้งใดมีการเลือกต้ังท่ีมิชอบด้วยกฎหมายศาลจะมี ค�ำส่ังให้การเลือกต้ังครั้งนน้ั เปน็ โมฆะ และให้มกี ารจดั การเลอื กต้ังใหม่ในระยะเวลาท่ศี าลก�ำหนด ผ้แู ทน คนใดได้รับเลือกต้ังก่อนศาลจะสั่งให้มีการเลือกตั้งน้ันเป็นโมฆะ จะพ้นจากต�ำแหน่งต้ังแต่วันท่ีศาลส่ัง ใหก้ ารเลือกตั้ง 3.1.3 ทฤษฎเี ศรษฐศาสตรก์ ารเมือง เปลย่ี นแปลงในทางเศรษฐกิจและสังคม นับตง้ั แต่ทศวรรษ 1980 เป็นตน้ มา ซึง่ สะทอ้ นใหเ้ ห็น ถึงการปรับโครงสร้างจากเศรษฐกิจที่พึ่งพาเกษตร สู่เศรษฐกิจที่พ่ึงพาอุตสาหกรรมและบริการ สะท้อน ออกมาในรปู ของความหลากหลายของกลมุ่ ผลประโยชน์ ไมว่ า่ จะเปน็ พอ่ คา้ นกั ธรุ กจิ ตา่ งๆ ฯลฯ สง่ ผลให้ ระบบการเมอื งไทยตอ้ งเปลยี่ นแปลงในเชงิ โครงสรา้ งอยา่ งหลกี เลยี่ งไมไ่ ด้ ทศิ ทางการเมอื งของประเทศไทย ก�ำลงั ปรบั เปลยี่ นจากระบบอ�ำมาตยาธปิ ไตย (Bureaucratic Polity) ไปสปู่ ระชาธปิ ไตยพหนุ ยิ ม (Pluralistic Democracy) ทเ่ี ปดิ โอกาสใหก้ ลมุ่ ตา่ งๆ ในสงั คมแขง่ ขนั และสบั เปลย่ี นขนึ้ มามอี �ำนาจโดยไมเ่ ปดิ โอกาสให้ กล่มุ ใดกลุม่ หน่ึงมกี ารผูกขาดในเชิงอ�ำนาจ หลังปี พ.ศ. 2516 ระบบการเมืองไทยมีลักษณะพลวัต กล่าวคือ เป็นการเมืองที่มีผู้เล่นทาง การเมือง (Political players) มาจากหลายภาคส่วน อาทิ กลมุ่ ขา้ ราชการ กล่มุ นกั การเมอื ง กลุ่มนายทุน นกั ธรุ กจิ อยา่ งไรกต็ าม บทบาทของกลมุ่ ทนุ ยงั คงจ�ำกดั อยเู่ ชน่ เดมิ เปน็ เพยี งผใู้ หก้ ารสนบั สนนุ ทางการเงนิ อยู่เบื้องหลังพรรคการเมืองต่างๆ เท่าน้ัน แต่หลังจากท่ีชนชั้นกลางในเมืองเรียกร้องประชาธิปไตยในปี พ.ศ. 2535 จนน�ำไปสเู่ หตกุ ารณร์ นุ แรงทางการเมอื งในเดอื นพฤษภาคมปเี ดยี วกนั และเปน็ เงอื่ นไขส�ำคญั ทนี่ �ำไปสู่การไดม้ าซงึ่ รฐั ธรรมนญู ปี 2540 ซ่ึงรฐั ธรรมนูญฉบบั ดังกลา่ ว เป็นกลไกเปดิ ช่องใหก้ ลมุ่ นายทนุ นกั ธรุ กจิ กา้ วเขา้ มาสกู่ ารเมอื งแบบเตม็ ตวั โดยเฉพาะในชว่ ง พ.ศ. 2544 - 2549 เปน็ ชว่ งทก่ี ลมุ่ ทนุ ผกู ขาด มบี ทบาททางการเมอื งโดยตรง ดว้ ยการรวมตวั กนั ตง้ั พรรคการเมอื ง ลงสมคั รรบั เลอื กตง้ั จนชนะการเลอื กตง้ั แลว้ จดั ตง้ั รฐั บาลขนึ้ ภายใตต้ วั แทนของกลมุ่ ทนุ ตา่ งๆ ประกอบกนั เปน็ คณะรฐั มนตรบี รหิ ารประเทศ ทงั้ นี้ องค์ประกอบของคณะรัฐมนตรีถูกมองว่าเป็นรัฐบาลนายทุน มีลักษณะเป็นพวกพ้อง (Cronyism) และ ได้อ�ำนาจรฐั มาโดยธนกิจการเมอื ง (Money Politics) Money Politics เป็นต้นทุนเพื่อการชนะเลือกตั้ง (cost of winning elections) ภายใต้กระแส โลกาภวิ ตั น์ และอดุ มการณท์ างการเมอื งทนุ นยิ มแบบเสรปี ระชาธปิ ไตย ซงึ่ ครอบง�ำเศรษฐกจิ และการเมอื ง ของโลกในขณะนี้ ทุกอย่างจะต้องเป็นประชาธิปไตย ต้องมาจากการเลือกตั้ง ท�ำให้เกิดส่ิงที่เรียกว่า อตุ สาหกรรมการเลอื กตงั้ (election industry) ในเมอื่ เปน็ อตุ สาหกรรมกจ็ �ำเปน็ ตอ้ งมเี งนิ ลงทนุ (investment) ผู้ท่ีลงทุนไปแล้วก็ต้องการผลตอบแทนกลับคืนมา (return on investment) ทุกสิ่งทุกอย่างจะถูกก�ำหนด
41 ออกมาเป็นเงินท้ังหมด ซึ่งเงินลงทุนจ�ำนวนนี้ นับวันแต่จะเพิ่มข้ึนเรื่อยๆ ดังนั้นผู้ลงทุนจึงจ�ำเป็นต้องมี การสะสมทุนเพื่อใช้เป็นค่าใช้จ่ายในการเลือกตั้งครั้งต่อๆ ไป เป็นการปกป้องทุนและแสวงหาโอกาสใน การขยายทุนต่อไป จงึ เปน็ สาเหตขุ องการคอรร์ ปั ชัน เพ่ือให้ได้ส่งิ ทต่ี ้องการต่อไป ผาสกุ พงษไ์ พจติ ร (2548) ไดใ้ หน้ ยิ ามของค�ำวา่ “ธนกจิ การเมอื ง” (Money Politics) หมายถงึ กระบวนการที่นักการเมอื งใชเ้ งินเพื่อผันตวั เองเปน็ 1 ในคณะรฐั มนตรี เพื่อจะได้ใชอ้ ภิสิทธิ์จากต�ำแหนง่ ด�ำเนินการและก�ำหนดนโยบาย เอ้ือใหต้ นเองและพรรคพวกแสวงหารายได้และก�ำไรให้คมุ้ กบั การลงทนุ ท่ีเกิดข้ึน แหล่งรายได้ส�ำคัญที่ท�ำธนกิจการเมืองคือ เข้าเกาะกุมและจัดสรรค่าเช่าทางเศรษฐกิจ (Economic Rent) ซ่งึ คา่ เช่าน้อี อกมาในรปู แบบ ใบอนุญาต สัมปทาน เงินอุดหนุน และสทิ ธพิ เิ ศษตา่ งๆ ซ่ึงอ�ำนาจรัฐจะให้สิทธิต่างๆ เหล่าน้ีท�ำให้นักการเมืองและพรรคพวกสามารถแสวงหาก�ำไรในอัตราท ี่ มากกว่าระดบั ปกตทิ ีเ่ กิดข้นึ ในตลาดแข่งขันทวั่ ๆ ไป กลุ่มทุนคือ กลุ่มผลประโยชน์กลุ่มหนึ่งที่มีบทบาทและแสดงสถานะของตนอยู่ตลอดเวลา อกี ทงั้ ยงั มกี ารปรบั เปลย่ี นหรอื ปรบั กลยทุ ธอ์ ยเู่ สมอ เพอ่ื ใหท้ นั กบั การเปลยี่ นแปลงทางการเมอื งทเ่ี กดิ ขน้ึ อยู่ บอ่ ยครง้ั ในกรณขี องประเทศไทยกลมุ่ ทนุ จ�ำแนกออกเปน็ 2 ประเภทคอื กลมุ่ นายทนุ ไทย และกลมุ่ นายทนุ ตา่ งชาติ ซง่ึ ทง้ั สองกลมุ่ นจ้ี ะพยายามทเี่ ขา้ มามสี ว่ นผลกั ดนั รฐั ใหก้ �ำหนดนโยบายอนั เปน็ ผลประโยชนอ์ อกมา สนองตอบต่อตนเองหรือพวกพ้องของตน โดยกลุ่มทุนไทยน้ีจะแสดงพฤติกรรมเพื่อสร้างผลประโยชน์ ใหเ้ กิดแก่กลุ่มของตนเองใน 2 ลักษณะใหญ่ๆ ประการแรกคือ การเป็นผู้ให้การสนับสนนุ พรรคการเมือง ทง้ั ในทางตรงและทางออ้ ม โดยอาศยั กลไกภายในพรรคการเมอื งใหส้ รา้ งนโยบายตา่ งๆ ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ แกก่ ล่มุ และประการท่ีสองคือ การทกี่ ลุ่มนายทนุ ผนั ตวั เองเขา้ มาเปน็ นกั การเมืองเพ่อื ผลักดันนโยบายท่ี เปน็ ผลประโยชน์ ทงั้ นหี้ ากพจิ ารณาใหด้ กี จ็ ะพบวา่ ลกั ษณะของกลมุ่ นายทนุ ไทยแบบแรกนนั้ มรี ากฐานท่ี กระท�ำมานานแลว้ ดงั ทเ่ี รยี กวา่ เปน็ ระบบจา่ ยคา่ นำ้� รอ้ นนำ้� ชาใหแ้ กข่ า้ ราชการ หรอื เจา้ ขนุ มลู นายในอดตี เพยี งแตพ่ ฤตกิ รรมในลกั ษณะนดี้ มู คี วามชอบธรรมนอ้ ยกวา่ รปู แบบการจา่ ยเงนิ สนบั สนนุ พรรคการเมอื งที่ มีฐานรองรับจากกฎหมายรฐั ธรรมนูญ ในแงท่ พี่ รรคสามารถรับเงนิ สนับสนุนจากผบู้ ริจาคได้ อย่างไรก็ตาม พฤติกรรมของนายทุนได้เกิดการปรับเปล่ียนมากข้ึน โดยใช้กลยุทธ์การผลักดัน นโยบายทางตรงมากขน้ึ โดยผนั ตนเองหรอื ตวั แทนของกลมุ่ นายทนุ เขา้ กระท�ำการ (active) เอง ดงั จะพบวา่ ในชว่ งเกอื บ 3 ทศวรรษทผี่ า่ นมาสมาชิกพรรคการเมอื งจ�ำนวนไมน่ อ้ ยมาจากกลุ่มทนุ ได้ลงเลน่ การเมอื ง ด้วยตนเองมีจ�ำนวนมากข้ึน มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจ�ำนวนไม่น้อยที่มีภาพในเบื้องหลังเป็นนักธุรกิจ ชั้นน�ำของประเทศมาก่อน กลุ่มธนกิจการเมืองเกิดข้ึนในประเทศไทย ด้วยความสัมพันธ์ทางอ�ำนาจ ระหว่างอ�ำนาจการเมืองและอ�ำนาจเศรษฐกิจท่ีมีความเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน จากปัจจัยทางสังคมของ ไทยทม่ี รี ะบบรวมศนู ยอ์ �ำนาจของทงั้ สองอ�ำนาจใหเ้ ปน็ ของชนชน้ั ปกครอง ทง้ั สองกลมุ่ มกี ารพงึ่ พาอาศยั ซึ่งกันและกัน โดยกลุ่มผู้ปกครองหรือชนชั้นน�ำทางการเมืองต้องการแสวงหาความม่ังค่ัง ซึ่งต้องอาศัย กลุ่มพ่อค้านักธุรกิจมาช่วยท�ำการค้าให้กับตน ขณะที่กลุ่มพ่อค้านักธุรกิจต้องการอ�ำนาจทางการเมือง เพื่อช่วยคุ้มครองหรืออภิสิทธ์ิในการทางการค้าของตนด้วย ความสัมพันธ์ดังกล่าวสะท้อนออกมาในรูป
42 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมือง และพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดปัตตานี ของการให้สัมปทานผูกขาดในโครงการสาธารณูปโภคพ้ืนฐาน และในอีกทางหน่ึงเกิดพันธมิตรระหว่าง พรรคหรอื กลมุ่ นกั การเมอื งสายธรุ กจิ กบั ขา้ ราชการ เพอื่ รว่ มมอื กนั แยง่ ชงิ อ�ำนาจทางการเมอื งและแบง่ ปนั ผลประโยชนท์ างเศรษฐกจิ ระหวา่ งกนั เกดิ ปรากฏการณข์ องการคอรร์ ปั ชนั บนฐานของการสรา้ งพนั ธมติ ร ระหวา่ งคนสองกลมุ่ 3.2 นโยบายทน่ี า่ สนใจของพรรคการเมอื งทม่ี คี วามโดดเดน่ ในจังหวัดปัตตานี พรรคประชาชาติ นโยบายหลักของพรรค แก้ปัญหาของชาติด้วยวิถีทางประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขท่ีธ�ำรงไว้ซึ่ง หลักนิติธรรม ส่งเสริมสังคมพหุวัฒนธรรมท่ีเคารพในเกียรติในความหลากหลายทางวัฒนธรรม ยกเลิก และปฏริ ปู กฎหมาย กระบวนการยตุ ธิ รรม ระบบงบประมาณและภาษอี ากรใหเ้ กดิ ความเปน็ ธรรม สง่ เสรมิ ระบบรัฐสวัสดิการด้านการศึกษา การรักษาพยาบาลฟรี ระบบบ�ำนาญและสวัสดิการ (เบ้ียผู้สูงอายุ 3,000 บาท/เดอื น) ยกระดบั โครงสรา้ งพนื้ ฐานดา้ นสาธารณปู โภคและคมนาคม แกไ้ ขปญั หาความยากจน หนส้ี นิ ความเหลอื่ มลำ�้ ดา้ นเศรษฐกจิ สทิ ธเิ สรภี าพ กฎหมาย ศกั ดศ์ิ รแี ละเชงิ พน้ื ที่ ขจดั การทจุ รติ เกษตรกร มที ด่ี นิ ท�ำกนิ และเปน็ เจา้ ของกรรมสทิ ธใ์ิ นทด่ี นิ แกไ้ ขปญั หานำ้� ทง้ั ระบบ สนิ คา้ เกษตรใหข้ ายไดร้ าคาสงู สดุ สง่ เสรมิ การทอ่ งเทยี่ วและการกฬี า แกป้ ญั หายาเสพตดิ กระจายอ�ำนาจอธปิ ไตยใหช้ มุ ชนทอ้ งถน่ิ แกป้ ญั หา วกิ ฤตคิ วามขัดแยง้ ให้เกิดสมานฉนั ทป์ รองดองของคนในชาติ และปญั หาจังหวัดชายแดนภาคใต้ นโยบายในการหาเสยี งของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในจงั หวัดปตั ตานี 1. พรรคประชาชาติลงพน้ื ที่ปตั ตานี ยังเนน้ เร่ืองไฟใต้ ยำ้� ตอ้ งเป็นวาระแห่งชาติ พ.ต.อ.ทวี สอดส่อง เลขาธิการพรรคประชาชาติ น�ำทีมลงหาเสียงในพ้ืนท่ี จ.ปัตตานี โดยได้ พบปะประชาชน และตัวแทนแกนน�ำจากกลุ่มต่างๆ ในพ้ืนที่ ซ่ึงประชาชนต่างขอให้พรรคประชาชาติ ช่วยแกไ้ ขปัญหาปากท้อง ปัญหาเศรษฐกจิ ราคายางพาราตกต�่ำ สนิ ค้าราคาแพง ปัญหาประมงพ้ืนบ้าน ท่ยี ากจนมายาวนาน เรียกร้องให้แกไ้ ขการศึกษาใหม้ คี ุณภาพ ท่ัวถงึ และมงี านท�ำ
43 พ.ต.อ.ทวี กล่าวว่า นโยบายของพรรคประชาชาติ ด้านเศรษฐกิจ จะใช้งบประมาณด้าน ความมน่ั คงบางสว่ นมาสนับสนนุ ภาคการเกษตร เพราะถอื ว่าความมั่นคงกบั ความสงบสขุ ของประชาชน น่าจะด�ำเนินการควบคู่กันไป ทั้งนี้ ปัญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ คือ ปัญหาความยากจน หากเอา งบประมาณความมั่นคง 2 หม่ืนกว่าล้านบาท มาให้ประชาชนจะมีค่ามากกว่า ต้องให้ฝ่ายความม่ันคง ตระหนักว่า ความม่ันคงกับความสุขสงบของประชาชนเป็นเรื่องเดียวกัน ให้คนในพ้ืนท่ีมีส่วนร่วมใน ทกุ ปญั หา เมื่อน้ันกฎหมายต่างๆ อาจไม่ตอ้ งมกี ไ็ ด้ พ.ต.อ.ทวี กล่าวว่า ด้านการพูดคุยเพื่อสันติสุข พรรคประชาชาติจัดปัญหาความไม่สงบ ชายแดนใต้เป็นปัญหาของชาติและวาระชาติ ต้องผลักดันกฎหมาย ไม่ผูกขาดเพียงต�ำรวจ ทหาร ฝ่ายปกครอง แต่ต้องเอาประชาชนเป็นศูนย์กลาง ไม่ผูกขาดเฉพาะกลุ่ม การแก้ปัญหาต้องให้คนใน พื้นทีเ่ อาปัญหาของประชาชนมาแก้ เช่อื ว่าประชาชนย่อมมีความหวัง การเลือกตง้ั ครัง้ นี้ ขอใหท้ ุกคนจ�ำ พรรคประชาชาติ เลอื กพรรคเราไปแกป้ ญั หาประเทศเพอื่ เปน็ การเปลย่ี นแปลงอยา่ งจรงิ จงั และเราท�ำจรงิ 2. ‘ทว’ี น�ำทัพพรรคประชาชาติ ปูพรมปตั ตานีโชว์แก้ปากท้อง เดินหนา้ พฒั นาชายแดนใต้ ผู้ส่ือข่าวรายงานบรรยากาศการหาเสียงของพรรคประชาชาติ ในพ้ืนที่ จ.ปัตตานี ที่น�ำทีมโดย ขุนพลของพรรคอย่าง พ.ต.อ.ทวี สอดส่อง เลขาธิการพรรคประชาชาติ และอดีตเลขาธิการ ศอ.บต. พล.ต.ท.อนุรุต กฤษณะการะเกตุ รองหัวหน้าพรรค ประชาชาติ อดีต ผบช.ศชต. พร้อมเปิดตัวผู้สมัคร สส.แบบเขต เลอื กตง้ั จ.ปตั ตานี ผศ.ดร.วรวทิ ย์ บารู ผสู้ มคั ร เขตเลอื กตงั้ ที่ 1 เบอร์ 1 นายมฮู �ำหมดั อารฟี นี จะปะกียา ผู้สมคั ร เขตเลือกต้ัง ท่ี 2 เบอร์ 7 นายสมมุติ เบญจลักษณ์ ผูส้ มคั ร เขตเลือกตั้ง ที่ 4 เบอร์ 6 ส�ำหรบั ในการพบปะแตล่ ะจดุ ชาวบา้ นตา่ งเรยี กรอ้ งขอใหพ้ รรคประชาชาติ แกไ้ ขปญั หาปากทอ้ ง เร่ืองเศรษฐกิจ ราคา ยางตก ราคาสินค้าแพง เรียกร้องให้มีการแก้ไขปัญหาประมงพื้นบ้าน ท่ีมีสภาพ ยากจนมายาวนาน และให้มีการแก้ไขการศึกษาให้ มีคุณภาพ ทั่วถึง และมีงานท�ำ ทั้งนี้เพ่ือสามารถน�ำ พฒั นาพืน้ ที่จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ พ.ต.อ.ทวีกล่าวว่า นโยบายของพรรคประชาชาติด้านเศรษฐกิจ การแก้ปัญหาความเดือดร้อน ตา่ งๆ โดยเฉพาะเรอ่ื งปากทอ้ งราคาพชื ทางเกษตรใหก้ บั พน่ี อ้ งประชาชนโดยใช้ งบประมาณดา้ นความมนั่ คง บางสว่ นมาสนบั สนนุ ภาคการเกษตร เพราะถอื วา่ ความมนั่ คงกบั ความสงบสขุ ของประชาชนนา่ จะด�ำเนนิ การ ควบคู่กันไป เน้นผลักดันการปฏิรูปท่ีดิน จากที่ดินที่ว่างเปล่ามีกระจายในพ้ืนที่เป็นจ�ำนวนมากเพื่อให้ ประชาชนในพื้นที่สามารถน�ำไปใช้ประกอบอาชีพเลี้ยงชีพอย่างถูกต้องตามกฎหมาย การหยิบยกฐานะ ท่ีดินท่ีเป็น สปก.ให้สามารถเป็นหลักประกันกับสถาบัญ การเงินได้ เพ่ือให้เกษตรกรสามารถเข้าถึง แหล่งเงนิ ทนุ น�ำไปประกอบอาชพี ได้ด้วย
44 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมือง และพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดปัตตานี นอกจากนั้น เร่ืองการจดั การป่าไม้ เพราะพบว่าในพืน้ ท่มี ปี ัญหาเร่อื งประชาชนบกุ รุกทด่ี ินเพ่อื ประกอบอาชีพทางการเกษตรเป็นจ�ำนวนมากและท�ำกันเป็นเวลายาวนาน อาจต้องให้ทางกรมป่าไม ้ กรมท่ีดินหรอื หน่วยงานท่เี กยี่ วข้องหยบิ ยกปญั หาดงั กล่าวนมี้ าร่วมกนั หาทางออก ปญั หาจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ คอื ปญั หาความยากจน หากเอางบประมาณความมน่ั คง 2 หมนื่ กวา่ ลา้ นบาทมาใหป้ ระชาชนจะมคี า่ มากกวา่ ตอ้ งใหฝ้ า่ ยความมนั่ คงตระหนกั วา่ ความมนั่ คงกบั ความสขุ สงบของประชาชนเปน็ เรอ่ื งเดยี วกนั ใหค้ นในพน้ื ทม่ี สี ว่ นรว่ มในทกุ ปญั หา เมอ่ื นน้ั กฎหมายตา่ งๆ อาจไม่ ต้องมกี ็ได้ พรรคประชาตเิ สนอการแกไ้ ขปฏริ ปู กฎหมายทไี่ มข่ ดั ตอ่ การประกอบอาชพี ทกุ อาชพี ใหอ้ ยรู่ ว่ ม กันได้ เช่น ประมงพ้ืนบ้าน เป็นอาชีพที่อยู่คู่กับปัตตานีมาต้ังแต่อดีต มีความสุข ความพอเพียง เม่ือถูก ภยั มรสมุ แตไ่ มเ่ คยไดร้ บั การดูแลเยียวยา รัฐต้องดแู ลเพราะเปน็ บุญคณุ กบั คนไทยในการหาเล้ยี งผู้คน 3. ‘ประชาชาต’ิ ปราศรัยปตั ตานี ชธู ง ‘กระจายอ�ำนาจ’ ยึดหลักการสิทธิขั้นพนื้ ฐาน โดยพนั ต�ำรวจเอกทวี สอดสอ่ ง เลขาธกิ ารพรรคประชาชาติ กลา่ วถงึ เจตนารมณห์ ลกั ของพรรค ที่เช่ือว่ามนุษย์น้ันเท่าเทียมกัน มีความเห็นพ้องถึงการเป็น ‘มนุษย์นิยม’ มากกว่า ‘วัตถุนิยม’ ดังนั้น การพัฒนามนุษย์นั้นเหนือกว่าการพัฒนาด้านวัตถุ และการพัฒนามนุษย์ที่ดีท่ีสุดน้ันคือ ‘การศึกษา’ ทพ่ี รรคประชาชาติเช่ือวา่ นนั้ เป็น ‘สทิ ธิขัน้ พืน้ ฐาน’ ของประชาชนในชาติ “เราจึงเน้นหนักในเร่ืองการศึกษาที่รัฐต้องจัดบริการให้โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ ถึงปริญญาตรี โดยสอดคล้องกับการบริการรักษาพยาบาลท่ีนับเป็น ‘สิทธิขั้นพื้นฐาน’ ของประชาชนเสมอกัน โดยรัฐ จะตอ้ งจดั บรกิ ารดา้ นสาธารณสขุ ใหม้ ไี วเ้ พอื่ รบั ใชป้ ระชาชนโดยหนา้ ทร่ี ฐั ” เลขาธกิ ารพรรคประชาชาติ กลา่ ว นอกจากนย้ี งั เสนอแนวคดิ การพฒั นาพนื้ ที่ โดยชธู งในเรอื่ งของคณุ คา่ วฒั นธรรมและการศกึ ษา ท่ปี ัตตานซี ึ่งเป็นศนู ย์กลางการเรยี นรู้ศาสนาอสิ ลาม และถกู ขนานนามวา่ ‘ระเบียงมกั กะห์’ และปัตตาน ี ยงั เปน็ ทตี่ งั้ ของวดั ชา้ งไห้ ทห่ี ลวงพอ่ ทวดเปน็ ทนี่ บั ถอื สกั การบชู าของชาวพทุ ธทง้ั ประเทศ รวมทง้ั ชาวพทุ ธ จากประเทศในเอเชยี ดงั นน้ั คงจะดมี ากหากประชาชาตเิ ขา้ มารว่ มผลกั ดนั ‘สนามบนิ ปตั ตาน’ี เพอื่ ยกระดบั คุณภาพการคมนาคม เศรษฐกิจ และยงั เป็นการเปดิ โลกกวา้ งให้คนท่วั โลกเขา้ มาปตั ตานไี ดก้ ว้างข้ึนดว้ ย
45 พรรคอนาคตใหม่ นโยบายหลักของพรรค พรรคอนาคตใหม่จะพัฒนาประเทศไทยให้คนไทยเท่าเทียมกัน ประเทศไทยเท่าทันโลก ดว้ ยการกระจายอ�ำนาจสใู่ นทอ้ งถนิ่ สรา้ งสวสั ดกิ ารประชาชนถว้ นหนา้ ปฏวิ ตั กิ ารศกึ ษา ทลายเศรษฐกจิ ผกู ขาด หยดุ การเออ้ื ประโยชนร์ ะหวา่ งรฐั บาลและกลมุ่ ทนุ ขนาดใหญ่ สรา้ งระบบขนสง่ สาธารณะเพอ่ื ทกุ คน ยกระดบั การภาคเกษตรสเู่ กษตรกา้ วหนา้ ดว้ ยเทคโนโลยี พฒั นาเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั เพอ่ื ประชาชน แกป้ ญั หา ทุจริตด้วยการสร้างรัฐเปิดเผย เปิดรับความแตกต่างหลากหลายในสังคม สร้างสิ่งแวดล้อมท่ียั่งยืน ปฏิรูปกองทัพ ปรับลดงบประมาณกระทรวงกลาโหม เลิกระบบเกณฑ์ทหาร ล้มล้างมรดก คสช. คืนประชาธิปไตยและสิทธิมนษุ ยชน นโยบายในการหาเสียงของสมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎรในจังหวดั ปตั ตานี 1. “ธนาธร” น�ำทีมอนาคตใหม่ลงใตห้ าเสียงปัตตานี ปชช.แห่ตอ้ นรับตลาดแตก นายธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ หัวหน้าพรรคอนาคตใหม่ เดินสาย ปราศรัยใหญ่ในพ้ืนท่ี 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ โดยเม่ือเวลา 20.30 น. วันท่ี 1 มี.ค ที่ตลาดกรีนมาเก็ต หน้าวงเวียนมหาวิทยาลัย สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี ทา่ มกลางประชาชนคบั คง่ั บรรยากาศเปน็ ไปอยา่ งคกึ คกั เสยี งกรด๊ี กนั ดงั สนน่ั ลน่ั ตลาด เนอ่ื งจากสว่ นใหญก่ ลมุ่ ทม่ี าฟงั การปราศรยั เปน็ บรรดาวยั รนุ่ กลมุ่ ทเี่ พง่ิ มโี อกาสเลอื กตง้ั คร้ังแรก เนื่องจากธนาธรถือเป็นขวัญใจของวัยรุ่นและกลุ่มเยาวชนที่ทุกคนต่างมาเฝ้ารอคอยกันอย่าง ล้นหลาม โดยผู้สมัคร ท้ัง 4 เขตของ จ.ปัตตานี ที่นายธนาธรน�ำขึ้นเวทีแนะน�ำตัว โดยใช้เวลา 45 นาที ในการปราศรยั ส�ำหรบั เนอื้ หาทปี่ ราศรยั พดู ถงึ เรอื่ งความหลากหลายของ 3 จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ การมตี น้ ทนุ ทางทรัพยากร อาหารและแหล่งท่องเที่ยวจ�ำนวนมากที่หลากหลาย โดยเฉพาะการลงทุน สร้างโรงงาน อุตสาหกรรมท่ีทันสมัยเพิ่มและการสร้างงานสร้างอาชีพให้กับคนในพ้ืนที่ หลังการปราศรัย คนท่ีมาร่วม ตา่ งข้นึ มาขอถา่ ยรปู เซลฟก่ี บั นายธนาธร บรรยากาศเต็มไปด้วยความสขุ นายธนาธร กลา่ วหลงั ปราศรยั วา่ ทป่ี ตั ตานสี ดุ ยอด พน่ี อ้ งประชาชนมาดว้ ยใจลน้ เตม็ พนื้ ทต่ี ลาด ไมค่ ดิ วา่ คน 3 จงั หวดั จะใหก้ ารตอ้ นรบั พรรคอนาคตใหมด่ แี บบนี้ ตนเชอ่ื วา่ นคี้ อื การปราศรยั ในรปู แบบใหม่ ของคนรุ่นใหม่ท่ีมาสนใจการเมือง ทุกคนมาด้วยใจไม่ได้จ่ายเงิน ตนดีใจที่คนรุ่นใหม่มาสนใจการเมือง เพราะคนรุ่นใหม่ต้องมาเปลี่ยนแปลงการเมือง ส่วนการเจรจาเพื่อสันติภาพเพ่ือให้ชายแดนใต้เกิด ความสงบนนั้ ตอ้ งรอรฐั บาลใหม่ มแี ตร่ ฐั บาลทมี่ าจากประชาชนเทา่ นนั้ ทจี่ ะจรงิ ใจทจ่ี ะน�ำสนั ตสิ ขุ มาพน้ื ท่ี 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ พรรคอนาคตใหม่ไม่เช่ือในการน�ำทหารมาแก้ปัญหา เพราะการแก้ปัญหาได ้
46 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมือง และพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดปัตตานี ตนเชอื่ วา่ คนปตั ตานเี หมอื นคนภาคอนื่ ๆ ทไ่ี ดเ้ จอมา คอื ทนไมไ่ หวกบั ปญั หาเศรษฐกจิ ปากทอ้ ง คนจนมแี ต ่ จนลง หน้ีสินมากขึ้น ดังนั้น คนปัตตานีก็ต้องการเปล่ียนแปลง ฉะนั้นวันท่ี 24 มีนาคมมาเปล่ียนแปลง ประเทศไทย มาดงึ ศักยภาพทเ่ี รามอี ยมู่ าสรา้ งอนาคต อยา่ มองใต้แค่ปญั หาความมนั่ คงเพียงอย่างเดียว 2. ชาวปัตตานี แห่ฟัง อนาคตใหม่ ปราศรัย ‘ธนาธร’ ชู 3 แนวทางแก้ปัญหาความไม่สงบ เม่ือเวลา 19.00 น. วันท่ี 1 มี.ค. ที่ตลาดกรีนมาเก็ต ตรงข้าม มอ.ปัตตานี จ.ปัตตานี พรรค อนาคตใหม่ น�ำโดย นายธนาธร จงึ รงุ่ เรอื งกจิ หวั หนา้ พรรค เปดิ เวทปี ราศรยั ทา่ มกลางประชาชน นกั เรยี น นกั ศกึ ษาทมี่ ารอฟงั การปราศรยั ตอ้ นรบั เนอื งแนน่ โดยนายธนาธรกลา่ ววา่ ขอขอบคณุ ชาวปตั ตานที มี่ าให้ ก�ำลังใจ ตัง้ แตต่ ง้ั เวทปี ราศรัยมาทั่วประเทศ ทน่ี ่ีมีพีน่ ้องประชานมาต้อนรับเยอะท่ีสุด นายธนาธร กล่าวว่า แนวทางการแก้ปัญหาสามจังหวัดชายแดนใต้ ตนไม่เช่ือในแนวทางที่ น�ำการทหารมาแก้ปัญหา หน�ำซ้�ำยิ่งท�ำให้สถานการณ์แย่ลง ซ่ึงพรรคอนาคตใหม่จะใช้วิธีการแก้ปัญหา สามจงั หวัดชายแดนใตค้ อื 1. แก้ปญั หาเศรษฐกิจและความเหลือ่ มล�ำ้ 2. คืนอ�ำนาจส่ทู อ้ งถ่ิน ให้ท้องถ่ิน เป็นผู้บริหารจัดการตัวเอง และ 3. ใช้วิธีทางการทูตแก้ปัญหาและอย่ามองว่า ปัตตานีเป็นปัญหาและ เมอื งแหง่ ความรนุ แรง 3. ‘อนาคตใหม’่ ลงพน้ื ท่ปี ตั ตานี สะทอ้ นปญั หา ‘ธุรกิจประมง’ ทรดุ หนกั นายปิยบุตร แสงกนกกุล เลขาธิการพรรคอนาคตใหม่ เดินทางลงพ้ืนท่ีจังหวัดปัตตานี และ ได้มีการรับฟังปัญหาของชาวประมง พร้อมท้ังเยี่ยมชมท่าเทียบเรือประมงปัตตานี องค์การสะพานปลา ซ่งึ พบว่าบรรยากาศเงยี บเหงา ไม่คกึ คกั เหมือนแตก่ อ่ น สว่ นหนงึ่ เปน็ ผลมาจากพระราชก�ำหนด (พ.ร.ก.) การประมง รวมถึงกฎหมายลกู อกี กวา่ 200 ฉบบั ทเี่ ขา้ มาก�ำหนดมาตรฐานการท�ำประมงพาณิชย์ นายปยิ บตุ ร กลา่ ววา่ ตอนนธี้ รุ กจิ ประมงแยม่ าก จากการลงพน้ื ทพ่ี บวา่ นกั ธรุ กจิ ประมงหลายราย ขาดทนุ หลายรายยกเลกิ ท�ำประมงไปแลว้ ซง่ึ เปน็ ผลกระทบตอ่ เนอ่ื งมาจากมาตรการทเี่ ราออกมาเพอื่ ให้ สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานของ ไอยูยู (IUU) โดยออกเปน็ พ.ร.ก.การประมง พ.ศ. 2558 มีหลายเร่ืองซง่ึ วาง มาตรฐานโดยไม่ได้สอบถามชาวประมง ท�ำให้พวกเขาปฏิบัติตามได้ยาก อีกทั้งถ้าไม่ปฏิบัติตามก็ยังเจอ โทษทหี่ นัก สบชอ่ งใหเ้ กิดการเรยี กรับเงิน เกิดการทุจรติ คอรร์ ัปชันของเจ้าหนา้ ท่รี ฐั ดังน้ันปัญหาท่ีเกิดขึ้นนี้สะท้อนโยงกลับมาท่ีการเข้ามาของรัฐบาล คสช. ซ่ึงเป็นรัฐบาลที่ไม ่ ชอบธรรมในทางประชาธปิ ไตย เมอื่ ตอ้ งการเจรจาระหวา่ งประเทศ กท็ �ำใหอ้ �ำนาจในการตอ่ รองนอ้ ยลง จะ เหน็ วา่ มาตรฐานของไอยูยูนั้น ในประเทศอื่นๆ อย่างเวียดนาม เขาเจรจาต่อรองไดย้ ืดเวลาไปได้หลายป ี แตเ่ ราดว้ ยความไมเ่ ปน็ ประชาธปิ ไตย พอเจอใบเหลอื งกก็ งั วลใจ จงึ ยอมรบั ทกุ อยา่ งทไี่ อยยู กู �ำหนดมาใช้ ทันทีเลย โดยทไี่ ม่สอบถามวา่ ธรุ กิจประมงน้ันสามารถท�ำไดห้ รอื ไม่
47 “นักธุรกิจ ประมงพาณิชย์หลายท่านที่ผมไปเจอมา ไม่ได้มีปัญหาต่อมาตรฐานไอยูยู ทุกคน พร้อมที่จะปฏิบัติตาม เพียงแต่ว่าต้องขอความร่วมมือในเร่ืองระยะเวลาท่ีค่อยๆ ขยับขยายให้ท�ำตาม ข้ันตอนตามข้อก�ำหนดนั้น และขอการมีส่วนร่วมในการพูดคุยกันว่า กฎหมายหรือมาตรการต่างๆ ที่จะ ออกมา จดุ ไหนทจ่ี ะพอยอมรบั กนั ได้ ทงั้ สอดคลอ้ งกบั มาตรฐาน และท�ำใหธ้ รุ กจิ ของเขาอยไู่ ดด้ ว้ ย นเี่ ปน็ เรือ่ งส�ำคัญมาก” นายปิยบตุ ร กลา่ วเพิม่ เติมว่า จ�ำเป็นต้องกลบั มาทบทวน หาจุดร่วมกนั ระหว่างผู้ประกอบการ ประมง แรงงาน และมาตรฐานของไอยยู ู มานงั่ เจรจาตกลงกนั วา่ จดุ ไหนทพี่ อจะรบั กนั ได้ เพราะการทเี่ รา ยอมรับกฎเกณฑ์ระหว่างประเทศไว้ท้ังหมด โดยไม่เจรจาตอ่ รองเลยจะสง่ ผลในระยะยาว คอื ผู้ประกอบ การรายเล็กหรือระดับกลาง จะไม่สามารถท�ำได้ตามมาตฐาน ใบอนุญาตก็จะถูกยึด ต้องเลิกประกอบ กจิ การ สุดทา้ ยก็จะเกิดกลุ่มทุนใหญซ่ ึ่งเปน็ ทนุ ผูกขาดเขา้ มาเทคโอเวอร์ และไมใ่ ชแ่ ค่การเทคโอเวอร์เรือ หรอื เทคโอเวอรบ์ ริษทั เท่าน้ัน แต่ในระยะยาวนีค่ ือการเทคโอเวอร์ทัง้ ธรุ กิจประมง” นายปิยบตุ ร กลา่ ว ในสว่ นการด�ำเนนิ การของพรรคอนาคตใหม่ หลงั จากการรบั ฟงั ปญั หาในหลายๆ พนื้ ทเ่ี รอื่ งนน้ี น้ั ทางอนาคตใหมต่ งั้ ใจทจ่ี ะออกแบบนโยบายเรอื่ งเกยี่ วกบั การประมงเขา้ ไปผลกั ดนั ตอ่ ไป โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การทบทวนกฎหมายใหม่ โดยหลกั การประชาธปิ ไตย การมสี ว่ นรว่ มของผมู้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ ง ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี มานง่ั คยุ กนั แกไ้ ขกฎหมายใหมร่ ว่ มกนั และอนาคตเมอื่ ตอ้ งการใหเ้ รอื ประมง ชาวประมง ธรุ กจิ ประมงให้ ไดม้ าตรฐานไอยยู มู ากขน้ึ รฐั จ�ำเปน็ ตอ้ งเขา้ ไปสนบั สนนุ และใหช้ ว่ งเวลาในการเปลย่ี นผา่ นจนไดม้ าตรฐาน การบังคับใช้กฎหมายแบบเคร่งครัดทันที อาจจะแลกมาซ่ึงการท่ีเราไม่โดนใบเหลืองใบแดง หรือรัฐบาล ไดร้ บั การยอมรับจากต่างประเทศ แตใ่ นทางกลับกัน กลบั ท�ำลายธรุ กิจประมงของคนไทยไป
48 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมือง และพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดปัตตานี พรรคพลงั ประชารัฐ นโยบายหลักของพรรค (1) สวัสดิการประชารัฐ เพื่อขจัดความเหลื่อมล�้ำผ่านบัตรประชารัฐ การให้สวัสดิการรายกลุ่ม ลดหนสี้ รา้ งเงนิ ออม และชว่ ยเหลอื ดา้ นทอี่ ยอู่ าศยั และทท่ี �ำกนิ (2) สงั คมประชารฐั เพอ่ื สรา้ งสงั คมสงบสขุ เข้มแข็งแบ่งปัน ผ่านการพัฒนา การศึกษา การกระจายความเจริญ การสร้างเมืองอัจฉริยะสีเขียว การพฒั นาชมุ ชนสขี าว กรงุ เทพ 5.0 (3) เศรษฐกจิ ประชารฐั เพอื่ สรา้ งความสามารถและโอกาสทเี่ ทา่ เทยี ม ผา่ นการยกระดบั ความสามารถผผู้ ลติ การเกษตรประชารฐั การทอ่ งเทย่ี วชมุ ชนและเศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ เศรษฐกจิ ชีวภาพ การพฒั นาโครงสร้างพน้ื ฐานแห่งอนาคต และการลดอุปสรรคในการด�ำเนินธรุ กิจ นโยบายในการหาเสียงของสมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎรในจังหวัดปัตตานี “พลงั ประชารัฐ” ชรู ฐั บาลแก้ พ.ร.บ.ฮจั ญส์ �ำเร็จ ขณะลงชว่ ยผ้สู มคั รหาเสยี งทปี่ ตั ตานี ผสู้ อ่ื ขา่ วรายงานบรรยากาศการหาเสยี งของพรรคพลงั ประชารฐั ในพนื้ ทเี่ ขตเลอื กตง้ั ของ จ.ปตั ตานี โดยในช่วงโค้งสุดท้าย นายอนุมัติ อาหมัด อดีต สนช. และกรรมการยุทธศาสตร์ พรรคพลังประชารัฐ ได้ร่วมปราศรัยหาเสียงสนับสนุน นายมูฮ�ำหมัดปาเรส โลหะสัณห์ ผู้สมัคร ส.ส.ปัตตานี หมายเลข 9 แบบเขตเลอื กตง้ั เขตเลอื กตง้ั ท่ี 1 ปตั ตานี ภายในอาคารอเนกประสงคจ์ ะบงั ตกิ อ อ.เมอื ง จ.ปตั ตานี โดย มปี ระชาชนในพื้นท่ใี ห้ความสนใจรว่ มรับฟงั อย่างคับคั่ง นายอนมุ ตั ิ อาหมดั ไดก้ ลา่ วหยบิ ยก พล.อ.ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี วา่ ไมเ่ คยท�ำรา้ ยใคร ซำ�้ ยงั สรา้ งคณุ ปู การในการผา่ น พ.ร.บ.ฮจั ญฉ์ บบั ลา่ สดุ ท�ำใหพ้ น่ี อ้ งมสุ ลมิ สามารถลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทาง ไปประกอบพธิ ฮี จั ญใ์ นราคาทถี่ กู ลง โดยไดเ้ ปรยี บในสมยั ของรฐั บาลปกตกิ อ่ นหนา้ นี้ ยงั ไมส่ ามารถผลกั ดนั แกไ้ ข พ.ร.บ.ฮจั ญ์ได้ส�ำเรจ็ แต่กลบั มาแก้ไข พ.ร.บ.ฮจั ญ์ส�ำเร็จในรฐั บาลนี้
49 พรรคประชาธิปตั ย์ นโยบายหลกั ของพรรค พรรคประชาธิปัตย์มุ่งขจัดความเหล่ือมล�้ำทางเศรษฐกิจและสังคม ยกระดับรายได้เกษตรกร ส่งเสริมสังคมสวัสดิการและพัฒนาคุณภาพชีวิต พร้อมเร่งกระจายอ�ำนาจและความเจริญไปทั่วประเทศ ยึดมั่นแนวทางประชาธิปไตยเสรี ต่อต้านเผด็จการทุกรูปแบบ ภายใต้แนวทาง “ประชาชนเป็นใหญ่ ประชาธิปไตยสุจริต” เพื่อบรรลภุ ารกจิ “แกจ้ น สรา้ งคน สรา้ งชาต”ิ นโยบายในการหาเสยี งของสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรในจงั หวัดปตั ตานี 1. อภิสทิ ธ์ลิ ุยหาเสยี ง จ.ปตั ตานี ล่นั รักษาพืน้ ท่ี ผสู้ อื่ ขา่ วรายงานวา่ เมอื่ เวลา 17.00 น.วนั ที่ 3 ม.ี ค. ทสี่ นามศกั ดเิ์ สนยี ์ รร.เบญจมราชทู ศิ จ.ปตั ตานี นายอภิสิทธ์ิ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ พร้อมด้วยแกนน�ำผู้บริหารพรรค ประกอบด้วย นายนพิ นธ์ บุญญามณี รองหวั หน้าพรรคประชาธิปตั ย์ และ ดร.พิมพ์รพี พันธุว์ ิชาตกิ ลุ ผ้สู มัครปาต้ลี สิ ต์ พรรคประชาธปิ ตั ย์ ไดเ้ ดนิ ทางขนึ้ เวทปี ราศรยั ใหญห่ าเสยี งพบปะพนี่ อ้ งประชาชนชาว อ.เมอื งเขต 1 จงั หวดั ปัตตานี ซึ่งในการปราศรัยคร้ังน้ีมีบรรดาแฟนคลับและประชาชนมาร่วมฟังกว่า 2,000 คน บรรยากาศ คึกคกั จนล้นสนาม นายอภสิ ทิ ธ์ิ เวชชาชวี ะ หวั หนา้ พรรคประชาธปิ ตั ย์ ไดท้ �ำการแนะน�ำตวั ผสู้ มคั รรบั เลอื กตง้ั ส.ส. แบบแบง่ เขตทง้ั 4 เขต ของ จ.ปตั ตานี ใหป้ ระชาชนไดร้ จู้ กั มกั คนุ้ พรอ้ มเนน้ ยำ้� วา่ นโยบายของประชาธปิ ตั ย์ แกจ้ น สรา้ งคน สรา้ งชาติ การเลอื กตง้ั ครง้ั นข้ี อใหพ้ นี่ อ้ งประชาชนทชี่ นื่ ชอบพรรคประชาธปิ ตั ย์ ดใู บหนา้ ผู้สมัครให้ดี ประการส�ำคัญอย่าเลือกเพราะเห็นแก่ญาติ แต่ขอให้รักญาติเหมือนเดิม ขอเลือกพรรค ประชาธปิ ตั ย์ เพราะเปน็ พรรคทเี่ ลอื กเดนิ เสน้ ทางทส่ี จุ รติ เราจะแกไ้ ขปญั หาเศรษฐกจิ ของจงั หวดั ชายแดน ภาคใตใ้ หด้ ขี ้นึ ยางต้องราคากโิ ลละ 60 บาท เราสามารถน�ำยางไปเพมิ่ มลู คา่ เอาไปท�ำถนนได้ เรามกี าร ประกนั รายได้ ยางพารา รวมทงั้ ผลไมอ้ นื่ ๆ ดว้ ย และปาลม์ ตอ้ งราคากโิ ลละ 4 บาท ซงึ่ พรรคประชาธปิ ตั ย์ ได้ท�ำมาแล้ว ส่วนกรณีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐเราไม่เลิก แต่เพ่ิมจ�ำนวนเงินให้มากขึ้นเป็น 800 บาท แถมสามารถน�ำไปซอื้ อะไรกไ็ ดไ้ มม่ กี ารก�ำหนดกฎเกณฑ์ ปญั หาประมงตอ้ งแกต้ อ้ งชว่ ย ใหค้ วามยตุ ธิ รรม ทั้งคนกิน คนขาย ด้านอุตสาหกรรมครบด้าน และการดูแลเด็กตั้งแต่แรกเกิด ให้ทันที 5,000 บาท และต่อเดือนอีก 1,000 บาท จนครบแสนบาท และยังมีนโยบายอ่ืนๆ ท่ีเป็นประโยชน์ต่อประชาชน และประเทศไทย และโปรดระวัง นโยบายของพรรคอื่นๆ ลอกเลียนแบบ โปรดระวังของปลอม และ ขออย่าให้เราต้องกลับมาเป็นเหมือนเดิม ให้ประชาชนค�ำนึงไว้ คือ ท่านเลือก ส.ส.ท่ีมีอุดมการณ ์ ขอให้เลือกพรรคประชาธปิ ตั ย์ ตนหาเสยี งมาสมยั ที่ 9 แล้ว เราตอ้ งรบั ฟงั ปัญหาแล้วน�ำมาแกใ้ ห้ได้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166