Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มืองานบุคลากร

คู่มืองานบุคลากร

Published by so.ra11042522, 2022-05-17 06:39:54

Description: คู่มืองานบุคลากร

Search

Read the Text Version

ก คำนำ คู่มือการบริหารงานบุคคล โรงเรียนบ้านสมศรี ฉบับน้ี จัดทำข้ึนเพ่ือเสริมสร้างความเข้าใจแก่ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา สำหรับการปฏิบัติหน้าท่ีของข้าราชการครูและ บคุ ลากรทางการศึกษาการเสริมสรา้ งวินยั และจรรยาบรรณวิชาชีพ ท้ังการให้บริการและการจัดการศึกษาแก่ นักเรียน และผู้เก่ียวข้องทุกฝ่าย โดยจัดทำให้สอดคล้องกับโครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนตามแนวทาง การกระจายอำนาจสูส่ ถานศึกษา ของสำนกั งานคณะกรมการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน กลุ่มบริหารงานบุคคลได้จัดกรอบงานให้ครอบคลุมกับภาระงาน ที่ปฏิบัติอยู่เดิมและเพ่ิมเติมให้ สอดคล้องกับสภาพของโรงเรียนในการจัดการศึกษา และให้บริการทางการศึกษา ตามแนวทางการปฏิรูป การศึกษาและระบบประกันคุณภาพการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ โดยมุ่งหวังว่า ภาระงานท่ีปฏิบัติจะ บรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์เป้าหมายและวสิ ัยทัศน์ท่ีกำหนดไว้ทกุ ประการ ตลอดจนผู้เก่ียวขอ้ ง ทุกฝ่ายมีความพึง พอใจต่อการปฏิบัติงานของกลุ่มบริหารงานบุคคล คู่มือฉบับนี้ได้บรรจุเนื้อหาสาระเพียงขอบข่ายงานตาม กรอบงานที่บรรจุไวใ้ นโครงสร้างการบริหารงาน วิธีปฏิบัติงานเป็นมาตรฐานการปฏิบัติงาน และคณะทำงาน ยินดีนอ้ มรบั ขอ้ เสนอแนะทีเ่ ป็นประโยชนแ์ กส่ ว่ นรวมและสถานศึกษาทุกประการ ขอขอบคุณผู้บริหารสถานศึกษา คณะครูและ ผู้มีส่วนร่วมในการจัดทำให้คำแนะนำ ข้อเสนอแนะ และขอบคุณคณะทำงานกลุ่มบรหิ ารงานบุคคลทุกท่าน ที่ได้ปฏบิ ัติหน้าที่ร่วมกันอย่างมุ่งมน่ั อุทิศ ทุ่มเทอย่าง ดยี ่ิง โรงเรียนบ้านสมศรี

สารบัญ ข คำนำ หนา้ สารบัญ ก แนวคดิ ข ขอบข่ายงานบุคลากร 1 แนวทางการบรหิ ารงานวชิ าการ 1 เป้าหมาย (Goals) 1 1 การปฏบิ ัติราชการของข้าราชการครู 3 วินัยและการดำเนินการทางวินัย 6 การเล่ือนเงินเดือน 11

การบรหิ ารงานบคุ คล หมายถึง การหาทางใช้คนที่อยรู่ ว่ มกันในองคก์ รนั้น ๆใหท้ ำงานไดผ้ ล ดที ี่สุด ส้นิ เปลอื งค่าใชจ้ า่ ย นอ้ ยท่สี ดุ ในขณะเดยี วกนั กส็ ามารถทำให้ผ้รู ่วมงานมีความสุขมีความพอใจ ทีจ่ ะให้ความร่วมมือและทำงาน ร่วมกบั ผบู้ รหิ าร เพือ่ ใหง้ านขององค์กรนน้ั ๆ สำเร็จลลุ ว่ งไปดว้ ยดี แนวคิด 1) ปจั จยั ทางการบรหิ ารทงั้ หลายคนถือเปน็ ปัจจัยทางการบรหิ ารท่ีสำคญั ท่ีสดุ 2) การบริหารงานบุคคลจะมีประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลผ้บู ริหารจะตอ้ งมีความรู้ ความเขา้ ใจ และมีความสามารถสงู ในการบริหารงานบุคคล 3) การจดั บคุ ลากรใหป้ ฏบิ ตั งิ านได้เหมาะสมกับความรู้ความสามารถจะมสี ว่ นทำใหบ้ ุคลากร มขี วัญ กำลงั ใจ มคี วามสุขในการปฏิบัตงิ าน สง่ ผลให้งานประสบผลสำเร็จอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 4) การพฒั นาบุคลากรให้มีความรคู้ วามสามารถอยา่ งสม่ำเสมอและต่อเน่ืองจะทำใหบ้ ุคลากร เปล่ียนแปลงพฤติกรรมและกระตอื รือร้นพัฒนางานให้ดียิ่งข้นึ 5) การบรหิ ารงานบุคคลเนน้ การมสี ว่ นรว่ มของบคุ ลากรและผูม้ สี ่วนไดเ้ สียเปน็ สำคญั ขอบข่ายงานบคุ ลากร 1. สง่ เสรมิ และพฒั นาระบบการบริหารจดั การใหม้ ีประสทิ ธิภาพ 2. ส่งเสรมิ ให้บุคลากรในโรงเรียนปฏบิ ัตติ ามในหนา้ ทต่ี ามมาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณ วชิ าชีพครู 3. ส่งเสริมการประชาสมั พนั ธ์ขอ้ มูลข่าวสารของบุคลากรภายในโรงเรียนแกผ่ ู้เกย่ี วข้องอยา่ งทวั่ ถึง และมีประสทิ ธิภาพ 4. สง่ เสริม และสนบั สนุนให้ครแู ละบุคลากรได้รับการพัฒนาตามสมรรถนะวชิ าชีพครู 5. ประสานความร่วมมอื ระหว่างโรงเรียน ผูป้ กครอง และชมุ ชน ในการพัฒนา โรงเรียน 6. ส่งเสริมให้คณะครปู ฏบิ ตั หิ น้าท่ีดว้ ยความซ่ือสตั ย์สุจรติ 7. ส่งเสริมให้คณะครปู ฏบิ ตั ิตนในการดำเนินชีวิตโดยยดึ หลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปา้ หมาย (Goals) ปีการศึกษา 2565 – 2567 1. ส่งเสรมิ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการให้มีประสทิ ธิภาพ 2. สง่ เสรมิ ใหบ้ ุคลากรในโรงเรียนปฏิบัตติ ามในหนา้ ทต่ี ามมาตรฐานวิชาชีพ และจรรยาบรรณ วิชาชพี ครู

3. สง่ เสริมการประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลข่าวสารของบุคลากรภายในโรงเรยี นแกผ่ เู้ กี่ยวข้องอย่างท่วั ถึง และมีประสทิ ธิภาพ 4. ส่งเสรมิ และสนับสนนุ ให้ครูและบคุ ลากรได้รบั การพัฒนาตามสมรรถนะวชิ าชพี ครู 5. ประสานความรว่ มมือระหว่างโรงเรยี น ผู้ปกครอง และชมุ ชน ในการพฒั นา โรงเรียน 6. ส่งเสริมใหค้ ณะครปู ฏบิ ัตหิ นา้ ทีด่ ้วยความซ่ือสตั ย์สจุ รติ 7. สง่ เสริมใหค้ ณะครปู ฏิบัตติ นในการดำเนนิ ชีวิตโดยยึดหลกั เศรษฐกจิ พอเพียง วางแผนอตั รากำลัง/การกำหนดตำแหนง่ มหี น้าท่ี 1. จัดทำแผนงาน/โครงการ แผนปฏบิ ัตงิ านประจำปีและปฏทิ นิ ปฏบิ ัตงิ าน 2. จดั ทำแผนงานอตั รากำลังครู / การกำหนดตำแหน่งและความต้องการครูในสาขาท่โี รงเรียนมี ความต้องการ 3. จดั ทำรายงานอัตรากำลงั ครูต่อหน่วยงานตน้ สงั กัด การสรรหาและบรรจุแต่งตง้ั มีหน้าที่ 1. วางแผนดำเนินการสรรหาและเลอื กสรรและกำหนดรายละเอียดแผนปฏิบัติงาน 2. กำหนดรายละเอยี ดเกี่ยวกบั การสรรหาการเลอื กสรรคุณสมบัติของบุคคลที่รบั สมัคร 3. จดั ทำประกาศรบั สมัคร 4. รับสมัคร 5. การตรวจสอบคุณสมบัติผูส้ มัคร 6. ประกาศรายช่ือผมู้ ีสิทธิรบั การประเมิน 7. แต่งตงั้ คณะกรรมการดำเนนิ การสรรหาและเลือกสรร 8. สอบคัดเลือก 9. ประกาศรายชอ่ื ผผู้ า่ นการเลือกสรร 10. การเรยี กผ้ทู ี่ผ่านการคัดเลือกมารายงานตัว 11. จัดทำรายตอ่ หน่วยงานตน้ สังกดั

การพัฒนาบุคลากร มีหนา้ ที่ 1. จดั ทำแผนงาน/โครงการ/แผนปฏิบัติการประจำปี 2. สำรวจความตอ้ งการในการพัฒนาครแู ละบุคลากรในโรงเรียน 3. จดั ทำแผนพฒั นาตนเองของครูและบคุ ลากรในโรงเรียน 4. สง่ เสริมและสนบั สนนุ ใหค้ รูและบคุ ลากรได้รบั การพฒั นา 5. จัดทำแฟ้มบคุ ลากรในโรงเรยี น 6. ตดิ ตาม ประเมินผล สรุปรายงานผลการปฏิบตั งิ านเสนอผอู้ ำนวยการ 7. งานอ่นื ๆ ท่ีได้รบั มอบหมาย การเล่อื นเงนิ เดือน มีหน้าท่ี 1. จัดทำแผนงาน/โครงการ/แผนปฏิบัติการประจำปี 2. นเิ ทศ ตดิ ตามผลการปฏิบตั ิงานของครแู ละบุคลากรในโรงเรียน 3. ประชุมคณะกรรมการในการพิจารณาเล่ือนขั้นเงนิ เดือนประจำปี 4. จดั ทำบญั ชผี ู้ท่ไี ดร้ ับการพิจารณาเล่อื นขัน้ ประจำปโี ดยยึดหลกั ความโปร่ งใส คณุ ธรรมจรยิ ธรรม และการปฏิบัตงิ านที่รับผดิ ชอบ 5. แต่งตง้ั ผทู้ ี่ไดร้ ับการเล่ือนข้ันเงินเดอื นรายงานต่อตน้ สังกดั เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ มหี น้าท่ี 1. จดั รวบรวมเอกสารในการเสนอขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสรยิ าภรณ์ 2. สำรวจความตอ้ งการขอพระราชทานเครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ์ของคณะครูและบคุ ลากร 3. สง่ เสริมและสนบั สนุนขอพระราชทานเคร่อื งราชอสิ ริยาภรณ์ของคณะครูและบุคลากรใน โรงเรียน 4. จัดทำแฟ้มข้อมูลการได้รบั พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ของคณะครูและบคุ ลากรใน โรงเรยี น วนิ ยั และการรักษาวนิ ัย มีหน้าท่ี 1. จัดรวบรวมเอกสารเกี่ยววินยั และการรักษาวินยั ของข้าราชการครูและบุคลากรในโรงเรยี น 2. จัดทำแฟ้มข้อมูลเกี่ยวกับการทำผดิ เกย่ี วกบั วนิ ยั ของข้าราชการครแู ละบุคลากรในโรงเรยี น

สวสั ดิการครู มหี น้าที่ 1.วางแผนดำเนินงานเก่ียวกับสวสั ดกิ ารของครแู ละบุคลากรในโรงเรยี น 2. มอบของขวัญเปน็ กำลังใจในวันสำคญั ตา่ งๆ วันเกิด แสดงความยนิ ดที ี่ผ่านการประเมินครู ชำนาญการพเิ ศษ ของครูและบุคลากรในโรงเรยี น 3. ซอ้ื ของเยย่ี มไข้เมื่อเจบ็ ปว่ ยหรอื นอนพกั รักษาตัวในโรงพยาบาล การปฏบิ ัตริ าชการของขา้ ราชการครู 1. การลา การลาแบ่งออกเป็น 9 ประเภท คอื 1. การลาปว่ ย 2. การลาคลอดบุตร 3. การลาไปชว่ ยเหลือภรยิ าท่ีคลอดบตุ ร 4. การลากิจส่วนตัว 5. การลาพกั ผ่อน 6. การลาอปุ สมบทหรือการลาไปประกอบพิธีฮัจย์ 7. การลาเขา้ รับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล 8. การลาไปศึกษา ฝึกอบรม ดงู าน หรอื ปฏิบัติการวจิ ัย 9. การลาไปปฏิบัติงานในองค์การระหวา่ งประเทศ 10. การลาตดิ ตามคู่สมรส 11. การลาไปฟน้ื ฟสู มรรถภาพดา้ นอาชพี การลาปว่ ย ข้าราชการซง่ึ ประสงคจ์ ะลาป่วยเพ่ือรักษาตวั ใหเ้ สนอหรอื จัดสง่ ใบลาต่อผูบ้ ังคับบัญชา ตามลำดับจนถงึ ผูม้ ีอำนาจอนุญาตก่อนหรอื ในวนั ที่ลาเวน้ แต่ในกรณจี ำเป็นจะเสนอหรือจัดสง่ ใบลา ในวนั แรก ทมี่ าปฏบิ ัตริ าชการก็ได้ ในกรณที ขี่ า้ ราชการผู้ขอลามีอาการป่วยจนไม่สามารถจะลงช่ือในใบลาได้จะใหผ้ อู้ น่ื ลาแทนก็ได้ แต่เมื่อสามารถลงชอ่ื ได้แลว้ ใหเ้ สนอหรือจดั ส่งใบลาโดยเรว็ การลาปว่ ยตั้งแต่ 30 วันขน้ึ ไป ต้อง มใี บรบั รองของแพทยซ์ งึ่ เปน็ ผู้ท่ีได้ข้นึ ทะเบยี นและ รบั ใบอนุญาตเปน็ ผปู้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรมแนบไปกับ ใบลาดว้ ย ในกรณจี ำเป็นหรือเห็นสมควรผู้มีอำนาจอนุญาตจะสง่ั ใหใ้ ช้ใบรับรองของแพทยซ์ งึ่ ผู้มีอำนาจ อนญุ าตเหน็ ชอบแทนกไ็ ด้ การลาป่วยไมถ่ ึง 30 วัน ไมว่ ่าจะเปน็ การลาครั้งเดยี วหรอื หลายครงั้ ตดิ ต่อกัน ถา้ ผู้มอี ำนาจ อนุญาตเหน็ สมควร จะสัง่ ใหม้ ีใบรบั รองแพทย์ตามวรรคสามประกอบใบลา หรือสงั่ ใหผ้ ลู้ าไปรบั การ ตรวจจากแพทย์ของทางราชการเพ่ือประกอบการพิจารณาอนญุ าตก็ได้

การลาคลอดบุตร ข้าราชการซ่ึงประสงค์จะลาคลอดบตุ ร ใหเ้ สนอหรอื จัดส่งใบลาต่อผู้บงั คับบญั ชา ตามลำดับ จนถึงผมู้ ีอำนาจอนุญาตก่อนหรอื ในวนั ทลี่ า เว้นแต่ไมส่ ามารถจะลงช่อื ในใบลาได้ จะให้ผู้อื่นลา แทน กไ็ ด้ แต่เมื่อสามารถลงชือ่ ได้แลว้ ให้เสนอหรือจัดส่งใบลาโดยเร็ว และมสี ทิ ธลิ าคลอดบุตรโดยไดร้ ับ เงินเดือนคร้ังหนึ่งได้ การลาคลอดบุตรจะลาในวนั ท่ีคลอดก่อนหรือหลงั วนั ท่ีคลอดบุตรก็ได้ แต่เม่อื รวมวนั ลา แลว้ ต้องไมเ่ กิน 90 วัน การลาไปช่วยเหลือภริยาที่คลอดบุตร การลาไปช่วยเหลือภรยิ าท่ีคลอดบตุ รคร้งั หนึง่ ไมเ่ กิน 15 วัน ทำการ การลาไปช่วยเหลือภริยาทคี่ ลอดเกนิ 15 วัน ไม่ให้ไดร้ ับเงินเดือน ระหวา่ งลา การลาไปชว่ ยเหลอื ภริยาที่คลอดบุตรในสว่ นของเงินวิทยฐานะอยู่ ระหวา่ งพิจารณา กำหนดรายละเอียด เนื่องจากเป็นประเภท การลาทีก่ ำหนดข้ึนใหม่ การลากจิ สว่ นตวั ข้าราชการซึง่ ประสงค์จะลากิจส่วนตวั ให้เสนอหรอื จดั สง่ ใบลาต่อผบู้ งั คบั บญั ชา ตามลำดับ จนถงึ ผ้มู ีอำนาจอนญุ าต และเมื่อได้รับอนญุ าตแลว้ จงึ จะหยุดราชการได้ เวน้ แตม่ ีเหตจุ ำเป็น ไม่ สามารถรอรับอนุญาตได้ทันจะเสนอหรือจัดสง่ ใบลาพร้อมด้วยระบุเหตจุ ำเปน็ ไว้แล้ว หยดุ ราชการ ไปก่อนก็ ได้ แตจ่ ะต้องชีแ้ จงเหตผุ ลให้ผ้มู ีอำนาจอนุญาตทราบโดยเร็ว ในกรณีมีเหตุพิเศษทีไ่ ม่อาจเสนอหรือจดั ส่ง ใบลาก่อนตามวรรคหนง่ึ ได้ ใหเ้ สนอหรอื จดั ส่ง ใบลาพรอ้ มทั้งเหตผุ ลความจำเป็นต่อผูบ้ งั คับบัญชาตามลำดับ จนถึงผมู้ อี ำนาจอนุญาตทนั ทีในวนั แรก ท่มี าปฏิบตั ริ าชการ ข้าราชการมสี ทิ ธลิ ากิจสว่ นตัว โดยได้รับ เงนิ เดือนปีละไม่เกนิ 45 วนั ทำการ ข้าราชการท่ลี าคลอดบุตรตามข้อ 18 แล้ว หากประสงค์จะลากิจ ส่วนตัวเพอ่ื เลี้ยงดบู ตุ รให้มี สิทธลิ าต่อเน่ืองจากการลาคลอดบุตรได้ไม่เกนิ 150 วนั ทำการ โดยไมม่ สี ทิ ธิได้รับ เงนิ เดอื นระหว่างลา การลาพกั ผอ่ น ขา้ ราชการมสี ทิ ธิลาพักผ่อนประจำปใี นปหี นึ่งได้ 10 วนั ทำการ เวน้ แตข่ า้ ราชการดังต่อไปน้ี ไมม่ สี ทิ ธิลาพกั ผ่อนประจำปีในปที ี่ไดร้ บั บรรจเุ ข้ารับราชการยังไมถ่ ึง 6 เดือน 1. ผู้ซง่ึ ได้รบั บรรจุเขา้ รับราชการเปน็ ขา้ ราชการคร้ังแรก ผู้ซึ่งลาออกจากราชการเพราะเหตุสว่ นตวั แล้วต่อมาไดร้ ับบรรจเุ ข้ารบั ราชการอีก 2. ผู้ซง่ึ ลาออกจากราชการเพ่ือดำรงตำแหนง่ ทางการเมือง หรอื เพ่ือสมัครรับเลือกตั้ง แลว้ ต่อมาไดร้ ับบรรจุเขา้ รบั ราชการอกี หลัง 6 เดือน นับแต่วนั ออกจากราชการ 3. ผ้ซู ึ่งถูกสั่งให้ออกจากราชการในกรณีอ่นื นอกจากกรณีไปรับราชการทหารตามกฎหมาย ว่าด้วย การรบั ราชการทหารและกรณีไปปฏิบัตงิ านใด ๆ ตามความประสงค์ของทางราชการ แลว้ ตอ่ มา ได้รับบรรจุ เขา้ รบั ราชการอีกถ้าในปีใดขา้ ราชการผใู้ ดมิได้ลาพักผอ่ นประจำปหี รอื ลาพกั ผ่อนประจำปี แลว้ แตไ่ มค่ รบ 10 วนั ทำการ ให้สะสมวนั ทย่ี ังมิไดล้ าในปนี ้ันรวมเข้ากับปตี อ่ ๆไปได้ แต่วนั ลาพักผ่อน สะสมรวมกับวนั ลา

พกั ผอ่ นในปปี จั จุบันจะต้องไม่เกนิ 20 วนั ทำการ สำหรบั ผ้ทู ่ีได้รับราชการติดต่อกันมาแล้วไมน่ อ้ ยกว่า 10 ปี ให้มสี ทิ ธนิ ำวันลาพกั ผ่อนสะสม รวมกับวนั ลาพักผ่อนในปปี ัจจบุ นั ไดไ้ ม่เกิน 30 วันทำการ การลาอปุ สมบทหรือการลาไปประกอบพิธฮี จั ย์ ข้าราชการซ่ึงประสงคจ์ ะลาอุปสมบทใน พระพุทธศาสนา หรือข้าราชการที่นบั ถือศาสนา อิสลามซ่ึงประสงคจ์ ะลาไปประกอบพธิ ีฮัจย์ ณ เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดีอาระเบยี ให้เสนอหรือจัดสง่ ใบลาต่อผู้บงั คบั บัญชาตามลำดบั จนถึงผู้มีอำนาจพิจารณาหรือ อนญุ าตกอ่ นวันอุปสมบท หรือก่อนวันเดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ไมน่ ้อยกว่า 60 วัน ในกรณมี เี หตุพเิ ศษไม่ อาจเสนอหรือจดั สง่ ใบลาก่อนตามวรรคหนง่ึ ให้ช้แี จงเหตผุ ลความ จำเปน็ ประกอบการลา และให้อยู่ใน ดลุ พนิ จิ ของผ้มู ีอำนาจที่จะพิจารณาให้ลาหรือไม่กไ็ ด้ ข้าราชการท่ีได้รบั พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ ลาอปุ สมบทหรือไดร้ ับอนุญาตให้ลาไป ประกอบพธิ ีฮัจย์แลว้ จะต้องอปุ สมบทหรือออกเดินทางไปประกอบพิธี ฮจั ยภ์ ายใน 10 วนั นับแต่ วนั เร่ิมลา และจะต้องกลับมารายงานตวั เขา้ ปฏบิ ัติราชการภายใน 5 วนั นับแต่ วันที่ลาสกิ ขา หรอื วันทเี่ ดินทางกลบั ถึงประเทศไทยหลงั จากการเดนิ ทางไปประกอบพธิ ีฮจั ย์ การลาเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล ข้าราชการท่ีได้รบั หมายเรียกเขา้ รับการ ตรวจเลือก ใหร้ ายงานลาต่อผู้บังคบั บัญชาก่อนวัน เข้ารับการตรวจเลอื กไม่นอ้ ยกวา่ 48 ช่วั โมง ส่วน ขา้ ราชการท่ีไดร้ บั หมายเรียกเข้ารบั การเตรยี มพล ใหร้ ายงานลาตอ่ ผูบ้ งั คับบัญชาภายใน 48 ชว่ั โมง นบั แต่ เวลารบั หมายเรยี กเปน็ ตน้ ไป และให้ไปเข้า รับการตรวจเลอื กหรือเขา้ รับการเตรียมพลตามวนั เวลาใน หมายเรยี กนัน้ โดยไมต่ อ้ งรอรับคำสั่ง อนุญาต และให้ผู้บังคับบญั ชาเสนอรายงานลาไปตามลำดับจนถงึ หัวหน้าส่วนราชการ หรือหัวหน้า ส่วนราชการข้ึนตรง การลาไปศกึ ษา ฝึกอบรมดูงาน หรอื ปฏบิ ตั กิ ารวจิ ัย ขา้ ราชการซงึ่ ประสงคจ์ ะลาไปศึกษาฝกึ อบรม ดงู าน หรอื ปฏบิ ตั กิ ารวิจัย ณ ต่างประเทศ ให้เสนอหรือจัดสง่ ใบลาตอ่ ผ้บู ังคับบัญชาตามลำดบั จนถึง ปลดั กระทรวงหรือหวั หนา้ ส่วนราชการข้ึนตรงเพ่ือพจิ ารณาอนุญาตสำหรบั การลาไปศึกษาฝกึ อบรมดูงาน หรือปฏิบัตกิ ารวจิ ัยในประเทศให้เสนอหรือจดั ส่ง ใบลาตามลำดบั จนถึงหวั หน้าส่วนราชการ หรอื หวั หนา้ สว่ น ราชการขึ้นตรงเพ่อื พจิ ารณาอนุญาต เว้นแต่ข้าราชการกรงุ เทพมหานครใหเ้ สนอหรือจดั ส่งใบลาต่อปลัด กรงุ เทพมหานคร สำหรบั หวั หน้า สว่ นราชการใหเ้ สนอหรอื จัดสง่ ใบลาต่อปลดั กระทรวง หัวหนา้ ส่วน ราชการขึ้นตรงและข้าราชการ ในราชบัณฑิตยสถานใหเ้ สนอหรือจัดสง่ ใบลาต่อรัฐมนตรเี จ้าสงั กดั สว่ นปลดั กรุงเทพมหานครใหเ้ สนอ หรอื จดั ส่งใบลาต่อผู้ว่าราชการกรงุ เทพมหานคร เพื่อพิจารณาอนุญาต การลาไปปฏบิ ัตงิ านในองคก์ ารระหวา่ งประเทศ ขา้ ราชการซึ่งประสงคจ์ ะลาไปปฏิบตั งิ านใน องค์การระหวา่ งประเทศ ใหเ้ สนอหรอื จัดสง่ ใบลา ต่อผ้บู ังคับบัญชาตามลำดับจนถึงรัฐมนตรีเจ้าสงั กดั เพื่อ พจิ ารณา โดยถือปฏิบตั ติ ามหลกั เกณฑ์ ทีก่ ำหนด

การลาตดิ ตามค่สู มรส ขา้ ราชการซ่ึงประสงค์ติดตามค่สู มรสให้เสนอหรอื จดั สง่ ใบลาต่อ ผ้บู ังคับบญั ชาตามลำดบั จนถึงปลดั กระทรวงหรอื หวั หนา้ สว่ นราชการขึ้นตรงแล้วแตก่ รณี เพอ่ื พจิ ารณา อนญุ าตให้ลาไดไ้ มเ่ กนิ สองปีและในกรณจี ำเป็นอาจอนญุ าตใหล้ าได้อีกสองปี แตเ่ มื่อรวมแล้วตอ้ งไมเ่ กินส่ปี ี ถา้ เกินสี่ปี ให้ลาออกจากราชการสำหรบั ปลดั กระทรวง หวั หนา้ ส่วนราชการขน้ึ ตรง และขา้ ราชการ ใน ราชบณั ฑติ ยสถานใหเ้ สนอหรือจดั สง่ ใบลาต่อรฐั มนตรีเจ้าสังกดั ส่วนปลัดกรุงเทพมหานครให้เสนอ หรือ จัดสง่ ใบลาตอ่ ผ้วู ่าราชการกรุงเทพมหานครเพื่อพจิ ารณาอนุญาต การลาไปฟ้ืนฟูสมรรถภาพด้าน อาชพี สำหรบั ผไู้ ดร้ บั อนั ตรายหรอื การเจบ็ ปว่ ยเพราะเหตปุ ฏบิ ตั ิ ราชการใน หน้าท่ี หรอื ถูกประทุษรา้ ยเพราะเหตกุ ระทำการตามหนา้ ท่ี จนทำให้ตก เป็นผทู้ ุพพลภาพหรอื พิการ ลาไปเข้ารับการฝึกอบรมหลกั สูตรเกยี่ วกับ การฟื้นฟูสมรรถภาพท่จี ำเปน็ ต่อการปฏิบัตหิ นา้ ท่รี าชการ หรอื ท่ีจำเปน็ ต่อการประกอบอาชพี ลาได้ตามระยะเวลาท่ีกำหนดในหลกั สตู ร โดย ไดร้ บั เงนิ เดือนระหวา่ งลา แต่ต้องไมเ่ กนิ ๑๒ เดือน เงนิ วิทยฐานะอยู่ระหวา่ งพจิ ารณากำหนดรายละเอยี ด เน่ืองจากเป็น ประเภทการ ลาทก่ี ำหนดข้ึนใหม่ หัวหนา้ ส่วนราชการพจิ ารณาอนุญาต วินยั และการดำเนินการทางวนิ ัย วนิ ยั : การควบคุมความประพฤติของคนในองค์กรใหเ้ ป็นไปตามแบบแผนท่ีพึงประสงค์ วินยั ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา : ขอ้ บัญญัติท่ีกำหนดเป็นข้อหา้ มและ ข้อปฏบิ ตั ิตามหมวด 6 แห่งพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ.2547 และที่แก้ไขเพิม่ เติมฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551 โทษทางวนิ ัยมี 5 สถาน คือ วนิ ัยไม่ร้ายแรง มดี ังนี้ 1. ภาคทณั ฑ์ 2. ตัดเงินเดอื น 3. ลดขน้ั เงนิ เดือน วนิ ยั ร้ายแรง มีดงั น้ี 4. ปลดออก 5. ไลอ่ อก การวา่ กล่าวตกั เตือนหรือการทำทัณฑ์บนไมถ่ ือว่าเปน็ โทษทางวนิ ัยใชใ้ นกรณีทเ่ี ปน็ ความผิด เล็กนอ้ ย และมีเหตุอันควรงดโทษ การวา่ กลา่ วตกั เตือนไมต่ ้องทำเป็นหนงั สอื แตก่ ารทำทณั ฑบ์ นต้องทำเป็นหนงั สือ(มาตรา 100 วรรคสอง) โทษภาคทณั ฑ์

ใชล้ งโทษในกรณีท่ีเป็นความผิดเลก็ น้อยหรือมีเหตุอันควรลดหยอ่ น โทษภาคทัณฑ์ไม่ต้องห้ามการเล่ือนขน้ั เงินเดือน โทษตดั เงินเดือนและลดขั้นเงินเดือน ใชล้ งโทษในความผิดที่ไม่ถึงกับเป็นความผดิ ร้ายแรง และไม่ใชก่ รณีทเ่ี ปน็ ความผดิ เล็กน้อย โทษปลดออกและไล่ออก ใชล้ งโทษในกรณีทเ่ี ปน็ ความผิดวินยั ร้ายแรงเท่านั้น การลดโทษความผดิ วินัยรา้ ยแรง ห้ามลดโทษตำ่ กว่าปลดออก ผูถ้ ูกลงโทษปลดออกมสี ทิ ธิได้รับบำเหนจ็ บำนาญเสมือนลาออก การส่งั ให้ออกจากราชการไมใ่ ชโ่ ทษทางวินัย วินัยไมร่ ้ายแรง ไดแ้ ก่ 1. ไมส่ นับสนุนการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ เ์ ปน็ ประมขุ ตาม รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยดว้ ยความบริสทุ ธิ์ใจ 2. ไม่ปฏิบัติหน้าท่ีราชการดว้ ยความซื่อสัตยส์ ุจริต เสมอภาค และเทย่ี งธรรม ต้องมีความวิรยิ ะ อุตสาหะขยนั หม่ันเพียร ดูแลเอาใจใส่ รักษาประโยชนข์ องทางราชการ และต้องปฏบิ ัติตน ตามมาตรฐานและ จรรยาบรรณวิชาชีพ 3. อาศยั หรือยอมให้ผอู้ ่นื อาศัยอำนาจและหน้าทรี่ าชการของตนไม่ว่าจะโดยทางตรง หรือ ทางอ้อม หาประโยชนใ์ ห้แกต่ นเองและผูอ้ น่ื 4. ไม่ปฏบิ ัตหิ น้าทร่ี าชการใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายระเบียบแบบแผนของทางราชการและ หน่วยงาน การศกึ ษามติครม. หรอื นโยบายของรัฐบาลโดยถือประโยชน์สูงสุดของผู้เรียน และไม่ให้ เกดิ ความเสยี หายแก่ ราชการ 5. ไม่ปฏิบตั ติ ามคำส่ังของผบู้ ังคับบัญชาซง่ึ สั่งในหน้าทรี่ าชการโดยชอบดว้ ยกฎหมายและ ระเบียบ ของทางราชการแตถ่ า้ เห็นว่าการปฏิบัติตามคำสั่งนนั้ จะทำใหเ้ สียหายแก่ราชการ หรอื จะ เปน็ การไม่รักษา ประโยชน์ของทางราชการจะเสนอความเหน็ เปน็ หนังสือภายใน 7 วัน เพื่อให้ผู้บงั คับ บญั ชาทบทวนคำสัง่ ก็ได้ และเมื่อเสนอความเห็นแล้ว ถา้ ผู้บงั คบั บญั ชายนื ยันเป็นหนงั สือใหป้ ฏิบตั ิ ตามคำส่งั เดิม ผูอ้ ยู่ใต้บงั คบั บัญชา ตอ้ งปฏิบัติตาม 6. ไมต่ รงต่อเวลา ไมอ่ ุทศิ เวลาของตนใหแ้ ก่ทางราชการและผ้เู รยี น ละท้งิ หรือทอดทงิ้ หน้าที่ ราชการโดยไมม่ ีเหตุผลอันสมควร 7. ไม่ประพฤตติ นเป็นแบบอย่างทีด่ ีแก่ผ้เู รียนชมุ ชน สงั คม ไมส่ ภุ าพเรียบรอ้ ยและรักษา ความ สามคั คี ไม่ชว่ ยเหลือเกือ้ กูลต่อผเู้ รียนและข้าราชการด้วยกัน หรือผรู้ ่วมงานไมต่ ้อนรับหรือ ใหค้ วามสะดวก

ให้ความเป็นธรรมต่อผู้เรยี นและประชาชนผู้มาติดต่อราชการ 8. กลนั่ แกลง้ กล่าวหา หรือร้องเรียนผู้อนื่ โดยปราศจากความเปน็ จรงิ 9. กระทำการหรอื ยอมใหผ้ ู้อ่ืนกระทำการหาประโยชน์อนั อาจทำให้เสื่อมเสียความเที่ยงธรรม หรอื เสื่อมเสยี เกยี รติศกั ดิ์ในตำแหน่งหน้าทร่ี าชการของตน 10. เป็นกรรมการผ้จู ัดการ หรือผ้จู ัดการ หรอื ดำรงตำแหน่งอืน่ ใดทม่ี ีลักษณะงานคล้ายคลึงกันนน้ั ในหา้ งหุ้นสว่ นหรอื บรษิ ทั 11. ไม่วางตนเปน็ กลางทางการเมืองในการปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ และในการปฏบิ ัติการอืน่ ท่เี ก่ยี วข้อง กบั ประชาชนอาศยั อำนาจและหน้าท่ีราชการของตนแสดงการฝักใฝส่ ง่ เสริม เกอ้ื กลู สนับสนนุ บุคคล กลมุ่ บุคคล หรอื พรรคการเมืองใด 12. กระทำการอันใดอนั ได้ช่ือวา่ เป็นผู้ประพฤตชิ ัว่ 13. เสริมสร้างและพัฒนาให้ผูอ้ ยูใ่ ตบ้ ังคับบัญชามีวินัย ไม่ป้องกนั มิใหผ้ ้อู ยู่ใต้บังคับบัญชา กระทำ ผิดวินัย หรอื ละเลย หรอื มีพฤติกรรมปกป้อง ช่วยเหลอื มใิ ห้ผู้อยู่ใต้บงั คับบัญชาถูกลงโทษทางวนิ ัย หรอื ปฏิบัติ หน้าท่ดี งั กล่าวโดยไม่สุจริต วนิ ัยรา้ ยแรง ไดแ้ ก่ 1. ทจุ รติ ต่อหนา้ ที่ราชการ 2. จงใจไมป่ ฏิบัติตามกฎหมายระเบยี บแบบแผนของทางราชการและหน่วยงานการศกึ ษามตคิ รม. หรอื นโยบายของรัฐบาลประมาทเลินเลอ่ หรอื ขาดการเอาใจใสร่ ะมดั ระวงั รักษาประโยชน์ ของทางราชการอนั เป็นเหตใุ ห้เกิดความเสยี หายแกร่ าชการอย่างรา้ ยแรง 3. ขัดคำสงั่ หรอื หลีกเล่ยี งไมป่ ฏบิ ตั ิตามคำสงั่ ของผูบ้ งั คับบญั ชาซึง่ ส่ังในหนา้ ท่รี าชการ โดยชอบด้วยกฎหมายและระเบียบของทางราชการอันเปน็ เหตใุ หเ้ สยี หายแก่ราชการอย่างรา้ ยแรง 4. ละทง้ิ หน้าทีห่ รือทอดทิ้งหน้าทีร่ าชการ โดยไม่มเี หตผุ ลอันสมควรเป็นเหตใุ หเ้ สียหายแก่ราชการ อย่างรา้ ยแรง 5. ละทิง้ หนา้ ทรี่ าชการติดต่อในคราวเดยี วกันเป็นเวลาเกินกวา่ 15 วัน โดยไม่มเี หตผุ ลอนั สมควร 6. กลน่ั แกล้ง ดหู มนิ่ เหยียดหยาม กดขี่ หรือข่มเหงผูเ้ รยี นหรือประชาชนผ้มู าตดิ ต่อราชการ อยา่ งร้ายแรง 7. กลัน่ แกล้ง กลา่ วหา หรอื ร้องเรียนผู้อน่ื โดยปราศจากความเปน็ จรงิ เป็นเหตุให้ผู้อ่ืนได้รบั ความ เสียหายอยา่ งร้ายแรง 8. กระทำการหรอื ยอมใหผ้ ู้อื่นกระทำการหาประโยชนอ์ ันอาจทำให้เสื่อมเสยี ความเท่ียงธรรม หรือ เสือ่ มเสียเกียรติศกั ด์ิในตำแหน่งหน้าทร่ี าชการโดยมงุ่ หมายจะใหเ้ ป็นการซอื้ ขายหรอื ใหไ้ ดร้ บั แต่งตั้งใหด้ ำรง

ตำแหนง่ หรือวิทยฐานะใดโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือเปน็ การกระทำอนั มีลักษณะ เปน็ การให้หรอื ได้มาซงึ่ ทรัพยส์ นิ หรอื สิทธิประโยชนอ์ ่นื เพอ่ื ใหต้ นเองหรือผอู้ ื่นไดร้ บั การบรรจุและ แต่งต้ังโดยมชิ อบ 9. คดั ลอกหรือลอกเลียนผลงานทางวิชาการของผ้อู ่นื โดยมิชอบหรือนำเอาผลงานทางวชิ าการของ ผู้อ่นื หรอื จ้างวาน ใช้ผู้อ่ืนทำผลงานทางวิชาการเพ่ือไปใช้ในการเสนอขอปรบั ปรุงการกำหนดตำแหนง่ การ เลอ่ื นตำแหนง่ การเลื่อนวทิ ยฐานะ หรือการให้ไดร้ ับเงนิ เดือนในระดับทสี่ งู ขน้ึ 10. รว่ มดำเนนิ การคดั ลอกหรอื ลอกเลยี นผลงานของผู้อน่ื โดยมชิ อบ หรือรบั จัดทำผลงานทาง วชิ าการ ไม่ว่าจะมีค่าตอบแทนหรอื ไมเ่ พ่ือให้ผ้อู น่ื นำผลงานนั้นไปใชป้ ระโยชน์เพื่อปรบั ปรุงการกำหนด ตำแหน่งเล่ือนตำแหนง่ เลือ่ นวิทยฐานะ หรือให้ได้รับเงินเดอื นในอันดับทสี่ งู ขึ้น 11. เขา้ ไปเกีย่ วข้องกับการดำเนนิ การใด ๆ อนั มลี ักษณะเป็นการทจุ ริตโดยการซ้ือสิทธิหรือขาย เสยี งในการเลือกต้งั สมาชิกรัฐสภา สมาชกิ สภาท้องถ่นิ ผ้บู รหิ ารทอ้ งถน่ิ หรือการเลือกตั้งอ่ืนท่ีมีลักษณะเป็น การส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยรวมทัง้ การสง่ เสรมิ สนบั สนุน หรอื ชกั จงู ให้ผอู้ ่ืนกระทำการ ในลกั ษณะเดยี วกัน 12. กระทำความผิดอาญาจนไดร้ ับโทษจำคุก หรอื โทษทหี่ นักกวา่ จำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สดุ ให้ จำคกุ หรือให้รบั โทษทห่ี นักกว่าจำคกุ เวน้ แตเ่ ป็นโทษสำหรับความผดิ ท่ีไดก้ ระทำโดยประมาท หรือลหโุ ทษ หรอื กระทำการอน่ื ใดอันไดช้ ือ่ วา่ เปน็ ผูป้ ระพฤติช่ัวอย่างรา้ ยแรง 13. เสพยาเสพติด หรือสนับสนุนใหผ้ ู้อนื่ เสพยาเสพตดิ 14. เลน่ การพนนั เปน็ อาจิณ 15. กระทำการล่วงละเมิดทางเพศต่อผเู้ รียนหรือนักศึกษาไมว่ า่ จะอยู่ในความดูแลรบั ผดิ ชอบ ของ ตนหรอื ไม่ การดำเนนิ การทางวินยั การดำเนนิ การทางวินยั กระบวนการและขัน้ ตอนการดำเนินการในการออกคำสั่งลงโทษ ซ่ึงเป็น ขน้ั ตอนที่มีลำดับก่อนหลังต่อเน่อื งกัน อันได้แก่ การต้ังเรอ่ื งกล่าวหาการสืบสวนสอบสวน การพจิ ารณา ความผิดและกำหนดโทษและการสง่ั ลงโทษรวมท้ังการดำเนินการตา่ ง ๆ ในระหวา่ งการสอบสวนพจิ ารณา เชน่ การสง่ั พกั การสง่ั ให้ออกไวก้ ่อน เพื่อรอฟังผลการสอบสวนพจิ ารณา หลกั การดำเนินการทางวินยั 1. กรณีท่ผี ้บู ังคับบัญชาพบว่าผ้ใู ตบ้ งั คับบัญชาผใู้ ดกระทำผิดวนิ ัยโดยมีพยานหลกั ฐานในเบ้ืองตน้ อยู่ แล้วผู้บงั คบั บัญชาก็สามารถดำเนนิ การทางวนิ ัยไดท้ ันที 2. กรณีทมี่ ีการร้องเรียนด้วยวาจาใหจ้ ดปากคำ ใหผ้ ู้รอ้ งเรียนลงลายมอื ชือ่ และวนั เดือน ปี พรอ้ ม

รวบรวมพยานหลกั ฐานอ่ืนๆ ประกอบการพิจารณาแลว้ ดำเนินการใหม้ ีการสบื สวนขอ้ เท็จจริง โดยต้งั กรรมการสบื สวนหรอื สงั่ ใหบ้ ุคคลใดไปสืบสวนหากเห็นว่ามีมลู ก็ตงั้ คณะกรรมการสอบสวน ตอ่ ไป 3. กรณีมกี ารร้องเรียนเปน็ หนังสอื ผบู้ ังคับบัญชาต้องสบื สวนในเบอ้ื งต้นกอ่ นหากเห็นว่า ไม่มีมลู ก็ส่งั ยุติเรื่องถา้ เหน็ ว่ามีมลู กต็ ั้งคณะกรรมการสอบสวนต่อไป กรณหี นังสือรอ้ งเรียนไม่ลง ลายมอื ชอื่ และท่ีอย่ขู อง ผรู้ ้องเรยี นหรอื ไมป่ รากฏพยานหลกั ฐานทแ่ี น่นอนจะเข้าลักษณะของบัตร สนเท่ห์ มติครม.ห้ามมใิ หร้ ับฟัง เพราะจะทำใหข้ ้าราชการเสยี ขวญั ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี ขน้ั ตอนการดำเนินการทางวินัย 1. การต้ังเรอ่ื งกลา่ วหาเปน็ การตั้งเรื่องดำเนนิ การทางวินัยแก่ข้าราชการเม่ือปรากฏ กรณมี ีมูลทีค่ วรกล่าวหาวา่ กระทำผดิ วนิ ยั มาตรา 98 กำหนดใหผ้ ูบ้ ังคับบญั ชาแต่งต้งั คณะกรรมการสอบสวน เพื่อดำเนนิ การ สอบสวนให้ได้ความจริงและความยุตธิ รรมโดยไมช่ ักชา้ ผู้ต้ังเร่ืองกลา่ วหาคอื ผู้บังคับบัญชาของ ผู้ถกู กล่าวหาความผดิ วินัยไม่รา้ ยแรง ผบู้ งั คับบญั ชาชัน้ ต้นคือ ผ้อู ำนวยการสถานศึกษาสามารถแต่งต้งั กรรมการสอบสวนขา้ ราชการในโรงเรยี นทกุ คนความผิดวินัยรา้ ยแรง ผู้บงั คบั บญั ชาผมู้ ีอำนาจบรรจุ และ แต่งต้งั ตามมาตรา 53 เป็นผูม้ ีอำนาจบรรจุและแตง่ ตั้งคณะกรรมการสอบสวน 2. การแจง้ ข้อกลา่ วหา มาตรา 98 กำหนดไวว้ า่ ในการสอบสวนจะต้องแจง้ ข้อกล่าวหาและสรุป พยานหลกั ฐาน ท่ีสนับสนุนข้อกลา่ วหาเทา่ ทีม่ ีใหผ้ ู้ถูกกล่าวหาทราบ โดยระบหุ รือไมร่ ะบุชือ่ พยานก็ได้เพ่อื ให้ ผู้ถูกกล่าวหามีโอกาสชแี้ จงและนำสบื แก้ข้อกล่าวหา 3. การสอบสวน คอื การรวบรวมพยานหลกั ฐานและการดำเนินการทั้งหลายอ่ืนเพ่ือจะทราบ ข้อเท็จจริง และพฤติการณ์ต่าง ๆ หรือพิสูจนเ์ กีย่ วกับเรอื่ งที่กล่าวหาเพ่อื ให้ได้ความจรงิ และยตุ ธิ รรม และ เพื่อพจิ ารณาว่าผู้ถูกกล่าวหาได้กระทำผดิ วินัยจริงหรอื ไม่ถา้ ผิดจรงิ ก็จะไดล้ งโทษ ข้อยกเว้น กรณที เ่ี ป็น ความผดิ ทีป่ รากฏชดั แจง้ ตามที่กำหนดในกฎ ก.ค.ศ.จะดำเนนิ การ ทางวินัยโดยไม่สอบสวนกไ็ ด้ ความผดิ ทป่ี รากฏชดั แจง้ ตามทก่ี ำหนดในกฎ ก.ค.ศ. วา่ ด้วยกรณคี วามผิดท่ีปรากฏชดั แจ้ง พ.ศ. 2549 ก. การกระทำผิดวนิ ัยอยา่ งไม่รา้ ยแรงทีเ่ ป็นกรณีความผิดท่ีปรากฏอยา่ งชดั แจง้ ได้แก่ (1) กระทำความผดิ อาญาจนต้องคำพิพากษาถงึ ท่สี ุดว่าผ้นู นั้ กระทำผดิ และผู้บงั คบั บัญชาเหน็ วา่ ข้อเทจ็ จรงิ ตามคำพิพากษาประจักษช์ ัด (2) กระทำผิดวินยั ไมร่ ้ายแรงและได้รับสารภาพเปน็ หนังสือต่อผบู้ งั คับบัญชาหรือให้ถ้อยคำรบั สารภาพต่อผู้มีหนา้ ทส่ี ืบสวนหรอื คณะกรรมการสอบสวนโดยมีการบันทึกถ้อยคำเปน็ หนังสอื ข. การกระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรงทเ่ี ปน็ กรณคี วามผิดทป่ี รากฏชดั แจง้ ได้แก่ (1) กระทำความผดิ อาญาจนได้รบั โทษจำคุกหรอื โทษทหี่ นักกวา่ จำคุกโดยคำพิพากษาถึงท่สี ุดให้ จำคุกหรือลงโทษท่หี นักกวา่ จำคกุ

(2) ละท้ิงหน้าทีร่ าชการตดิ ต่อในคราวเดยี วกนั เป็นเวลาเกินกวา่ 15 วนั ผูบ้ งั คับบญั ชา สืบสวนแลว้ เหน็ วา่ ไม่มีเหตผุ ลสมควร หรือมีพฤติการณ์อนั แสดงถึงความจงใจไม่ปฏบิ ตั ิตามระเบียบ ของทางราชการ (3) กระทำผิดวนิ ัยอย่างร้ายแรงและไดร้ ับสารภาพเป็นหนงั สือตอ่ ผ้บู ังคับบัญชาหรอื ให้ ถ้อยคำรับ สารภาพต่อผมู้ ีหนา้ ทีส่ ืบสวนหรอื คณะกรรมการสอบสวนโดยมีการบันทึกถ้อยคำเป็นหนังสือ การอุทธรณ์ มาตรา 121 และมาตรา 122 แห่งพระราชบัญญัติระเบยี บข้าราชการครแู ละบุคลากร ทาง การศึกษา พ.ศ. 2547 บญั ญัตใิ หผ้ ูถ้ ูกลงโทษทางวินยั มีสทิ ธอิ ทุ ธรณค์ ำสั่งลงโทษต่ออ.ก.ค.ศ. เขตพนื้ ที่ การศกึ ษา อ.ก.ค.ศ.ที่ ก.ค.ศ. ต้งั แลว้ แต่กรณี ภายใน 30 วัน เงื่อนไขในการอุทธรณ์ ผูอ้ ทุ ธรณ์ ตอ้ งเป็นผู้ท่ถี กู ลงโทษทางวนิ ัยและไมพ่ อใจผลของคำสั่งลงโทษผอู้ ุทธรณ์ ต้องอทุ ธรณ์เพ่อื ตนเองเท่านั้น ไม่อาจอทุ ธรณ์แทนผู้อ่นื ได้ ระยะเวลาอุทธรณภ์ ายใน 30 วัน นบั แต่วนั ทไ่ี ด้รับแจ้งคำสงั่ ลงโทษต้องทำเป็นหนงั สอื การอทุ ธรณ์โทษวนิ ยั ไมร่ า้ ยแรง การอุทธรณ์คำสัง่ โทษภาคทณั ฑ์ ตดั เงินเดือน หรือลดข้ัน เงนิ เดอื นทผี่ บู้ งั คับบัญชาสัง่ ด้วยอำนาจของตนเอง ตอ้ งอุทธรณต์ อ่ อ.ก.ค.ศ. เขตพ้นื ที่การศึกษาหรือ อ.ก.ค.ศ. ส่วนราชการ เว้นแต่ การส่งั ลงโทษตามมติใหอ้ ุทธรณ์ต่อ ก.ค.ศ. การอุทธรณโ์ ทษวินัยรา้ ยแรง การอทุ ธรณค์ ำสงั่ ลงโทษปลดออกหรือไลอ่ อกจากราชการตอ้ ง อุทธรณต์ ่อก.ค.ศ.ท้งั นี้การร้องทกุ ข์คำสงั่ ให้ออกจากราชการหรือคำสง่ั พกั ราชการหรือให้ออกจากราชการไว้ กอ่ นกต็ อ้ งร้องทุกข์ต่อก.ค.ศ.เชน่ เดียวกัน การร้องทกุ ข์ หมายถึงผู้ถกู กระทบสิทธิหรือไม่ได้รับความเป็นธรรมจากคำสง่ั ของฝา่ ยปกครอง หรือคบั ข้องใจจากการกระทำของผบู้ งั คับบญั ชาใชส้ ิทธริ ้องทุกข์ขอความเป็นธรรมขอใหเ้ พกิ ถอนคำส่งั หรือ ทบทวนการกระทำของฝ่ายปกครองหรอื ของผ้บู ังคับบัญชา มาตรา 122 และมาตรา 123 แหง่ พระราชบญั ญัตริ ะเบียบข้าราชการครแู ละบคุ ลากร ทางการศึกษา พ.ศ.2547บัญญัติใหผ้ ู้ถูกส่ังให้ออกจากราชการมีสทิ ธิร้องทุกขต์ ่อก.ค.ศ.และผซู้ ่ึงตน เห็นว่าตนไม่ไดร้ ับความ เป็นธรรมหรอื มคี วามคับข้องใจเนื่องจากการกระทำของผูบ้ งั คับบญั ชาหรือ กรณถี ูกตัง้ กรรมการสอบสวนมี สิทธิร้องทกุ ข์ตอ่ อ.ก.ค.ศ.เขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาอ.ก.ค.ศ.ทกี่ .ค.ศ.ตงั้ หรอื ก.ค.ศ.แล้วแต่กรณภี ายใน30วัน

ผูม้ ีสทิ ธริ อ้ งทกุ ข์ ได้แก่ ขา้ ราชการครู และบุคลากรทางการศกึ ษา เหตทุ ีจ่ ะร้องทุกข์ (1) ถูกสง่ั ให้ออกจากราชการ (2) ถูกสง่ั พักราชการ (3) ถูกสัง่ ใหอ้ อกจากราชการไวก้ ่อน (4) ไม่ได้รับความเป็นธรรม หรือคบั ข้องใจจากการกระทำของผบู้ ังคบั บัญชา (5) ถูกตั้งกรรมการสอบสวน การเลอ่ื นเงินเดือน ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาจะได้รบั การพิจารณาเล่ือนเงนิ เดือนในแตล่ ะคร้ังตอ้ งอยใู่ น เกณฑ์ ดังนี้ 1. ในครง่ึ ปีทแ่ี ลว้ มามผี ลการปฏิบตั งิ าน ความประพฤติในการรกั ษาวนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณวชิ าชีพอย่ใู นเกณฑท์ ่ีสมควรไดเ้ ลื่อนเงินเดือน 2. ในครึง่ ปที แี่ ลว้ มาจนถึงวนั ออกคำสงั่ เล่ือนเงินเดือนไม่ถูกลงโทษทางวินัยที่หนกั กวา่ โทษ ภาคทณั ฑ์ หรือถูกลงโทษในคดีอาญาให้ลงโทษในความผิดที่เก่ียวกับการปฏิบัตหิ นา้ ท่รี าชการ หรอื ความผิดที่ทำให้ เส่อื มเสยี เกียรติศกั ดิ์ของตำแหน่งหน้าทรี่ าชการของตน ซ่ึงไม่ไช่ความผิดทไี่ ดก้ ระทำ โดยประมาทหรือ ความผิดลหุโทษ 3. ในครงึ่ ปีทแ่ี ล้วมาต้องไม่ถูกสั่งพกั ราชการเกนิ กว่าสองเดือน 4. ในคร่งึ ปีที่แล้วมาต้องไม่ขาดราชการโดยไมม่ เี หตผุ ลอันสมควร 5. ในคร่งึ ปีทแ่ี ลว้ มาไดร้ ับการบรรจุเขา้ รับราชการมาแล้วเปน็ เวลาไม่น้อยกว่าสีเ่ ดอื น 6. ในคร่ึงปที แ่ี ล้วมาถ้าเปน็ ผไู้ ด้รับอนญุ าตไปศึกษาในประเทศฝึกอบรมและดงู าน ณ ตา่ งประเทศต้องได้ปฏบิ ัตหิ น้าทีร่ าชการในครึ่งปีทีแ่ ล้วมาเปน็ เวลาไม่นอ้ ยกว่าสี่เดอื น 7. ในครึง่ ปที ่ีแลว้ มาต้องไม่ลาหรอื มาทำงานสายเกินจำนวนครั้งท่ีหวั หนา้ ส่วนราชการกำหนด 8. ในครง่ึ ปที ี่แลว้ มาต้องมเี วลาปฏิบตั ริ าชการหกเดอื นโดยมีวนั ลาไม่เกนิ ยสี่ บิ สามวัน แต่ไมร่ วมวนั ลา ดงั ต่อไปนี้ 1) ลาอปุ สมบทหรือลาไปประกอบพธิ ีฮัจย์ 2) ลาคลอดบตุ รไม่เกินเก้าสบิ วนั 3) ลาปว่ ยซง่ึ จำเปน็ ต้องรกั ษาตวั เปน็ เวลานานไมว่ ่าคราวเดียวหรอื หลายคราวรวมกัน ไมเ่ กนิ หกสิบวนั ทำการ

4) ลาปว่ ยเพราะประสบอันตรายในขณะปฏิบตั ริ าชการตามหน้าที่หรอื ในขณะเดินทางไป หรือกลับ จากการปฏบิ ตั ริ าชการตามหนา้ ท่ี 5) ลาพกั ผ่อน 6) ลาเขา้ รบั การตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล 7) ลาไปปฏิบัตงิ านในองค์การระหวา่ งประเทศ การฝึกอบรมและลาศกึ ษาต่อ การฝกึ อบรม หมายความว่า การเพิ่มพนู ความรู้ความชำนาญ หรือประสบการณด์ ว้ ยการเรียน หรอื การวจิ ยั ตามหลกั สตู รของการฝกึ อบรม หรอื การสัมมนาอบรมเชงิ ปฏิบัติการ การดำเนนิ งานตาม โครงการ แลกเปลย่ี นกับต่างประเทศ การไปเสนอผลงานทางวชิ าการ และการประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการ ท้ังน้ีโดยมไิ ดม้ ี วัตถปุ ระสงค์เพ่อื ให้ได้มาซ่ึงปรญิ ญาหรือประกาศนียบัตรวชิ าชีพท่ี ก.พ.รบั รอง และหมายความรวมถงึ การ ฝึกฝนภาษาและการรบั คำแนะนำก่อนฝกึ อบรมหรือการดงู านทเี่ ปน็ สว่ นหนึ่งของการฝกึ อบรมหรอื ต่อจาก การฝึกอบรมนัน้ ด้วย การดงู าน หมายความวา่ การเพ่มิ พนู ความรู้และประสบการณ์ดว้ ยการสงั เกตการณ์ และการ แลกเปลีย่ นความคิดเห็น (การดูงานมีระยะเวลาไม่เกิน 15 วัน ตามหลักสูตรหรือโครงการ หรือแผนการดงู าน ในต่างประเทศ หากมีระยะเวลาเกินกำหนดให้ดำเนินการเป็นการฝึกอบรม) การลาศกึ ษาต่อ หมายความวา่ การเพม่ิ พูนความรู้ดว้ ยการเรียนหรอื การวิจยั ตามหลกั สูตรของ สถาบัน การศึกษา หรอื สถาบันวชิ าชีพ เพือ่ ให้ได้มาซ่ึงปริญญาหรอื ประกาศนยี บตั รวิชาชีพที่ ก.พ.รบั รองและ หมายความรวมถึงการฝกึ ฝนภาษาและการไดร้ บั คำแนะนำกอ่ นเข้าศึกษาและการฝึกอบรม หรือการดูงานท่ี เป็นสว่ นหน่งึ ของการศกึ ษาหรือตอ่ จากการศกึ ษานน้ั ด้วย การออกจากราชการของขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาออกจากราชการเมอื่ (มาตรา 107พ.ร.บ.ระเบยี บขา้ ราชการ ครฯู ) 1) ตาย 2) พน้ จากราชการตามกฎหมายวา่ ด้วยบำเหนจ็ บำนาญขา้ ราชการ 3) ลาออกจากราชการและได้รับอนญุ าตใหล้ าออก 4) ถูกสงั่ ใหอ้ อก 5) ถกู ส่งั ลงโทษปลดออกหรือไล่ออก 6) ถกู เพิกถอนใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี เวน้ แต่ได้รับแตง่ ต้งั ให้ดำรงตำแหน่งอน่ื ทไ่ี ม่ต้องมี ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพ

การลาออกจากราชการ ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาผูใ้ ดประสงค์จะลาออกจากราชการ ให้ย่ืนหนงั สอื ลาออกต่อผูบ้ ังคับบญั ชาเพื่อให้ผมู้ ีอำนาจตาม มาตรา 53เปน็ ผู้พจิ ารณาอนุญาต กรณผี มู้ ีอำนาจตาม มาตรา 53 พิจารณาเหน็ ว่าจำเป็นเพ่ือประโยชนแ์ กร่ าชการจะยับย้ังการอนุญาต ให้ลาออกไว้เป็นเวลาไมเ่ กนิ 90 วนั นับแตว่ นั ขอลาออกกไ็ ด้ แต่ตอ้ งแจ้งการยบั ยงั้ พร้อมเหตุผลให้ผูข้ อ ลาออกทราบ เมื่อครบกำหนดเวลาท่ยี บั ย้ังแลว้ ใหก้ ารลาออกมีผลต้งั แต่วนั ถัดจากวนั ครบกำหนดเวลาทีย่ บั ยัง้ ถ้าผู้มอี ำนาจตามมาตรา 53 ไมไ่ ด้อนุญาตและไมไ่ ด้ยับยั้งการอนญุ าตให้ลาออก ให้การลาออก มีผลตั้งแต่วนั ขอลาออก ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาผู้ใดประสงคจ์ ะลาออกจากราชการเพ่ือดำรงตำแหน่ง ทาง การเมืองหรือเพื่อสมัครรับเลือกตัง้ ให้ยน่ื หนงั สือลาออกต่อผู้บงั คับบัญชา และให้การลาออกมผี ลนับตั้งแตว่ นั ที่ผู้น้ันขอลาออก ระเบียบ ก.ค.ศ ว่าด้วยการลาออกของขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ.2548 ขอ้ 3 การยนื่ หนังสือขอลาออกจากราชการให้ย่นื ล่วงหนา้ ก่อนวนั ขอลาออกไม่นอ้ ยกวา่ 30 วนั กรณผี ูม้ ีอำนาจอนุญาตการลาออกเหน็ วา่ มีเหตุผลและความจำเปน็ พิเศษ จะอนญุ าตเปน็ ลายลกั ษณ์อักษรกอ่ นวนั ขอลาออกใหผ้ ู้ประสงคจ์ ะลาออกยน่ื หนงั สือขอลาออกล่วงหนา้ น้อย กวา่ 30 วัน กไ็ ด้ หนงั สอื ขอลาออกทีย่ น่ื ลว่ งหนา้ กอ่ นวันขอลาออกนอ้ ยกวา่ 30 วนั โดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาตเป็น ลาย ลักษณ์อักษรจากผมู้ ีอำนาจอนญุ าต หรือที่มิได้ระบุวนั ขอลาออก ให้ถือวนั ถัดจากวนั ครบกำหนด 30 วัน นับ แตว่ นั ยืน่ เปน็ วันขอลาออก ข้อ 5 ผู้มีอำนาจอนุญาตการลาออกพจิ ารณาว่าจะสัง่ อนญุ าตให้ผูน้ ั้นลาออกจากราชการหรอื จะสั่ง ยบั ยง้ั การอนุญาตให้ลาออกใหด้ ำเนินการ ดงั น้ี (1) หากพจิ ารณาเห็นว่าควรอนญุ าตให้ลาออกจากราชการไดใ้ ห้มคี ำส่ังอนุญาตใหล้ าออก เป็นลาย ลกั ษณ์อักษรให้เสรจ็ สิ้นกอ่ นวันขอลาออกแล้วแจ้งคำส่งั ดังกล่าวให้ผ้ขู อลาออกทราบก่อนวัน ขอลาออกด้วย (2) หากพิจารณาเห็นว่าควรยบั ย้ังการอนุญาตให้ลาออกเน่ืองจากจำเป็นเพื่อประโยชน์แก่ ราชการ ให้มคี ำส่งั ยับย้ังการอนญุ าตให้ลาออกเป็นลายลกั ษณ์อักษรให้เสรจ็ ส้ินก่อนวันขอลาออกแลว้ แจง้ คำส่ัง ดงั กลา่ วพร้อมเหตผุ ลใหผ้ ้ขู อลาออกทราบกอ่ นวนั ขอลาออกด้วย ท้งั นก้ี ารยับย้งั การอนญุ าต ให้ลาออกใหส้ งั่ ยบั ย้ังไว้ได้เป็นเวลาไม่เกิน 90 วัน และสง่ั ยับย้ังไดเ้ พียงครั้งเดียวจะขยายอีกไม่ได้ เมื่อครบกำหนดเวลาท่ียบั ยงั้ แล้วใหก้ ารลาออกมผี ลตั้งแต่วัน ถดั จากวันครบกำหนดเวลาท่ียบั ย้งั

ขอ้ 6 กรณีทผ่ี ู้ขอลาออกได้ออกจากราชการไปโดยผลของกฎหมาย เนอ่ื งจากผ้มู ีอำนาจ อนญุ าตมิได้ มีคำส่ังอนุญาตใหล้ าออกและมไิ ดม้ ีคำส่งั ยบั ยงั้ การอนุญาตให้ลาออกก่อนวนั ขอลาออก หรือเน่ืองจากครบ กำหนดเวลายับย้ังการอนญุ าตใหล้ าออกให้ผ้มู ีอำนาจอนญุ าตมหี นังสอื แจ้ง วนั ออกจากราชการใหผ้ ขู้ อ ลาออกทราบภายใน 7 วนั นับแตว่ นั ทีผ่ ูน้ ้นั ออกจากราชการและแจ้งใหส้ ว่ นราชการที่เกี่ยวขอ้ งทราบดว้ ย ข้อ 7 การยื่นหนังสือขอลาออกจากราชการเพื่อดำรงตำแหน่งทางการเมอื ง หรือเพ่ือสมัครรับเลือกต้ังใหย้ ่ืนตอ่ ผูบ้ ังคบั บัญชาอยา่ งช้าภายในวนั ทขี่ อลาออกและให้ผบู้ ังคบั บญั ชาดงั กลา่ ว เสนอ หนังสอื ขอลาออกน้ันต่อผู้บังคบั บญั ชาช้นั เหนือข้ึนไปตามลำดบั จนถงึ ผ้มู ีอำนาจอนุญาตการลาออก โดยเร็วเมื่อผมู้ อี ำนาจอนุญาตได้รับหนงั สอื ขอลาออกแล้วให้มีคำส่งั อนุญาตออกจากราชการไดต้ ั้งแต่ วนั ทีข่ อ ลาออก 5. ครูอัตราจา้ ง กรณคี รูอัตราจ้างท่ีจา้ งด้วยเงินงบประมาณให้ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ครู เช่น ปฏบิ ตั ิหน้าที่ครูผชู้ ่วย ครพู ี่เลีย้ ง หรอื ปฏิบัตหิ นา้ ที่ครูที่เรยี กช่อื ยา่ งอ่ืนให้ปฏบิ ตั ิตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยลกู จ้าง ประจำของสว่ น ราชการพ.ศ. 2537 และแนวปฏบิ ตั ิทีใ่ ชเ้ พื่อการน้ัน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook