Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ยุทธศาสตร์การดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต (รวมไฟล์)

ยุทธศาสตร์การดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต (รวมไฟล์)

Description: ยุทธศาสตร์การดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต (รวมไฟล์)

Search

Read the Text Version

ระยะเวลาการ ดาเนนิ งาน แนวทางการพัฒนา/แผนงาน/ หน่วยงาน 2565 โครงการสาคัญ รบั ผดิ ชอบ 2568 2567 2566 2565 78 4.5 พัฒนาระบบติดตามและประเมินผลกล่มุ ออมทรพั ยเ์ พ่ือการผลติ 1 ส่งเสรมิ การใชแ้ บบประเมินศักยภาพ สทอ. 1 ล กลุม่ ออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลติ ตาม บ หลักธรรมาภบิ าลในรูปแบบออนไลน์ 10 1 ลา้ น ล 2 ติดตามการดาเนินงาน สทอ./ บาท บ กลุ่มออมทรพั ย์เพ่อื การผลิต จงั หวดั / ให้เป็นไปตามแนวทางของ อาเภอ กรมการพัฒนาชุมชน 3 จดั ทาคมู่ อื ติดตามการสนบั สนุนการ สทอ. 0 ดาเนนิ งานกล่มุ ออมทรพั ย์เพื่อการผลิต ล แบบเสรมิ พลงั (Empowerment) บ รวมประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 : 14 โครงการ 40.43 4 ลา้ น ล รวมทัง้ สิน้ 53 โครงการ บาท บ รวมงบประมาณทงั้ สิ้น 776.32 ล้านบาท 161.33 1 ลา้ น ล บาท บ

78 งบประมาณ 2568 ตัวชวี้ ัด ค่าเป้าหมาย 2566 2567 ตัวชว้ี ัด/ เป้าหมาย การดาเนนิ งาน 11 2 มแี บบประเมนิ ศักยภาพ 1 แบบ ล้าน ล้าน ลา้ น กลมุ่ ออมทรพั ย์เพอ่ื การผลิตตามหลัก บาท บาท บาท ธรรมาภิบาลในรูปแบบออนไลน์ รอ้ ยละ 100 รอ้ ยละ 100 10 10 10 รอ้ ยละของกลมุ่ ออมทรพั ย์ รอ้ ยละ 100 ล้าน ลา้ น ล้าน เพือ่ การผลติ ทไี่ ด้รบั การติดตามการ รอ้ ยละ 100 บาท บาท บาท ดาเนินงาน - ปี 2565 1 ชุด 0.4 42.43 - ปี 2566 ล้าน ลา้ น - ปี 2567 บาท บาท - ปี 2568 220.03 จานวนชุดคมู่ อื ติดตามการสนับสนุน ลา้ น การดาเนนิ งานกล่มุ ออมทรพั ยเ์ พือ่ บาท การผลติ แบบเสรมิ พลงั (Empowerment) 41.83 41.43 ลา้ น ล้าน บาท บาท 195.63 199.33 ล้าน ลา้ น บาท บาท

33 ส่วนท่ี 5 ผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ 79

80 ส่วนท่ี 5 ผลผลิต ผลลพั ธ์ และผลกระทบ ผลผลิต 1. กลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลติ มีจานวนกลมุ่ เพิม่ ขึ้น จานวน 3,850 กลมุ่ 2. กลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลิต มีจานวนสมาชกิ เพม่ิ ข้นึ จานวน 1,037,500 คน 3. กลุ่มออมทรพั ยเ์ พือ่ การผลิต จานวนอย่างน้อย 15,378 กลมุ่ มีเงนิ สัจจะเพม่ิ ขึ้น 4. กลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลติ จานวนอย่างนอ้ ย 9,611 กลุ่ม มีการจดั สวสั ดิการชุมชน 5. กลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต จานวน 19,222 กลุ่ม เกิดผลการพัฒนาตามแนวทางการพัฒนา กล่มุ ออมทรพั ย์เพ่ือการผลิตแต่ละระดับพัฒนาของกลมุ่ 6. กลุม่ ออมทรพั ยเ์ พ่อื การผลติ จานวน 19,222 กลมุ่ มีการบรหิ ารจดั การตามหลักธรรมาภิบาล 7. กิจกรรมเครอื ข่ายกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต จานวนรวม 1,496 แห่ง มีการบรหิ ารจดั การ ท่ีเขม้ แขง็ 8. เครอื ข่ายกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต ทั้ง 4 ระดับ ได้แก่ ระดับตาบล ระดับอาเภอ ระดับ จงั หวัดและระดับประเทศ มกี ารแลกเปล่ียนเรยี นรรู้ ว่ มกัน 9. กลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต จานวน 19,222 กลุ่ม มีการให้บรกิ ารสินเชอื่ ท่ีมีคุณภาพ โดยคิด เป็นผลตอบแทนจากการลงทุน (Return on Investment : ROI) จากระยะเวลา 47 ปี คิดเป็นวงเงนิ ประมาณ 30,500,000,000 บาท 10. ผู้นาชุมชนที่ผ่านการพัฒนาด้วยกระบวนการกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต ด้านการบรหิ าร จดั การกลมุ่ และการบรหิ ารจดั การชุมชน คิดเปน็ จานวน 2,100,000 คน ผลลัพธ์ 1. ชุมชนมีกองทนุ ในชุมชนเพิม่ ขน้ึ ทาให้ประชาชนสามารถเขา้ ถึงแหล่งทนุ ได้ง่ายขน้ึ 2. สมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิตมีการออม เพื่อสร้างความม่ันคงในชีวติ ของตนเอง และครอบครวั 3. กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตสามารถให้บรกิ ารเงนิ กู้และการดาเนินกิจกรรมเครอื ข่าย เพื่อตอบสนองความต้องการของสมาชกิ ได้มากข้ึน 4. กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตสามารถจัดสวัสดิ การชุมชน ได้ ครอบคลุมและครบถ้วน ตามความต้องการของสมาชกิ และชุมชน 5. กลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิตได้รบั การพัฒนาตามระดับการพัฒนา ส่งผลต่อการบรหิ ารจดั การ กลุม่ ที่เขม้ แขง็ 6. การบรหิ ารจดั การกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิตมปี ระสิทธภิ าพและมีธรรมาภิบาล 7. เครอื ข่ายกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต ทั้ง 4 ระดับ มีการผนึกกาลังเช่ือมโยงประสานงาน ประสานการทางาน และประสานการเรยี นรรู้ ว่ มกัน 8. ผ้นู าชุมชนได้เรยี นรใู้ นการทางานเป็นทีม ตามวถิ ีประชาธปิ ไตยด้วยกระบวนการกลุ่ม 80

81 9. ผู้นาชุมชนได้เรยี นรูก้ ารบรหิ ารจัดการชุมชนของตนเอง ส่งผลต่อการเสรมิ สรา้ งความเข้มแข็ง ของชุมชน ผลกระทบ ด้านเศรษฐกิจ 1. การส่งเสรมิ ให้มีการจัดตั้งกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต ถือเป็นส่ิงท่ีดีมีคุณค่าต่อคุณภาพชีวติ ของคนในชุมชนในการแก้ไขปัญหาความเดือนรอ้ นทางการเงนิ และการสรา้ งหลักประกันคุณภาพชีวติ ท่ีดี ในอนาคต 2. สมาชกิ มีแหล่งเงนิ ทุนในชุมชนเพื่อนาไปประกอบอาชพี และนาไปใช้ในส่ิงท่ีจาเป็นสาหรบั ตนเอง และครอบครวั 3. การใช้ประโยชน์จากการกู้ยืมเงนิ ไปประกอบอาชพี ของสมาชกิ ก่อให้เกิดรายได้ ส่งผลให้สมาชกิ และครอบครวั มคี ุณภาพชวี ติ ท่ดี ีและมีความสุข 4. กิจกรรมเครอื ขา่ ยกลุ่มออมทรพั ย์เพอื่ การผลติ เป็นกิจกรรมทางธุรกิจชุมชนของกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลิต หรอื การลงทุนของกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลติ ท่ีก่อให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมเพิ่มขึ้น ทง้ั กิจกรรมการผลิต กิจกรรมการขายผลผลิต กิจกรรมการซอื้ -ขายการบรกิ าร และการบรโิ ภคของชุมชนเอง 5. การบรหิ ารจัดการของชุมชนด้วยกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต นาไปสู่การพึ่งตนเองของชุมชน ลดการพึ่งพาแหล่งเงนิ ทุนจากภายนอก ลดปัญหาหนี้นอกระบบ และการเป็นหน้ีซ้าซอ้ น ส่งผลต่อการพฒั นา เศรษฐกิจฐานรากให้ม่นั คง และชุมชนมีความเข้มแขง็ 6. ชุมชนมีเงนิ ทุนเป็นของตนเอง สมาชกิ มีโอกาสเข้าถึงแหล่งทุนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวติ ให้ดีขึ้นได้ อยา่ งเสมอภาคและเป็นธรรม แก้ไขปญั หาความยากจน ลดความเหลือ่ มล้าของสังคม ด้านสังคม 1. ชุมชนมีการน้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้กับตนเองและครอบครวั รูจ้ ักประหยัด สะสมเก็บออมเงนิ จัดแจงรายได้ของครอบครวั เกิดการพึ่งตนเอง เป็นการสรา้ งภูมิคุ้มกัน ให้ตนเองและครอบครวั ซง่ึ เปน็ รากฐานของชุมชนเข้มแขง็ 2. สมาชกิ เกิดความตระหนักในความสาคัญของการออมเงนิ การวางแผนทางการเงนิ เกิดความรสู้ ึก เป็นเจ้าของ และมีส่วนรว่ มในการดาเนินงานของกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต ส่งผลต่อการมีส่วนรว่ มสูง ในกิจกรรมการพฒั นาของชุมชนตนเองอน่ื ๆ 3. คณะกรรมการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตเกิดการเรยี นรู้ในการบรหิ ารจัดการกลุ่มออมทรพั ย์ เพอื่ การผลิตตามหลักธรรมาภิบาลได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 4. การจดั สวัสดิการและกิจกรรมสาธารณประโยชน์ของกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต ทาให้สามารถ ชว่ ยเหลือและดูแลสมาชกิ รวมไปถึงผู้ด้อยโอกาสในชุมชน ได้ครบทุกด้านและตรงความต้องการของสมาชกิ และประชาชนในชุมชน 5. ก่ อ เ กิ ด ก า ร ผ นึ ก ก า ลัง ช่ว ย เห ลือ เ ก้ื อ กูล แ บ่ ง ปั น กั น ดู แ ล กั น แ ละ กั น ข อ ง ค น ในชุ มชน เกิดความสมคั รสมานสามคั คีกันของคนในชุมชน 6. การส่งเสรมิ ให้กลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิตมีการบรหิ ารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลที่ดีนั้น แสดงให้เห็นถึงความเข้มแข็งของชุมชน ส่งผลต่อการพัฒนาสังคมและการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ให้มีความมัน่ คงและมีเสถียรภาพ 7. การส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรูแ้ ละการมีส่วนรว่ มของคนในชุมชน ในการรว่ มกันดาเนินกิจกรรม ของกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต เป็นกลไกในการบรหิ ารจัดการชุมชน ส่งผลต่อความเข้มแข็งของชุมชน 81

82 และมีความสอดคล้องกับการพัฒนาทางสังคม สู่สังคมแห่งการพึ่งพาตนเอง เกิดการเก้ือกูลกันในสังคมได้ อยา่ งยง่ั ยนื 8. การพัฒนาผู้นาชุมชน ด้านการพัฒนาภาวะผู้นา และการบรหิ ารจดั การกลุ่ม ทาให้เกิดการพัฒนา ผู้นาชุมชนในด้านการบรหิ ารจดั การชุมชน ส่งผลต่อความเข้มแขง็ ของชุมชน 9. กลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิตเป็นกิจกรรมท่ีมีมูลค่า นั่นคือมีปรมิ าณเงนิ สัจจะสะสมของสมาชิก นับได้ว่าเป็นกองทุนที่สาคัญของชุมชน และเป็นกิจกรรมท่ีมีคุณค่า ซ่ึงเป็นกิจกรรมท่ีส่งเสรมิ การเรยี นรู้ และการมสี ่วนรว่ มของคนในชุมชน 10. บุคลากรกรมการพัฒนาชุมชนทุกระดับ ได้เรยี นรูก้ ารพัฒนาคน และการพัฒนาผู้นาชุมชน ด้วยวธิ กี ารพฒั นาชุมชน และกระบวนการพฒั นาชุมชน เพอื่ สรา้ งการเรยี นรแู้ ละการมีส่วนรว่ มของคนในชุมชน 11. กลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิตถือเป็นงานหลัก หรอื งานเอกลักษณ์ของกรมการพัฒนาชุมชน เพราะเป็นงานตามภารกิจของกรมการพัฒนาชุมชน นั่นคือ การสรา้ งกระบวนการเรยี นรูแ้ ละการมีส่วนรว่ ม ข อ ง ค น ใ น ชุ ม ช น ด้ ว ย ก า ร ส่ ง เ ส ร มิ แ ล ะ ส นั บ ส นุ น ก า ร ด า เ นิ น ง า น ต า ม รู ป แ บ บ ก ร ะ บ ว น ก ารก ลุ่ม ซงึ่ สอดคลอ้ งกับปรชั ญาและหลกั การพัฒนาชุมชน ด้านการเมือง การปกครอง 1. การบรหิ ารจัดการกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิตในรูปแบบกลุ่ม เป็นการแบ่งความ รบั ผิดชอบ รว่ มกัน และเรยี นรูก้ ารทางานเป็นทีม เกิดการพฒั นาภาวะผ้นู า 2. การดาเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต เป็น กิจกรรมของประชาชน โดยประชาชน และเพ่อื ประชาชนในชุมชน เป็นการสรา้ งการมสี ่วนรว่ มของคนในชุมชน ทาให้เกิดความรสู้ ึกเป็นเจา้ ของ 3. การบรหิ ารจัดการกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต ใช้หลักประชาธิปไตยในการบรหิ ารจัดการ เป็นการใช้มติเสียงส่วนใหญ่ของสมาชกิ ได้เรยี นรูท้ ่ีจะยอมรบั ฟังความคิดเห็นซงึ่ กันและกัน สมาชิกทุกคน มีโอกาสแสดงความคิดเห็นได้เท่าเทียมกัน มีความสาคัญทัดเทียมกัน และได้รบั ประโยชน์จากการบรหิ าร จดั การกล่มุ เท่าเทียมกัน 4. ก ารดาเนินง านข อง ก ลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต เป็นการกระ จายอานาจโ ดยปร ยิ า ย เพราะเป็นการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อชุมชนของตนด้วยตนเอง และการมีเครอื ข่ายกลุ่มออมทรพั ย์ เพ่ือการผลิต ท้ังระดับตาบล อาเภอ จังหวัด และประเทศ นับได้ว่าเป็นการกระจายอานาจการตัดสินใจ ของประชาชน ด้านสิ่งแวดล้อม การจัดสรรผลกาไรที่เป็นการดาเนินงานของ กลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต สามารถพัฒนา หรอื สนับสนุนกิจกรรมสาธารณประโยชน์ของชุมชน ด้านการอนุรกั ษ์ หรอื การดูแลทรพั ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมของชุมชนได้ นับได้ว่าเป็นเคร่อื งมือในการบรหิ ารจัดการชุมชน และการมีส่วนร่วม ของกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิตในการพัฒนาของชุมชน ทาให้ชุมชนมีความน่าอยู่ น่าอาศัย สงบสุขและ รม่ เยน็ ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม 1. สมาชิกกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิตได้รบั การส่งเสรมิ และพัฒนาให้เกิดคุณธรรม 5 ประการ ทาให้คนในชุมชนมคี วามสุข เปน็ ชุมชนท่อี ยรู่ ว่ มกันด้วยความสามัคคีและเอื้ออาทรต่อกัน 2. การดาเนินงานของกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต เป็นการปลูกฝังให้สมาชิกมีคุณธรรมและ จรยิ ธรรม เป็นคนที่มีคุณงามความดี สามารถทาหน้าที่พลเมืองที่ดีของชุมชนและสังคม มีการปฏิบัติตน ตามกฎระเบียบและกฎหมายของบ้านเมือง เคารพในกฎกติกาของสังคม และมีพลงั ทางบวกในการมีส่วนรว่ ม ในการพฒั นาและแก้ไขปญั หาของชุมชนอยา่ งแขง็ ขัน 82

83 ด้านนวตั กรรม 1. กระบวนกลมุ่ ของกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พอื่ การผลติ เปน็ นวัตกรรมในการผนกึ กาลงั เปน็ การแสดงความ เป็นเอกภาพในการดาเนนิ งานและสรา้ งความรสู้ ึกความสัมพนั ธท์ ี่ดีต่อกัน 2. การบรหิ ารจดั การของกล่มุ และการมโี ครงสรา้ งคณะกรรมการบรหิ ารกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต ท่ีประกอบด้วย 4 คณะ เป็นนวัตกรรมด้านการบรหิ ารงานในรูปกลุ่ม และประสบการณ์เชิงประจักษ์ ด้านกระจายอานาจการตัดสินใจกลุ่ม 3. มกี ารใชน้ วตั กรรมด้านเทคโนโลยีในการบรหิ ารจดั การกลุ่ม ท้ังด้านการจดั การเอกสาร ระบบบญั ชี และการประชาสัมพนั ธข์ องกลมุ่ ทาให้การจดั การเอกสารและระบบบญั ชี มคี วามถูกต้อง โปรง่ ใส และสามารถ ตรวจสอบได้ 4. การส่งเสรมิ และพัฒนาเครอื ข่ายกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต ถือเป็นนวัตกรรมในการผนึกกาลัง และการกระจายอานาจในการตัดสินใจรว่ มกัน 5. การจัดสวัสดิการของกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต ถือเป็นนวัตกรรมเชิงสังคม ท่ีมุ่งแก้ไขปัญหา ตามความต้องการของสมาชกิ และชุมชน 6. การส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรูแ้ ละการสรา้ งการมีส่วนรว่ มของกล่มุ นับเป็นนวัตกรรมเชงิ ปญั ญา ท่ยี กระดับการพัฒนาศักยภาพของคนในชุมชน เปน็ ไปตามเป้าหมายของการพัฒนาชุมชน คือการพัฒนาคน 83

84

84

85 บรรณานุกรม กรมการพัฒนาชมุ ชน. (2547). ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน. กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร.์ กรมการพฒั นาชมุ ชน. (2556). การปฏิบัติงานส่งเสรมิ การดาเนินงานกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พ่ือการผลิตสาหรบั เจา้ หน้าที่พัฒนาชุมชน. กรงุ เทพฯ : สานักพฒั นาทุนและองค์กรการเงนิ ชุมชน. กรมการพฒั นาชุมชน. (2563). คู่มือหลักสูตรการบรหิ ารจดั การกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต. กรงุ เทพฯ : สานักพัฒนาทุนและองค์กรการเงนิ ชุมชน. การวเิ คราะห์ด้วย SWOT Analysis. [ออนไลน]์ . ม.ป.ป. แหล่งท่ีมา : https://www.moneywecan.com/swot-analysis, [ สืบค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2564]. จรี พรรณ กาญจนจติ รา. (2530). การพัฒนาชุมชน. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง. ธนาคารแห่งประเทศไทย. “8 ข้อเทจ็ จรงิ ปญั หาการเงนิ ของครวั เรอื นไทย” [ออนไลน]์ . 2564. แหลง่ ทีม่ า : http://www.bot.or.th, [ สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2564]. ธนาคารแห่งประเทศไทย. สรปุ ผลการสารวจทกั ษะทางการเงนิ (Financial Literacy) ปี 2559 และแนวทางการดาเนินการของ ธปท. [ออนไลน]์ . 2561. แหลง่ ทม่ี า : https://www.bot.or.th/Thai/AboutBOT/Activities/Documents/Article_23Aug2018_1.pdf, [ สืบค้นเม่ือ 27 เมษายน 2564]. ธรี พร ทองขะโชค. (2556). การจดั การขององค์กรชุมชน : กรณีศึกษากลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิตบ้านนาปรงั อาเภอนาทว ี จงั หวดั สงขลา. วารสารปารชิ าต มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ. ปรชี า เบ้ียมุกดา. (2537). ปจั จยั ท่ีมีผลต่อความสาเรจ็ ของโครงการพัฒนาชุมชน ศึกษาเปรยี บเทยี บ เฉพาะกรณีโครงการท่ีส่งเสรมิ การออมทรพั ยเ์ พื่อการผลิต อาเภอเมือง จงั หวดั ชยั ภูมิ. สารนิพนธ์ รฐั ศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร.์ ผูจ้ ดั การออนไลน.์ “บญั ชเี งนิ ฝากคนไทย “รวยกระจุก จนกระจาย” แนะล้วงตังค์ “เศรษฐ”ี กระต้นุ “จดี ีพี.” [ออนไลน์]. 2564. แหลง่ ท่ีมา : https://mgronline.com/daily/detail/9640000041514, [ สืบค้นเม่อื 30 พฤษภาคม 2564]. พรง้ ิ ขจร ธระเสนา. (2559). ทุนชุมชนที่สนับสนุนการจดั กองทุนสวัสดิการชุมชน : กรณีศึกษากองทนุ สวสั ดิการชุมชนเทศบาลตาบลบา้ นนา อาเภอศรนี ครนิ ทร์ จงั หวดั พัทลงุ . มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร.์ พัฒน์ บุญยรตั พนั ธ.ุ์ (2517). การสรา้ งพลังโดยขบวนการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. ไพรตั น์ เดชะรนิ ทร.์ (2527). การมีส่วนรว่ มของประชาชนในงานพัฒนา. กรงุ เทพฯ : ศักด์ิโสภาการพมิ พ.์ 85

86 ยวุ ัฒน์ วุฒิเมธ.ี (2534). การพัฒนาชุมชน : จากทฤษฎีสู่การปฏิบตั ิ. กรงุ เทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจากัด บางกอกบล็อก. วธิ กี ารวเิ คราะห์ด้วย SWOT Analysis . [ออนไลน์]. ม.ป.ป. แหลง่ ทม่ี า : https://thaiwinner.com/swot/, [ สืบค้นเมอื่ 5 ตลุ าคม 2564]. สนธยา พลศร.ี (2547). ทฤษฎีและหลกั การพัฒนาชุมชน. กรงุ เทพฯ : สานักพมิ พ์โอเดียนสโตร.์ สฤณี อาชวานันทกุล และปทั มาวดี โพชนกุ ลู . (2557). ค่มู ือองค์กรการเงนิ ชุมชน แนวทางการบรหิ ารจดั การ องค์กรการเงนิ ชุมชน. กรุงเทพฯ : มลู นิธสิ าธารณสุขแหง่ ชาติ. สานักงานพัฒนาชุมชนจงั หวดั พิษณโุ ลก. (2556). เอกสารประกอบการประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการเจา้ หน้าท่ี พัฒนาชุมชนในการส่งเสรมิ การดาเนินงานกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต. ม.ป.ท. สานักงานสถิติแห่งชาติ. “การออมของครวั เรอื นไทย ไตรมาสที่ 4 ปี 2563.” [ออนไลน]์ . 2564. แหลง่ ที่มา : http://www.nso.go.th, [ สืบค้นเมือ่ 30 พฤษภาคม 2564]. สุกิจ จุลลนันท์. (2508). การพัฒนาชุมชน ในทฤษฎีและแนวความคิดในการพัฒนาประเทศ. รวบรวมโดย อมร รกั ษาสัตย์ และขัตติยา กรรณสูตร. พระนคร : มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร.์ สุดใจ กรองทอง. (2553). ปจั จยั ทสี่ ่งผลต่อความเข้มแข็งในการดาเนินงานกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต ในเขตจงั หวัดบุรรี มั ย.์ วทิ ยานิพนธ์ ปรญิ ญารฐั ศาสตรมหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏมหาสารคาม. หลักการวเิ คราะห์ด้วย TOWS Metrix [ออนไลน์]. ม.ป.ป. แหลง่ ที่มา : https://www.thinkaboutwealth.com/tows-matrix, [ สืบค้นเมอื่ 5 ตุลาคม 2564]. หลักธรรมาภิบาล. [ออนไลน]์ . ม.ป.ป. แหลง่ ทมี่ า : http://province.moph.go.th/chana/download/ หลกั ธรรมาภิบาล.pdf, [ สืบค้นเมื่อ 27 เมษายน 2564]. อสิ รนันท์ ทรงเนติเชาวลติ . (2557). ปจั จยั ทีส่ ่งผลต่อประสิทธภิ าพการดาเนินงานกลุ่มออมทรพั ย์ เพ่ือการผลิต จงั หวดั นครปฐม. วทิ ยานพิ นธ์ ปรญิ ญาศิลปศาสตรมหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร. FORBES THAILAND. ผลตอบแทนทางสังคม เรอ่ ื งน่าสนใจสู่องค์กรยง่ั ยนื . [ออนไลน]์ . 2561. แหลง่ ท่มี า : https://forbesthailand.com/commentaries/insights/ผลตอบแทนทางสังคม-เรอ่ ื ง.html, [ สืบค้นเมอื่ 27 เมษายน 2564]. 86

87 ภาคผนวก 87

88 88

89 89

90 90

91 91

92 92

93 93

94 94

95 95

96 946

97 97

98 98

99 99

100 19040

101 101

102 102

คณะผู้จดั ทำ ประธำนท่ปี รกึ ษำ ดร.ยุวัฒน์ วฒุ เิ มธี ทปี่ รกึ ษำ นำยสุทธพิ งษ์ จุลเจรญิ ปลัดกระทรวงมหำดไทย นำยสมคิด จนั ทมฤก อธบิ ดีกรมกำรพฒั นำชุมชน นำยนวิ ัติ นอ้ ยผำง รองอธบิ ดีกรมกำรพัฒนำชุมชน นำยสุรศักด์ิ อกั ษรกุล รองอธบิ ดีกรมกำรพัฒนำชุมชน นำยไพบลู ย์ บูรณสันติ ผเู้ ชยี่ วชำญด้ำนกำรพัฒนำเศรษฐกิจ ฐำนรำกและประชำรฐั คณะผู้จดั ทำ นำงวไิ ลวรรณ ไกรโสดำ รองอธบิ ดีกรมกำรพฒั นำชุมชน นำยเส่ง สิงหโ์ ตทอง อดีตประธำนกรรมกำรบรหิ ำรสหกรณ์ออมทรพั ย์ กรมกำรพฒั นำชมุ ชน นำยสุพจน์ อำวำส ผูท้ รงคุณวุฒิ ดร.ปรดี ี โชติชว่ ง ผู้ทรงคุณวุฒิ นำยกิตติพงศ์ บญุ ยงิ่ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ นำยชยั วฒั น์ แสงศร ี ผตู้ รวจรำชกำรกรมกำรพฒั นำชุมชน นำยทรงพล วชิ ยั ขทั คะ ผอู้ ำนวยกำรสำนักพัฒนำทนุ และองค์กรกำรเงนิ ชุมขน นำงเตือนใจ อุ่นจนั ทร์ ผอู้ ำนวยกำรกลมุ่ งำนสง่ เสรมิ และพัฒนำทุนชุมชน ประธำนกลมุ่ ออมทรพั ย์เพอ่ื กำรผลิตบ้ำนดอนคำ อำเภอพรหมคีร ี จงั หวดั นครศรธี รรมรำช ประธำนกล่มุ ออมทรพั ย์เพอ่ื กำรผลิตบำ้ นป่ำแดง อำเภอหนองใหญ่ จงั หวดั ชลบุร ี ประธำนกลุม่ ออมทรพั ยเ์ พอ่ื กำรผลิตบำ้ นชำกไทย อำเภอเขำคิชฌกูฏ จงั หวดั จนั ทบรุ ี นำยธรี ะพล ค่คู ิด ผู้อำนวยกำรกล่มุ กฎหมำย กองทุนพัฒนำบทบำทสตร ี ดร.ประภำพรรณ ว่นุ สุข รกั ษำกำรในตำแหนง่ ผู้อำนวยกำรกลุ่มงำนวเิ ครำะห์ ข้อมูลสำรสนเทศชุมชน นำยณัฐพจน์ บุญคง นักวชิ ำกำรตรวจสอบภำยในชำนำญกำร นำงสำวมยุร ี เย็นประเสรฐิ นักวชิ ำกำรพฒั นำชุมชนชำนำญกำร นำยชำลี ชูชี นักวชิ ำกำรพฒั นำชุมชนชำนำญกำร ว่ำที่ ร.ต.หญิงลดำ เสรเี รอื งยทุ ธ นักวชิ ำกำรพฒั นำชุมชนชำนำญกำร นำงสำวพัชร ี ศรสี ุวรรณ์ นักวชิ ำกำรพฒั นำชุมชนชำนำญกำร นำงสำวกนกพรรณ กลบี ขจร นักวชิ ำกำรพฒั นำชุมชนชำนำญกำร นำงสำวธญั ญ์นภัส รวหิ ิรณั ยกรณ์ นักวชิ ำกำรพฒั นำชุมชนชำนำญกำร นำยธนพล ทองแตง นักวชิ ำกำรพฒั นำชุมชนชำนำญกำร นำยณัฐพล ปำลวิ นชิ นักวชิ ำกำรพฒั นำชุมชนชำนำญกำร นำงสำวปฏิญญำ ปงหำญ นักวชิ ำกำรพฒั นำชุมชนชำนำญกำร นำงสำวจติ รำนชุ เกียรติอดิศร นักวชิ ำกำรพฒั นำชุมชนชำนำญกำร นำยกฤษฎำ ก๋ำใจ นักวชิ ำกำรพฒั นำชุมชนปฏิบตั ิกำร นำงสำวกรรม์ภิรมย์ สุรยิ ะศร ี นักวชิ ำกำรพฒั นำชุมชนปฏิบตั ิกำร 103

ผู้วเิ ครำะห์/เรยี บเรยี ง นำยทรงพล วชิ ยั ขัทคะ ผอู้ ำนวยกำรสำนักพฒั นำทุนและองค์กรกำรเงนิ ชุมชน นำงเตือนใจ อุ่นจนั ทร์ ผู้อำนวยกำรกลมุ่ งำนส่งเสรมิ และพฒั นำทนุ ชุมชน นำงสำวกรรม์ภิรมย์ สุรยิ ะศร ี นักวชิ ำกำรพฒั นำชุมชนปฏิบตั ิกำร พิสูจน์อักษร นำงสำวกรรมภ์ ิรมย์ สุรยิ ะศร ี นักวชิ ำกำรพฒั นำชุมชนปฏิบตั ิกำร ออกแบบรูปเล่ม นำงสำวกรรมภ์ ิรมย์ สุรยิ ะศร ี นักวชิ ำกำรพฒั นำชุมชนปฏิบตั ิกำร เดือน ปี ทจ่ี ดั พิมพ์ ธนั วำคม ๒๕๖๔ จำนวนท่พี ิมพ์ 1,000 เลม่ ISBN 978-974-423-173-4 พิมพ์ท่ี บรษิ ัท บีทเี อส เพรส จำกัด 139 ซอยรำมอนิ ทรำ 19 ถนนรำมอินทรำ แขวงอนสุ ำวรยี ์ เขตบำงเขน กรุงเทพฯ 10220 จดั พิมพโ์ ดย สำนักพฒั นำทนุ และองค์กรกำรเงนิ ชุมชน กรมกำรพัฒนำชุมชน กระทรวงมหำดไทย 104