44 เทคโนโลยีการถายภาพ 3.2 กล้องบนสมารท์ โฟน ต้งั แตว่ ันทโี่ ทรศัพท์มือถือมีกล้องเป็นครง้ั แรก เปน็ กลอ้ งหลักท่อี ยู่ ดา้ นหลงั ไม่มีกล้องหนา้ และความละเอยี ดกลอ้ งเพียงแค่ 0.35 ล้าน พิกเซล หรือความละเอยี ดระดบั VGA เท่านั้น จนพฒั นามามกี ลอ้ ง หน้าด้วยเพ่อื ใชใ้ นการทา 3G VDO Call จนกลายมาเป็นการนาเอา กล้องหน้ามาทาเปน็ กล้องถ่ายตัวเอง (Selfie Camera) จากน้นั การ พัฒนากล้องก็มีมาตลอดกวา่ 16 ปีทผี่ า่ นมา มาดกู นั ว่ามีอะไรบา้ งที่ พัฒนาและเปลยี่ นแปลงไป - การถ่ายวดิ ีโอได้ จากสมัยแรกๆ ทีก่ ารถา่ ยหรือบนั ทกึ วิดีโอบน โทรศัพท์มือถอื ทาได้เพยี งความละเอียด 176 x 144 พิกเซลเทา่ นน้ั หลงั จากน้นั ก็พฒั นามาเป็นความละเอยี ดระดบั HD (720p), Full HD (1080p), 2K (2160p), 4K (4320p) ตามลาดับ แลว้ ยงั มี ฟงั ก์ชั่นการถา่ ยแบบ Slow Motion หรือแบบ Time Lapsed ได้
เทคโนโลยีการถายภาพ 45 อกี ดว้ ย และคาดว่าในอนาคตอนั ใกล้การถา่ ยภาพและวิดีโอแบบ VR (Virtual Reality) จะไดร้ ับความนยิ มมากเชน่ กนั โดยเฉพาะ ตอนน้ีทาง Facebook ประกาศการรองรบั การโหลดภาพและวดิ ีโอ ลงใน Facebook สว่ นบุคคลไดแ้ ล้ว - ภาพความละเอียดระดับสูง จากเริ่มต้นทภี่ าพถ่ายจาก โทรศัพท์มือถอื มีความละเอียดเพียง 35 ล้านพิกเซล พฒั นาไปเป็น 1.3 ลา้ นพิกเซล ต่อไปเป็น 2 ลา้ น, 3.2 ลา้ น, 5 ลา้ น, 8 ล้าน, 12 ลา้ น, 16 ลา้ น, 18 ล้าน, 20 ล้าน และล่าสุด 23 ลา้ นพกิ เซล ความ ละเอียดสูงขนาดน้ีไมไ่ ดห้ มายความวา่ คุณภาพจะดหี มดนะครบั แต่ บอกถงึ ขนาดของภาพที่สามารถขยายได้ใหญม่ ากแค่ไหน ภาพจะดี คุณภาพจะดีต้องอาศัยองคป์ ระกอบอืน่ ๆ อกี เชน่ คุณภาพของเลนส์ และสภาพแสงทถี่ ่ายในขนาดนน้ั - กลอ้ งหน้าเพื่อการถา่ ยภาพ Selfie จากการที่กลอ้ งหนา้ มีเพือ่ การ ทา 3G VDO Call ใหส้ องฝ่ังคู่สนทนาไดเ้ ห็นหน้ากนั กลายมาเปน็ กลอ้ งเพื่อใชถ้ ่ายตัวเองอย่างจรงิ จงั มากขนึ้ เพ่ือการเล็งกล้องหลัง แล้วถ่ายตัวเองทาไดย้ ากและไมเ่ ห็นองคป์ ระกอบของภาพในขณะท่ี ถา่ ย โทรศัพทม์ ือถือตวั แรกที่มีกลอ้ งหนา้ คอื Sony Ericsson Z1010 หลังจากนน้ั กลอ้ งหน้าบนโทรศัพท์มอื ถอื ก็ถูกพฒั นามา อยา่ งต่อเนอ่ื ง ล่าสุดสมารท์ โฟน Sony Xperia XA Ultra มาพรอ้ ม
46 เทคโนโลยกี ารถายภาพ ฟงั ก์ช่ันกล้องหน้าความละเอียดระดับ 16 ล้านพิกเซลเลยทีเดียว เพอื่ เอาใจคอถ่ายภาพ Selfie ทีม่ มี ากขึน้ และนยิ มมากขน้ึ น่ันเอง - ปมุ่ ชัตเตอรส์ าหรับถ่ายรูปโดยเฉพาะ เกดิ ข้ึนครัง้ แรกกบั Nokia N70 ทีว่ างตลาดในปี 2005 นัน่ เอง (N70 เปน็ สมาร์ทโฟนยุคแรกๆ ทข่ี ายดีมากๆ รนุ่ หนึง่ ) หลงั จากน้ันก็มีการพฒั นากนั เปน็ จริงเป็นจงั มากขน้ึ ไม่วา่ จะเป็น Sony Ericsson K800i ทมี่ ีปุ่มชัดเจน และมี อีกมากมายหลายยหี่ ้อหลายรุ่นทใ่ี ชค้ อนเซปทเ์ ดยี วกันในการ ออกแบบ
เทคโนโลยีการถา ยภาพ 47 - ระบบ Auto Focus ซง่ึ ในยคุ แรกของกล้องบนโทรศัพท์มือถือ จะเป็นแบบ Fixed Focus จนกระทั่งมาในปี 2005 Sony Ericsson K750 ไดถ้ กู พฒั นามาใหร้ องรับการเคล่ือนท่ีของเลนส์ เพอื่ ปรบั ระยะโฟกัสใหแ้ ม่นยาและชดั เจนมากข้ึน จนมาถึงในรนุ่ ปจั จุบนั อย่าง Sony Xperia X ทีส่ มาร์ทโฟนสามารถทา Auto Focus แบบทต่ี ดิ ตอ่ วตั ถุที่เคล่ือนไหวได้อยา่ งแม่นยา แม้วัตถนุ ้นั จะ ว่งิ จากซา้ ยไปขวา หรอื จากหลังมาหนา้ กต็ าม หรือแมแ้ ต่เทคโนโลยี ทโี่ ทรศพั ท์สมาร์ทโฟนของเราจะเกบ็ ขอ้ มลู ของภาพที่ถ่ายได้แล้วไป ปรบั โฟกัส ให้หน้าชัดหลงั เบลอ หรือหน้าเบลอหลงั ชดั ในภายหลังก็ ทาได้ดว้ ยบน HTC One M8 (มสี องกล้องหลัง) ลา่ สดุ กม็ ีการใชแ้ สง เลเซอร์เพื่อช่วยหาโฟกสั ในท่ีแสงน้อยอยา่ ง LG G4, Asus Zenfone Laser เป็นตน้ - เลนส์คณุ ภาพระดบั สงู Nokia เป็นเจ้าแรกท่นี าเอาเลนส์ คณุ ภาพสูงอย่าง Carl Zeiss มาใช้กับ Nokia 90 ทาใหผ้ ลออกมา เป็นทน่ี ่าประทบั ใจมาก หลงั จากนั้น Sony Ericsson กท็ าบางใน การนาเอาเลนส์ Sony G มาใช้ขณะที่ LG ก็เคยนาเอาเลนส์จาก Schneider-Kreuznach มาเปน็ พนั ธมติ รอย่ชู ่วงหน่งึ Motorola ก็ เคยจับมือกับ Kodak มาแลว้ เชน่ กัน เคสปัจจบุ นั ล่าสดุ เราก็ไดเ้ ห็น Huawei กลบั มากพลกิ เกมดา้ นนี้ดว้ ยการร่วมมือกับ Leica เพือ่
48 เทคโนโลยกี ารถา ยภาพ สรา้ งความสนใจใน P9/P9 Plus จนเป็นกระแสสนใจทัว่ โลกทาให้ หลายๆ คนหนั มาหา Huawei Smartphone P9/P9 Plus - เลนส์แบบ Optical Zoom Nokia เปน็ เจ้าแรกในการนาเอา เลนส์แบบ Optical Zoom จาก Carl Zeiss มาใช้เพ่ือให้การซมู ภาพไดร้ ะยะที่ดีและยังคงคุณภาพท่สี ูงมากกว่าการใช้ Digital Zoom มาก ตัวอย่างเช่น Nokia N93 แลว้ ยงั มี Samsung Galaxy K Zoom ทีห่ นั มาใชเ้ ลนสซ์ ูมแบบ Optical เช่นกนั แตก่ ารใชเ้ ลนส์ แบบนก้ี ม็ ีข้อเสียคอื ดีไซน์จะทาใหเ้ คร่ืองมีความหนาค่อนข้างมาก นน่ั เอง ทาให้ไม่ไดร้ บั ความนิยม เพราะพกพาลาบาก - Xenon Flash ปัญหาหนงึ่ ของกล้องมอื ถือและสมารท์ โฟนคือ การใชไ้ ฟแฟลชที่มแี สงสว่างเพยี งพอ ไฟแฟลชแบบ LED อาจไม่ได้ ผลดีมากนักถ้าตอ้ งการภาพในมมุ กว้าง Sony Ericsson นาเอา Xenon Flash (ที่ใช้ในกลอ้ ง Compact) มาประยกุ ต์ใช้กบั Sony Ericsson K800, K850 หรือจะเป็นอย่าง Nokia N82, N95, Lumia 1020 เปน็ ต้น แต่ปจั จุบันกเ็ ริ่มไมค่ ่อยนิยมแลว้ เนือ่ งจากว่า เซนเซอร์รบั ภาพได้ถูกพฒั นาไปมากแล้ว สามารถถ่ายภาพในสภาพ แสงน้อยได้ดีกวา่ เมื่อก่อนเยอะ ทาให้การใชไ้ ฟแฟลชแบบ LED ก็ เพยี งพอแลว้ สาหรบั การถา่ ยภาพในท่ีมดื
เทคโนโลยกี ารถา ยภาพ 49
50 เทคโนโลยีการถายภาพ หลังจากมีกล้องถ่ายภาพดิจิตอลและเลนส์ท่ีดีแล้วก็ยังไม่นับว่า ครบถ้วนองค์ประกอบที่สมบูรณ์สาหรับการมีภาพถ่ายที่ดีหรือ โอกาสท่ีมากขึ้นในการได้ภาพในแขนงที่สนใจอุปกรณ์เสริมเพ่ือ ขยายขีดความสามารถจึงต้องเข้ามาเสริมหรืออุดจุดอ่อนต่างๆไม่ว่า จะเปน็ ตวั ผบู้ นั ทึกเองหรอื อปุ กรณก์ ต็ าม ผู้ท่ีช่ืนชอบการถ่ายภาพเป็นชีวิตจิตใจอาจจะเพ่ิมลูกเล่นหรือขีด ความสามารถด้วยอุปกรณเ์ สรมิ ตามความต้องการของตนเอง จะดว้ ยความจาเปน็ ตอ้ งมีหรือไม่ อุปกรณเ์ หลา่ นีก้ ็มคี วามโดดเด่นใน ตวั ของมันเอง ขอแคเ่ ลอื กใช้ให้ถกู สถานการณ์ ร า ย ชื่ อ ดั ง ก ล่ า ว ใ น บ ท ค ว า ม น้ี เ ป็ น เ พี ย ง บ า ง อุ ป ก ร ณ์ ที่ มี อ ยู่ ใ น ทอ้ งตลาด ท้ังท่ีจริงยงั มสี ง่ิ ท่นี อกเหนือไปจากนี้อีกมากมายรอให้คุณ ได้ไปลองซือ้ ใช้กันเอาเอง วา่ แต่จะมีอะไรบ้างน้นั ตามมาเลยครบั แบตเตอร่ีกลอ้ งสารอง แบตเตอรีก่ ลอ้ งสารองน้ันจาเป็นมากสาหรบั การถ่ายภาพเพราะเป็น สิ่งที่จะช่วยให้คุณถ่ายภาพได้นานขึ้นโดยไม่ต้องกลับบ้านไปชาจ
เทคโนโลยีการถา ยภาพ 51 พลังงานเพมิ่ เตมิ โดยเฉพาะช่างภาพที่ต้องเข้าไปยังพื้นท่ีห่างไกลทั้ง วันหรอื ในพื้นทที่ ี่มีอุณหภูมติ ่าก็จะทาให้แบตเตอรี่หมดไวย่งิ ขึ้น แบตเตอร่กี ลอ้ งสารอง แบตเตอรีก่ ล้องสารองเป็นส่ิงที่ขาดไม่ได้เลยนะ นอกจากสภาพแวดล้อมท่ีหา่ งไกลและอณุ หภูมิท่ีสง่ ผลตอ่ แบตเตอรี่ แลว้ การถ่ายภาพบางประเภทเชน่ การถา่ ยภาพแบบ Long exposure หรอื การถ่ายภาพแบบ Time-lapse ส่งผลให้กลอ้ งกนิ พลงั งานมากกว่าปกติ ดงั น้ันแบตเตอรส่ี ารองจึงจาเป็นมากๆ คงไม่ ดเี ลยใชไ่ หมเม่ือคุณเดินทางไปไกลๆเพื่อพบกับคาวา่ แบตเตอร่หี มด ขาตง้ั กล้อง อกี หนึง่ อปุ กรณก์ ล้องท่ีขาดไม่ได้เลยคือขาตั้งกล้อง ไมว่ า่ คุณจะเปน็ ช่างภาพมอื ใหมห่ รือชา่ งภาพมืออาชีพ ขาตัง้ กล้องเป็นอปุ กรณท์ ี่คณุ จาเปน็ ต้องมี เพราะจะช่วยให้คณุ ถ่ายภาพในสภาพแวดล้อมต่างๆ ได้ง่ายเชน่ ถ่ายภาพกลางคืน ถา่ ยภาพแบบเปิดหน้ากล้องนานๆ
52 เทคโนโลยกี ารถา ยภาพ หรือ Long exposure การถา่ ยภาพ Time-lapse หรอื แมแ่ ต่การ ถ่ายภาพมาโคร (Marcro-Photography) ขาตงั้ กล้องมีมากมายหลายแบบควรเลอื กให้เหมาะกับการใชง้ าน ขาตัง้ กล้องมีมากมายหลายแบบควรเลือกใหเ้ หมาะกบั การใช้งาน ขาตง้ั กล้องจะช่วยลดโอกาสท่ีจะทาให้ภาพถา่ ยของเราเบลอแบบ ไมไ่ ดต้ ั้งใจอีกดว้ ยดงั น้ันเราควรเลือกขาต้ังกล้องดีๆสกั อนั ฟิลเตอรส์ าหรบั เลนส์ ฟลิ เตอร์ (Filter) เปน็ อีกหน่งึ อปุ กรณ์กล้องเสรมิ กล้องที่ถกู มองข้าม เปน็ ประจาเพราะดว้ ยราคาท่ีอาจจะสงู แล้ว ช่างภาพมือใหม่หลายๆ คนยงั ไม่เหน็ ความสาคัญของมนั อกี ด้วยอยา่ เช่นฟิลเตอร์สาหรับสวม หน้าเลนส์เพ่อื ป้องกันรอยขีดขว่ นหรือการกระแทก
เทคโนโลยีการถา ยภาพ 53 ฟลิ เตอร์เลนสฟ์ ลิ เตอร์เลนส์สามารถช่วยปกป้องหน้าเลนส์ได้ นอกจากประเภทฟิลเตอร์สาหรับสวมหน้าเลนส์เพื่อป้องกันหน้า เลนส์จากรอยขูดขีดหรือวัตถุกระทบแล้ว ยังมีฟิลเตอร์สวมเลนส์ที่ จะช่วยเร่ืองการถ่ายภาพประเภทต่างๆ อีกด้วยเช่น ND ฟิลเตอร์ หรือ CPL ฟลิ เตอร์ กระเปา๋ กล้อง มันจะเป็นคาถามท่ีพบเสมอว่า มีกระเป๋าท่ีใช้ประจาอยู่แล้วยัง จาเป็นต้องมีกระเป๋ากล้องอีกด้วยหรือ นี่เป็นเร่ืองผิดพลาดที่พบได้ ในมือใหม่ แต่ DozzDIY ขอบอกไว้เลยว่าอย่ามองข้ามความสาคัญ ของกระเป๋ากล้องเลย กระเป๋ากล้องที่ดีจะช่วยปกป้องอุปกรณ์ กลอ้ งได้
54 เทคโนโลยีการถา ยภาพ ชุดลกู ยางเปา่ ลม หลังจากใช้งานกล้องเสร็จในแต่ละวันมักจะมีฝุ่นหรือเศษวัสดุต่างๆ เขา้ ไปในตัวกล้องไม่ว่าจะหน้าเลนส์ เซนเซอร์ หรือกระจกมองภาพ การพกลูกยางเป่าลมติดกระเป๋ากล้องไว้เป็นสิ่งที่ควรปฏิบัติเพราะ ทุกครั้งท่ีเราเห็นฝุ่นก็สามารถหยิบออกมาทาความสะอาดได้ทันที ช่วยลดการใช้โปรแกรมอย่าง Lightroom หรือ Photoshop ใน การลบรอยฝ่นุ ต้กู นั ความชน้ื
เทคโนโลยกี ารถา ยภาพ 55 เชือ่ ว่าหลายคนคงจะเคยเก็บกล้องไว้ในกระเปา๋ กล้องท่ีบ้านใช่ไหม ละแต่เชื่อไหมวา่ การกระทาแบบน้ันเปน็ ส่ิงทไ่ี ม่ถกู ต้องอยา่ งมาก เพราะการเก็บกล้องไวใ้ นกระเป๋าในเวลาที่ไม่ใช้น้นั อาจจะสง่ ผลให้ หลังจากเสรจ็ ส้ินภารกิจในการถา่ ยภาพแต่ละวันแล้วนอกเหนือจาก การทาความสะอาดกล้องแล้วควรเก็บกล้องไว้ในตู้กันชื้นที่มีการ ควบคุมความชื้นในตู้ให้เหมาะสมเพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดความชนื้ ที่ จะนาไปสูเ่ ชือ้ รา การด์ ความจา (Memory Card) เวลาซื้อกล้องทุกคร้ังก็มักจะแถมการ์ดความจา (Memory card) มาให้แล้วยังจะต้องซื้อเพ่ิมอีกหรือ ขอตอบเลยว่าใช่แล้ว คุณ จาเป็นต้องซื้อนะ เพราะ Memory card ท่ีให้มากลับกล้องนั้น อาจจะไม่ใช่ การ์ดความจา (Memory card) ที่ดีมากนักแต่ก็ สามารถใช้งานได้ในระดบั หน่งึ
56 เทคโนโลยีการถายภาพ การ์ดความจา (Memory card) ความเร็วสูงจาเป็นสาหรับการ ถา่ ยภาพบางประเภทที่ต้องอาศัย Burst shot ในการจับภาพความ เคลื่อนไหวเช่น การถ่ายภาพกีฬาหรืออะไรก็ตามท่ีเคล่ือนไหวอย่าง รวดเร็ว หากการ์ดความจา (Memory card) ของคุณบันทึกไฟล์ไม่ ทันแล้วอาจจะสง่ ผลให้หนว่ ยความจาช่ัวคราวของกล้องเตม็ ได้นะ นอกจากความเรว็ ที่สามารถเลือกหาได้ตามกาลังเงินแล้วคุณควรจะ มีการ์ดความจา (Memory card) มากกว่าแค่อันเดียวนะ ไว้ใช้ใน กรณีที่ภาพเต็มหรือว่าเกิดเหตุสุดวิสัยการ์ดความจา (Memory card) พงั กลางทางก็จะสามารถหามาเปล่ยี นได้ทนั
เทคโนโลยกี ารถา ยภาพ 57
บทที่ 4 การจดั องคป์ ระกอบของภาพ
60 เทคโนโลยีการถายภาพ บทท่ี 4 การจดั องคป์ ระกอบของภาพ การจดั องคป์ ระกอบภาพ (Composition) สาหรับการถ่ายภาพให้ได้ภาพที่ตรงตามความต้องการ มี คุณค่า มีความงามทางด้านศิลปะ นอกจาก จะทาความเข้าใจใน เร่ืองของการใช้กล้องถ่ายภาพ และเคร่ืองมือท่ีมีคุณภาพแล้ว การ จัดองค์ประกอบภาพ ก็เป็นส่ิงท่ีสาคัญ ท่ีจะทาให้ภาพมีคุณค่าข้ึน ดังนั้นเราจึงมาศึกษาการจัดองค์ประกอบภาพ ซ่ึงในบทนี้ จะ กลา่ วถงึ การจัดองคป์ ระกอบภาพอยู่ 10 ลกั ษณะ คอื
61 เทคโนโลยกี ารถา ยภาพ 4.1 รูปทรง เป็นการจัดองค์ประกอบภาพท่ีให้ความรู้สึก สง่างาม มัน่ คง เหมาะสาหรับการถ่ายภาพ ทางสถาปัตยกรรม การถ่ายภาพ วัตถุ หรือถ่ายภาพสิ่งต่างๆ เน้นให้เห็นความกว้าง ความสูง ความ ลึก โดยให้เห็นทง้ั ดา้ นหน้าและดา้ นข้าง และความลึก หรอื ทเ่ี รียกว่า ใหเ้ หน็ Perspective หรือภาพ 3 มิติ มีการจัดองคป์ ระกอบภาพตรงข้ามกับรูปทรง คือเนน้ ใหเ้ ห็นเปน็ ภาพ 2 มติ ิ คือ ความกว้างกับความยาว ไมใ่ หเ้ หน็ รายละเอียดของ ภาพ หรอื ทีเ่ รยี กวา่ ภาพเงาดา ภาพลักษณะนี้ เปน็ ภาพท่ีดแู ปลกตา น่าสนใจ ลึกลบั ให้อารมณแ์ ละสร้างจนิ ตนาการ ในการในการดู ภาพไดด้ นี ิยมถ่ายภาพในลกั ษณะ ยอ้ นแสง ข้อควรระวงั ในการ ถา่ ยภาพลกั ษณะนี้คือ วตั ถทุ ่ีถา่ ยต้องมีความเรยี บงา่ ย เด่นชัด ส่ือ ความหมาย ไดช้ ัดเจน ฉากหลังตอ้ งไม่มารบกวนทาใหภ้ าพน้ัน
62 เทคโนโลยกี ารถายภาพ ความสมดุลที่เท่ากัน เป็นการจัดองค์ประกอบภาพเพื่อให้ ภาพดูนิ่ง สง่างาม น่าศรัทธา คล้ายกับแบบเน้นด้วยรูปทรง แต่จะ แสดงออกถึงความสมดุล น่ิง ปลอดภัย ภาพลักษณะนี้อาจจะดู ธรรมดา ไม่สะดุดตาเท่าใดนกั แตก่ ็มเี สนห่ ์และควางามในตวั ความสมดุลท่ีไม่เท่ากัน การจัดภาพแบบน้ี จะให้ ความรู้สึกท่ีสมดุลย์เช่นเดียวกับแบบท่ีแล้ว แต่จะต่างกันอยู่ท่ี วัตถุ ทั้งสองข้าง มีขนาดและรูปร่างท่ีแตกต่างกัน แต่จะสมดุลได้ด้วย ปัจจัยต่าง ๆ กัน เช่น สี รูปทรง ท่าทาง ฉากหน้า ฉากหลัง ฯลฯ ภาพดูน่าสนในกว่าแบบสมดุลท่ีเท่ากัน แต่ความรู้สึกท่ีม่ันคงจะ น้อยกวา่ แต่แปลกตาดี
63 เทคโนโลยกี ารถา ยภาพ ถ่ายโดย รจุ โรจน์ แกว้ อุไร 4.2 ฉากหน้า ส่วนใหญ่จะใช้ในการถ่ายภาพทิวทัศน์ หรือภาพอื่น ๆ ใช้ฉากหน้าเป็นตัวช่วยให้เกิดระยะ ใกล้ กลาง ไกล หรือมีมิติขึ้น ทาให้ภาพน่าสนใจอาจใช้ก่ิงไม้ วัตถุ หรือสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ใกล้กับ กล้องเพื่อช่วยเน้นให้จุดสนใจที่ต้องการเน้น มีความเด่นย่ิงขึ้น และ ไม่ให้ภาพมีช่องว่างเกินไป ข้อควรระวัง อย่าให้ฉากหน้าเด่นจน แย่งความสนใจจากส่งิ ทีต่ อ้ งการเนน้ จะทาใหภ้ าพลดความงามล
64 เทคโนโลยกี ารถายภาพ ถา่ ยโดย รุจโรจน์ แกว้ อไุ ร ฉากหลัง พื้นหลังของภาพก็มีความสาคัญ หากเลือกท่ีน่าสนใจ กลมกลืน หรือช่วยให้ส่ิงท่ีต้องการ เน้นเด่นข้ึนมา ควรเลือกฉาก หลังท่ีกลมกลืน ไม่ทาให้จุดเด่นของภาพด้อยลง หรือมารบกวนทา ให้ภาพนน้ั ขาดความงามไป กฎสามส่วน เป็นการจัดภาพท่ีนิยมมากท่ีสุด ภาพดูมีชีวิตชีวา ไม่ จืดชืด การจัดภาพโดยใช้เส้นตรง 4 เส้นตัดกันในแนวตั้งและ
65 เทคโนโลยีการถายภาพ แนวนอน จะเกิดจุดตัด 4 จุด (ดังภาพ) หรือแบ่งเป็น 3 ส่วน ท้ัง แนวต้ังและแนวนอน การวางจุดสนใจของภาพจะเลือกวางใกล้ ๆ หรือ ตรงจุด 4 จุดนี้ จุดใดจุด หนึ่ง โดยหันหน้าของวัตถุไปใน ทิศทางทมี่ พี ้นื ทีว่ า่ งมากกว่า ทาให้ภาพดเู ด่น ไม่อึดอัด ไม่แน่น หรือ หลวมจนเกินไป นักถ่ายภาพท้ังมืออาชีพ และมือสมัครเล่นนิยมจัด ภาพแบบน้มี าก ถ่ายโดย รจุ โรจน์ แก้วอุไร เสน้ นาสายตา เปน็ การจดั ภาพทใี่ ชเ้ ส้นทเ่ี กิดจากวัตถุ หรอื ส่ิง อ่ืน ๆ ท่ีมีรูปร่างลักษณะใกล้เคียงกัน เรียงตัวกันเป็นทิศทางไปสู่จุดสนใจ ชว่ ยให้วัตถุที่ตอ้ งการเนน้ มีความ เดน่ ชดั และน่าสนใจยิ่งข้นึ
66 เทคโนโลยีการถายภาพ เน้นด้วยกรอบภาพ แม้ว่าภาพถ่ายจะสามารถนามาประดับ ตกแต่งด้วยกรอบภาพอยู่แล้ว แต่การจัดให้ฉากหน้าหรือ ส่วนประกอบอ่ืนล้อมกรอบจุดเด่น เพื่อลดพื้นท่ีว่าง หรือทาให้ สายตาพงุ่ สูจ่ ดุ สนใจนั้น ทาให้ภาพกระชับ นา่ สนใจ รูปแบบซ้าซ้อน หรือแบบ Pattren เป็นการจัดภาพท่ีมีรูปร่าง ลักษณะ ที่คล้าย ๆ กันวางเป็นกลุ่มทาให้ภาพดูสนุก สดช่ืน และมี เสน่ห์แปลกตา ที่ได้กล่าวมาท้ัง 10 ลักษณะ เป็นเพียงการจัด องค์ประกอบภาพท่ีเป็นที่นิยมกัน และเป็นพื้นฐาน ในการฝึก ปฏิบัติการถ่ายภาพเท่านั้น ผู้ถ่ายภาพ ควรฝึกการจัดองค์ประกอบ ภาพในลักษณะที่แปลกใหม่
67 เทคโนโลยกี ารถา ยภาพ 4.3 วิธจี ัดองคป์ ระกอบภาพ เพือ่ ใหภ้ าพถา่ ยดนู ่าสนใจท่ีสุด 1. กฎสามสว่ น เราจะเห็นได้ว่าในช่องมองภาพของกล้องเราที่ผู้ผลิตทามาจะมี จุดตัด 9 ช่อง ซึ่งจะแบ่งเป็น 3 ส่วนหลักในแนวตั้ง และ 3 ส่วน หลักในแนวนอน โดยจุดตัดนี้เราจะใช้วิธีการจัดองค์ประกอบ รว่ มกนั สองแบบครบั วิธีแรกที่จะใช้ก่อนเลยคือ กฎสามส่วน วิธีน้ีมักจะใช้แบ่งสัดส่วน ของพ้ืนดินและท้องฟ้า ถ้าต้องการนาเสนอท้องฟ้าให้เด่น ก็เป็น ท้องฟ้า 2 ส่วน พ้ืนดิน 1 ส่วน, ถ้าเน้นพื้นดินก็ พื้นดิน 2 ส่วน ทอ้ งฟา้ 1 สว่ น จากน้ันเราจะสร้างจุดสนใจให้กับแบบ ถ้าเราสังเกตเวลาถ่ายภาพ เราจะไมว่ างจดุ สนใจไวต้ รงกลางภาพเท่าไหร่ วิธีการน้ันคือวางแบบ หลักให้อยู่ตรงจุดตัด 9 ช่อง ดูต้นไม้นี้นะครับ ถูกวางไว้ในจุดตัด อย่างชัดเจน ทาให้แบบดนู ่าสนใจเลย 1.) ถ่ายโดย รจุ โรจน์ แกว้ อุไร
68 เทคโนโลยกี ารถายภาพ 2. เน้นความสมมาตร – ใหจ้ ดุ สนใจอยู่ที่กลางภาพระหวา่ งความ พอดี ซึ่งแน่นอนว่าปกติเราจะไม่วางจุดเด่นไว้ที่กลางภาพ เพราะทาให้ ภาพดไู ม่น่าสนใจ แต่วิธีการวางท้ังสองด้านให้มีความสมมาตร แนว เส้นเท่ากัน น้าหนักของภาพเท่าน้ัน สองด้านเหมือน ๆ กัน ความ สนใจจะตกไปอยู่ตรงกลางภาพทันที จากนั้นเราแค่เลือกว่าจะให้ อะไรอยู่ท่ีกลางเฟรมภาพเพื่อเล่าเรื่องครบั 2.) ถา่ ยโดย นางสาวพลอยสริ ินทร์ มาทอง 3. เพิ่มความสนใจใหฉ้ ากหน้า การท่ีเราทาฉากหน้าให้น่าสนใจน้ัน จะเป็นการเพิ่มมิติให้กับภาพ ของเรา และดึงดูสายตาผู้ชมมากขึ้น อีกท้ังถ้าเราสังเกตดี ๆ การท่ี ไมม่ ีฉากหนา้ มักจะทาให้ภาพขาดรายละเอียด เรื่องราวท่ีไม่สมบูรณ์ ดภู าพตัวอย่างไดค้ รบั ถ้าไม่มีโซ่ หรอื โขดหินในภาพเลย ก็จะดูเป็น
69 เทคโนโลยกี ารถายภาพ ภาพท่ีธรรมดา ๆ ไม่น่าสนใจเลยก็ได้เวลาถ่ายภาพลองหาฉากหน้า เพื่อเล่าเร่ืองราวไปยังด้านหลัง และยังเป็นการเพิ่มมิติให้ภาพด้วย ครับ 3.) ถ่ายโดย รจุ โรจน์ แกว้ อไุ ร 4. ใชก้ รอบภาพจากธรรมชาติ กรอบภาพที่ว่านี้เราอาจจะเห็นจากประตู หรือต้นไม้ต่าง ๆ ท่ีเรา มองแล้วมันเหมือนกรอบภาพ เมื่อเรามีมุมมองดังกล่าวเราก็จัด จุดเดน่ ทเ่ี ราอยากเลา่ ไวใ้ นกรอบนนั้ ในตัวอย่างน้ีคือเราจะให้บ้านมีความโดดเด่น เราก็วางบ้านไว้ใน กรอบท่เี กดิ ขึ้นจากต้นไม้และพื้นครับ ถ้าจะให้ชัดเจนกว่าตัวอย่างน้ี เราอาจจะเห็นประตูวัดท่ีมักจะวางจุดเด่นไว้ระหว่างประตู หรือ หนา้ ตา่ งแทน
70 เทคโนโลยกี ารถายภาพ 4.) ถ่ายโดย รจุ โรจน์ แกว้ อไุ ร 5. ใชเ้ ส้นนาสายตา เส้นนาสายตาน้ีควรเริ่มต้ังแต่ขอบภาพเข้าไปยังจุดสนใจในภาพ และจุดสนใจก็มักจะอยู๋บริเวณจุดตัด 9 ช่องท่ีได้เล่าไปข้างต้น และ ก็มีการแบ่งสัดส่วนของภาพอย่างลงตัว จะทาให้ภาพโดดเด่น มี เรอื งราวข้ึนมาเอง โดยการใช้เส้นนาสายตาอาจจะใช้เส้นของถนน หรืออะไรก็ตามท่ี เรามองแล้วเป็นเส้นที่นาไปยังจุดเด่นท่ีเราอยากจะนาเสนอครับ และควรเรม่ิ จากขอบภาพเขา้ ไปยังจดุ สนใจแคน่ ้ันเอง
71 เทคโนโลยกี ารถายภาพ 5.) ถา่ ยโดย นายกติ ศิ ักดิ์ ทวิชาชาติ 6. จดั องค์ประกอบแนวเส้นทแยงมมุ วิธีการจัดวางแบบน้ีผมขอเล่าออกมาให้เข้าใจได้ง่าย ๆ โดยไม่ต้อง อิงทฤษฏีอะไร จุดเด่นอยู่ที่แนวเส้นแทบทั้งหมดในภาพสามารถ นาไปยังจุดสนใจได้ จากภาพจะเห็นว่าท้ังแนวตั้งและแนวนอนนั้น เส้นนาสายตาจะนาเราไปยังจุดสนใจท้งั แนวต้งั และแนวนอนเลย ส่ิง สาคัญคือจุดสนใจต้องวางอยใู่ นจุดตัด 9 ชอ่ งดว้ ยครบั
72 เทคโนโลยกี ารถา ยภาพ 6.) ถ่ายโดย รจุ โรจน์ แกว้ อไุ ร 7. ใชร้ ปู แบบพืน้ ผวิ ที่เกิดขึ้นซ้า ๆ เรยี กติดปากว่า แพทเทิรน์ นน่ั แหละ เมอ่ื เกิดแพทเทริ น์ ซ้า ๆ สายตา เรากจ็ ะถกู ดงึ ดดู ไวท้ นั ที เพียงแค่เราใช้เส้นนาสายตาจากแพทเทิร์น เหล่าน้นั นาเขา้ หาแบบ ทีน้ีก็อยู่ท่ีเราแล้วครับจะเลือกใช้การวางองค์ประกอบร่วมกับความ สมมาตรไหม อย่างด้านซ้ายใช้ความสมมาตรวางไว้กลางเฟรม ใช้ แพทเทิรน์ นาเข้าไป ภาพกจ็ ะเด่น เลา่ เรอ่ื งไดด้ ้วย แต่ถ้าใช้แบบภาพด้านขวา เราก็จะใช้เส้นนาโยงไปถึงตัวแบบ แถม เทคนคิ นีใ้ ชก้ รอบภาพท่อี ยู่ตรงหน้าเข้ามาชว่ ยด้วย เลยทาให้คนเด่น ขึน้ มาครบั
73 เทคโนโลยกี ารถายภาพ 7.) ถา่ ยโดย รจุ โรจน์ แก้วอุไร 8. จานวนสว่ นประกอบในภาพเปน็ เลขค่ี ควรมีจานวนส่วนประกอบเป็นเลขค่ี ในภาพ เหตุผลก็เพราะว่า สมองของผู้ชมภาพนั้นจะไม่สามารถจับคู่ หรือว่าจับกลุ่มของ ส่วนประกอบในภาพได้ จะทาใหเ้ รามสี ่วนประกอบทเี่ หลอื และลาก สายตาเราไปยังจุดน้ัน ดูจากภาพได้เลยครับว่าเราจะเห็นว่าสายตา เราตกไปทีค่ นท่ียืนอย่คู นเดยี วใชไ่ หมล่ะ เปน็ วิธีวางองค์ประกอบท่ีดูแปลกแต่ว่าใช้ได้ผลเหมือนกันครับ ลอง ถ่ายภาพบ่อย ๆ จะเรม่ิ เข้าใจการวางแบบน้ีชดั ขึ้นมาหน่อย
74 เทคโนโลยกี ารถายภาพ 8.) ถา่ ยโดย รุจโรจน์ แกว้ อุไร 9. จัดใหพ้ อดีเฟรม การเติมเฟรมภาพให้เต็มด้วยวัตถุหรือแบบ โดยไม่ให้เหลือพ้ืนท่ีวาง เลย ก็จะช่วยให้ผู้ชมโฟกัสได้อย่างชัดเจนและมองเห็นรายละเอียด ของภาพได้แบบเต็ม ๆ อย่างในภาพจะเห็นได้ว่าสัตว์ถูกวางภาพไว้ เต็มเฟรมทั้งใบหน้า และมีการตัดขอบศรีษะและไหล่ แต่ผู้ชมก็ มองเหน็ รายละเอยี ดตา่ ง ๆ เชน่ ผวิ ดวงตา อีกด้วย ส่วนภาพด้านขวาก็เช่นกัน เติมภาพให้เต็มและมีการแบ่งพื้นท่ี ออกเป็นสามส่วนด้วย ทาให้ภาพดูเต็มและเล่าเรื่องได้ เห็น รายละเอยี ดของสถานที่อย่างชดั เจน
75 เทคโนโลยีการถา ยภาพ 9.) ถา่ ยโดย รุจโรจน์ แก้วอไุ ร 10. ให้ฉากหลงั เป็นพ้นื ทวี่ า่ ง การปล่อยฉากหลงั ใหโ้ ลง่ เลย หลายคนอาจบอกว่าจะทาให้ภาพขาด ความน่าสนใจไป ซึ่งอาจจะไม่ใช่เสมอไปครับ ลองดูตัวอย่างจาก ภาพ เห็นได้ชัดว่าหลักคือรูปปั้น และท้องฟ้าเป็นฉากหลัง ซ่ีงเหลือ พื้นท่ีไว้เยอะจนล้นไปหมด แต่ด้วยจุดต่างและคอนทราสต์ในภาพ ระหวา่ งฉากหลังและแบบ ทาให้รปู ป้นั น้นั ดูโดดเดน่ ขึ้นมาไดท้ ันที
76 เทคโนโลยีการถายภาพ 10.) ถา่ ยโดย รุจโรจน์ แกว้ อไุ ร 11. ใช้ความเรยี บงา่ ย บ่อยครั้ง การเพิ่มองค์ประกอบในภาพมากเกินไปมักทาให้ภาพรก และจัดองค์ประกอบยาก แต่ถ้าเราหันมาเน้นความเรียบง่ายดูบ้าง (ดูตัวอย่างจากภาพต้นไม้) ดูเรียบ ๆ แต่น่าสนใจ เหตุเพราะเราใช้ เส้นนาสายตาไปยังต้นไม้ และไม่มีอะไรรกทาให้รบกวนจุดเด่นของ แบบ กท็ าใหภ้ าพเด่นมเี รอ่ื งราวขน้ึ ไดเ้ ลย
77 เทคโนโลยกี ารถายภาพ 11.) ถ่ายโดย รุจโรจน์ แก้วอุไร 12. แยกวัตถุหรอื แบบออกมาให้ชดั เจน เทคนิคนี้จะใชป้ ระโยชน์ในการท่ีเบลอฉากหลังเพื่อให้แบบหลักของ เราเด่นขึ้นมา เป็นวิธีท่ีเรานิยมมากในการถ่ายภาพพรอทเทรตครับ สิ่งสาคัญคือแบบไม่ควรหลุดโฟกัส และแยกออกจากฉากหลังได้ ชัดเจน ย่ิงถ้าเราได้เลนส์ท่ีมีโบเก้สวย ๆ แล้วล่ะก็ภาพนี่กรุ๊งกริ๊งขึ้น อีกแน่นอน
78 เทคโนโลยกี ารถายภาพ 12.) ถ่ายโดย รุจโรจน์ แก้วอุไร 13. เปลีย่ นจุดถา่ ยภาพใหม่ การถ่ายภาพแต่สถานที่เดมิ ๆ กอ็ าจจะไมส่ ามารถสรา้ งมุมมองใหม่ ขน้ึ มาได้ ไม่ใชแ่ ค่คนถ่ายทเ่ี บื่อนะ คนดรู ปู ถา้ เหน็ ท่ีเดมิ บ่อย ๆ ก็ เบื่อเชน่ กนั ซึ่งมักจะเกิดจากภาพทีม่ มี ุมมหาชนมาก ๆ หลายคนก็ จะเลือกท่จี ะเปลยี่ นจดุ ถ่ายภาพใหมใ่ นที่ที่ไม่เคยไปดูบา้ ง ซ่ึง นอกจากจะทาใหเ้ ราได้รบั ประสบการณ์ใหม่มากขึ้น ก็จะทาใหเ้ รา ได้มุมมองใหม่ข้ึนด้วย
79 เทคโนโลยีการถายภาพ 13.) ถ่ายโดย รุจโรจน์ แกว้ อุไร 14. การเน้นคูส่ ใี นภาพให้นา่ สนใจ การจัดคู่สีในภาพให้ลงตัว สัมพันธ์กัน จะทาให้ภาพเด่นขึ้นได้ จริง แล้ววิธีนี้นิยมกันมาก เพราะสีจะบ่งบอกถึงจุดเด่น ความลงตัวใน ภาพ โทนอารมณ์ โดยเฉพาะคู่สีที่ใช้ในการถ่ายภาพสินค้า หรือ อารมณ์ของภาพ Portrait เราไม่ได้สื่อสารกับผู้ชมแค่องค์ประกอบ เส้นนาสายตาเพยี งอยา่ งเดียว แต่สีบ่งบอกถึงความรึู้สึกและอารมณ์ ในภาพไดด้ ้วยการท่ีมีคู่สีลงตัวทาให้ผู้ชมสามารถเข้าใจอารมณ์ภาพ และตมี ของภาพได้ง่ายข้ึน
80 เทคโนโลยกี ารถา ยภาพ 14.) ถ่ายโดย รจุ โรจน์ แก้วอไุ ร 15. ใชพ้ ้ืนทว่ี า่ งสร้างจดุ สนใจ การปล่อยพ้ืนที่ว่างจะทาให้สายตาของเราตกไปยังจุดท่ีมีเนื้อหา หรือรายละเอียดในภาพทันที โดยส่ิงสาคัญการจัดคอมโพสต์ให้อยู่ ในจุดสนใจและแนวเส้นนาสายตาสามารถโยงเข้าไปในรายละเอียด ด้านหลังของภาพได้ด้วย สังเกตได้ว่าภาพน้ี นอกจากจะวางแบบไว้ ท่ีจุดตัด 9 ช่องแล้ว แนวเส้นนาสายตายังเล่ารายละเอียดของ สถานท่ีนั้นอย่างชัดเจน ผู้คนท่ีอยู่ตรงนั้น สิ่งที่คนในน้ันกาลังทา และลักษณะของอาคารในประเทศน้ัน การใส่ใจเรื่องราวในภาพก็
81 เทคโนโลยีการถายภาพ เป็นเรื่องสาคัญในทุก ๆ ภาพที่เราถ่ายครับ ไม่ใช่ว่าเอ๊ะ เราใส่พื้นที่ ว่างแล้วทาภาพดูไม่น่าสนใจ จริง ๆ แล้วควรดูเรื่องราวของภาพ ด้วย 15.) ถ่ายโดย รจุ โรจน์ แกว้ อไุ ร 16. กฎจากทางซา้ ยไปขวา เปน็ การประยกุ ต์มาจากการท่ีคนเราอ่านหนังสือจากซ้ายไปขวา ซึ่ง จะทาให้ผู้ชมกวาดสายตาเหมือนการอ่านหนังสือ และตีความ เร่ืองราวจากรายละเอียดทีเ่ ราใส่เข้าไป ไม่ว่าจะเป็นเฟรมภาพ แบบ หลกั และการเคล่อื นไหว
82 เทคโนโลยีการถายภาพ 16.) ถ่ายโดย รุจโรจน์ แกว้ อไุ ร 17. การจัดความสมดลุ ในภาพ การจัดความสมดุลในภาพ เปน็ วธิ ีช่วยเพิม่ ความน่าสนใจให้ภาพดูไม่ ถูกทิ้งน้าหนักไปที่จุดเด่นเพียงจุดเดียว ดูได้จากภาพ หากมีแค่เสา ตะเกียงอยู่ดา้ นหน้า ภาพจะออกมาโล่ง ๆ แปลก ๆ แน่อนน การทา ให้ภาพสมดุล ทาให้เรามองเร่ืองราวด้านหลังได้ด้วยเหมือนกัน ไม่ได้มองแค่เสาข้างหน้าอย่างในภาพเพียงอย่างเดียว และที่เห็นได้ ชั ด คื อ ทุ ก ภ า พ ที่ ผ ม เ ล่ า อ อ ก ม า นั้ น ไ ม่ ไ ด้ ใ ช้ เ ท ค นิ ค ก า ร ว า ง องค์ประกอบแค่เทคนคิ เดยี วนะ จะใช้หลาย ๆ อย่างร่วมกันให้ภาพ ดูลงตัวครบั
83 เทคโนโลยีการถา ยภาพ 17.) ถา่ ยโดย รุจโรจน์ แกว้ อุไร 18. วางตาแหน่งของวัตถุในภาพให้เทียบเคียงกัน เน้นให้เห็นถึง ความตา่ งของสองสิ่งนนั้ เทคนิคการจัดวางแบบนี้เหมาะกับภาพท่ีวัตถุตั้งแต่ 2 อย่างข้ึนไป เชน่ ตาแหนง่ ร้านหนงั สอื ทางเขา้ ทีอ่ ยดู่ ้านหน้าของโบาถ์ ซ่ึงช่างภาพ จะต้องทาให้มองเหน็ ถึงความแตกต่างของสิ่งที่นาเข้ามาเทียบน้ีและ ทาให้คนดูภาพคิดตามไปด้วยว่าภาพนี้กาลังเล่าอะไร มีอะไรในนั้น บา้ ง
84 เทคโนโลยีการถายภาพ 18.) ถ่ายโดย รุจโรจนแ์ กว้ อุไร 19. กฎสามเหล่ียมทองคา กฎสามเหล่ียมทองคาจะช่วยให้การจัดภาพดูสมดุล เป็นสัดส่วน โดยให้สมมุติว่ามีเส้นในภาพและลากทะแยงจากจุดหน่ึงไปอีกจุด หน่ึง ต่อมากท็ าการลากเส้นจากมุมหนึ่งขึ้นมาต้ังฉากกับเส้นทะแยง มุม จะทาใหภ้ าพดูนา่ สนใจขนึ้ ได้
85 เทคโนโลยกี ารถายภาพ 19.) ถา่ ยโดย รจุ โรจน์ แก้วอุไร 20. สัดสว่ นทองคา เป็นกฎท่ีถูกใช้ท้ังงานภาพและดีไซน์ เป็นที่มาจากทางคณิตศาสตร์ เพ่ือคานวณหาสัดส่วนที่สวยงามที่สุดในโลก โดยส่วนตัวผมเองไม่ เคยใช้กฎนี้เลย ถ้าดูตามบทความจากเว็บต่าง ๆ จะเห็นว่ามี ประเด็นนี้กันเยอะ แต่สว่ นตวั ผมคุยกับเพอื่ นแล้วไม่มีใครพูดถึงกฎนี้ เป็นหลักเท่าไหร่ แต่ก็ให้ดูเป็นความรู้ว่ามีการใช้กฎการวางแบบนี้ ดว้ ย ผมยังเคยได้ยินเพือ่ นที่ทางานแซวเลยว่ากฎนีจ้ ะมีใครวางเฟรม
86 เทคโนโลยีการถายภาพ ไว้ตามความจริงก่อนถ่ายได้บ้าง 555 เอาเป็นว่าไม่ต้องเคร่งเครียด กับการจัดวางแบบน้ี ส่วนตัวผมแนะนาว่าเริ่มจากการใช้จุดตัด 9 ช่องและวางเฟรมให้น่าสนใจ มเี ร่ืองราวก่อนดีกวา่ ครบั 20.) ถ่ายโดย รจุ โรจน์ แกว้ อุไร
87 เทคโนโลยกี ารถา ยภาพ
บทท่ี 5 เทคนิคการถา่ ยภาพ
90 เทคโนโลยกี ารถา ยภาพ บทท่ี 5 เทคนิคการถ่ายภาพ 5.1 เทคนคิ การถา่ ยภาพภมู ิทัศน์ 1) แสงคือกุญแจสาคัญของความสาเร็จ การถ่ายภาพในช่วงเช้าตรู่ หรือช่วงบ่ายแก่ ๆ จนถึงช่วงหัวค่า เม่ือพระอาทิตย์ริบหร่ีท่ีริมขอบ ฟ้า ภาพแสงจะดีทีส่ ุด 2) ทาความคุ้นเคยกับสถานที่ ออกแต่เช้าตรู่เพ่ือสารวจพื้นที่และหา จดุ ท่ีดีทสี่ ดุ 3) ใชโ้ หมดแมนนวล (M) เพ่ือการควบคมุ ระดับแสงได้อย่างเตม็ ที่ 4) ต้ังค่ารูรับแสงให้มีขนาดเล็ก (เอฟสต๊อปสูง ๆ เช่น f11 หรือ มากกวา่ ) ใชข้ าตง้ั กล้องทีม่ ั่นคงและมสี ายกดชตั เตอร์ 5) มองหาจุดเด่นในฉากหน้าเพื่อเพิ่มความน่าสนใจให้กับภาพหาก ถ่ายด้วยเลนส์กว้าง (16 มม. - 24 มม.) และจากระดับพ้ืนดิน หรือ หากถ่ายภาพขา้ มจากเนินเขา ควรใช้เลนสถ์ า่ ยไกล (100 มม.ข้ึนไป) และมองหาจดุ สนใจเพ่ือใช้เปน็ จุดโฟกสั
เทคโนโลยีการถา ยภาพ 91 5.2 การถา่ ยภาพหยดุ การเคลือ่ นไหว เม่อื ใช้แฟลชธรรมดา ความเร็วชัตเตอร์สูงสุดจะจากัดอยู่ที่ประมาณ 1/200 ถงึ 1/300 วินาที หากคุณต้องการถ่ายภาพด้วยความเร็วชัต เตอร์ท่ีสูงกว่าล่ะก็ เลือกใช้ High-speed Sync ซึ่งช่วยให้กล้องใช้ ความเร็วชัตเตอร์สูงๆ เมื่อยิงแฟลชต่อเน่ืองด้วยแสงแฟลชท่ีไม่จ้า เม่ือใช้งานซิงค์ความเร็วสูง คุณจะสามารถเลือกความเร็วชัตเตอร์ สูงๆ เม่ือคุณถ่ายภาพด้วยแฟลชเสริม Speedlite (เร่ืองโดย: Koji Ueda) เพม่ิ ความสว่างให้ตัวแบบโดย “หยุด” ความเคลอ่ื นไหว
92 เทคโนโลยีการถายภาพ ในการถา่ ยภาพการแข่งขันมอเตอร์ไซค์วิบาก ตลอดการแข่งขันเต็ม ไปด้วยการเคล่ือนไหวขึ้นๆ ลงๆ ที่รวดเร็วของรถและการออกตัวที่ ฉับไว ความเร็วชัตเตอร์สูงๆ จึงจาเป็นอย่างย่ิง ภาพด้านล่าง ผม ต้องการถ่ายภาพสีหน้าของผู้ขับข่ีพร้อมกับเน้นน้าที่สาดกระเซ็น ผมจึงใช้ High-speed Sync และต้ังค่าความเร็วชัตเตอร์เป็น 1/800 วินาที เมื่อต้ังค่าแฟลช Speedlite ไปที่โหมด E-TTL ผมยิง แฟลชโดยหันหัวแฟลชไปที่ตัวแบบ อากาศในวันน้ันไม่คงที่เพราะมี แสงจ้าและเมฆครึ้มสลับเป็นระยะ ผมจึงเลือก Aperture-priority AE เพอื่ ตั้งค่ารรู ับแสงและควบคุมการทางานของรูรบั แสง
เทคโนโลยกี ารถา ยภาพ 93 EOS-1D Mark IV/ EF24-105mm f/4L IS USM/ Aperture- priority AE (1/800 วนิ าที, f/4.5, -0.3EV)/ ISO 400/ WB: อตั โนมัติ/ Speedlite 580EX II (E-TTL, การชดเชยแสง: -0.3EV, High-speed Sync) ภาพโดย: Takahito Mizutani เคลด็ ลบั เปดิ รับแสงให้คงท่ีโดยกาหนดคา่ รรู ับแสง ใช้ High-speed Sync เพอ่ื ให้สามารถใชค้ วามเรว็ ชตั เตอร์สงู ๆ สภาพการถา่ ย
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145