Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Danusorn

Danusorn

Published by danusron.ja, 2019-01-17 07:56:58

Description: Danusorn

Search

Read the Text Version

คาํ ขวญั จงั หวดั พระธาตพุ นมค่าล้ํา วัฒนธรรมหลากหลาย เรณูผู้ไท เรือไฟโสภา งามตาฝงโขง

นมสั การพระธาตปุ ระจาํ วนั เกิด ๗ พระธาตุ



นมัสการพระธาตุพนม ประวัติพระธาตุพนม (ยอ ) พระธาตพุ นมหรือเรียกตามแผนทองจารกึ ซง่ึ จารึกไวใ นสมยั เจาราชครูหลวงโพนสะเม็ก แหงนครเวียงจันทน มาบูรณะใน พ.ศ. ๒๒๓๖ - ๔๕ วา \"ธาตุปะนม\" เปนพทุ ธเจดียทีบ่ รรจพุ ระอุรงั คธาตุ ( กระดูกสว นพระอุระ ) ขององคสมเด็จพระสัมมาสมั พทุ ธเจา มีรปู ทรงสเ่ี หล่ียม ประดบั ตกแตงดว ยศิลปลวดลายอันวิจิตรประณตี ทัง้ องค มคี วามหมายทางพระพทุ ธศาสนาอยา งลึกซึ้ง สงู จากระดับพนื้ ดิน ๕๓ เมตร ฉัตรทองคําสูง ๔ เมตร รวมเปน ๕๗ เมตร ประดิษฐานอยู ณ วัดพระธาตุพนมวรมหาวหิ าร ตําบลธาตุพนม อาํ เภอธาตพุ นม จงั หวดั นครพนม อยูทางทิศตะวันออกเฉยี งเหนือของประเทศไทย หา งจากแมนา้ํ โขงอนั เปน เสน ก้ันแดนระหวา งประเทศลาว กับประเทศไทยประมาณ ๕๐๐ เมตร และหา งจากกรุงเทพฯ ประมาณ ๘๐๐ กโิ ลเมตร ในตํานานพระธาตุพนมกลาวไววา องคพ ระธาตุพนมสรางครง้ั แรกในราว พ.ศ. ๘ ในสมัยอาณาจกั รศรโี คตรบูร กําลงั เจริญรุงเรืองอยู โดยทาวพญาทัง้ ๕ อนั มพี ญาศรีโคตบูร เปน ตน และพระอรหนั ต ๕๐๐ องค อันมีพระมหากัสสปะเถระเปน ประมุข ลกั ษณะ การกอสรางในสมยั แรกนั้น ใชดนิ ดบิ กอ ขึ้นเปน รูปเตาสเ่ี หล่ยี ม แลวเผาใหสกุ ทหี ลัง กวา งดานละสองวาของพระมหากสั สปะ สูงสองวา ขางในเปน โพรง มีประตูเปด ทัง้ สด่ี าน เมอื่ สรางเสรจ็ แลว ก็ไดอ ัญเชญิ พระอุรงั คธาตขุ องพระพุทธเจาทพ่ี ระมหากัส สปะเถระนํามาจากประเทศอิเนเดีย ประดิษฐานไวข า งใน แลว ปด ประตทู ั้งส่ีดา น แตยังปด ไมส นทิ ทเี ดียว ยงั เปดใหคนเขาไปสักการะบชู าไดอ ยบู าง โอกาส ในตํานานพระธาตุพนมบอกวา \"ยงั มไิ ดฐ านปนาใหส มบูรณ\" น้ีกห็ มายความวา ยงั มไิ ดปดประตพู ระธาตุ ใหม ดิ ชิดนน่ั เอง พ่ึงมาสถาปนาใหส มบูรณใ นราว พ.ศ. ๕๐๐ ทา วพญาทงั้ ๕ ผมู าเปน ประมขุ ประธานในการกอ สรา งพระธาตุพนมในคร้งั น้นั เปนเจาผูครองนครใน แควนตาง ๆ คอื ๑. พญาจุลณีพรหมทัค ครองแควน จลุ มณี กอดา นตะวันออก ๒. พญาอนิ ทปตถนคร ครองเมอื งอนิ ทปต ถนคร กอ ดา นตะวันตก ๓. พญาคาํ แดง ครองเมอื งหนองหานนอย กอดานตะวันตก ๔. พญานันทเสน ครองเมืองศรีโคตบรู กอ ดา นเหนือ ๕. พญาสุวรรณภงิ คาร ครองเมืองหนองหานหลวง กอ ขน้ึ รวมยอดเขาเปนรูปฝาละมี

นมัสการพระธาตนุ คร ประวตั ิพระธาตนุ คร(ยอ ) ป พ.ศ. 2462พระครพู นมคณาจารยเ จา อาวาสวดั มหาธาตแุ ละเจาคณะจังหวัดนครพนมไดเ ชญิ ผูว า ราชการ จังหวดั นครพนมคอื พระยาพนมนครานรุ กั ษ(อยุ นาครทรรภ)ขาราชการผใู หญผเู ฒา ผูแกหลักบา นหลักเมอื งและ นมิ นตพ ระสงฆพระผใู หญใ นวัดเขา รว มประชมุ โดยไดแ ถลงตอ ทีป่ ระชุมวา อยากจะรื้อถอนธาตุเจดยี เ กาแกค ร่าํ ครา อนั ระเกะระกะไมเปน ระเบียบอยูใ นวดั มากมายโดยเฉพาะอยางย่งิ อยแู ถวมุมโบสถดา นเหนอื และดา นตะวันตกจะ ทาํ ใหวัดคับแคบลงมากจากธาตุเจดยี เ กา ๆ ถา หากวารื้ออกแลว บริเวณวดั ก็จะโลงกวา งขวางข้ึนหลังจากนั้นกม็ กี าร ร้อื ถอนพระธาตุเล็กพระธาตุนอยออกแลว สรา งพระธาตนุ ครขน้ึ มาใหม ในการกอสรา งประธาตุเจดียนี้ในสว นที่เปน ลวดลายอันวิจิตรบรรจงตระการตาตลอดจนถงึ ทรวดทรงขนาดและ สัดสวนนน้ั เปนฝมือของญาทา วบบุ า นหวา นใหญอ ําเภอมกุ ดาหารและทาวมาวบานเสาเลา อําเภอทา อุเทน หลกั ฐานพระธาตนุ ครมีลกั ษณะส่เี หล่ียมจตั ุรัสกวา งดานละ5.85เมตร สูง24เมตรมีรูปรา งตามแบบพระธาตุพนมองค เดมิ รูปทรงตงั้ บนฐานใหญ2ฐานตอ ลดหล่นั กันตามลาํ ดบั แตล ะฐานมรี ปู ประตอู ยูต รงกลางบนประตูเปน รูปคลา ยบวั บานมรี ปู และลายตา ง ๆ ขางประตูทําเปนลายเครอื ไมด อกไมผ ลรูปพระราชาทรงชางทรงมาตอ จากฐานใหญท ั้งสอง ขน้ึ ไปแลว ก็มีลักษณะแหลมเรยี วขึน้ ไปตามลําดบั ตอนกลางในดานทั้งสวี่ ิจติ รไปดวยหมูดาวกระจาย(ดอกกระจับ)สูง ถดั ขึน้ ไปทําเปน รูปตูห นังสือ พระไตรปฎกโบราณตอขึน้ ไปอกี แลว ทาํ เปนรูปลักษณคลายกลีบบวั อีกทย่ี อดสดุ ก็คลา ย ดอกบวั ตมู ตอ จากนจี้ ึงเปน ฉัตรทองแดงเหลืองเจด็ ชั้นยอดฉัตรน้ีมีลกู แกว เจยี รไน1ดวงอยูสงู สุดยอด ฐานมีกําแพงลอม รอบทั้ง4ดาน มีซุมประตอู ยูต รงการทุกดานเหนือซุมประตูมีรูปปน เทพนง่ั ขัดสมาธปิ ระนมมอื (เทพพนม)ซ่งึ เปนเทพ มเหศักด์พิ ิทกั ษพทิ ักษร กั ษาองคพระธาตทุ มี่ ุมกําแพงมเี สาสูงข้นึ แลวทาํ เปนดอกบวั ตูมบนยอดเสาภายในกาํ แพงกวาง ดา นละ13.30เมตรนอกกําแพงมีธาตดุ กู ลอมอกี ชนั้ หน่ึงบนธาตนุ ั้นเปน ท่ีสําหรบั วางดอกไมธูปเทียนในคราวมงี านพธิ ี ตาง ๆ พระธาตเุ จดียอ งคน้กี อ สรางเสรจ็ ส้นิ ลงในวนั เดอื นเพ็ญของป พ.ศ. 2465จงึ ไดม ีการกําหนดวนั ท่ีจะทําการฉลอง เพอื่ บรรจุพระอรหนั ตสารีริกธาตุพรอมกบั องคพระพุทธรูปทองคาํ และเงินบรรจุผอบไมจันทรแ ดงทไี่ ดมาจากพระธาตุเจดีย องคเ ดิมนนั้ เองทัง้ ยังไดเปด โอกาสใหประชาชนผูมจี ติ ศรัทธาเลอ่ื มใสไดนําเครือ่ งลางของขลังครฑุ ขอ นอ งา ตะกรุด หรอื เพชรนิลจินดาเงินทองตลอดจนพระพุทธรปู เกาแกแ ละของมีคา อ่ืนใดท่พี ระสงฆจ ะนาํ เขาบรรจไุ วกย็ อมทําไดแลว ตกลงพรอ มกนั กําหนดวันจัดงานฉลองสมโภชข้นึ ในวันขึ้น13คา่ํ ถึงวนั แรม1ค่ําเดือน6ป พ.ศ. 2465สวนงานฉลอง สมโภชซงึ่ ถอื เปน งานประจาํ ปใ นวนั ข้นึ 15คํ่า เดือน5ของทุก ๆ ป อายุ ราว70 -- 80ป

นมัสการพระธาตเุ รณู ประวัติพระธาตุเรณู (ยอ ) ประวตั ิโดยยอ คือ ไดสรา งขึน้ เมื่อป พ.ศ.๒๔๖๐ เปน พระธาตคุ เู มอื งของชาวเรณู นคร โดยจาํ ลองรปู ทรงมาจากพระธาตพุ นมองคเ ดิม คือองคก อนทจ่ี ะลมในป พ.ศ. ๒๕๑๘ แตมขี นาดเลก็ กวา สงู ๓๕ เมตร กวางดานละ ๘.๓๗ เมตร ภายในเจดยี  บรรจุคัมภีรพ ระธรรม พระพทุ ธรปู ทองคาํ พระพทุ ธรปู เงิน เพชรนลิ จนิ ดา หนองา และของมีคา ท่เี จา เมอื งเรณนู คร กบั ประชาชนนํามาบริจาค และไดบ รรจุพระบรม สารรี ิกธาตุ และพระอรหันตธ าตุ เมอื่ วันท่ี ๑๕ มนี าคม ๒๕๑๙ มงี านเทศกาล นมสั การพระธาตุเรณนู คร เปนประจาํ ทุกป ในวนั ขึ้น ๑๑ – ๑๕ คา่ํ เดอื น ๔ รวม ๕ วนั ๕ คืน

นมสั การพระธาตมุ หาชยั ประวัติพระธาตุมหาชยั (ยอ ) พระธาตมุ หาชยั องคเ ดิม สรา งเสรจ็ เมอ่ื พ.ศ. 2518 โดยดาํ รขิ องหลวงปู หลังจาก ที่หลวงปไู ดนําพาญาติโยมมาสรา งบานมหาชัย และสรา งวดั โฆษการาม ตอ มาจึงดาํ รทิ ี่จะสรางพระธาตขุ ้นึ เพอ่ื เปน เครอื่ งยึดเหนี่ยวทางจติ ใจของชาวพทุ ธ โดยไดรบั ความรว มมอื จากญาติ โยม ชาวตําบลมหาชัยทุกหมบู า นไดน าํ เอาหนิ ลกู รัง และดนิ มากองรวมกนั ใหเ ปน เนินสูงเพอ่ื จะใหเปนฐานพระธาตุ จนไดเ นินสูงพอสมควร ตอ มาไดม หี นวยงาน ของทางราชการมาชว ย เชน หนวยงานเรง รดั พฒั นาชนบท (ร.พ.ช.) ไดน ํารถ แทรกเตอรมา ชว ยทาํ ฐานพระธาตเุ พียงหยาบๆ จนไดฐ านพระธาตกุ วา ง 17 เมตร ยาว 23 เมตร สูง 4.50 เมตร การสรา งพระธาตหุ ลวงปู ไดดําเนนิ การ สรา งแบบคอ ยเปนคอยไป อาศัยกําลังจากญาติโยมและพระภิกษสุ ามเณรในวัด

นมสั การพระธาตศุ รีคณู ประวัติพระธาตุศรีคูณ (ยอ) วัดพระธาตุศรีคุณ พระธาตุถกู คนพบเมอื่ ป พ.ศ.๒๓๔๐ สรางเม่ือใดไมปรากฏหลักฐาน ผูทคี่ น พบคอื ชาวบาน ท่เี ปน ชาวลาวอพยพมาอยูใ นอาํ เภอนาแก จะสรางหมบู า น จงึ พบองคพ ระธาตุราง และตอ มาจงึ สรางวดั พระธาตุ เมื่อ พ.ศ.๒๔๒๑ ปจจุบนั เปนพระธาตทุ ่ีบูรณปฏิสงั ขรณขนึ้ ใหม เม่อื พ.ศ.๒๔๖๘-๒๔๙๐ ลักษณะของพระธาตุ มีลกั ษณะคลายกบั พระธาตพุ นม ความสงู เฉลี่ย ๒๔ เมตร ซึ่งเทากับกาํ ลงั ของพระอังคารคูณสามคอื อันดับของพระอังคาร นอกจากนีย้ ัง หันหนาไปทางทิศตะวนั ออกเฉยี งใต ตามทิศประจาํ วนั อังคารพระอรหันตผ ูประจําอยทู าง ทศิ อาคเนย ไดแ ก พระมหากสั สปะ ถอื วา เปน ผทู มี่ พี ละกําลังแขง็ แกรง เพราะวามลี กั ษณะ รา งกายใหญโ ตเชนเดยี วกับพระพทุ ธเจา จึงถือกนั วา พระธาตุศรคี ุณเปน พระธาตปุ ระจาํ วนั เกิดของคนเกิดวันอังคาร เชื่อวาผใู ดไดไปสกั การะจะไดร บั อานิสงสใ หมศี ักดิ์ศรีทวคี ูณ : การเดินทาง หางจากอําเภอธาตพุ นมตามเสนทางหลวงหมายเลข 212 ประมาณ ๗ กโิ ลเมตร แลวเลยี้ วขวาเขา เสน ทางหลวงหมายเลข 223 ประมาณ ๒๐ กโิ ลเมตร ถึงอาํ เภอ นาแก และเล้ยี วซายถึงวดั พระธาตศุ รีคุณ

นมสั การพระธาตปุ ระสทิ ธิ ประวตั ิพระธาตปุ ระสิทธิ์ (ยอ ) พระธาตุประสทิ ธิ์ ประดษิ ฐานอยู ณ วัดพระธาตปุ ระสิทธ์ิ อําเภอนาหวา เปน พระธาตปุ ระจําวนั เกิดของวันพฤหสั บดี นบั เปน อีกหนง่ึ พระธาตทุ ี่มีค วามสําคญั ท่อี ยูคบู านคูเมืองประจําจังหวัดมาชานาน สาํ หรับพระธาตุ ประสิทธิ์ เปนท่ีเลือ่ งลือกันวา หากผูใดไดไปกราบไวน มัสการพระธาตแุ หง นี้แลว นนั้ ผูน นั้ ก็จะไดร บั อานิสงสใ หประสบผลสาํ เรจ็ ในหนา ทกี่ ารงาน ดวยเหตุน้จี ึงทาํ ใหม ีผไู ปกราบไหวอ ธิษฐานขอพรเร่อื งการงานกนั เปน อยางมาก

นมัสการพระธาตุท่าอเุ ทน ประวตั พิ ระธาตุทา อเุ ทน (ยอ) พระธาตทุ าอเุ ทน พระธาตุประจําวนั เกดิ วนั ศกุ ร พระธาตุทา อเุ ทน ตง้ั อยูภ ายในวัดทา อเุ ทน อาํ เภอทาอเุ ทน ใกลก บั ทีว่ าการ อําเภอทาอเุ ทน พระธาตุทา อุเทนมีลกั ษณะเปน เจดยี ก อ อฐิ ถอื ปนู อยูในผงั ส่ีเหลย่ี ม กลาวกนั วาจาํ ลองแบบมาจากพระธาตุพนม แตม สี ัดสวนขององคธ าตทุ ่เี ลก็ กวา ผู ท่ไี ปนมัสการพระธาตแุ หงน้ีจะไดร ับอานสิ งสใ หช วี ิตมีความรุงโรจนเปรียบเสมอื น พระอาทติ ยขน้ึ ยามรุงอรุณ





● พญาศรสี ัตตนาคราช

สะพานมิตรภาพไทยลาวจงั หวัดนครพนม
































Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook