Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore computer63

computer63

Published by Jirawan Malasai, 2021-02-27 16:07:24

Description: computer63

Search

Read the Text Version

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) สมรรถนะวชิ าชีพ 1. แสดงความรู้เกย่ี วกบั การใช้ การบริหาร ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ งาน อาชพี 2. ประยุกต์ใชข้ ้อมูลและเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ งานอาชีพ 3. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งถูกตอ้ งตามกฎหมาย คาอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาเก่ียวกับ การบริหารข้อมูล การใช้อนิ เทอร์เน็ต การส่ือสารสมัยใหม่ และการ นาเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบันมาใช้ในงานอุตสาหกรรม การประยุกต์เทคโนโลยี สารสนเทศในการบรหิ ารจัดการ หลกั สตู รปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) ระบบคอมพิวเตอรแ์ ละหลกั การทางาน โดย ครูจริ วรรณ มะลาไสย หลกั สตู รปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลยั เทคนคิ จนั ทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) หัวข้อเร่อื ง (Topics) 1.1 ความหมายของคอมพวิ เตอร์ 1.2 ประเภทของคอมพวิ เตอร์ตามความสามารถของระบบ 1.3 องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ แนวคดิ (Main Idea) คอมพวิ เตอร์ คือ อปุ กรณท์ างอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Device) ท่ีมนุษยใ์ ชเ้ ปน็ เคร่ืองมือช่วย ในการจัดการกับข้อมูลท่อี าจเปน็ ได้ทง้ั ตวั เลข ตัวอกั ษร หรือสัญลกั ษณอ์ ่นื ที่ใช้แทนความหมายในสิ่ง ตา่ ง ๆ โดยคณุ สมบัติทส่ี าคัญของคอมพวิ เตอร์ คือ การท่สี ามารถกาหนดชุดคาส่งั ลว่ งหน้าได้หรอื โปรแกรมได้ (Programmable) นั่นคือคอมพวิ เตอร์สามารถทางานได้หลากหลายรปู แบบ ขึ้นอยู่กับ ชุดคาสง่ั ท่ีเลือกมาใช้งาน ทาให้สามารถนาคอมพิวเตอรไ์ ปประยุกต์ใชง้ านไดอ้ ยา่ งกว้างขวาง หลกั สตู รปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลยั เทคนคิ จนั ทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) วัตถุประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม (Behavioral Objectives) 1. บอกความหมายของคอมพิวเตอรไ์ ด้ 2. บอกประเภทของคอมพิวเตอรต์ ามความสามารถของระบบได้ 3. บอกองคป์ ระกอบของคอมพิวเตอร์ได้ 4. อธิบายหลักการทางานของคอมพิวเตอรไ์ ด้ 5. ติดตง้ั คอมพิวเตอร์ อุปกรณร์ อบขา้ งได้ถกู ตอ้ งและใชง้ านได้ เนือ้ หาสาระ (Content) 1.1 ความหมายของคอมพิวเตอร์ พจนานุกรม ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542 ใหค้ วามหมายวา่ คอมพิวเตอร์ หมายถงึ เคร่อื ง คานวณอิเล็กทรอนกิ ส์แบบอัตโนมัติ ทาหน้าทีเ่ สมอื นสมองกลใช้สาหรับแกป้ ญั หาตา่ ง ๆ ทัง้ ทงี่ า่ ยและ ซบั ซ้อน โดยวิธีทางคณติ ศาสตร์ หลกั สตู รปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลยั เทคนคิ จนั ทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) 1.2 ประเภทของคอมพวิ เตอรต์ ามความสามารถของระบบ ประเภทของคอมพวิ เตอรต์ ามความสามารถของระบบจาแนกออกได้เปน็ 4 ประเภท โดย พิจารณาจากความสามารถในการเก็บข้อมลู และความเร็วในการประมวลผล ดงั น้ี 1.2.1 ซูปเปอร์คอมพวิ เตอร์ (Supercomputer) เปน็ คอมพวิ เตอร์ขนาดใหญ่ มปี ระสทิ ธภิ าพ สูงสุด สามารถทางานไดเ้ ร็วทส่ี ุด หลกั สตู รปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) 1.2.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) หมายถงึ เคร่อื งประมวลผลขอ้ มูลทีม่ ีส่วน ความจาและความเรว็ นอ้ ยลงสามารถใช้ขอ้ มูลและคาสง่ั ของเครอื่ งรนุ่ อื่นในตระกูล (Family) เดียวกัน ไดโ้ ดยไม่ตอ้ งดัดแปลงแก้ไขใด ๆ 1.2.3 มนิ ิคอมพวิ เตอร์ (Minicomputer) มนิ ิคอมพวิ เตอร์ถกู สร้างข้ึนเป็นครัง้ แรกในระหว่างปี ค.ศ. 1960 – 1969 เพือ่ ใชก้ บั งานเฉพาะอย่าง เชน่ ใช้ในการสือ่ สารข้อมูล หลกั สตู รปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลยั เทคนคิ จนั ทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) 1.2.4 ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีมีขนาดเล็กท่ีสุดราคา ถกู ทสี่ ดุ ใช้งานงา่ ย และนิยมมากทสี่ ุด ราคาของเครื่องจะอยู่ในช่วงประมาณหม่ืนกว่าถึงแสนกว่าบาท ในวงการธุรกจิ ใชไ้ มโครคอมพิวเตอร์กับงานทุกอย่าง ไมโครคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กพอที่จะต้ังบนโต๊ะ (Desktop) หรือในกระเป๋าเอกสาร เช่น คอมพิวเตอร์วางบนตัก (Laptop) หรือโน๊ตบุ๊ก (Notebook) ไมโครคอมพิวเตอร์ สามารถทางานในลักษณะประมวลผลได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องเช่ือมโยงกับ คอมพวิ เตอร์เครื่องอื่นเรียกว่าระบบสแตนอโลน (Stand Alon System) มีไว้สาหรับใช้งานส่วนตัวจึง เรียกได้อีกช่ือหนึ่งว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือเครื่องพีซี (PC : Personal Computer) และ สามารถนาเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์อ่ืน ๆ หรือเชื่อมต่อกับ เคร่ืองเมนเฟรม เพื่อขยายประสิทธิภาพเพ่ิมขึ้น ทาให้เคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์เป็นท่ีนิยมใช้กัน แพรห่ ลายอยา่ งรวดเรว็ หลกั สตู รปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) 1.3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของคอมพวิ เตอรพ์ นื้ ฐาน 4 ประการ ทางานประสานงานร่วมกัน ประกอบด้วย 1.3.1 ฮารด์ แวร์ (Hardware) หมายถงึ เครอ่ื งมือหรืออุปกรณท์ ี่สามารถจบั ต้องได้ทใ่ี ชใ้ นงาน ระบบสารสนเทศ โดยหลกั การทางานของคอมพิวเตอรม์ ี 3 หนว่ ย คือ 1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) เป็นส่วนทท่ี าหน้าท่ีนา้ ขอ้ มูลจากภายนอกเขา้ สูเ่ ครือ่ ง คอมพวิ เตอร์ เปน็ ตวั กลางเชอื่ มโยงจากมนษุ ย์ส่เู ครื่องคอมพวิ เตอร์ หลกั สตู รปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) 2. หนว่ ยประมวลผล (Processing Unit) เปน็ ศูนยก์ ลางการประมวลผลของทั้งระบบ เปรียบเสมือนกองบญั ชาการ หรือสว่ นของศีรษะมนษุ ย์ท่ีมีผูบ้ ัญชาการหรอื สมองอย่ภู ายในหนว่ ย ประมวลผลกลางนีจ้ ะเปน็ การทางานประสานกันระหว่าง 2 สว่ นหลัก คือ (1) ส่วนประมวลผล หมายถงึ ส่วนท่ีทาหนา้ ที่เก่ยี วกับการควบคุมและประมวลผลของเครอ่ื ง คอมพิวเตอร์ มีลกั ษณะเปน็ ชนิ้ ส่วนอิเลก็ ทรอนิกส์ขนาดเล็กมาก ภายในประกอบดว้ ย ทรานซสิ เตอรป์ ระกอบกันเปน็ วงจรหลายล้านตัว โดยมหี นว่ ยวัดความเร็ว (Speed) เปน็ เมกะเฮิรตซ์ (MHz = Maga Hertz) ถ้าคา่ ตัวเลขย่ิงสงู แสดงวา่ มคี วามเร็วมาก เช่น เครอ่ื ง คอมพิวเตอรเ์ ครอื่ งนีเ้ ป็นรนุ่ Pentium II 450 MHz แสดงวา่ คอมพิวเตอร์เคร่อื งนี้มีความเร็วใน การประมวลผล 450 เมกะเฮิรต์ เปน็ ต้น หลกั สตู รปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลยั เทคนคิ จนั ทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) (ก) ส่วนควบคุม (Control Unit) คือ ส่วนท่ีทาหน้าท่ีสร้างและส่งสัญญาณไปควบคุมการทางาน ของส่วนประกอบต่าง ๆ ในระบบคอมพิวเตอร์ คล้ายการส่งสัญญาณควบคุมจากสมองไปสู่ ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ส่วนควบคุมนี้ไม่ได้ทาหน้าที่ประมวลผลข้อมูล แต่มีหน้าท่ี ประสานงานใหส้ ่วนประกอบตา่ ง ๆ สามารถทางานร่วมกนั ไดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบสญั ญาณควบคุม จานวนมาก สามารถเดินทางไปยังส่วนประกอบต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ได้ด้วยตัวส่ง สัญญาณ เรียกว่า บัส (Bus) ซ่ึงประกอบด้วย Control Bus, Data Bus และ Address Bus ท่ีทาหน้าท่ีส่งสัญญาณควบคุม ส่งสัญญาณข้อมูล และส่งตาแหน่งที่อยู่ของข้อมูลในส่วน ความจา ตามลาดับ ดงั นั้น บัสจงึ เปรียบเสมอื นพาหนะทใ่ี ชข้ นส่งข้อมูลไปสู่ส่วนประกอบ ตา่ ง ๆ ของระบบนน่ั เอง หลกั สตู รปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) (ข) ส่วนคานวณและเปรียบเทียบข้อมูล (Arithmetic and Logic Unit: ALU) ทาหน้าที่คานวณ และเปรียบเทียบข้อมูล โดยอาศัยหลักการทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic) และตรรกศาสตร์ (Logic) ตามลาดับ การประมวลผลด้วยหลักการทางคณิตศาสตร์ คือ การคานวณที่ต้อง กระทากับข้อมูลประเภทตัวเลข (Numeric) เช่น การบวก ลบ คูณ หาร ฯลฯให้ผลลัพธ์ที่ หลากหลาย แต่การประมวลผลด้วยหลักตรรกศาสตร์ คือ การเปรียบเทียบข้อมูลท่ีกระทากับ ข้อมูลตัวอักษร สัญลักษณ์หรือตัวเลข (Character) ให้ผลลัพธ์เพียงสองสภาวะ เช่น 0–1 ถูก-ผิด หรือ จริง-เท็จ เป็นต้น คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง มักมีส่วนคานวณเปรียบเทียบ (ALU) เพยี งชดุ เดยี ว ยกเว้นในกรณีเคร่ืองคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ท่ีอาจมี ALU มากกว่าหนึ่ง ชุด ซ่ึงมักพบบในเคร่ืองท่ีมีการประมวลผลแบบ Multi-Processing (ประมวลผลงานเดียว โดยอาศัยตัวประมวลผลหลายตวั ) หลกั สตู รปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลยั เทคนคิ จนั ทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) (2) ส่วนความจาหลัก (Memory Unit) ส่วนความจาหลักเป็นส่วนความจาพื้นฐานใน คอมพิวเตอร์ทุกเคร่ือง เป็นหัวใจของการทางานในรูปแบบอัตโนมัติ มีหน้าท่ีเห็บข้อมูลต่าง ๆ ที่ ปอ้ นเขา้ มาเพ่ือให้ส่วนประมวลผลนาไปใช้และเก็บข้อมูลท่เี กี่ยวกับคุณสมบัติและระบบการทางาน ของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ด้วย ส่วนความจาหลักของคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลัก ๆ ดงั น้ี (ก) หนว่ ยความจาแบบถาวร (Read Only Memory: ROM) (ข) หนว่ ยความจาชั่วคราว (Random Access Memory-RAM) หลกั สตู รปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลยั เทคนคิ จนั ทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) 3. หน่วยแสดงผล (Output Unit) เป็นส่วนที่แสดงข้อมูลสู่มนุษย์ เป็นตัวกลางการสื่อสาร ระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์ เรียกเคร่ืองมือในส่วนนี้ว่าอุปกรณ์แสดงผล (Output Device) ดัง รูป แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ตามลักษณะของข้อมูลท่ีแสดงออกมาสู่ผู้ใช้ ได้แก่ อุปกรณ์ แสดงผลทม่ี นษุ ยจ์ บั ต้องไมไ่ ด้ (Softcopy Output Device) หมายถึง อปุ กรณ์แสดงข้อมูลท่ีมนุษย์ ไม่สามารถจับต้องข้อมูลท่ีแสดงนั้นได้ เช่น ข้อมูลตัวอักษรหรือภาพบนจอภาพ หรือข้อมูลเสียง จากลาโพง เรียกข้อมูลประเภทนี้ว่า Softcopy และอุปกรณ์แสดงผลท่ีมนุษย์จับต้องได้ (Hardcopy Output Device) หมายถงึ อุปกรณแ์ สดงข้อมลู ทมี่ นุษย์สามารถจับต้องข้อมูลทีแสดง นน้ั ได้ เช่น ตวั อกั ษรหรือภาพบนกระดาษ เป็นต้น เรยี กขอ้ มูลประเภทนี้วา่ Hardcopy หลกั สตู รปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) 1.3.2 ซอฟตแ์ วร์ (Software) ซอฟต์แวร์ หมายถึง ส่ิงท่ีไม่สามารถจับต้องได้ ทาหน้าที่ควบคุมให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ ทางานตามความต้องการ ซอฟต์แวรถ์ ูกพฒั นาจากภาษาตา่ ง ๆ แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท คอื 1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) หมายถึง โปรแกรมที่มีหน้าท่ีควบคุมการ ทางานของฮาร์ดแวร์ทุกอย่างและอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น โปรแกรมตามหนา้ ที่การทางานดงั นี้ หลกั สตู รปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลยั เทคนคิ จนั ทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) (1) OS (Operating System) คอื โปรแกรมระบบทท่ี าหน้าท่ี ควบคุมการใช้งานส่วนต่าง ๆ ของ คอมพิวเตอร์ เช่น ควบคุมหน่วยความจา ควบคุมหน่วยประมวลผล ควบคุมหน่วยรับและ ควบคุมหน่วยแสดงผล ตลอดจนแฟ้มข้อมูลต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพในการทางานสูงท่ีสุด และสามารถใชอ้ ุปกรณ์ทุกส่วนของคอมพิวเตอร์และช่วยจัดการกระบวนการพื้นฐานท่ีสาคัญ ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ (ก) DOS (Disk Operating System) (ข) UNIX เปน็ ระบบปฏิบัติการท่ีสามารถใช้ร่วนกนั ได้หลายคน (Multi User) (ค) WINDOWS เปน็ ระบบปฏบิ ัติการที่กาลังนยิ มใช้กนั มากในปจั จุบัน หลกั สตู รปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลยั เทคนคิ จนั ทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) (2) Translation Program คอื โปรแกรมทที่ าหน้าท่ใี นการแปลโปรแกรมหรือชดุ คาสั่งที่เขียนด้วย ภาษาท่ีไม่ใช้ภาษาท่ีเคร่ืองรู้เร่ืองเข้าใจ และนาไปปฏิบัติได้ เช่น ภาษา BASIC,COBOL, C,PASCAL, FORTRAN, ASSEMBLY เปน็ ต้น ตัวแปลมี 3 แบบ คอื (ก) Assembler เปน็ โปรแกรมทีใ่ ชแ้ ปลภาษาแอสแซมบลี ซง่ึ มลี ักษณะการแปล ทีละคาส่งั เม่ือทาตาคาสั่งนัน้ เสรจ็ แล้ว จะแปลคาส่ังเรอ่ื ย ๆ จนจบ (ข) Interpreter เปน็ โปรแกรมทใี่ ชแ้ ปลภาษาเบสิก โดยแปลทีละคาสัง่ แลว้ ทา ตามคาสงั่ นั้น แล้วแปลตอ่ ไปเรอื่ ย ๆ จนจบโปรแกรม (ค) Compiler เป็นโปรแกรมทใ่ี ช้แปลภาษาระดับสูงใหเ้ ปน็ ภาษาเครอื่ ง ซึ่งจะ แปลท้งั โปรแกรมให้เสร็จก่อน จากนนั้ จงึ ปฏิบัติตามคาสง่ั ทลี ะคาสัง่ หลกั สตู รปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) (3) Utility Program คอื โปรแกรมระบบทท่ี าหน้าทใี่ นการอานวยความสะดวกใหก้ ับผ้ใู ช้เครอ่ื ง คอมพิวเตอร์ ใหท้ างานไดส้ ะดวก รวดเรว็ และง่ายขนึ้ เชน่ โปรแกรมที่ใชเ้ รยี งลาดับขอ้ มูล โปรแกรมโอนย้ายข้อมูล โปรแกรมรวบรวมขอ้ มูล 2 ชุดเขา้ ด้วยกนั และโปรแกรมคดั ลอกข้อมลู เป็นตน้ (4) Diagnostic Program คือ โปรแกรมระบบที่ทาหนา้ ทต่ี รวจสอบข้อผดิ พลาดในการทางานของ อปุ กรณต์ า่ ง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ไดแ้ ก่ โปรแกรม QAPLUS โปรแกรม NORTON เป็นตน้ และเมอื่ พบขอ้ ผดิ พลาดจะแจ้งขึน้ บนจอภาพให้ทราบ หลกั สตู รปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลยั เทคนคิ จนั ทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) 2. ซอฟต์แวร์ประยกุ ต์ (Application Software) คอื ซอฟตแ์ วร์หรอื โปรแกรมทที่ าให้ คอมพิวเตอรท์ างานตามทีผ่ ใู้ ช้ตอ้ งการ เช่น ดา้ นเอกสาร บัญชี เก็บข้อมลู เป็นตน้ จาแนกเป็น 2 ประเภท คือ (1) ซอฟตแ์ วร์สาหรับงานเฉพาะด้าน (2) ซอฟต์แวร์สาหรบั งานทั่วไป หลกั สตู รปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลยั เทคนคิ จนั ทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) 1.3.3 บุคลากร (Peopleware) คือบุคคลที่ได้ปฏิบัติงานในด้านคอมพิวเตอร์ หรือผู้ที่ เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ โดยบุคลากรในระบบสารสนเทศที่สาคัญมี 4 ระดับ คือ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) นักพัฒนาโปรแกรมหรือโปรแกรมเมอร์ (Programmer) เจ้าหนา้ ทคี่ อมพิวเตอร์ (Operator หรอื IT Staff) และผูใ้ ช้ระบบ (User) 1.3.4 ข้อมูล (Data) เป็นองค์ประกอบที่สาคัญอย่างหนึ่งในระบบคอมพิวเตอร์เป็นส่ิงท่ีต้อง ป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์ พร้อมกับโปรแกรมท่ีนักคอมพิวเตอร์เขียนข้ึนเพ่ือผลิตผลลัพธ์ที ต้องการออกมา ข้อมูลท่ีสามารถนามาใช้กับคอมพิวเตอร์ได้ มี 5 ประเภท คือ ข้อมูลตัวเลข (Numeric Data) ข้อมูลตัวอักษร (Text Data) ข้อมูลเสียง (Audio Data) ข้อมูลภาพ (Images Data) และข้อมูลภาพเคลือ่ นไหว (Video Data) หลกั สตู รปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลยั เทคนคิ จนั ทบรุ ี

23–4001–2001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและคอมพวิ เตอร์(Inforamation Techonoly and Computer) 3 (3-0-6) สรุปสาระสาคัญ คอมพวิ เตอร์ คอื อปุ กรณท์ างอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronic Device) ทีม่ นุษยใ์ ช้เป็นเครือ่ งมือ ช่วยในการจัดการกบั ขอ้ มูลทีอ่ าจเป็นไดท้ ง้ั ตวั เลข ตวั อักษร หรือสญั ลกั ษณอ์ ่ืนทใ่ี ชแ้ ทนความหมาย ในสง่ิ ต่าง ๆ โดยคณุ สมบัตทิ ่ีสาคัญของคอมพิวเตอร์ คอื การทสี่ ามารถกาหนดชุดคาส่ังล่วงหน้าได้ หรือโปรแกรมได้ (Programmable) นน่ั คือคอมพิวเตอร์สามารถทางานไดห้ ลากหลายรปู แบบ ขึน้ อยู่กับชดุ คาสั่งทเ่ี ลอื กมาใชง้ าน ทาให้สามารถนาคอมพวิ เตอรไ์ ปประยกุ ตใ์ ชง้ านไดอ้ ย่าง กวา้ งขวาง เชน่ ใช้ในการตรวจคลื่นความถ่ขี องหัวใจ การฝาก-ถอนเงนิ ในธนาคาร การตรวจสอบ สภาพเครอื่ งยนต์ เปน็ ต้น ขอ้ ดขี องคอมพวิ เตอร์ คอื เคร่ืองคอมพิวเตอร์สามารถทางานได้อยา่ งมี ประสิทธิภาพ มคี วามถูกต้องและมคี วามรวดเรว็ ไม่ว่างานชนิ ใดกต็ าม หลกั สตู รปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีโยธา วทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบรุ ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook