Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือบริหารงานวิชาการ

คู่มือบริหารงานวิชาการ

Published by so.ra11042522, 2022-05-17 06:40:18

Description: คู่มือบริหารงานวิชาการ

Search

Read the Text Version

ก คำนำ งานวิชาการถือเป็นงานที่สำคัญที่สุดในการจัดการศึกษาตามภารกิจของสถานศึกษา โรงเรียนจึงได้จัดทำ คมู่ อื การบริหารงานวชิ าการฉบบั นข้ี ึ้น เพ่อื เปน็ กรอบการปฏบิ ัติงานและชว่ ยเสริมสร้างความเข้าใจให้ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่จัดการเรียนการสอนของโรงเรียนบ้านสมศรี ใช้เป็น แนวทางในการบรหิ ารงานวชิ าการใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล ขอขอบคุณครูและบุคลากรทุกท่าน ที่ได้มีส่วนร่วมในการจัดทำคู่มืองานบริหารวิชาการ เล่มนี้จนสำเร็จ ลุลว่ งดว้ ยดี และหวงั เป็นอย่างยิ่งว่าคู่มืองานบรหิ ารวิชาการ เล่มน้ี จะถูกใช้เปน็ เคร่ืองมือในการพัฒนางานวิชการ ของโรงเรียนให้มคี ณุ ภาพยง่ิ ขนึ้ ต่อไป โรงเรียนบ้านสมศรี

สารบญั ข คำนำ หนา้ สารบญั ก แนวคิดหลักในการบริหารวชิ าการ ข วตั ถุประสงค์ 1 ขอบข่ายและภารกิจผู้รบั ผดิ ชอบ 1 แนวทางการบรหิ ารงานวิชาการ 1 ขอบข่ายงานวิชาการ 7 7

การบรหิ ารงานวิชาการ แนวคดิ หลกั ในการบรหิ ารวชิ าการ การบรหิ ารงานวชิ าการเปน็ ภารกิจท่ีสำคญั ของการบริหารโรงเรียนตามท่ีพระราชบญั ญัติการศกึ ษา แหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแกไ้ ขเพ่ิมเติม(ฉบับท่ี 2)พ.ศ.2545 ถอื เป็นงานท่มี คี วามสำคัญทส่ี ดุ เปน็ หวั ใจของการ จดั การศึกษา ซ่งึ ทั้งผบู้ ริหาร โรงเรยี น คณะครู และผู้มสี ่วนเกี่ยวข้องทกุ ฝา่ ย ต้องมีความรูค้ วามเขา้ ใจ ให้ ความสำคัญและ มสี ว่ นรว่ มในการวางแผน กำหนดแนวทางปฏิบตั ิการประเมนิ ผล และการปรับปรงุ แก้ไขอย่างเปน็ ระบบและต่อเน่ือง มุง่ ใหก้ ระจายอำนาจในการบรหิ ารจดั การไปใหส้ ถานศกึ ษาให้มากที่สุด ดว้ ยเจตนารมณ์ท่จี ะให้ สถานศกึ ษาดำเนินการได้โดยอิสระ คล่องตวั รวดเร็ว สอดคล้องกบั ความต้องการของผเู้ รยี น โรงเรยี น ชุมชน ทอ้ งถน่ิ และการมสี ว่ นรว่ มจากผูม้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสียทกุ ฝา่ ย ซงึ่ จะเปน็ ปัจจยั สำคัญทำให้สถานศกึ ษามีความเข้มแข็ง ในการบริหารและจดั การ สามารถพฒั นาหลักสตู รและกระบวนการเรียนรู้ตลอดจนการวัดผล ประเมนิ ผล รวมท้งั ปจั จยั เก้อื หนนุ การพัฒนาคณุ ภาพนักเรียน โรงเรยี น ชมุ ชน ท้องถ่นิ ได้อยา่ งมีคุณภาพและมปี ระสทิ ธภิ าพ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้บริหารงานด้านวิชาการได้โดยอิสระ คล่องตัว รวดเร็ว และ สอดคล้องกับความต้องการของ นกั เรยี น สถานศึกษา ชุมชน ทอ้ งถน่ิ 2. เพื่อให้การบรหิ าร และ การจดั การศึกษาของโรงเรียนไดม้ าตรฐาน และ มคี ุณภาพสอดคลอ้ งกับระบบ ประกนั คุณภาพการศึกษา และ ประเมนิ คณุ ภาพภายในเพือ่ พฒั นาตนเอง และ จากการประเมนิ หน่วยงานภายนอก 3. เพื่อให้โรงเรียนพัฒนาหลักสูตร และ กระบวนการเรียนรู้ ตลอดจนปัจจัยหนุนการเรียนรู้ที่สนองต่อ ความต้องการของผเู้ รยี น ชมุ ชน และ ท้องถิน่ โดยยึดผูเ้ รียนเปน็ สำคัญได้อยา่ งมคี ณุ ภาพ และ ประสิทธภิ าพ 4. เพื่อให้โรงเรียนได้ประสานความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา และ ของ บุคคล ครอบครวั องคก์ ร หนว่ ยงาน และ สถาบันอ่ืนๆอย่างกวา้ งขวาง ขอบข่ายและภารกิจผ้รู ับผดิ ชอบ 1. การพฒั นาหรอื การดำเนนิ การเก่ียวกบั การใหค้ วามเหน็ การพัฒนาสาระหลกั สูตรทอ้ งถนิ่ บทบาทและหน้าท่ี 1. วิเคราะหก์ รอบสาระการเรยี นรทู้ ้องถิ่นท่สี ำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาจดั ทำไว้ 2. วเิ คราะห์หลักสตู รสถานศึกษาเพ่ือกำหนดจุดเนน้ หรอื ประเดน็ ที่สถานศึกษาให้ ความสำคัญ 3. ศึกษา และวเิ คราะห์ข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษา และชุมชนเพือ่ นำมาเปน็ ข้อมูล จดั ทำสาระการเรยี นรูท้ ้องถิ่นของสถานศกึ ษาใหส้ มบูรณย์ งิ่ ข้ึน 4. จัดทำสาระการเรียนรู้ท้องถิน่ ของสถานศกึ ษา เพื่อนำไปจัดทำรายวิชาพ้ืนฐานหรอื รายวชิ าเพม่ิ เติม จดั ทำคำอธบิ ายรายวชิ า หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ เพอ่ื จัดประสบการณ์ และจดั กจิ กรรมการเรียน การสอนให้แกผ่ ู้เรยี น ประเมินผล และปรับปรุง 5. ผูบ้ รหิ ารศกึ ษาอนุมตั ิ

2. การวางแผนงานดา้ นวิชาการ บทบาทและหนา้ ท่ี 1. วางแผนงานด้านวชิ าการโดยการรวบรวมข้อมูลและกำกบั ดแู ล นิเทศและตดิ ตามเกย่ี วกับงานวชิ าการ ไดแ้ ก่ การพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษา การพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ การวัดผล ประเมินผล และ การเทียบโอน ผลการเรียน การประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศกึ ษา การพัฒนาและใช้ สอื่ และเทคโนโลยีเพอื่ การศกึ ษา การพฒั นาและส่งเสรมิ ใหม้ ีแหลง่ เรียนรกู้ ารวจิ ัยเพ่ือพัฒนา คุณภาพการศึกษา และส่งเสรมิ ชมุ ชนให้ มีความเข้มแข็งทางวิชาการ 2. ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาอนุมัตโิ ดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา 3. การจดั การเรียนการสอนในสถานศกึ ษา บทบาทและหนา้ ที่ 1. จัดทำแผนการเรยี นรู้ทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ 2. จดั การเรยี นการสอนทกุ กลมุ่ สาระการเรียนร้ทู ุกช่วงชั้น ตามแนวปฏิบตั กิ ารเรยี นรโู้ ดยเน้นผ้เู รียนเปน็ สำคญั พัฒนาคุณธรรมนำความรู้ตามหลกั การปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง 3. ใช้สือ่ การเรียนการสอน และแหล่งการเรียนรู้ 4. จดั กจิ กรรมพัฒนาหอ้ งสมดุ ห้องปฏบิ ัติการต่างๆ ใหเ้ อื้อต่อการเรยี นรู้ 5. สง่ เสรมิ การวิจัย และพฒั นาการเรยี นการสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ 6. สง่ เสริมการพัฒนาความเปน็ เลศิ ของนักเรยี น และช่วยเหลือนกั เรียนพกิ าร ด้อยโอกาสและมี ความสามารถพเิ ศษ 4. การพัฒนาหลกั สตู รของสถานศกึ ษา บทบาทและหนา้ ที่ 1. จัดทำหลักสตู รเปน็ ของตนเองโดยจัดใหม้ ีการวจิ ัย และพัฒนาหลักสตู ร ให้ทนั กับการเปลย่ี นแปลง ทางด้านเศรษฐกจิ และสังคม จัดทำหลกั สูตรทม่ี ุ่งเนน้ พฒั นานกั เรียนใหเ้ ปน็ มนุษยท์ ีส่ มบรู ณ์ทง้ั รา่ งกาย จติ ใจ สติปญั ญา มีความรแู้ ละคุณธรรม สามารถอยู่รว่ มกับผอู้ น่ื ได้อยา่ งมคี วามสุข จดั ให้มวี ชิ าต่างๆ ครบถว้ นตาม หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาพน้ื ฐานของกระทรวงศึกษาธิการ 2. เพมิ่ เติมเน้ือหาสาระของรายวิชา ไดแ้ ก่ การศึกษาดา้ นศาสนา ดนตรี นาฏศลิ ป์ กีฬา การศึกษาท่ี ส่งเสริมความเปน็ เลศิ ผู้บกพร่อง 3. เพิม่ เติมเน้ือหาสาระของรายวิชาท่ีสอดคล้องสภาพปัญหาความตอ้ งการของผเู้ รยี น ผู้ปกครอง ชมุ ชน สังคม และอาเซยี่ น

5. การพฒั นากระบวนการเรียนรู้ บทบาทและหนา้ ท่ี 1. จดั เนือ้ หาสาระและกิจกรรมใหส้ อดคลอ้ งกับความสนใจ และความถนัดของผู้เรียนโดย คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบคุ คล 2. ฝึกทกั ษะ กระบวนการคิด การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรมู้ าใช้ เพื่อป้องกันและ แกไ้ ขปัญหา 3. จดั กจิ กรรมให้ผ้เู รยี นได้เรียนรจู้ ากประสบการณจ์ รงิ ฝกึ การปฏบิ ตั ใิ หท้ ำได้ คดิ เปน็ ทำเป็นรักการ อ่านและเกิดการใฝร่ ูอ้ ยา่ งต่อเนอ่ื ง 4. จดั การเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรูด้ า้ นตา่ งๆ อย่างได้สดั ส่วนสมดุลกันรวมท้ังปลกู ฝัง คุณธรรม ค่านยิ มท่ีดีงามและคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคไ์ ว้ในทุกกล่มุ สาระ/วชิ า 5. สง่ เสริมสนบั สนนุ ใหผ้ สู้ อนสามารถจดั บรรยากาศสภาพแวดลอ้ ม ส่ือการเรียน และอำนวยความ สะดวกเพื่อใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้ และมคี วามรอบรู้ รวมทง้ั สามารถใช้การวจิ ยั เปน็ ส่วนหนง่ึ ของกระบวนการ เรียนรู้ ทัง้ น้ี ผู้สอนและผ้เู รยี นรู้อาจเรียนรไู้ ปพรอ้ มกนั จากสอ่ื การเรียนการสอน และแหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ 6. จดั การเรยี นรูใ้ หเ้ กดิ ข้ึนได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือ กบั บิดามารดาและบคุ คล ในชุมชนทุกฝ่าย เพื่อร่วมกนั พฒั นาผู้เรียนตามศกั ยภาพ 7. ศึกษาคน้ ควา้ พฒั นารูปแบบหรอื การออกแบบกระบวนการเรียนรทู้ ี่ 6. การวัดผล ประเมนิ ผล และดำเนนิ การเทียบโอนเท่าผลการเรยี น บทบาทและหนา้ ที่ 1. กำหนดระเบียบการวัด และประเมินผลของสถานศึกษาตามหลกั สูตรสถานศึกษาโดยให้ สอดคลอ้ ง กับนโยบายระดับประเทศ 2. จดั ทำเอกสารหลักฐานการศึกษาให้เปน็ ไปตามระเบยี บการวัด และประเมินผลของสถานศึกษา 3. วัดผล ประเมนิ ผล เทียบโอนประสบการณ์ ผลการเรยี นและอนุมตั ิผลการเรียน 4. จดั ให้มีการประเมนิ ผลการเรียนทกุ ชว่ งชนั้ และจัดใหม้ ีการซอ่ มเสรมิ กรณีทีม่ ผี ูเ้ รียน ไมผ่ า่ น เกณฑ์การประเมิน 5. ใหม้ ีการพฒั นาเคร่ืองมือในการวัดและประเมนิ ผล 6. จดั ระบบสารสนเทศดา้ นการวัดผลประเมนิ ผล และการเทยี บโอนผลการเรียนเพอ่ื ใช้ในการอา้ งอิง ตรวจสอบ และใชป้ ระโยชน์ในการพัฒนาการเรยี นการสอน 7. ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาอนมุ ัตผิ ลการประเมินการเรียนด้านต่างๆ รายปี รายภาคและตัดสินผลการเรียน ผ่านระดับชนั้ และจบการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน 8. การเทยี บโอนผลการเรียนเปน็ อำนาจของสถานศกึ ษา ที่จะแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ เพอื่ กำหนดหลักเกณฑ์วธิ กี าร ไดแ้ ก่ คณะกรรมการเทียบระดับการศึกษาท้ังในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย คณะกรรมการเทยี บโอนผลการเรียน และเสนอคณะกรรมการบริหารหลกั สตู ร และวิชาการ พร้อมท้งั ให้ผบู้ รหิ าร สถานศึกษาอนุมัติการเทียบโอน

7. การวิจัยเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาในสถานศึกษา บทบาทและหน้าที่ 1. กำหนดนโยบายและแนวทางการใช้ การวิจัยเปน็ สว่ นหน่ึงของกระบวนการเรยี นรู้ และกระบวนการ ทำงานของนักเรียน ครู และผเู้ ก่ียวข้องกบั การศึกษา 2. พฒั นาครู และนกั เรยี นให้มีความรเู้ กี่ยวกบั การปฏิรปู การเรยี นรู้ โดยใช้กระบวนการวิจยั เป็นสำคญั ใน การเรยี นรู้ทีซ่ บั ซ้อนข้นึ ทำให้ผเู้ รียนได้ฝกึ การคดิ การจดั การ การหาเหตุผลในการตอบปัญหา 3. พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาดว้ ยกระบวนการวจิ ัย 4. รวบรวม และเผยแพรผ่ ลการวิจยั เพื่อการเรยี นร้แู ละพัฒนาคุณภาพการศึกษา รวมท้งั สนับสนุนให้ครู นำผลการวิจยั มาใชเ้ พื่อพัฒนาการเรยี นรแู้ ละพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 8. การพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหล่งเรยี นรู้ บทบาทและหน้าท่ี 1. จดั ใหม้ แี หลง่ เรยี นรู้อย่างหลากหลาย ทัง้ ภายในและภายนอกสถานศึกษา ให้พอเพียงเพื่อ สนบั สนุนการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเองกบั การจัดกระบวนการเรยี นรู้ 2. จดั ระบบแหล่งการเรียนร้ภู ายในโรงเรียนใหเ้ ออื้ ต่อการจดั การเรยี นรขู้ องผู้เรยี น เช่น พัฒนาห้องสมุดให้เป็นแหลง่ การเรยี นรู้ มุมหนังสือในห้องเรียน หอ้ งดนตรี หอ้ งคอมพวิ เตอร์ ห้องพยาบาล ห้องศูนยว์ ิชาการ สวนสขุ ภาพ สวนหนงั สอื เปน็ ตน้ 3. จดั ระบบข้อมูลแหลง่ การเรยี นรู้ในท้องถน่ิ ใหเ้ อือ้ ต่อการจัดการเรียนรู้ ของผู้เรียน ของ สถานศกึ ษาของตนเอง 4. ส่งเสรมิ ให้ครูและผู้เรียนไดใ้ ช้แหล่งเรียนรู้ ทงั้ ในและนอกสถานศกึ ษา เพื่อพัฒนาการ เรยี นรู้ และ นิเทศ กำกับติดตาม ประเมนิ และปรับปรุงอยา่ งต่อเนื่อง 5. ส่งเสรมิ ให้ครู และผเู้ รียนใชแ้ หลง่ เรยี นรทู้ ัง้ ภายในและภายนอก 9. การนเิ ทศการศึกษา บทบาทและหน้าท่ี 1. สรา้ งความตระหนักให้แกค่ รู และผู้เก่ยี วข้องใหเ้ ขา้ ใจกระบวนการนเิ ทศภายในวา่ เป็น กระบวนการทำงานร่วมกันทใ่ี ช้เหตผุ ลการนิเทศ เปน็ การพัฒนาปรบั ปรงุ วิธกี ารทำงานของแต่ละบคุ คล ให้มี คุณภาพการนเิ ทศเป็นส่วนหนึง่ ของกระบวนการบริหาร เพื่อให้ทุกคนเกิดความเช่ือมัน่ ว่าได้ปฏิบัตถิ กู ต้อง กา้ วหน้า และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เรยี น และตัวครูเอง 2. จัดการนเิ ทศภายในสถานศึกษาใหม้ คี ุณภาพทวั่ ถึง และตอ่ เน่ืองเปน็ ระบบและ กระบวนการ 3. จัดระบบนิเทศภายในสถานศึกษาให้เช่ือมโยงกบั ระบบนิเทศการศึกษาของสำนักงานเขต พน้ื ทก่ี ารศึกษา

10. การแนะแนว บทบาทและหน้าท่ี 1. กำหนดนโยบายการจัดการศึกษา ท่มี ีการแนะแนวเป็นองค์ประกอบสำคัญ โดยใหท้ กุ คนในสถานศึกษาตระหนักถึงการมสี ่วนร่วมในกระบวนการแนะแนว และการดแู ลช่วยเหลอื 2. จัดระบบงานและโครงสรา้ งองคก์ รแนะแนว และดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นของสถานศึกษาให้ ชัดเจน 3. สร้างความตระหนักให้ครูทุกคนเห็นคุณคา่ ของการแนะแนว และดแู ลช่วยเหลือนักเรียน 4. สง่ เสรมิ และพัฒนาให้ครูไดร้ บั ความรู้เพิม่ เตมิ เร่อื งจติ วิทยาและการแนะแนวและดูแล ชว่ ยเหลอื นกั เรียน เพอ่ื ให้สามารถบูรณาการในการจดั การเรยี นรูแ้ ละเช่อื มโยงสู่การดำรงชีวติ ประจำวนั 5. คัดเลือกบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถและบุคลกิ ภาพที่เหมาะสม ทำหนา้ ท่คี รแู นะ แนว ครทู ่ีปรึกษา ครปู ระจำชัน้ และคณะอนุกรรมการแนะแนว 6. ดแู ล กำกับ นิเทศ ตดิ ตามและสนับสนนุ การดำเนินงานแนะแนว และดูแลชว่ ยเหลือ นักเรียนอยา่ งเป็นระบบ 7. ส่งเสรมิ ความร่วมมือ และความเข้าใจอันดรี ะหวา่ งครู ผู้ปกครอง และชมุ ชน 8. ประสานงานดา้ นการแนะแนวระหว่างสถานศึกษา องคก์ ร ภาครัฐและเอกชน บ้าน ศาสนสถาน ชุมชนในลกั ษณะเครือข่ายการแนะแนว 9. เชอื่ มโยงระบบแนะแนว และระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน 11. การพัฒนาระบบประกันคณุ ภาพภายใน และมาตรฐานการศกึ ษา บทบาทและหนา้ ที่ 1. กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 2. จดั ทำแผนสถานศกึ ษาท่ีมุ่งเน้นคุณภาพการศึกษา (แผนกลยทุ ธ/์ แผนยุทธศาสตร์) 3. จดั ทำระบบบรหิ ารและสารสนเทศ 4. ดำเนินการตามแผนพฒั นาสถานศึกษาในการดำเนินโครงการ/กจิ กรรมสถานศกึ ษาต้อง สรา้ งระบบ การทำงานทเี่ ข้มแข็งเน้นการมีสว่ นร่วม และวงจรการพัฒนาคณุ ภาพของเดมม่ิง (Deming Cycle) หรือที่รู้จกั กนั วา่ วงจร PDCA 5. ตรวจสอบ และทบทวนคุณภาพการศึกษาโดยการดำเนินการอยา่ งจรงิ จงั ต่อเน่ืองดว้ ยการ สนบั สนุนใหค้ รู ผูป้ กครองและชุมชนเขา้ มามีส่วนร่วม 6. ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานท่กี ำหนด เพ่ือรองรับการ ประเมนิ คุณภาพภายนอก 7. จดั ทำรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี (SAR) และสรปุ รายงานประจำปี โดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พื้นฐานเสนอต่อหนว่ ยงานตน้ สังกดั และเผยแพร่ตอ่ สาธารณชน

12. การส่งเสริมชุมชนให้มีความเข้มแข็งทางวชิ าการ บทบาทและหนา้ ที่ 1. จัดกระบวนการเรยี นรรู้ ่วมกับบุคคล ครอบครัว ชมุ ชน องคก์ รชุมชน องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ เอกชน องคก์ รวิชาชพี สถาบัน ศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั อื่น 2. สง่ เสรมิ ความเขม้ แข็งของชุมชน โดยการจดั กระบวนการเรยี นรู้ภายในชุมชน 3. สง่ เสริมให้ชุมชนมีการจัดการศึกษาอบรม มีการแสวงหาความรู้ ขอ้ มลู ข่าวสารและ เลือกสรรภูมิปัญญา วิทยาการตา่ งๆ 4. พัฒนาชุมชนให้สอดคล้องกบั สภาพปญั หา และความตอ้ งการรวมทั้งหาวิธกี ารสนับสนุน ใหม้ ีการแลกเปลย่ี นประสบการณร์ ะหว่างชุมชน 13. การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศกึ ษา และองคก์ รอน่ื เปน็ ตน้ บทบาทและหน้าที่ 1. ระดมทรัพยากรเพื่อการศกึ ษา ตลอดจนวิทยากรภายนอกและภมู ิปัญญาท้องถิน่ เพือ่ เสรมิ สรา้ ง พัฒนาการของนักเรียนทุกดา้ น รวมทงั้ สืบสานจารีตประเพณศี ิลปวฒั นธรรมท้องถน่ิ 2. เสริมสรา้ งความสัมพันธร์ ะหว่างสถานศึกษากบั ชุมชน ตลอดจนประสานงานกับองคก์ รทั้ง ภาครัฐ และเอกชน เพื่อให้สถานศกึ ษาเป็นแหลง่ วทิ ยาการของชมุ ชน เพ่ือให้สถานศกึ ษาเป็นแหล่ง วทิ ยาการของชุมชน และมีสว่ นในการพัฒนาชุมชนและท้องถ่นิ 3. ใหบ้ รกิ ารด้านวชิ าการทีส่ ามารถเชอื่ มโยงหรือแลกเปลีย่ นข้อมลู ขา่ วสารกบั แหล่งวิชาการ ในทอ่ี ่ืนๆ 4. จัดกจิ กรรมร่วมกับชุมชนเพ่ือส่งเสริมวฒั นธรรมการสรา้ งความสมั พันธอ์ ันดีกับศิษยเ์ กา่ การประชมุ ผ้ปู กครองนักเรยี น การปฏิบัตงิ านรว่ มกับชมุ ชน การรว่ มกจิ กรรมกบั สถาบันการศึกษาอืน่ 14. การสง่ เสริมและสนับสนนุ งานวชิ าการแกบ่ ุคคล ครอบครวั องคก์ ร หน่วยงาน สถานประกอบการ และสถาบันอ่ืนทจี่ ดั การศึกษา บทบาทและหน้าท่ี 1. ประชาสัมพันธ์สร้างความเขา้ ใจตอ่ บคุ คล ครอบครัว ชุมชน องคก์ รชมุ ชน องค์กร ปกครอง ส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวชิ าชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั สงั คมอ่ืนในเรื่องเกีย่ วกบั สทิ ธใิ นการจดั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐานการศกึ ษา 2. จัดใหม้ กี ารสรา้ งความรูค้ วามเขา้ ใจ การเพม่ิ ความพร้อมให้กับบคุ คล ครอบครัว ชมุ ชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ เอกชน องคก์ รเอกชน องค์กรวชิ าชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอืน่ ที่ร่วมจดั การศึกษา 3. รว่ มกบั บุคคล ครอบครัว ชมุ ชน องคก์ รชุมชน องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ เอกชน องค์กร เอกชนองค์กรวิชาชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสงั คมอ่ืนท่รี ่วมจัดการศกึ ษา และใช้ ทรัพยากรร่วมกันใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสดุ 4. ส่งเสริมสนบั สนุนใหม้ กี ารจัดกิจกรรมการเรียนรรู้ ะหว่างสถานศกึ ษากับบคุ คล ครอบครัว

ชุมชน องคก์ รเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอื่น 5. ส่งเสริมสนบั สนุนใหบ้ คุ คล ครอบครัว ชุมชน องคก์ รเอกชน องคก์ รวชิ าชพี สถาบนั ศาสนาสถานประกอบการและสถาบนั สงั คมอื่น ได้รับความชว่ ยเหลือทางด้านวชิ าการตามความ เหมาะสมและ จำเปน็ 6. ส่งเสริม และพฒั นาแหลง่ เรียนรู้ ท้ังดา้ นคณุ ภาพและปริมาณ เพ่ือการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ อยา่ งมี ประสิทธภิ าพ 15. การจดั ทำระเบียบและแนวปฏิบัตเิ ก่ยี วกับงานดา้ นวิชาการของสถานศกึ ษา บทบาทและหนา้ ท่ี 1. ศกึ ษาและวเิ คราะห์ระเบียบ และแนวปฏบิ ัติเก่ยี วกบั งานด้านวิชาการของสถานศึกษา เพอ่ื ให้ ผ้ทู ่ี เกย่ี วข้องรับรู้ และถือปฏบิ ตั เิ ปน็ แนวเดียวกนั 2. จดั ระเบียบ และแนวปฏิบตั ิเก่ียวกับงานดา้ นวิชาการของสถานศึกษา เพ่ือให้ผทู้ ่เี กี่ยวขอ้ ง รบั รู้ และถอื ปฏิบตั ิเปน็ แนวเดียวกนั 3. ตรวจสอบรา่ งระเบยี บและแนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับงานดา้ นวิชาการของสถานศกึ ษา และแก้ไข ปรบั ปรุง 4. นำระเบยี บและแนวปฏบิ ัตเิ ก่ยี วกับงานด้านวิชาการของสถานศกึ ษาไปสู่การปฏบิ ัติ 5. ตรวจสอบ และประเมินผล การใชร้ ะเบยี บและแนวปฏบิ ัติเกยี่ วกบั งานด้านวชิ าการของ สถานศึกษาและนำไปแกไ้ ขปรบั ปรงุ ใหเ้ หมาะสมต่อไป 16. การคัดเลือกหนงั สอื แบบเรียนเพ่อื ใช้ในสถานศกึ ษา บทบาทและหนา้ ที่ 1. ศึกษา วเิ คราะห์ คดั เลือกหนงั สือเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ตา่ งๆ ท่ีมีคุณภาพสอดคล้อง กับ หลกั สตู รสถานศกึ ษา เพ่ือเปน็ หนงั สอื แบบเรียนใช้ในการจัดการเรียนการสอน 2. จัดทำหนงั สือเรยี น หนังสือเสริมประสบการณ์ หนงั สืออ่านประกอบ แบบฝึกหัด ใบ งาน ใบความรู้ เพ่ือใช้ประกอบการเรยี นการสอน 3. ตรวจพิจารณาคุณภาพ หนงั สือเรียนเรยี น หนงั สอื เสรมิ ประสบการณ์ หนังสืออ่าน ประกอบ แบบฝึกหดั ใบงาน ใบความรู้ เพื่อใชป้ ระกอบการเรียนการสอน 17. การพัฒนา และใช้ส่ือเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา บทบาทและหนา้ ที่ 1. จดั ใหม้ ีการร่วมกนั กำหนดนโยบาย วางแผนในเร่อื งการจดั หาและพัฒนาส่ือการเรียนรู้ และ เทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษา 2. พฒั นาบุคลากรใสถานศึกษาในเร่ืองเกี่ยวกบั การพฒั นาสื่อการเรียนรู้ และเทคโนโลยเี พื่อ

การศึกษา พร้อมทงั้ ให้มีการจัดตัง้ เครือข่ายทางวชิ าการ ชมรมวิชาการเพื่อเปน็ แหลง่ การเรียนร3ู้ . 3. พัฒนา และใช้ส่อื และเทคโนโลยีทางการศึกษา โดยมงุ่ เน้นการพัฒนาส่ือและเทคโนโลยที างการศึกษาทใ่ี หข้ ้อเทจ็ จริงเพ่ือ สร้างองค์ความรู้ใหม่ๆเกดิ ขึน้ โดยเฉพาะหาแหลง่ ส่ือท่ีเสริมการจดั การศึกษาของสถานศึกษาให้มีประสิทธภิ าพ 3. พัฒนาห้องสมุดของสถานศกึ ษา ให้เปน็ แหล่งการเรียนรู้ของสถานศกึ ษา และชุมชน 4. นิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการปฏิบตั ิงานของบุคลากรในการจดั หา ผลิต ใช้และพัฒนาสื่อ และ เทคโนโลยีทางการศึกษา แนวทางการบรหิ ารงานวชิ าการ 1. หัวหน้างานบริหารวิชาการ ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้ากลุ่มการบริหารวิชาการ มีหน้าที่ ดูแล กำกับ ติดตาม กลั่นกรองอำนวยความสะดวก ให้คำแนะนำ ปรึกษาการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบตั ิงานในกลุ่มการ บริหารวิชาการตามขอบข่ายและภารกิจการบริหารวิชาการ ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวข้องกับการจัดระบบบริหารองค์กร การประสานงานและให้บริการสนับสนุน ส่งเสริมให้ฝ่ายบริหารงานวิชาการต่างๆ ในโรงเรียนสามารถบริหาร จดั การและดำเนนิ การตามบทบาทภารกจิ อำนาจหน้าท่ีดว้ ยความเรยี บรอ้ ยตลอดจนสนบั สนุนและให้บรกิ ารข้อมูล ข่าวสาร เอกสาร สือ่ อุปกรณท์ างการศึกษา และทรพั ยากรที่ใช้ในการจดั การศึกษาแก่เจ้าหน้าที่ของแต่ละฝ่ายงาน เพ่ือใหฝ้ า่ ยบริหารจัดการไดอ้ ย่างสะดวกคล่องตัว มคี ณุ ภาพและเกดิ ประสิทธิภาพ 2. หัวหน้าวิชาการสายชน้ั ปฏบิ ัติหน้าทผี่ ้ชู ่วยหัวหนา้ กลุ่มการบริหารวชิ าการ มีหนา้ ที่ช่วยหัวหน้ากลุ่ม การบริหารวิชาการ ในการปฏิบัติงานตามภารกิจของงานบรหิ ารงานวิชาการและหน้าที่อื่นๆที่หัวหน้ากลุ่มบริหาร วิชาการมอบหมายปฏิบัตหิ นา้ ท่ีแทนในกรณหี วั หน้าบริหารงานวิชาการไมส่ ามารถปฏบิ ัตหิ น้าท่ีได้ ขอบขา่ ยงานบรหิ ารวชิ าการ มีดังน้ี 1. การพฒั นาหรือการดำเนนิ งานเก่ยี วกับการให้ความเห็นการพฒั นาสาระหลักสูตรทอ้ งถ่นิ หน้าทีร่ ับผิดชอบปฏบิ ตั ิงานดงั น้ี 1) วเิ คราะหก์ รอบสาระการเรยี นร้ทู อ้ งถน่ิ ที่สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาจดั ทำไว้ 2) วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาเพื่อกำหนดจุดเน้นหรือประเด็นที่สถานศึกษาหรือกลุ่มเครือข่าย สถานศึกษาให้ความสำคัญ 3) ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษาและชุมชนเพื่อนำมาเป็นข้อมูลจัดทำสาระการ เรียนรู้ทอ้ งถ่นิ ของสถานศกึ ษาใหส้ มบูรณ์ย่งิ ขึ้น 4) จัดทำสาระการเรียนรู้ท้องถนิ่ ของสถานศึกษาเพ่ือนำไปจัดทำรายวชิ าพื้นฐานหรือรายวิชาเพิ่มเติมจัดทำ คำอธิบายรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อจัดประสบการณ์และกิจกรรมการเรียนการสอ น ให้แก่ผเู้ รยี นประเมนิ ผลและปรับปรงุ 5) ผู้บริหารสถานศึกษาอนมุ ตั ิ

2. การวางแผนงานดา้ นวชิ าการ หนา้ ทร่ี ับผดิ ชอบปฏบิ ัติงานดังน้ี 1) วางแผนงานด้านวิชาการโดยการรวบรวมข้อมูลและกำกับ ดูแล นิเทศและติดตามเกี่ยวกับงานวิชาการ ได้แก่ การพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การวัดผล ประเมินผล และการเทียบโอนผล การเรียนการประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา การพัฒนาและใช้สื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหล่งเรียนรู้การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการส่ง เสริมชุมชนให้มีความ เขม้ แข็งทางวชิ าการ 2) ผบู้ ริหารสถานศกึ ษาอนุมตั โิ ดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พื้นฐาน 3. การจัดการเรยี นการสอนในสถานศกึ ษา หน้าทรี่ บั ผดิ ชอบปฏิบตั งิ านดังน้ี 1) จัดทำแผนการเรียนรูท้ กุ กล่มุ สาระการเรยี นรโู้ ดยความรว่ มมือของเครือขา่ ย สถานศึกษา 2) จัดการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกช่วงชั้น ตามแนวปฏิรูปการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็น สำคญั บรู ณาการเรียนร้กู ลมุ่ สาระการเรียนรูต้ ่างๆ เพอ่ื คณุ ภาพการเรียนรขู้ องผู้เรียนพฒั นาคุณธรรมนำความรู้ตาม หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3) ใชส้ ่ือการเรยี นการสอนและแหลง่ การเรยี นรู้ 4) จดั กิจกรรมพฒั นาห้องสมุด หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารตา่ งๆ ใหเ้ อื้อต่อการเรยี นรู้ 5) ส่งเสริมการวิจัยและพฒั นาการเรยี นการสอนทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ 6) ส่งเสริมการพฒั นาความเปน็ เลิศของนักเรยี นและช่วยเหลอื นักเรียนพิการดอ้ ยโอกาสและมีความสามารถ พิเศษ 4. การพฒั นาหลักสตู รของสถานศกึ ษา หน้าท่รี ับผดิ ชอบปฏิบตั งิ านดงั นี้ 1 จดั ทำหลกั สตู รสถานศกึ ษาเป็นของตนเอง 1.1 จดั ให้มกี ารวิจัยและพฒั นาหลกั สตู รขึ้นใช้เองให้ทนั กับการเปลยี่ นแปลงทางด้านเศรษฐกจิ และสังคม และเปน็ ต้นแบบให้กับโรงเรียนอน่ื 1.2 จัดทำหลกั สตู รท่ีมุ่งเนน้ พัฒนานักเรียนให้เป็นมนุษย์ทีส่ มบูรณ์ทั้งรา่ งกาย จติ ใจ สติปัญญา มีความรู้ และคุณธรรม สามารถอยรู่ ่วมกบั ผู้อน่ื ไดอ้ ยา่ งมีความสุข 1.3 จดั ให้มวี ชิ าต่างๆ ครบถว้ นตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานของกระทรวงศึกษาธิการ 1.4 เพิ่มเติมเนื้อหาสาระของรายวิชาให้สูงและลึกซึ้งมากขึ้นสำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ได้แก่ การศึกษาดา้ นศาสนา ดนตรี นาฏศลิ ป์ กฬี า อาชวี ศึกษา การศกึ ษาที่ส่งเสริมความเป็นเลิศ ผู้บกพร่อง พิการ และ การศึกษาทางเลือก 1.5 เพิ่มเติมเนื้อหาสาระของรายวิชาที่สอดคล้องสภาพปัญหา ความต้องการของผู้เรียน ผู้ปกครอง ชมุ ชน สังคม และโลก

2) สถานศึกษาสามารถจัดทำหลักสูตรการจัดกระบวนการเรียนรู้ การสอนและอื่นๆให้เหมาะสมกับ ความสามารถของนักเรียนตามกลุ่มเป้าหมายพิเศษ โดยความร่วมมือของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและ เครอื ข่ายสถานศึกษา 3) คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานใหค้ วามเหน็ ชอบหลักสตู รสถานศึกษา 4) นิเทศ ติดตาม ประเมินผลและปรับปรุง หลักสูตรสถานศึกษา และรายงานผลให้สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษารับทราบ 5. การพฒั นากระบวนการเรียนรู้ หนา้ ทร่ี ับผิดชอบปฏบิ ตั ิงานดงั นี้ 1) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยคำนึงถึงความ แตกตา่ งระหว่างบคุ คล 2) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการการเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกัน และแกไ้ ขปัญหา 3) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงฝึกการปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น รักการอ่าน และเกดิ การใฝ่ร้อู ย่างต่อเน่ือง 4) จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกันรวมทั้งปลูกฝัง คุณธรรม คา่ นยิ มทดี่ ีงานและคณุ ลกั ษณะอันพึ่งประสงคไ์ ว้ในทุกวิชา 5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและอำนวยความสะดวก เพือ่ ใหผ้ ้เู รียนเกิดการเรียนรู้และมคี วามรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจยั เป็นสว่ นหนง่ึ ของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งน้ี ผูส้ อนและผูเ้ รยี นอาจเรยี นรไู้ ปพรอ้ มกันจากสอ่ื การเรียนการสอน และแหล่งวิทยาการประเภทต่างๆ 6) จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่มีการประสานความร่วมมือ กับบิดามารดาและบุคคลใน ชมุ ชนทุกฝ่าย เพือ่ รว่ มกนั พัฒนาผเู้ รยี นตามศักยภาพ 6. การวัดผล ประเมินผลและดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน หนา้ ที่รับผดิ ชอบปฏิบัตงิ านดังน้ี 1) กำหนดระเบียบการวัดและประเมินผลของสถานศึกษาตามหลักสูตรสถานศึกษาโดยสอดคล้องกับ นโยบายระดบั ประเทศ 2) จดั ทำเอกสารหลักฐานการศึกษาใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบการวดั และประเมินผลของสถานศึกษา 3) วัดผล ประเมนิ ผล เทยี บโอนประสบการณ์ผลการเรยี นและอนุมตั ผิ ลการเรียน 4) จัดให้มีการประเมินผลการเรียนทุกช่วงชั้นและจัดให้มีการซ่อมเสริมกรณีที่มีผู้เรียนไม่ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน 5) จดั ให้มกี ารพฒั นาเคร่ืองมอื ในการวัดและประเมนิ ผล 6) จัดระบบสารสนเทศด้านการวัดผลประเมินผลและการเทียบโอนผลการเรียนเพื่อใช้ในการอ้างอิง ตรวจสอบและใช้ประโยชนใ์ นการพฒั นาการเรียนการสอน 7) ผู้บริหารสถานศึกษาอนุมัติผลการประเมินการเรียนด้านต่างๆ รายปี/รายภาคและตัดสินผลการเรียน การผา่ นชว่ งชน้ั และจบการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน

8) การเทียบโอนผลการเรียนเป็นอำนาจของสถานศึกษาที่จะแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการเพื่อกำหนด หลักเกณฑ์วิธีการ ได้แก่ คณะกรรมการเทียบระดับการศึกษา ทั้งในระบบนอกระบบและตามอัธยาศัย คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน และเสนอคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการพร้อมทั้งให้ผู้บริหาร สถานศกึ ษาอนมุ ตั ิการเทียบโอน 7. การวจิ ยั เพื่อพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาในสถานศึกษา หน้าท่ีรบั ผิดชอบปฏิบตั ิงานดงั น้ี 1) กำหนดนโยบายและแนวทางการใช้การวิจัยเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการทำงานของนักเรียน ครู และ ผเู้ กย่ี วขอ้ งกับการศกึ ษา 2) พฒั นาครูและนักเรยี นให้มีความรู้เก่ียวกับการปฏริ ูปการเรียนรโู้ ดยใช้กระบวนการวิจัยเป็นสำคัญในการ เรียนรู้ที่ซับซ้อนขึ้นทำให้ผู้เรียนได้ฝึกการคิด การจัดการ การหาเหตุผล ในการตอบปัญหา การผสมผสานความรู้ แบบสหวทิ ยาการและการเรยี นรู้ในปัญหาท่ตี นสนใจ 3) พฒั นาคุณภาพการศกึ ษาด้วยกระบวนการวจิ ยั 4) รวบรวม และเผยแพรผ่ ลการวจิ ัยเพ่ือการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพการศึกษา รวมท้ังสนับสนุนให้ครูนำ ผลการวิจัยมาใช้ เพ่ือพัฒนาการเรียนรแู้ ละพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 8. การพฒั นาและส่งเสรมิ ให้มแี หล่งเรยี นรู้ หน้าทีร่ ับผิดชอบปฏิบตั ิงานดังนี้ 1) จัดให้มีแหล่งเรียนรู้อย่างหลากหลายทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้พอเพียงเพื่อสนับสนุนการ แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเองกบั การจัดกระบวนการเรยี นรู้ 2) จัดระบบแหล่งการเรียนรู้ภายในโรงเรียนให้เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียน เช่น พัฒนาห้องสมุด หมวดวชิ า ห้องสมดุ เคลอ่ื นที่ มมุ หนังสอื ในหอ้ งเรยี น ห้องพิพิธภณั ฑ์ หอ้ งมลั ตมิ ีเดยี หอ้ งคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต ศนู ย์วิชาการ ศูนย์วิทยบรกิ าร Resource Center สวนสุขภาพ สวนวรรณคดี สวนหนงั สอื สวนธรรมะ เป็นต้น 3) จัดระบบข้อมูลแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่นให้เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียนของสถานศึกษาของ ตนเอง เช่น จัดเส้นทาง/แผนที่ และระบบการเชื่อมโยงเครือข่ายห้องสมุดประชาชน ห้องสมุดสถาบันการศึกษา พพิ ิธภัณฑ์ พพิ ธิ ภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ฯลฯ 4) ส่งเสริมให้ครูและผู้เรียนได้ใช้แหล่งเรียนรู้ ทั้งในและนอกสถานศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้และนิเทศ กำกับติดตาม ประเมิน และปรับปรุงอย่างต่อเน่อื ง 9. การนเิ ทศการศกึ ษา หน้าที่รบั ผดิ ชอบปฏิบัตงิ านดงั น้ี 1) สร้างความตระหนกั ใหแ้ ก่ครูและผเู้ กยี่ วขอ้ งใหเ้ ขา้ ใจกระบวนการนเิ ทศภายในว่าเปน็ กระบวนการทำงาน ร่วมกันท่ีใชเ้ หตุผลการนิเทศเป็นการพฒั นาปรับปรุงวธิ ีการทำงานของแต่ละบุคคลให้มีคุณภาพ การนิเทศเป็นส่วน หนึ่งของกระบวนการบริหาร เพื่อให้ทุกคนเกิดความเชื่อมั่นวา่ ได้ปฏิบัติถูกต้อง ก้าวหน้า และเกิดประโยชน์สงู สุด ตอ่ ผูเ้ รยี นและตัวครเู อง 2) จัดการนเิ ทศภายในสถานศึกษาให้มคี ุณภาพท่ัวถึงและต่อเน่ืองเป็นระบบและกระบวนการ 3) จัดระบบนเิ ทศภายในสถานศึกษาใหเ้ ชอื่ มโยงกับระบบนเิ ทศการศึกษาของสำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา

10. การแนะแนวการศกึ ษา มีหนา้ ทร่ี ับผิดชอบปฏบิ ัตงิ านดังนี้ 1) กำหนดนโยบายการจัดการศึกษาที่มีการแนะแนวเป็นองค์ประกอบสำคัญ โดยให้ทุกคนในสถานศึกษา ตระหนกั ถึงการมีสว่ นร่วมในกระบวนการแนะแนวและการดูแลช่วยเหลอื นักเรียน 2) จัดระบบงานและโครงสร้างองค์กรแนะนำและดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน 3) สร้างความตระหนักใหค้ รูทกุ คนเห็นคณุ ค่าของการแนะแนวและดแู ลช่วยเหลือนักเรียน 4) ส่งเสริมและพัฒนาให้ครูได้รับความรู้เพิ่มเติมในเรื่องจิตวิทยาและการแนะแนวและดูแลช่วยเหลือ นกั เรียนเพือ่ ให้สามารถ บรู ณาการ ในการจดั การเรยี นรู้และเชื่อมโยง สกู่ ารดำรงชีวิตประจำวัน 5) คัดเลือกบุคลากรที่มคี วามรู้ ความสามารถและบุคลิกภาพที่เหมาะสม ทำหนา้ ที่ครูแนะแนวครูที่ปรึกษา ครูประจำชน้ั และคณะอนุกรรมการแนะแนว 6) ดูแล กำกับ นิเทศ ติดตามและสนับสนุนการดำเนินงานแนะแนวและดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างเป็น ระบบ 7) ส่งเสริมความร่วมมือและความเข้าใจอันดรี ะหว่างครู ผ้ปู กครองและชุมชน 8) ประสานงานด้านการแนะแนว ระหว่างสถานศึกษา องค์กรภาครัฐและเอกชน บ้าน ศาสน-สถาน ชมุ ชน ในลักษณะเครอื ขา่ ยการแนะแนว 9) เชอ่ื มโยงระบบแนะแนวและระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น 11. การพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา มหี น้าทร่ี บั ผิดชอบปฏิบตั ิงานดังน้ี 1) กำหนดมาตรฐานการศึกษาเพิ่มเติมของสถานศึกษาให้สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการศึกษาชาติ มาตรฐาน การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานมาตรฐานสำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาและความตอ้ งการของชุมชน 2) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ โดยจดั โครงสร้างการบรหิ ารทเ่ี อื้อต่อการพัฒนางานและการสร้างระบบ ประกันคุณภาพภายในจัดระบบสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่ ข้อมูล มีความสมบูรณ์เรียกใช้ง่าย สะดวก รวดเร็ว ปรบั ปรุงให้เป็นปัจจบุ ันอยู่เสมอ 3) จัดทำแผนสถานศึกษาทีม่ ่งุ เน้นคุณภาพการศึกษา (แผนกลยทุ ธ์/แผนยุทธศาสตร)์ 4) ดำเนินการตามแผนพัฒนาสถานศึกษาในการดำเนินโครงการ/กิจกรรมสถานศึกษาต้องสร้างระบบการ ทำงานที่เข้มแข็งเนน้ การมีส่วนร่วม และวงจรการพฒั นาคุณภาพของเดมมิ่ง (Deming Cycle) หรือที่รู้จักกนั วา่ วงจร PDCA 5) ตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษาโดยดำเนินการอย่างจริงจังต่อเนื่องด้วยการสนับสนุนให้ครู ผปู้ กครองและชุมชนเขา้ มามสี ่วนร่วม 6) ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานที่กำหนดเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพ ภายนอก 7) จัดทำรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี (SAR) และสรุปรายงานประจำปี โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานเสนอตอ่ หน่วยงานต้นสังกดั และเผยแพรต่ ่อสาธารณชน

12. การส่งเสรมิ ชมุ ชนให้มคี วามเข้มแขง็ ทางวชิ าการ มีหนา้ ท่ีรบั ผิดชอบปฏบิ ตั งิ านดังนี้ 1) จัดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องคก์ รเอกชน องคก์ รวิชาชีพ สถาบัน ศาสนา สถานประกอบการและสถาบันอ่นื 2) สง่ เสริมความเข้มแข็งของชุมชนโดยการจดั กระบวนการเรียนรู้ภายในชมุ ชน 3) ส่งเสริมให้ชุมชนมีการจัดการศึกษาอบรมมีการแสวงหาความรู้ ข้อมูล ข่าวสารและรู้จักเลือกสรรภูมิ ปัญญาและวทิ ยาการตา่ งๆ 4) พัฒนาชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการรวมทั้งหาวิธีการสนับสนุนให้มีการ แลกเปลย่ี นประสบการณ์ระหวา่ งชมุ ชน 13. การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาและองค์กรอื่น มีหน้าที่รับผิดชอบ ปฏิบัตงิ านดังนี้ 1) ระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ตลอดจนวิทยากรภายนอกและภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อเสริมสร้าง พฒั นาการของนกั เรียนทุกด้านรวมทงั้ สืบสานจารีตประเพณีศิลปวฒั นธรรมของท้องถน่ิ 2) เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน ตลอดจนประสานงานกับองค์กรทั้งภาครัฐและ เอกชน เพ่อื ใหส้ ถานศกึ ษาเปน็ แหล่งวทิ ยาการของชมุ ชนและมสี ่วนในการพฒั นาชุมชนและท้องถิ่น 3) ให้บริการดา้ นวิชาการทีส่ ามารถเชอ่ื มโยงหรือแลกเปล่ยี นขอ้ มูลขา่ วสารกับแหลง่ วิชาการ ในทอ่ี ่นื ๆ 4) จัดกิจกรรมร่วมชุมชน เพื่อส่งเสริมวัฒนธรรมการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับศิษย์เก่าการประชุม ผ้ปู กครองนกั เรยี น การปฏบิ ตั งิ านรว่ มกับชมุ ชน การรว่ มกจิ กรรมกบั สถานบันการศกึ ษาอน่ื เป็นตน้ 14. การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน สถานประกอบการ และ สถาบนั อน่ื ท่จี ัดการศึกษา มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบปฏิบตั ิงานดังนี้ 1) ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจต่อบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอืน่ ในเรื่องเกี่ยวกับสทิ ธิ ในการจัดการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน 2) จัดให้มีการสร้างความรู้ความเข้าใจ การเพิ่มความพร้อมให้กับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอื่นที่ร่วม จดั การศึกษา 3) ร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชมุ ชน องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ เอกชน องคก์ ร-เอกชน องค์ วชิ าชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอ่นื ร่วมกนั จัดการศึกษาและใชท้ รัพยากรรว่ มกันให้เกิด ประโยชน์สูงสุดแก่ผเู้ รียน 4) ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมการเรียนร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กร-วิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบ การณ์ และสถาบนั สังคมอ่นื

5) ส่งเสริมสนับสนุนให้บคุ คล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ เอกชน องค์กร เอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการณ์ และสถาบันสังคมอื่น ได้รับความช่วยเหลือทางด้าน วิชาการตามความเหมาะสมและจำเป็น 6) ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ทั้งด้านคุณภาพและปริมาณเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างมี ประสทิ ธิภาพ 15. การจัดทำระเบียบและแนวปฏิบตั ิเก่ียวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา มีหน้าที่รับผิดชอบปฏบิ ัติงาน ดงั น้ี 1) ศึกษาและวิเคราะห์ระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา เพื่อให้ผู้ที่ เกย่ี วข้องทกุ รายรับรูแ้ ละถือปฏิบตั เิ ปน็ แนวเดียวกนั 2) จัดทำร่างระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย รบั รู้และถอื ปฏบิ ัตเิ ปน็ แนวเดียวกนั 3) ตรวจสอบรา่ งระเบยี บและแนวปฏิบัตเิ ก่ียวกบั งานดา้ นวิชาการของสถานศึกษาและแก้ไขปรับปรุง 4) นำระเบยี บและแนวปฏิบตั ิเกย่ี วกบั งานดา้ นวิชาการของสถานศึกษาไปสู่การปฏบิ ตั ิ 5) ตรวจสอบและประเมินผลการใช้ระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษาและ นำไปแกไ้ ขปรับปรงุ ใหเ้ หมาะสมต่อไป 16. การคัดเลอื กหนงั สอื แบบเรยี นเพือ่ ใช้ในสถานศึกษา มหี น้าที่รบั ผิดชอบปฏิบตั ิงานดงั นี้ 1) ศึกษา วิเคราะห์ คัดเลือกหนังสือเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ ที่มีคุณภาพสอดคล้องกลับหลักสูตร สถานศึกษาเพอื่ เป็นหนังสือแบบเรยี นเพื่อใช้ในการจดั การเรยี นการสอน 2) จัดทำหนังสอื เรียน หนังสือเสริมประสบการณ์ หนังสืออ่านประกอบ แบบฝึกหัด ใบงาน ใบความรู้เพ่ือ ใชป้ ระกอบการเรยี นการสอน 3) ตรวจพิจารณาคุณภาพหนังสอื เรยี น หนังสอื เสริมประสบการณ์ หนังสอื อา่ นประกอบ แบบฝึกหัด ใบงาน ใบความร้เู พ่ือใชป้ ระกอบการเรยี นการสอน 17. การพัฒนาและใช้สอื่ และเทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษา มีหน้าทรี่ ับผิดชอบปฏบิ ัตงิ านดงั น้ี 1) จัดให้มีการร่วมกันกำหนดนโยบาย วางแผนในเรื่องการจัดหาและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ และ เทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษาของสถานศึกษา 2) พัฒนาบุคลากรในสถานศึกษาในเรื่องเกี่ยวกับการพัฒนาสื่อการเรียนรู้และเทคโนโลยี เพื่อการศึกษา พรอ้ มทั้งให้มกี ารจัดต้งั เครือขา่ ยทางวชิ าการ ชมรมวิชาการเพือ่ เปน็ แหลง่ เรยี นรูข้ องสถานศึกษา 3) พฒั นาและใชส้ ือ่ และเทคโนโลยีทางการศึกษาโดยมงุ่ เน้นการพัฒนาส่ือและเทคโนโลยที างการศึกษาท่ีให้ ข้อเท็จจริงเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆเกิดข้ึน โดยเฉพาะหาแหลง่ สื่อท่เี สริมการจดั การศึกษา ของสถานศึกษาให้ มปี ระสิทธภิ าพ 4) พฒั นาหอ้ งสมดุ ของสถานศกึ ษาให้เปน็ แหล่งการเรียนรูข้ องสถานศึกษาและชุมชน

5) นิเทศ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในการจัดหา ผลิตใช้และพัฒนาสื่อและ เทคโนโลยีทางการศึกษา 18. การรบั นกั เรียน หน้าทีร่ บั ผิดชอบปฏบิ ตั ิงานดงั น้ี 1) ให้สถานศึกษาประสานงานการดำเนินการแบ่งเขตพื้นที่บริการการศึกษาร่วมกัน และเสนอข้อตกลงให้ เขตพื้นที่การศกึ ษาเหน็ ชอบ 2) กำหนดแผนการรบั นักเรยี นของสถานศึกษา โดยประสานงานกบั เขตพน้ื ที่การศึกษา 3) ดำเนนิ การรับนักเรยี นตามทแ่ี ผนกำหนด 4) รว่ มมือกบั องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ชุมชน ในการติดตามช่วยเหลอื นกั เรยี นทมี่ ีปญั หาในการเข้าเรียน 5) ประเมินผลและรายงานผลรับเดก็ เขา้ เรยี นใหเ้ ขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาทราบ 19. การจัดทำสำมะโนนกั เรียน มีหน้าทร่ี ับผดิ ชอบปฏบิ ตั งิ านดังนี้ ทาง 1) ประสานงานกับชุมชนและท้องถิ่นในการสำรวจข้อมูล จำนวนนักเรียนที่จะเข้ารับบริการ การศกึ ษาในเขตบริการของสถานศึกษา 2) จัดทำสำมะโนผู้เรียนท่จี ะเขา้ รับบริการทางการศึกษาของสถานศึกษา 3) จัดระบบขอ้ มลู สารสนเทศจากสำมะโนผู้เรยี นใหเ้ ขตพ้ืนทีก่ ารศึกษารับทราบ 20. การทศั นศกึ ษา มหี นา้ ที่รับผิดชอบปฏิบตั ิงานดงั น้ี 1) วางแผนการนำนกั เรียนไปทศั นศึกษานอกสถานศึกษา 2) ดำเนินการนำนกั เรียนไปทศั นศึกษานอกสถานศึกษา ตามหลักเกณฑแ์ ละวิธีการท่ี กำหนด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook