Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 2 animation

บทที่ 2 animation

Published by waranya_dat, 2016-07-08 05:18:30

Description: บทที่ 2 animation

Keywords: animation

Search

Read the Text Version

ประเภทและรูปแบบของแอนิเมชนั Waranya Dathpong

ประเภทของแอนเิ มชนั Waranya Dathpong

2D Animation คือ ภาพเคล่ือนไหวแบบ 2 มิติ มองเห็นท้ังความสูงและความกว้าง ซ่ึงจะมีความเหมือนจริงพอสมควรและในการสร้างจะไม่สลับซับซ้อนมากนักตัวอย่าง เช่น การ์ตูนเรื่อง One Piece โดเรมอน หรือ ภาพเคล่ือนไหวท่ีปรากฏตามเว็บตา่ งๆ รวมทง้ั Gif Animation Waranya Dathpong

ตวั อย่าง 2D

Doraemon Waranya Dathpong

One Piece Waranya Dathpong

เร่อื งอ่นื ๆ Waranya Dathpong

3D Animation คือ ภาพเคลื่อนไหวแบบ 3 มิติมองเห็นท้ังความสูงความกว้าง และความลึก ภาพที่เห็นจะมคี วามสมจริงมากถงึ มากท่ีสุด เช่น ภาพยนตร์เรื่อง Toy Story , NEMO Waranya Dathpong

ตวั อย่าง 3D

Toy Story Waranya Dathpong

Nemo Waranya Dathpong

เร่อื งอ่นื ๆ Waranya Dathpong

2D & 3D Waranya Dathpong

เปรยี บเทียบ 2D และ 3D Waranya Dathpong

เปรยี บเทียบ 2D และ 3D Waranya Dathpong

เปรยี บเทียบ 2D และ 3D Waranya Dathpong

เปรยี บเทียบ 2D และ 3D Waranya Dathpong

เปรยี บเทียบ 2D และ 3D Waranya Dathpong

เปรยี บเทียบ 2D และ 3D Waranya Dathpong

เปรยี บเทียบ 2D และ 3D Waranya Dathpong

รปู แบบของแอนิเมชัน มี 3 แบบ คอื1. การสร้างงานแอนิเมชน่ั แบบดงั้ เดมิ (Traditional Animation หรือ Drawn Animation) แต่กอ่ นเราจะได้ยินช่ือ Cel animationหมายถึง การวาดภาพด้วยมือลงบนแผ่นเซลใสทีละแผ่น แล้วนาไปวางซ้อนบนภาพแบ็คกราวด์ (ซึ่งอาจวาดด้วยมือเหมือนกัน หรือเป็นภาพถ่ายก็ได้) จากน้ันก็ใช้กล้องถ่ายไว้ทีละเฟรมก่อนจะนาไปฉายให้ดเู หมือนเคล่ือนไหว

การสร้างแอนิเมชันแบบน้ี ถือว่า เป็นกระบวนการท่ีใช้สาหรับการสร้างภาพเคลื่อนไหวภาพยนตร์มากที่สุด เป็นการสร้างชิ้นงานแอนิเมช่ันด้วยภาพวาดซึ่งจะมีการวาดภาพลงบนกระดาษก่อน เพอ่ื สรา้ งภาพลวงตาของการเคล่ือนไหว แต่ละรูปวาดจะแตกต่างกันเล็กน้อย หลายพันภาพ และฉายภาพเหล่านั้นผ่านกล้องบันทึกภาพ หรือกล้องวิดีโอ ต้องอาศัยความสามารถทางศิลปะในการวาดภาพอย่างมาก ทาให้ต้องใช้เวลาในการผลติ นานและต้นทนุ ในการผลิตจงึ สูงตามไปด้วย Waranya Dathpong

ตวั อยา่ ง

Tom & Jerry Waranya Dathpong

2. Stop Motion หรอื เรียกว่า Model Animation เ ป็ น ก า ร ถ่ า ย ภ า พ แ ต่ ล ะ ข ณ ะ ข อ งหุ่นจาลองท่ีค่อยๆ ขยับ อาจจะเป็นของเล่นหรอื อาจจะสรา้ งจาก plasticine วสั ดุท่ีคล้ายกับดินน้ามัน โดยโมเดลที่สร้างขึ้นสามารถใช้ได้อีกหลายคร้ัง และยังสามารถผลิตได้หลายตัว แต่การทา stop motion ต้องอาศยัเวลาและความทุ่มเทมาก เพราะบริษัทท่ีผลิตภาพยนตร์เรื่อง James and Giant Peachสามารถผลิตไดว้ ันละ 10 วินาทีเท่าน้ัน Waranya Dathpong

Waranya Dathpong

James and Giant Peach

เทคนคิ การทา Stop Motion2.1 เคลยแ์ อนเิ มช่ัน (Clay animation) เรียกย่อๆ ว่า เคลย์เมชน่ั / claymation) คอื แอนิเมชั่นท่ีใช้หุ่นซึ่งทาจากดินเหนียว ข้ีผ้ึง หรือวัสดุใกล้เคียง โดยใส่โครงลวดไว้ขา้ งในเพ่ือให้ดัดทา่ ทางได้ Wallace and Gromitงานเคลย์เมชนั่ สดุ ดังของค่าย อาร์ดแมน

2.2 คัตเอาต์แแอนเิ มชัน (Cutout animation) สมัยก่อนแอนิเมชันแบบนี้ทาโดยใช้วัสดุ 2 มิติ (เช่นกระดาษ, ผ้า) ตัดเป็นรูปต่างๆ และนามาขยับเพ่ือถ่ายเก็บไว้ทีละเฟรม แต่ปัจจุบันใช้วิธีวาดหรือสแกนภาพเข้าไปขยับในคอมพิวเตอรไ์ ดเ้ ลยSouth Park ทาจากกระดาษตัดจริงๆ แต่ปัจจุบันใช้วิธีทาภาพด้วยคอมพิวเตอร์ Waranya Dathpong

2.3 กราฟกิ แอนิเมชัน (Graphic animation) เป็นเทคนิคท่ีเกิดจากการนากล้องมาถ่ายภาพนิ่งต่างๆที่เราเลอื กไว้ (จะเป็นภาพจากนติ ยสารหรือหนังสือพิมพ์กไ็ ด้) ทีละภาพ ทีละเฟรม แล้วนามาตัดต่อเข้าด้วยกันเหมือนเทคนิคคอลลาจ (collage – ปะติด) โดยอาจใช้เทคนิคแอนิเมชันแบบอนื่ มาประกอบด้วยกไ็ ด้ Frank Film หนังสน้ั ชนะออสการ์ปี 1973 ของ แฟรงค์ โมริส

2.4 โมเดลแอนิเมชัน (Model animation) การทาตัวละครโมเดลขึ้นมาขยบั แลว้ ซ้อนภาพเข้ากบัฉากท่ีมคี นแสดงจรงิ และแบ็คกราวดเ์ หมือนจรงิ King Kong ฉบบั ดั้งเดิมของ วิลลสิ โอเบรยี น Waranya Dathpong

2.5 แอนิเมชันท่เี ลน่ กับวัตถุอน่ื ๆ (Object animation) ไม่ว่าจะเป็นของเล่น หุ่น ตุ๊กตา ตัวต่อเลโก้ หรือ อะไรก็ตามที่ไม่ใช่วัสดุซึ่งดัดแปลงรูปร่างหน้าตาได้แบบดินเหนียว The Nightmare Before Christmas(1993) ของ ทมิ เบอรต์ นั ใชห้ นุ่ (Puppet) * * หุ่น (Puppet) เป็นหุ่นท่เี ชดิ โดยใชม้ ือจบั แกนลาตวั หนุ่ แลว้ เชดิ จากด้านลา่ ง

2.6 พกิ ซิลเลช่ัน (Pixilation) เปน็ สตอ็ ปโมช่ันทใ่ี ชค้ นจริงๆ มาขยับท่าทางทีละนิดแล้วถ่ายไว้ทีละเฟรม เทคนิคนีเ้ หมาะมากถ้าเราทาแอนิเมชันท่ีมีหุ่นแสดงร่วมกับคน และอยากให้ทั้ง หุ่นทั้งคนดูเคลื่อนไหวคล้ายคลงึ กัน หรอื ทีอ่ ยากไดอ้ ารมณ์กระตุกๆ Neighbours (1952) หนงั ส้ันของ นอรแ์ มน แม็กลาเรน Waranya Dathpong

ตัวอย่าง Stop Motion Waranya Dathpong

3. Computer Animation ปัจจุบันมีซอฟแวร์ที่สามารถช่วยให้การทาแอนิเมชันง่ายขนึ้ เช่น โปรแกรม MAYA 3D MAX Adobe Flash วิธีน้เี ป็นวิธที ่ปี ระหยัดเวลาการผลติ และลดต้นทนุ เป็นอย่างมาก Waranya Dathpong

MAYA - Maya (โปรแกรม Maya ทาแอนเิ มช่ัน สรา้ งการต์ ูน Animation)โปรแกรม AutoDesk Maya เปน็ โปรแกรมทาแอนิเมชน่ั 3 มิติ (3D) ชั้นสงู ที่หนงัแอนเิ มช่ัน ตา่ งๆ นยิ มใชส้ ร้างกนั นิยมนาไปใชส้ รา้ งการ์ตนู Animation 3 มติ ิ

3D MAX - ออโตเดสก์ 3 ดเี อสแมกซ์ (Autodesk 3ds Max) (ในชือ่เดมิ 3D สตูดิโอแมกซ์ (3D Studio MAX) เปน็ ซอฟตแ์ วรเ์ พื่องานกราฟกิ สส์ ามมติ จิ ากบรษิ ัทออโตเดสกด์ ้านกราฟกิ ส์สาหรับงานทางด้าน โมเดล 3 มติ ิ และ แอนเิ มชัน

Adobe Flash - โปรแกรม Flash เป็นซอฟตแ์ วรท์ ่ีชว่ ยในการสรา้ งสอ่ื มัลติมเี ดีย, ภาพเคล่ือนไหว (Animation), ภาพกราฟกิ ทีม่ ีความคมชัด เน่ืองจากเปน็ กราฟกิ แบบเว็คเตอร์(Vector)* , สามารถเล่นเสยี งและวดี ิโอ แบบสเตริโอได้, สามารถ สรา้ งงานใหโ้ ตต้ อบกับผใู้ ช้* ภาพเวกเตอร์ คือ ภาพทีข่ ยายแลว้ ไม่แตก มขี นาดเล็ก และสามารถย่อขยายได้โดยไมเ่ สยี ความละเอียดไป Waranya Dathpong

งานคร้ังต่อไป ส่ังวนั ท่ี 1 ก.ย.571.เตรยี มกระดาษแขง็ สองหน้า จะเป็นขาวลว้ นหรือสกี ไ็ ด้2.เตรียมเชือกกลมเสน้ เล็กไว้สาหรับผกู ดา้ นข้าง 2 เสน้3.กรรไกร4.สีไม้หรือสเี มจกิ ็ได้เพอ่ื นามาระบายรูปทว่ี าด หรือสีอืน่ ๆ (ถ้ามี)แล้วแต่ความชอบ * นักศึกษาสามารถตัด กระดาษเตรียมมาก่อนได้ ขนาดความกว้างเทา่ กระดาษกาวสองหนา้ (ขอบด้านใน) Waranya Dathpong


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook