Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 2 นโยบายเกี่ยวกับอนามัยสิ่งแวดล้อม

บทที่ 2 นโยบายเกี่ยวกับอนามัยสิ่งแวดล้อม

Published by dumrongsak3006, 2020-03-23 00:44:14

Description: บทที่ 2 นโยบายเกี่ยวกับอนามัยสิ่งแวดล้อม

Search

Read the Text Version

แผนการสอน รายวิชาอนามัยส่ิงแวดลอ้ ม บทท่ี 2 นโยบายเกยี่ วกับอนามัยสง่ิ แวดลอ้ ม หัวขอ้ 2.1 แนวคดิ และจุดมุ่งหมายของนโยบาย 2.2 การจัดทานโยบาย 2.3 การดาเนนิ งานทางดา้ นอนามัยส่งิ แวดลอ้ มทด่ี ี 2.4 การกาหนดนโยบายอนามัยสง่ิ แวดลอ้ ม 2.5 วิธกี ารเผยแพรน่ โยบายภายในองคก์ ร 2.6 วิธกี ารเผยแพรภ่ ายนอกองคก์ ร 2.7 วธิ ีการทบทวนและปรบั ปรุงนโยบายอนามยั ส่งิ แวดล้อม 2.8 ข้อตกลงเก่ียวกบั นโยบายอนามยั ส่ิงแวดล้อม 2.9 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท1่ี 2 2.10 กิจกรรมท่ี 1 สรุปประเดน็ ปญั หาส่ิงแวดลอ้ มท่ีสง่ ผลต่อภาวะสขุ ภาพ 2.11แบบฝึกหดั ประจาบทท่ี 2 2.1 แนวคิดและจดุ มุ่งหมายของนโยบาย คือแถลงการณ์ขององค์กรถงึ ความตั้งใจ มุ่งมัน่ และหลกั การในการทางานดา้ นการจัดการ อนามัยสงิ่ แวดล้อมโดยรวม เพอื่ สภาพแวดลอ้ มทด่ี ีของสังคม นโยบายจึงเปน็ กรอบสาหรับการดาเนนิ การของ องค์กร และเพ่อื การจัดตัง้ วัตถุประสงค์และเปา้ หมายของอนามยั ส่งิ แวดล้อม นโยบายเป็นตัวสาคญั ในการขับเคล่ือนกลไกในการปฏบิ ตั ิ และปรับปรงุ ระบบการจัดการอนามยั สงิ่ แวดล้อม ขององค์กร เพ่อื ให้สามารถรกั ษาและปรับปรงุ ผลงานดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม ซงึ่ ต้องสอดคล้องกับกฎหมาย และระบุ ถึงความตั้งในมุง่ มัน่ ของผู้บรหิ ารระดับสูงในอนั ทีจ่ ะปฏบิ ตั ิตามกฎหมายและปรบั ปรงุ ระบบให้ดีขน้ึ เร่ือย ๆ เพ่ือ ประโยชนท์ างการค้า การดาเนนิ การ และอน่ื ๆ นโยบายตอ้ งชัดเจนและง่ายต่อการอธบิ ายต่อคนงานในองค์กรและ ผ้สู นใจทวั่ ไปพร้อมทั้งสามารถ ปรบั เปลีย่ นใหท้ นั ตอ่ เหตุการณ์และข้อมูลอยู่เสมอ นโยบายน้ยี งั ควรสอดคล้องกับนโยบายด้านอื่น ๆ ของ องค์กร เชน่ นโยบายด้านคณุ ภาพ ความปลอดภยั ฯลฯ นโยบายควรสะท้อนถงึ สภาวะและข้อมูลที่ เปล่ยี นแปลงไป นโยบายจะนาไปใช้กบั ส่วนงานใดบา้ งก็ควรจะชี้บ่งใหช้ ัดเจนลงไป ผ้บู รหิ ารสูงสดุ ขององค์กร ควรกาหนดนโยบายสิ่งแวดล้อมและจัดทาเป็นเอกสาร ในกรณีท่ีองค์กรนเี้ ปน็ สว่ นหน่ึงขององค์กรใหญ่ นโยบายควรอยู่ในกรอบของนโยบายขององค์กรใหญ่ โดยทอี่ งค์กรใหญ่น้ันยอมรับดว้ ย ซึ่งผู้บริหารอาจเป็น บคุ คลคนเดยี วหรอื เป็นคณะกรรมการก็ได้ ซง่ึ มีหน้าทรี่ บั ผิดชอบในการดาเนินงานโดยรวมขององค์กรน้ัน ๆ 2.2 จานวนช่ัวโมงเรียน ภาคบรรยาย 2 ชัว่ โมง [Date] 1 บทที่ 2 นโยบายเก่ียวกบั อนามยั สง่ิ แวดล้อม

2.3 จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. เพื่อจะได้รับร้ใู นเร่ืองนโยบายและเข้าใจนโยบายทั้งอดีตและปจั จบุ นั 2. เพอ่ื จะไดท้ ราบถึงกระบวนการต่างๆ ของการกาหนดนโยบายนน้ั มขี นั้ ตอนเป็นอย่างไร 3. เพ่อื จะไดท้ ราบและวัดได้ทันทวี า่ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของสถาบนั ทก่ี าหนดนโยบายวา่ เป็นอย่างไร 4. เพื่อจะชว่ ยให้ไดท้ ราบถงึ วธิ กี ารตา่ งๆ ในการวเิ คราะห์ปัญหาทางสิ่งแวดล้อมอย่างมเี หตแุ ละมีผล 2.4 จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม 2.5 เนอื้ หาสาระ ภาคบรรยาย ภาคปฏิบัติ 2.6 สอ่ื การเรยี นการสอน แผน่ สไลด์บรรยาย (power point) 2.7 เอกสารประกอบการสอน เอกสารประกอบการสอน ประกอบดว้ ยแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ แผนพัฒนา สาธารณสุข ฉบบั ที่12 นโยบายกระทรวงสาธารณสุขเกย่ี วกับสิ่งแวดล้อม 2.8 การวดั ผลและประเมินผล - สอบเตรียมความพรอ้ มกอ่ น-หลงั เรียนประจาสัปดาห์ สรปุ เนื้อหาท่ีเรยี น/ใบงาน/ความรู้ที่ได้รบั ลงสมดุ บนั ทึกทา้ ยชวั่ โมงบรรยาย การเขา้ ช้ันเรียน/การส่งใบงานตามเวลากาหนด - สอบขอ้ เขียนกลางภาค - สอบขอ้ เขยี นปลายภาค [Date] 2 บทท่ี 2 นโยบายเก่ียวกบั อนามยั สง่ิ แวดล้อม

บทท่ี 2 นโยบายเกี่ยวกับอนามัยสง่ิ แวดลอ้ ม หวั ข้อ 2.1 แนวคิดและจดุ ม่งุ หมายของนโยบาย หนา้ 3 2.2 การจดั ทานโยบาย หนา้ 3 2.3 การดาเนนิ งานทางด้านอนามยั ส่งิ แวดล้อมท่ดี ี หนา้ 3 2.4 การกาหนดนโยบายอนามยั สิง่ แวดล้อม หนา้ 4 2.5 วธิ กี ารเผยแพร่นโยบายภายในองคก์ ร หน้า 5 2.6 วิธกี ารเผยแพรภ่ ายนอกองค์กร หน้า 5 2.7 วธิ ีการทบทวนและปรับปรงุ นโยบายอนามัยสง่ิ แวดล้อม หนา้ 5 2.8 ข้อตกลงเกีย่ วกบั นโยบายอนามัยส่ิงแวดล้อม หน้า 6 2.9 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่12 หนา้ 7 2.10 กจิ กรรมท่ี 1 สรุปในประเด็นปญั หาสงิ่ แวดล้อม หนา้ 11 2.11แบบฝกึ หดั ประจาบทที่ 2 หนา้ 16 2.1 แนวคดิ และจุดมงุ่ หมายของนโยบาย นโยบายอนามยั ส่ิงแวดลอ้ มจะตอ้ งเผยแพร่ให้กับบคุ ลากรภายในองค์กรได้ทราบ โดยการกาหนด ลกั ษณะการดาเนนิ งานที่สาคัญท่แี สดงถึงจุดมงุ่ หมายขององคก์ ร นโยบายอนามัยสงิ่ แวดลอ้ มเป็นตวั กาหนด ทิศทางและแสดงความมุ่งมั่นในการดาเนนิ งานด้านสง่ิ แวดลอ้ มขององค์กร ผบู้ ริหารสงู สุดขององค์กรต้อง กาหนดและเผยแพร่นโยบายอนามยั สง่ิ แวดล้อม โดยพิจารณาใหเ้ หมาะสมกับลกั ษณะ ประเภท ขนาดของ ธุรกจิ และปัญหาด้านสิ่งแวดลอ้ ม ขององค์กร นโยบายสง่ิ แวดลอ้ มต้องมีความเฉพาะเจาะจง ชดั เจนและเปน็ ท่ี เขา้ ใจไปในทศิ ทางเดยี วกัน ท้ังภายในองค์กร ตลอดถงึ ผู้มสี ่วนได้ส่วนเสยี และจะต้องมีการทบทวนและปรบั ปรุง นโยบายอนามัยส่ิงแวดล้อมเป็นระยะๆ ใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ทีเ่ ปล่ียนไป 2.2 การจัดทานโยบาย ในการจัดทานโยบายนนั้ จะต้องมีการดาเนนิ การโดยผู้บริหารสงู สุดเปน็ หลัก หรอื เปน็ ผูช้ ้ีแนวทาง ในการจัดทานโยบายที่ถูกตอ้ ง และผ้ดู าเนนิ การจะตอ้ งเป็นผู้จัดทานโยบายและนานโยบายไปปฏิบัติ ซึ่งมี แนวทางในการกาหนดเพือ่ ให้ตอบสนองต่อกลุ่มเปา้ หมายต่าง ๆ ท่เี ก่ียวข้องกบั องค์กรเช่น ผ้รู ่วมถือหนุ้ ผู้ร่วม ลงทุน ชุมชนรอบข้างหรือเพ่ือนบ้าน ผรู้ ับประกัน คู่แข่งทางธุรกจิ องคก์ รอิสระดา้ นสิง่ แวดล้อม ผ้กู าหนด กฎหมาย ผสู้ ง่ มอบวตั ถุดิบ ความคดิ เห็นของชมุ ชน พนกั งานในองค์กร ผูบ้ รโิ ภค เป็นตน้ กลุม่ บคุ คลเหล่าน้ีคือ บคุ คลที่จะรบั ทราบถึงนโยบายขององค์กร ซึง่ เป็นท่แี น่นอนวา่ แต่ละกลมุ่ ก็ต้องการรบั ขอ้ มูลหรอื ผลประโยชน์ ทางดา้ นนโยบายสง่ิ แวดลอ้ มแตกตา่ งกนั ไป 2.3 การดาเนินงานทางดา้ นอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ดี [Date] 3 บทที่ 2 นโยบายเกี่ยวกบั อนามยั สง่ิ แวดล้อม

การแสดงถึงการดาเนนิ งานทางด้านสงิ่ แวดล้อมและสรา้ งความสมั พนั ธ์อันดี รวมไปถงึ ภาพพจน์ท่ี ดตี ่อสงั คมและชุมชน จะเห็นไดว้ า่ ความแตกต่างของกลมุ่ บุคคลยอ่ มมจี ดุ ประสงคใ์ นการรับข้อมูลข่าวสาร แตกต่างกนั ไป และไม่ใช่วา่ องค์กรใดทไี่ ม่มนี โยบายสง่ิ แวดล้อมจะไม่มีการดาเนนิ งานด้านสง่ิ แวดลอ้ มในองค์กร ในบางองค์กรจะรวมเอาเร่อื งของสิ่งแวดล้อมอยใู่ นการดาเนินงานขององคก์ รด้วยแล้ว ซ่งึ โดยมากจะรวมถึง ดา้ นสขุ ภาพอนามยั ความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม แรงงานสมั พันธ์ ซง่ึ มาตรการเหล่านีท้ ราบกันดใี นแง่ของ มาตรการทางด้านสงั คม ซ่งึ เป็นมาตรการในการดาเนินงานร่วมกนั ซง่ึ ถา้ จะให้มีความเฉพาะเจาะจงก็ต้องมีการ กาหนดนโยบายเฉพาะขน้ึ มาไมว่ า่ จะเป็นนโยบายสิ่งแวดล้อม หรอื นโยบายดา้ นสงั คมก็ตามขั้นตอนในการ จัดทานโยบายดังตอ่ ไปนี้ (1) การกาหนดนโยบาย (2) การเผยแพรน่ โยบาย (3) การทบทวนและปรบั ปรงุ นโยบายสง่ิ แวดลอ้ ม 2.4 การกาหนดนโยบายอนามยั สิ่งแวดล้อม ผูบ้ รหิ ารระดับสงู เปน็ ผกู้ าหนดนโยบายอนามัยสงิ่ แวดล้อม หรอื ให้ทศิ ทางแล้วมอบหมายให้คณะ จัดทาฯ ร่างนโยบายและนามาเสนอใหพ้ จิ ารณานโยบายอนามยั สงิ่ แวดล้อม เนอ้ื หาทีจ่ ะต้องนามาบรรจลุ งใน นโยบายอนามยั สิ่งแวดล้อมเป็นเรอ่ื งทีจ่ ะต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ เนอ่ื งจากแต่ละองค์กรมจี ดุ มุง่ หมายที่ แตกต่างกัน มปี รชั ญาในการดาเนินงานแตกตา่ งกนั ซ่ึงองค์กรจะต้องคาดหวังว่านโยบายจะตอ้ งปฏิบตั ิได้ มี ความเฉพาะเจาะจง และจะต้องเป็นท่ีประทับใจของลกู ค้าหรือผพู้ บเห็นโดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง ชุมชนหรือคู่แขง่ ทางธรุ กจิ นโยบายสง่ิ แวดล้อมควรมีพนื้ ฐานมาจากการทบทวนสถานะเบ้ืองต้นทางดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม นโยบายจะ ไม่มีความหมายเลยถ้าไม่มคี วามมุง่ ม่ันในการดาเนนิ งานท่จี ะปรับปรุงและพัฒนาสงิ่ แวดล้อม นโยบายอนามยั สง่ิ แวดล้อมจะต้องครอบคลมุ ประเดน็ ดังต่อไปนี้ (1) เหมาะสมกับลักษณะ ขนาด และผลกระทบด้านส่ิงแวดล้อมอนั เกิดจากกจิ กรรม สินค้า หรือบรกิ าร ขององค์การ (2) แสดงความมุ่งมนั่ ทีจ่ ะปรบั ปรงุ อยา่ งต่อเน่ืองและปอ้ งกันมลภาวะดว้ ยการใช้กระบวนการ กรรมวิธี หลกี เล่ียง ลด หรือควบคุมมลพษิ ซ่ึงอาจรวมถงึ การหมุนเวียนกลบั มาใชใ้ หม่ การใชป้ ระโยชนจ์ ากของเสีย การ บาบัด การเปล่ียนแปลงกระบวนการผลิต กรรมวิธีควบคุม การใชท้ รพั ยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และการใช้ วัสดทุ ดแทน (3) แสดงถึงความม่งุ มัน่ ต่อการปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย และขอ้ บังคับ รวมถงึ ข้อกาหนดตา่ งๆ ทอี่ งค์กร เป็นสมาชกิ อยู่ (4) เปน็ แนวทางทใี่ ชใ้ นการกาหนดและทบทวน วตั ถุประสงค์และเป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อม (5) มีการบันทึกไว้ นาไปปฏบิ ตั ิและการรกั ษา เพ่อื ส่ือสารตอ่ พนกั งานทกุ คน เชน่ รวมไวใ้ นคมู่ ือ พนกั งานหรือแยกส่วนไว้ต่างหาก [Date] 4 บทท่ี 2 นโยบายเก่ียวกบั อนามยั สง่ิ แวดล้อม

(6) เปิดเผยตอ่ สาธารณชน เชน่ ปดิ ประกาศไว้ในห้องโถง และมีแจกถา้ มีผขู้ อดูนโยบายอนามัย ส่งิ แวดลอ้ มต้องจัดทาเปน็ ลายลกั ษณ์อักษร มกี ารลงนามโดยผู้บรหิ ารระดับสงู สดุ รวมท้ังลงวนั เดอื น ปี ทม่ี ีผล บังคับใชด้ ว้ ย นโยบายอนามัยสง่ิ แวดลอ้ มควรเป็นแนวทางหรือหลกั การสั้น ๆ และกวา้ งท่ีพิมพเ์ ผยแพร่ นอกจากนี้ ยังมแี นวทางของกลมุ่ อตุ สาหกรรมแตล่ ะกลุ่มซึ่งรวมไปถึงแนวทางการดาเนินงานดา้ นสิ่งแวดลอ้ มด้วย เชน่ มาตรการของกลมุ่ อุตสาหกรรมรถยนต์ กลุม่ อตุ สาหกรรมอเี ลคโทรนิค เป็นต้น มาตรการของกล่มุ อุตสาหกรรม เหลา่ นกี้ ็สามารถนามากาหนดเป็นนโยบายขององค์กรได้ เชน่ การประหยดั พลงั งาน การประหยัดนา้ การ ป้องกันการเกิดมลพิษ การปรับปรุงอย่างต่อเน่ือง หรือการลดปริมาณของเสยี อนั ตราย เปน็ ต้น นโยบายจึงเปน็ ส่วนสาคัญในการใช้สาหรับการจดั ทาวตั ถปุ ระสงค์และเปา้ หมาย สว่ นรายละเอียดและเป้าหมายน้นั จะเขียนไว้ ในวตั ถปุ ระสงค์และเปา้ หมายในขัน้ ตอนของการวางแผน เพอ่ื ให้เปน็ ไปตามนโยบายอีกทีหนง่ึ ในกรณีทีม่ ี หนว่ ยงานในองค์กรใหญ่ ซึ่งมีนโยบายทางด้านสงิ่ แวดล้อมอยู่แลว้ นโยบายของหน่วยงานควรสอดคลอ้ งกบั นโยบายขององค์กรใหญโ่ ดยอาจมขี อ้ จากัดเฉพาะลงไปอีกได้ เอกสารนโยบายอนามัยส่งิ แวดลอ้ มในระบบการจดั การส่ิงแวดล้อมขององค์กรเปน็ เอกสารระดับแรก ในระบบฯ ซึง่ แสดงถงึ ความมุ่งมนั่ ขององค์กร ปัจจุบนั หลาย ๆ องค์กรมักมีการจัดทาวสิ ยั ทศั นข์ ององค์กร มากกวา่ นโยบาย ซ่งึ ในวสิ ัยทศั นจ์ ะรวมถึงแนวทางในการกาหนดวตั ถุประสงค์ทางด้านสิ่งแวดล้อมไวด้ ว้ ย โดยมากเอกสารนโยบายอนามยั ส่ิงแวดล้อมจะถูกระบุไวใ้ นคู่มอื ส่งิ แวดลอ้ ม ซงึ่ เป็นเอกสารระดับสูงสดุ ของ องค์กร อย่างไรก็ตามการเผยแพรน่ โยบายซงึ่ โดยมากองค์กรตดิ ประกาศนโยบายไวต้ ามที่ต่าง ๆ ในองค์กรดว้ ย ซึ่งเอกสารนโยบายอนามัยสิง่ แวดลอ้ มเหล่านน้ั กต็ ้องควบคุม (ตามแนวทางการควบคุมเอกสาร) ตามจุดท่นี าไป ตดิ ด้วย 2.5 วธิ ีการเผยแพร่นโยบายภายในองคก์ ร ต้องทาความเข้าใจนโยบายสงิ่ แวดลอ้ มให้แก่ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานทกุ ระดบั รวมทั้งผ้รู ับจา้ งท่ีเขา้ มา ทางานในพน้ื ทข่ี ององค์กรด้วยแลว้ ใหน้ านโยบายไปปฏิบัติอยา่ งจริงจังและสม่าเสมอ เพอื่ ให้ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านทุกคน เขา้ ใจ และรจู้ กั วธิ ีการดาเนนิ งานท่ีถูกต้องตามนโยบายดังกลา่ ว คือจะต้องทราบว่ากจิ กรรมที่ตนเองทานนั้ สง่ ผลกระทบอะไรต่อสิ่งแวดลอ้ มบา้ ง และมีแนวทางในการดาเนนิ การเพื่อควบคมุ ปญั หาสิง่ แวดลอ้ มนน้ั อย่างไร ฉะน้ันจงึ ต้องมีการฝกึ อบรมความตระหนกั ทางด้านสงิ่ แวดลอ้ ม แตม่ ใิ ชใ่ ห้ผปู้ ฏิบตั ิงานสามารถท่องจาได้ 2.6 วธิ ีการเผยแพร่ภายนอกองคก์ ร นโยบายอนามัยส่งิ แวดลอ้ มสามารถเปิดเผยต่อสาธารณชนท่วั ไป หน่วยงานราชการ หน่วยงาน เอกชน หรือหนว่ ยงานต่างประเทศ ท่ีเป็นทัง้ ลูกค้า โดยเฉพาะผ้ทู ่ีสง่ วตั ถุดิบหรือผู้สง่ มอบ ผู้ท่ีตอ้ งการทราบ การเผยแพร่อาจทาเป็นเอกสาร ขา่ วสาร หรือหนังสือพิมพ์ ตอ่ ชุมชนโดยรอบ อาจจดั ทาปา้ ยขนาดใหญ่หรือ การส่งเอกสารเพื่อเผยแพร่อืน่ ๆ กไ็ ด้ การเผยแพร่สู่ภายนอกนนั้ กเ็ ฉพาะผูท้ ่เี กีย่ วข้องเทา่ นั้น เชน่ ลกู ค้า ผู้สง่ มอบสินค้า ผู้สง่ มอบวตั ถุดิบ ผู้ทีไ่ ด้รับผลกระทบสิ่งแวดลอ้ มจากองค์กร ภายนอกองค์กรไม่ใช่ทุกคนตามที่ [Date] 5 บทท่ี 2 นโยบายเก่ียวกบั อนามยั สงิ่ แวดล้อม

หลายทา่ นเขา้ ใจ 2.7 วธิ กี ารทบทวนและปรับปรงุ นโยบายอนามัยส่ิงแวดล้อม เนือ่ งจากสภาพการณต์ า่ งๆ ท้ังภายในและภายนอกองค์กร มีการเปลยี่ นแปลงอยเู่ สมอ ดังน้ัน ผูบ้ รหิ ารสงู สดุ ต้องมีการทบทวนและปรบั ปรงุ นโยบายส่งิ แวดล้อมให้เหมาะสมกบั สภาพการณ์ท่ีเปลีย่ นแปลงไป โดยอาจกาหนดระยะเวลาในการปรบั ปรงุ เปลย่ี นแปลงแก้ไขตามความเหมะสม หรือถา้ นโยบายทก่ี าหนดไว้ ยังคงมีความทนั สมยั เหมาะสมกบั สภาพทางเศรษฐกิจและสังคม นโยบายส่ิงแวดล้อมดังกลา่ วกย็ ังสามารถใชไ้ ด้ ก็ให้คงไวไ้ ด้ ในการทบทวนและปรบั ปรงุ นโยบายนนั้ จะอาจมาจากคณะกรรมการดาเนนิ การ พนักงานหรือ ผู้บรหิ ารเองก็ได้ ซง่ึ ต้องมีการสือ่ สารนโยบายใหมใ่ หก้ ับคณะกรรมการบริหารพจิ ารณาตามลาดบั จนกระทงั่ ถงึ คณะกรรมการบรหิ ารองค์กรและผู้บริหารสูงสดุ ซ่งึ นโยบายใหมท่ กุ คนจะต้องเห็นพ้องกันในการปรับปรุงระบบ การจดั การสง่ิ แวดล้อมในดีข้ึนอยา่ งต่อเนือ่ ง จากนัน้ กป็ ระกาศใชแ้ ละดาเนินการเขา้ สวู่ งจรของระบบการ จัดการส่ิงแวดลอ้ มต่อไป ความมงุ่ มน่ั ของนโยบายควรคานงึ ถงึ กจิ กรรม ผลติ ภัณฑ์หรือการบริการท่ีอาจก่อใหเ้ กดิ ผลกระทบ ต่อสงิ่ แวดล้อม ซึ่งนอกเหนอื จากการปฏบิ ัติตามข้อบงั คบั และกฎหมายแลว้ ยงั อาจแสดงความมงุ่ มัน่ ทีจ่ ะทา การตอ่ ไปนี้ • นโยบายสง่ิ แวดล้อมจะต้องไดร้ ับการอนุมัติจากผบู้ ริหารสูงสุดขององค์กร และตอ้ งม่ันใจวา่ นโยบายจะไดร้ ับการสนับสนนุ จากคณะกรรมการบรหิ ารในองค์กรด้วย • ตอ้ งแสดงถงึ ความม่งุ ม่นั ในการปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายและกฎระเบียบอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข้องทางดา้ น สงิ่ แวดล้อม และองค์กรจะตอ้ งปฏบิ ัติให้ไดด้ ้วย • ต้องแสดงถึงความม่งุ ม่นั ในการเผยแพรน่ โยบาย และผลการดาเนินงานดา้ นส่งิ แวดล้อมกบั องค์กร ภายนอกหรอื ผู้ทเ่ี ก่ียวข้องอืน่ ๆ • ลดผลกระทบอันรา้ ยแรงโดยการใชว้ ิธีจดั การสง่ิ แวดลอ้ มโดยรวม (Integrated Environmental Management) และการวางแผน • จัดทาขน้ั ตอนในการวัดผลการปฏบิ ัติการดา้ นส่งิ แวดลอม และตวั ดชั นที เ่ี กยี่ วข้องกับมาตรการ ทางดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม • รวมวิธีคิดวฏั จกั รชีวิต (Life Cycle Analysis) และพยายามปฏบิ ตั ใิ หไ้ ดม้ ากที่สดุ ซึง่ ไม่เพยี งแต่ จะเป็นการพัฒนาระบบการจัดการส่งิ แวดลอ้ ม แตย่ งั เป็นการปอ้ งกนั ผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มท่ีจะเกิดขน้ึ ใน อนาคต • ออกแบบผลิตภัณฑใ์ หล้ ดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ในการผลติ การใชแ้ ละการทิง้ ของเสียใน กระบวนการผลิต • ป้องกันมลพษิ ลดปรมิ าณของเสยี และความต้องการทรัพยากร เชน่ วตั ถุดับ เช้อื เพลงิ และ พลังงาน มุ่งม่ันทจ่ี ะนา้ กลบั มาใชห้ มุนเวยี นและสกัดของมีค่าแทนการท้งิ [Date] 6 บทท่ี 2 นโยบายเกี่ยวกบั อนามยั สง่ิ แวดล้อม

• การใหก้ ารศึกษาและฝกึ อบรมแก่ พนกั งาน สาธารณชน ลูกค้า ผสู้ ่งมอบ ผ้รู บั จ้างชว่ ง หรอื แมแ้ ต่นักศกึ ษาฝกึ งาน ฯลฯ • การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มกับหน่วยงานทีเ่ กยี่ วข้องอืน่ ๆ เช่น จากการ ประชมุ การแสดงความคิดเหน็ ตอ่ สาธารณะ • การเข้ารว่ ม และติดตอ่ กบั กลุ่มผู้ท่สี นใจ แสดงถึงความม่งุ ม่ันในการจดั การส่ิงแวดล้อมตาม นโยบาย • พยายามเขา้ สู่การพฒั นาแบบย่งั ยนื (Sustainable Development) • สนบั สนุนใหม้ ีการใช้ระบบการจดั การส่งิ แวดลอ้ มใหผ้ ขู้ ายสง่ และผู้รบั เหมาขององคก์ ร โดยการ สนับสนนุ ในดา้ นการเงนิ ดา้ นเทคนคิ หรอื ดา้ นบคุ ลากรก็ได้ • สร้างมาตรการในการลดการใช้ทรพั ยากรหรือใช้ทรัพยากรอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ เช่น ไฟฟ้า น้า น้ามนั • มัน่ ใจได้วา่ การดาเนินงานด้านสิง่ แวดลอ้ มสอดคล้องกับนโยบายด้านสง่ิ แวดล้อมดว้ ย • จดั ทารายงานประจาปี ซงึ่ ต้องแสดงถึงข้อมูล ข่าวสารท่จี าเป็นท่ีแสดงถึงสถานภาพการ ดาเนินงานด้านสง่ิ แวดลอ้ มขององค์กรไว้ดว้ ย 2.8 ข้อตกลงเกี่ยวกับนโยบายอนามัยสงิ่ แวดล้อม (1) ข้อตกลงท่ีองคก์ รได้ทาไว้กบั ชุมชนโดยรอบ ถอื เป็นสิง่ ทีต่ ้องนาไปปฏิบตั ิด้วย เนอ่ื งจากถ้ามี ปัญหาสง่ิ แวดลอ้ มเกิดขนึ้ ชุมชนโดยรอบจะต้องอ้างนโยบายท่ีองค์กรไดแ้ ถลงต่อชุมชนก่อนเสมอ ฉะนนั้ จะตอ้ ง ดาเนนิ การตามนโยบายอย่างเคร่งครดั ทส่ี ุด (2) ควรระบใุ นนโยบายสิ่งแวดล้อม ถึงการเปิดเผยนโยบายฯ ต่อสาธารณะชน ในสภาพความเป็น จรงิ อาจระบเุ ช่นนั้นก็ได้ แตบ่ างทา่ นอาจมีการเปดิ เผยตอ่ สาธารณะชนแลว้ ก็ไม่ตอ้ งระบุกไ็ ด้ แต่ส่งิ สาคัญคือ การปฏบิ ตั ิเพื่อใหช้ มุ ชนรอบข้างไดท้ ราบถงึ นโยบายขององคก์ ร (3) ควรนาผลจากการทบทวนสถานะปัจจบุ ันของการดาเนินงานดา้ นสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการ กาหนดนโยบายด้วย การทบทวนทาให้ทราบการดาเนนิ การในปัจจบุ ันและปญั หาท่ีเกิดข้ึนกับองคก์ ร และ สามารถนาปญั หาเหล่านน้ั มากาหนดเปน็ นโยบายก็ได้ โดยสรุปแล้วนโยบายสง่ิ แวดลอ้ มเป็นเอกสารที่แสดงถงึ หน้าตาและมาตรการในด้านการจัดการสิ่งแวดลอ้ มซึ่ง กาหนดโดยองคก์ รเอง นโยบายสิง่ แวดล้อมแสดงถึงข้อมลู ข่าวสารท่ีให้พนักงานในองค์กรและสาธารณะชน ทราบถึงเป้าหมายขององค์กรในการทจ่ี ะควบคุมและปรบั ปรุงปญั หาส่ิงแวดล้อมขององค์กร ซง่ึ มีหลักการใน การกาหนดนโยบายสงิ่ แวดล้อมอยู่ 4 ประการคือ • นโยบายสิง่ แวดล้อมจะตอ้ งไดร้ ับการสนบั สนนุ จากผู้บรหิ ารระดับสูงขององค์กร ซ่งึ สามารถ กาหนดไดจ้ ากการลงนามในประกาศประชาสัมพนั ธ์ของผู้บรหิ าร และความมุ่งม่นั ในการปฏบิ ตั ิตามนโยบายท่ี เกิดข้นึ [Date] 7 บทท่ี 2 นโยบายเก่ียวกบั อนามยั สง่ิ แวดล้อม

• จะตอ้ งมกี ารปรบั ปรงุ หรอื พัฒนาการจดั การส่ิงแวดลอ้ มตามระยะเวลาที่เหมาะสม • จะตอ้ งเผยแพรน่ โยบายสิง่ แวดล้อมสู่สาธารณชนภายนอก • นโยบายสิ่งแวดลอ้ มจะต้องได้รบั การทบทวนใหท้ นั สมยั อยู่เสมอ และต้องได้รับการตรวจสอบวา่ ยงั มกี ารปฏิบตั อิ ย่างสมา่ เสมอ ซ่งึ กิจกรรมดังกล่าวจะถกู ดาเนินการโดยการตรวจประเมนิ ระบบ ฯ ภายในหรือ ภายนอก และเป็นการทบทวนระบบ ฯ หลังจากถูกตรวจประเมินแลว้ 2.9 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่12 2.9.1 หลักการ หลักการพัฒนาประเทศทสี่ าคัญในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 ยดึ หลกั “ปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง” “การพัฒนาที่ยัง่ ยืน” และ “คนเป็นศนู ยก์ ลางการพัฒนา” ทต่ี ่อเนื่องจาก แผนพัฒนา ฯ ฉบับที่ 9-11 และยดึ หลักการเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจที่ลดความเหลอื่ มล้าและขับเคลื่อนการ เจรญิ เติบโต จากการเพม่ิ ผลิตภาพการผลิตบนฐานการใชภ้ มู ปิ ัญญาและนวัตกรรม สาหรับการกาหนดวิสยั ทศั นข์ อง แผนพฒั นาฯ ฉบบั น้ียึดวสิ ัยทัศของกรอบ ยทุ ธศาสตร์ชาตทิ ่ีกาหนดวา่ “ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ย่งั ยนื เปน็ ประเทศพัฒนาแลว้ ดว้ ยการ พฒั นาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” ในขณะทกี่ ารกาหนด เป้าหมายและตัวชี้วดั ในดา้ นต่างๆ ของแผนพัฒนาฯ ได้ยึดเป้าหมายอนาคตประเทศไทยปี 2579 ท่ีเปน็ เป้าหมายยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี มาเป็น กรอบในการกาหนดเป้าหมายท่ีจะบรรลใุ น 5 ปี โดยที่เป้าหมายและ ตัวชี้วัดต้องสอดคล้องกับกรอบเป้าหมาย การพฒั นาเศรษฐกจิ สงั คม และสิง่ แวดลอ้ ม ท่ีองค์กรระหว่าง ประเทศกาหนดข้ึน อาทิ การพัฒนาทย่ี ่ังยนื (sustainable development goals : SDGs) ทอี่ งค์การ สหประชาชาตกิ าหนดขน้ึ เป็นตน้ สว่ นแนวทางการ พัฒนา ได้บรู ณาการนโยบายหรอื ประเด็นพฒั นาท่สี าคญั ของประเดน็ การปฏริ ปู ประเทศ 37 วาระ และ ไทย แลนด์ 4.0 ประเดน็ การพัฒนาหลกั ทสี่ าคัญในช่วงแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 12 ประเทศไทยแมว้ า่ ได้ดาเนินมาตรการ เพ่อื สง่ เสริมการบริหารจดั การที่ดี มีการขยายการลงทุนในโครงสรา้ งพ้ืนฐานที่เป็นระบบ โครงข่ายมากขึน้ และ มีการเพิม่ การลงทนุ เพ่ือการวจิ ยั และพฒั นา แต่อันดับความสามารถในการแขง่ ขันของไทย ยังปรับตวั ชา้ เมอื่ เทียบกบั หลายประเทศ เนื่องจากคุณภาพคนต่า การลงทนุ ในการวิจัยและพฒั นายังมีน้อย คุณภาพของ โครงสรา้ งพืน้ ฐานยงั ไมด่ ี และปญั หาการบริหารจดั การภาครฐั และกฎระเบยี บต่างๆ ล้าสมัยและขาด ประสิทธผิ ลในการบงั คบั ใช้ เมอ่ื ต้องเผชิญกับปญั หาวิกฤตเศรษฐกิจโลกและภัยพบิ ตั ธิ รรมชาติ ทาให้ เศรษฐกิจ ไทยผันผวนได้งา่ ย และเศรษฐกิจโดยรวมขยายตวั ในอัตราท่ีต่ากวา่ ศกั ยภาพมาต่อเนื่องหลายปี นอกจากน้ี ประเทศไทยต้องเผชิญกับแรงกดดันและความเสีย่ งมากขึน้ ภายใต้สถานการณท์ ี่ กระแสโลกาภวิ ตั นเ์ ข้มขน้ มาก ขึ้น เป็นโลกไร้พรมแดน โดยมีการเคลอื่ นย้ายคน เงินทุน องค์ความรู้ เทคโนโลยี ขา่ วสาร สินคา้ และบรกิ าร อยา่ งเสรี ทาให้การแข่งขันในตลาดโลกรุนแรงข้ึน ส่งผลให้มกี ารรวมตวั ดา้ นเศรษฐกิจ ของกล่มุ ต่างๆ ในโลกมี ความเข้มขน้ ข้นึ ประเทศเศรษฐกิจใหมม่ ีขีดความสามารถในการแขง่ ขนั มากขึ้น เช่น จนี อนิ เดยี ละตนิ อเมริกา และเวียดนาม ซึ่งมแี รงงานราคาถูกและมีมาตรการอื่นๆประกอบในการดงึ ดูดการลงทนุ จากต่างประเทศได้ เพมิ่ ขนึ้ [Date] 8 บทที่ 2 นโยบายเกี่ยวกบั อนามยั สง่ิ แวดล้อม

นอกจากนั้นการพัฒนาการสื่อสารด้วยเทคโนโลยสี มัยใหมท่ าให้สังคมโลกมีความ เชื่อมโยงกันอย่าง ใกลช้ ิดมากขึน้ ทาให้เกิดภัยคุกคามและความเสย่ี ง อาทิ การก่อการร้าย โรคระบาด อาชญากรรมข้ามชาติ ปญั หาแรงงานต่างดา้ ว ในขณะเดยี วกันประเทศไทยมีความเส่ียงจากการเปลี่ยนแปลงโครงสรา้ งประชากรสู่ สงั คมสูง วยั มากข้นึ จานวนประชากรวัยแรงงานลดลง ผูส้ งู อายุมีปัญหาสุขภาพและมีแนวโนม้ อยู่คนเดยี วสงู ข้นึ ปญั หา ความยากจนยงั กระจุกตวั หนาแนน่ ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือและภาคเหนือ รวมท้ังความแตกต่าง ของรายได้ ระหว่างกลมุ่ คนรวยท่ีสุดและกลุ่มคนจนที่สดุ สงู ถึง 34.9 เทา่ ในปี 2556 เนื่องจากการกระจาย โอกาสการ พฒั นาไม่ท่วั ถึง ยิง่ ไปกว่านั้นทรัพยากรธรรมชาติเส่อื มโทรม มปี ัญหาความขัดแยง้ ในการใช้ ประโยชน์ ทรัพยากรธรรมชาติระหว่างรฐั กับประชาชน และระหว่างประชาชนในกลุ่มต่างๆ เนือ่ งจากการ จัดการ ทรพั ยากรธรรมชาตมิ ีลกั ษณะรวมศูนย์ขาดการเชื่อมโยงกบั พน้ื ท่ี ในขณะท่ีปญั หาส่งิ แวดล้อมเพิม่ สงู ขึ้น ตาม การขยายตวั ของเศรษฐกิจและชมุ ชนเมอื ง ประกอบกับสภาพภมู ิอากาศมีการเปลย่ี นแปลงผันผวนมากขน้ึ ประเทศไทยต้องเผชญิ กับภัยพบิ ัตทิ างธรรมชาตริ ุนแรงมากข้ึน ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสงั คมไทย มากกวา่ ในอดีต ภายใต้เงื่อนไขและสภาพแวดลอ้ มดา้ นเศรษฐกจิ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มที่ เกิดขึ้นทั้งในและต่างประเทศดังกลา่ ว จะเป็นแรงกดดนั ให้ประเทศไทยต้องปรับตวั และมีการบริหารความเสีย่ ง อย่างชาญฉลาดมากขนึ้ ต่อจากน้ีไป ประเทศไทยต้องปรบั เปล่ียนครัง้ ใหญ่ เพื่อแกไ้ ขปัญหารากฐานสาคัญทเ่ี ป็น จดุ อ่อนและ ข้อจากดั ของประเทศท่สี ั่งสมมานาน ในขณะเดียวกนั ดาเนินยทุ ธศาสตรเ์ ชิงรกุ เพ่ือใช้ประโยชน์จาก จุดแขง็ และ จดุ เด่นของประเทศ ดังนัน้ จึงมีความจาเป็นทีจ่ ะต้องให้ความสาคัญกบั ประเดน็ ทม่ี ลี ักษณะการบรู ณาการ และ ใช้ประกอบการพจิ ารณาการจัดสรรงบประมาณ เพื่อการแปลงแผนไปสกู่ ารปฏิบัตเิ กดิ ผลสัมฤทธ์ไิ ด้อยา่ ง แท้จรงิ ในประเด็นต่างๆ ในส่วนท่เี กี่ยวข้องกับส่งิ แวดลอ้ มมดี งั นี้ การสรา้ งความม่ันคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและยกระดับคุณภาพ สงิ่ แวดล้อม เนน้ การรักษา และฟื้นฟฐู านทรัพยากรธรรมชาติ เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจดั การทรพั ยากรนา้ สนบั สนนุ การเตบิ โตทีเ่ ปน็ มติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ มและคณุ ภาพชวี ิตของประชาชน เรง่ แก้ไขปญั หาวิกฤติสิ่งแวดล้อม เพ่ือลดมลพษิ ท่ีเกิดจาก การผลติ และการบริโภค พัฒนาระบบบริหารจดั การทโ่ี ปรง่ ใสเป็นธรรม ส่งเสรมิ การผลติ และการบริโภคท่เี ปน็ มติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม เรง่ เตรียมความพร้อมในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และเพม่ิ ขดี ความสามารถใน การปรบั ตัวต่อการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ รวมท้ังบริหารจัดการเพ่ือลด ความเสี่ยงดา้ นภยั พิบัตทิ าง ธรรมชาติ 2.9.2วตั ถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมายการพัฒนาในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 1 เพอ่ื วางรากฐานให้คนไทยเป็นคนท่ีสมบรู ณ์ มีคณุ ธรรมจริยธรรม มีระเบยี บ วนิ ยั คา่ นิยมทดี่ ี มจี ิต สาธารณะ และมีความสุข โดยมสี ขุ ภาวะและสุขภาพท่ีดี ครอบครวั อบอุ่น ตลอดจน เปน็ คนเก่งที่มีทักษะ ความรู้ความสามารถและพัฒนาตนเองได้ต่อเนื่องตลอดชีวติ 2 เพือ่ ใหค้ นไทยมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสงั คม ไดร้ บั ความเปน็ ธรรมใน การเขา้ ถึงทรัพยากร [Date] 9 บทท่ี 2 นโยบายเก่ียวกบั อนามยั สงิ่ แวดล้อม

และบริการทางสงั คมทีม่ ีคณุ ภาพ ผดู้ ้อยโอกาสได้รบั การพัฒนาศักยภาพ รวมทงั้ ชุมชนมี ความเข้มแข็งพึ่งพา ตนเองได้ 3 เพ่อื ใหเ้ ศรษฐกิจเข้มแขง็ แข่งขนั ได้ มีเสถยี รภาพ และมีความยง่ั ยนื สร้างความเขม้ แข็งของฐานการ ผลติ และบรกิ ารเดิมและขยายฐานใหม่โดยการใช้นวัตกรรมทเ่ี ข้มข้นมากข้ึน สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจ ฐานราก และสรา้ งความมัน่ คงทางพลงั งาน อาหาร และน้ า 4. เพื่อรกั ษาและฟน้ื ฟทู รัพยากรธรรมชาตแิ ละคุณภาพสงิ่ แวดล้อมใหส้ ามารถ สนบั สนนุ การเติบโตท่ี เปน็ มิตรกบั สิ่งแวดล้อมและการมีคณุ ภาพชวี ิตท่ดี ีของประชาชน 5. เพอ่ื ให้การบรหิ ารราชการแผ่นดินมีประสทิ ธภิ าพ โปร่งใส ทันสมัย และมี การท างานเชิงบูรณา การของภาคกี ารพฒั นา 6. เพอ่ื ให้มีการกระจายความเจริญไปส่ภู มู ภิ าค โดยการพัฒนาภาคและเมือง เพือ่ รองรับการพัฒนา ยกระดบั ฐานการผลติ และบริการเดิมและขยายฐานการผลติ และบรกิ ารใหม่ 7. เพอื่ ผลกั ดันใหป้ ระเทศไทยมคี วามเชื่อมโยงกบั ประเทศต่างๆ ทง้ั ในระดบั อนภุ ูมภิ าค ภูมภิ าค และ นานาชาติไดอ้ ย่างสมบูรณ์และมีประสทิ ธิภาพ รวมทงั้ ใหป้ ระเทศไทยมบี ทบาทน าและ สร้างสรรคใ์ นด้าน การค้า การบริการ และการลงทนุ ภายใตก้ รอบความรว่ มมือตา่ งๆ ทั้งในระดับอนภุ ูมภิ าค ภมู ิภาค และโลก 2.9.3 เป้าหมายรวม เพอื่ ให้เป็นไปตามวตั ถุประสงคด์ งั กลา่ ว ไดก้ าหนดเป้าหมายรวมการพัฒนาของ แผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 ประกอบด้วย 1. คนไทยมีคณุ ลักษณะเปน็ คนไทยท่ีสมบูรณ์ มีวินัย มที ัศนคติและ พฤติกรรมตามบรรทัดฐานท่ีดี ของสังคม มคี วามเปน็ พลเมอื งต่ืนรู้ มคี วามสามารถในการปรับตวั ได้อย่างรู้ เท่าทนั สถานการณ์ มคี วาม รบั ผิดชอบและทาประโยชน์ตอ่ สว่ นรวม มีสขุ ภาพกายและใจท่ีดี มคี วามเจริญ งอกงามทางจิตวิญญาณ มีวิถี ชีวิตทพี่ อเพยี ง และมคี วามเป็นไทย 2. ความเหลอ่ื มลา้ ทางด้านรายได้และความยากจนลดลง เศรษฐกิจฐานราก มีความเข้มแข็ง ประชาชนทกุ คนมีโอกาสในการเข้าถงึ ทรพั ยากร การประกอบอาชีพ และบริการทางสงั คมท่มี ี คุณภาพอย่าง ทวั่ ถงึ และเป็นธรรม กลมุ่ ท่ีมรี ายไดต้ า่ สดุ ร้อยละ 40 มีรายไดเ้ พมิ่ ข้นึ อย่างน้อยร้อยละ 15 3. ระบบเศรษฐกิจมีความเข้มแขง็ และแขง่ ขันได้โครงสร้างเศรษฐกจิ ปรบั สู่ เศรษฐกิจฐานบริการและ ดจิ ิทลั มผี ปู้ ระกอบการรนุ่ ใหม่และเป็นสงั คมผปู้ ระกอบการ ผปู้ ระกอบการขนาด กลางและขนาดเล็กทเ่ี ข้มแข็ง สามารถใชน้ วตั กรรมและเทคโนโลยดี ิจิทลั ในการสรา้ งสรรคค์ ณุ ค่าสินค้าและ บริการ มรี ะบบการผลติ และ ใหบ้ ริการจากฐานรายได้เดิมท่ีมมี ลู คา่ เพม่ิ สงู ขน้ึ และมีการลงทนุ ในการผลิตและ บรกิ ารฐานความรู้ชนั้ สูงใหมๆ่ ทีเ่ ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ มและชมุ ชน รวมทง้ั กระจายฐานการผลติ และการ ให้บรกิ ารสู่ภมู ภิ าคเพอ่ื ลดความ เหลอ่ื มล้า โดยเศรษฐกิจไทยมีเสถยี รภาพและมอี ัตราการขยายตวั เฉล่ียร้อยละ 5 ต่อปี และมปี ัจจยั สนับสนนุ อาทิ ระบบโลจิสตกิ ส์ พลังงาน และการลงทุนวิจยั และพฒั นาทเี่ อ้ือต่อการ ขยายตัวของภาคการผลติ และ บริการ [Date] 10 บทท่ี 2 นโยบายเก่ียวกบั อนามยั สง่ิ แวดล้อม

4. ทุนทางธรรมชาตแิ ละคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มสามารถสนับสนุนการเตบิ โตที่ เป็นมติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม มี ความม่ันคงทางอาหาร พลงั งาน และนา้ โดยเพิม่ พนื้ ท่ปี า่ ไม้ให้ไดร้ ้อยละ 40 ของ พ้ืนท่ีประเทศเพื่อรักษาความ สมดุลของระบบนเิ วศ ลดการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกในภาคพลังงานและขนส่ง ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 7 ภายในปี 2563 เทียบกับการปล่อยในกรณีปกติ มปี ริมาณหรือสดั ส่วนของขยะมลู ฝอยท่ี ไดร้ ับการจัดการอยา่ งถูกหลัก สุขาภบิ าลเพิม่ ขึ้น และรกั ษาคุณภาพน้าและคณุ ภาพอากาศในพ้ืนท่ีวิกฤตให้อยู่ ในเกณฑ์มาตรฐาน 5. มีความม่นั คงในเอกราชและอธปิ ไตย สงั คมปลอด ภัย สามคั คี สรา้ งภาพลกั ษณด์ ี และเพ่ิมความ เช่อื มนั่ ของนานาชาติต่อประเทศไทย ความขัดแยง้ ทางอดุ มการณแ์ ละ ความคิดในสงั คมลดลง ปัญหา อาชญากรรมลดลง ปริมาณความสญู เสยี จากภยั โจรสลดั และการลักลอบขนสง่ สนิ ค้าและค้ามนุษย์ลดลง มี ความพร้อมทป่ี กป้องประชาชนจากการก่อการร้ายและภยั พบิ ัตทิ างธรรมชาติ ประเทศไทยมสี ว่ นร่วมในการ กาหนดบรรทัดฐานระหว่างประเทศ เกดิ ความเชื่อมโยงการขนส่ง โลจสิ ติกส์ หว่ งโซ่มลู ค่า เป็นหนุ้ สว่ นการ พัฒนาทส่ี าคัญในอนุภมู ิภาค ภูมิภาค และโลก และอัตราการเติบโตของมูลค่า การลงทนุ และการส่งออกของ ไทยในอนุภมู ภิ าค ภมู ภิ าค และอาเซียนสงู ขนึ้ 6 มีระบบบรหิ ารจัดการภาครัฐทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ ทนั สมัย โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ กระจายอานาจและมี ส่วนรว่ มจากประชาชน บทบาทภาครฐั ในการให้บริการซง่ึ ภาคเอกชน ดาเนนิ การแทนไดด้ กี ว่าลดลง เพิ่มการ ใช้ระบบดิจทิ ลั ในการให้บริการ ปัญหาคอรร์ ปั ชั่นลดลง และการบรหิ าร จดั การขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ มีอิสระมากข้ึน โดยอันดับประสิทธภิ าพภาครฐั ทจี่ ดั ทาโดยสถาบนั การจัดการนานาชาติและอันดับความยาก ง่ายในการดาเนินธรุ กิจในประเทศดขี ึน้ การใช้จ่ายภาครฐั และระบบ งบประมาณมปี ระสิทธภิ าพสงู ฐานภาษี กวา้ งขึน้ และดชั นีการรับรู้การทจุ รติ ดีขึ้น รวมถงึ มบี ุคลากรภาครัฐท่ีมี ความรู้ความสามารถและปรบั ตวั ได้ทนั กบั ยคุ ดิจิทัลเพิ่มข้นึ บรรณานกุ รม เกษม จันทร์แกว้. (2540).วทิ ยาศาสตร์ ส่งิ แวดลอ้ ม.กรุงเทพฯ:อักษรสยาม. ________. (2541).การวางแผนและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม.กรุงเทพฯ: วรเดช จันทรศร. (2551). ทฤษฎกี ารนานโยบายสาธารณะไปปฏบิ ตั (ิ พมิ พค์ รั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : พรกิ หวานกราฟิค. สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม . (2550). สรุปสถานการณก์ ารปฏิบัติ ตามมาตรการในรายงานการวิเคราะหผ์ ลกระทบส่งิ แวดล้อม โครงการส่วนราชการ รฐั วิสาหกิจและโครงการ ร่วมกบั เอกชน. กรงุ เทพฯ : ส้านักวเิ คราะห์ผลกระทบสิง่ แวดล้อม. ส้านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม . (ม.ป.ป. ). มติคณะกรรมการ ส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ ครั้งท่ี 6/2548 เมื่อวนั ที่ 3 พฤษภาคม 2548 (ออนไลน)์ . เข้าถึงได้จาก : http://www.onep.go.th/neb/3.%20Resolution/data/2548/mati6-48.pdf [2551, 8 กรกฎาคม]. [Date] 11 บทที่ 2 นโยบายเก่ียวกบั อนามยั สงิ่ แวดล้อม

สานักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร. ( 2550). เจตนารมณร์ ัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. กรุงเทพฯ : สภาร่างรฐั ธรรมนญู . Anderson, James E. (2000). Public Policy making : An Introduction. (4 th ed.). Boston : Houghton Miffin. Attewell, Pall and Dean R. Gerstein. (1979). Government Policy and Local Practice. American Sociological Review, Vol.44 April, pp.311-327 2.10 กิจกรรมประจาบทที่ 2 กิจกรรมท่ี 1 สรุปประเด็นปัญหาสงิ่ แวดล้อม 1.ให้นักศกึ ษาค้นคว้าข้อมูลใน แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิง่ แวดล้อมแหง่ ชาติ ฉบบั ปจั จุบัน(2560-2561)แล้ว สรปุ ในประเด็นปญั หาสงิ่ แวดล้อมทส่ี ่งผลต่อภาวะสุขภาพ มา 3 ประเด็น กจิ กรรมท่ี 2 สรุปประเด็นการพัฒนาสงิ่ แวดลอ้ ม 2.ใหน้ ักศึกษาศึกษาจาก เอกสารเพ่ิมเติมตอ่ ไปนี้ แลว้ สรุปประเด็นที่เกยี่ วข้องกบั การพัฒนาส่งิ แวดลอ้ ม (1page paper) สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาตไิ ดส้ ารวจ วเิ คราะห์ และนาเสนอประเด็น เกี่ยวกับความท้าทายและโอกาสของประเทศไทยหลังวิกฤตเศรษฐกิจรวมถึงการส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นทางเลือกของเศรษฐกิจไทย การเตรียมการสาหรับภาวะโลกร้อนและสร้างโอกาสการพัฒนา การ ออกแบบสถาปัตยกรรมทางสังคมให้เป็นทางเลือกใหม่ของคนไทย และสร้างสัญญาประชาคมใหม่ให้เป็นพลัง ขับเคล่ือนสงั คมไทยส่สู มดลุ โดยสามารถกาหนดประเดน็ ยุทธศาสตรห์ ลกั การพฒั นาในชว่ งแผนฯ 12 ดงั นี้ ความทา้ ทายหลังวกิ ฤตเศรษฐกิจ : โอกาสของประเทศไทย การจดั ทาวิสัยทัศนป์ ระเทศไทยสปู่ ี 2570 สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ไดป้ ระเมนิ แนวโน้มหลกั ท่ีประเทศไทยและโลกอาจตอ้ งเผชญิ ใน 20 ปีข้างหนา้ 7 ประการ 1. การรวมตัวทางเศรษฐกิจในภูมิภาค ซ่ึงส่งผลให้มีความเช่ือมโยงทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศในอนุ ภมู ภิ าคเพ่ิมมากข้นึ และทาให้เศรษฐกิจในภมู ภิ าคเอเชยี มแี นวโน้มท่จี ะขยายตัวอยา่ งรวดเร็ว 2. เศรษฐกิจโลกจะเปลยี่ นศนู ย์กลางอานาจมาอยทู่ ่ปี ระเทศแถบเอเชยี มากข้ึน 3. การเปล่ียนแปลงดา้ นการเงนิ โลกซง่ึ จะมีความผนั ผวนและความเสย่ี งมากขึน้ 4. ประชากรสูงอายขุ องโลกเพิ่มขึ้นอยา่ งรวดเร็ว ซึ่งจะเป็นปัญหาใหญข่ องประเทศที่พฒั นาแล้วทั้งทางด้าน เศรษฐกิจสังคมและการเมอื ง แต่จะเป็นโอกาสของประเทศไทยในการใหบ้ ริการผ้สู ูงอายุ 5. ความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยกี ับการดารงชวี ิตของมนุษยซ์ ง่ึ ประเทศไทยต้องเตรียมความพร้อม [Date] 12 บทที่ 2 นโยบายเกี่ยวกบั อนามยั สงิ่ แวดล้อม

6. แนวโนม้ ปญั หาดา้ นพลงั งานซง่ึ จะมีผลต่อภาวะเศรษฐกจิ และสังคมของโลก 7. ปญั หาภยั คกุ คามจากภาวะโลกร้อนซ่ึงสง่ ผลกระทบตอ่ ธรรมชาติ เศรษฐกจิ และคณุ ภาพชีวติ ระหว่างการประเมินการเปล่ียนแปลงของบริบทโลกเพ่ือประกอบการจัดทาวิสัยทัศน์ เศรษฐกิจโลกอยู่ ท่ามกลางภาวะไม่สมดุลซ่ึงก่อให้เกิดความเส่ียงที่เศรษฐกิจโลกจะได้รับผลกระทบจากภาวะวิกฤตสาคัญ 4 ประการ คือ 1. วิกฤตกิ ารณ์ทเ่ี กดิ จากการเปลยี่ นแปลงในสภาพภมู อิ ากาศของโลก (Climate change crisis) 2. วิกฤตกิ ารณ์น้ามันและพลังงาน (Oil & Energy crisis) 3. วิกฤติการณ์ทางด้านอาหารและความหวิ โหย (Food & Hunger crisis) 4. วกิ ฤตกิ ารณ์ทางด้านการเงินและเศรษฐกิจ (Financial and Economic crisis) ประเด็นการวางแผนพัฒนาประเทศไทยที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงระยะส้ัน และระยะยาว ได้แก่ 1. การรักษาอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจและลดความเสี่ยงจากภาวะความผันผวนของเศรษฐกิจ โลก 2. การสร้างการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่สอดคล้องกับกระแสการเปลี่ยนแปลงในบริบทโลกในระยะ ยาว เพอ่ื เตรยี มพร้อมในการฉกฉวยโอกาสจากการเปลี่ยนแปลงทีส่ าคัญ คอื 2.1 โอกาสจากการเปล่ียนแปลงภูมิทัศน์ทางเศรษฐกิจและการเงินโลก ในการขยาย ตลาดและ การสร้างความร่วมมือในภมู ิภาคเพื่อสร้างความแข็งแกร่งทางด้านเศรษฐกิจ การค้า และการลงทนุ และลดความ เส่ียงจากภาวะความผนั ผวนทางเศรษฐกจิ 2.2 โอกาสจากการเปลี่ยนแปลงในสถานการณ์ทางด้านอาหาร พลังงานและส่ิงแวดล้อมโลก ในการ ส่งออกสินค้าอาหารโดยอาศัยความได้เปรียบของภาคการเกษตร การพัฒนามูลค่าเพ่ิมสินค้าเกษตรและอาหาร การ พัฒนาพลังงานทดแทนอยา่ งสมดลุ ระหว่างความตอ้ งการด้านอาหารและพลงั งาน 2.3 โอกาสจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลก และความต่ีนตัวในความ รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ในการสร้างงาน สร้างรายได้ และการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจท่ีมีความ ยง่ั ยนื (Green Jobs, Green Growth, Green Economy) 2.4 โอกาสจากการปรบั ตัวของประชากรโลกเขา้ สู่สงั คมผู้สูงอายุ ในการขยายตัวของ ภาคธุรกจิ บริการในประเทศไทย โดยเฉพาะการใหบ้ ริการดูแลผู้สูงอายุ การให้บริการการแพทยแ์ ละสขุ ภาพ การให้บรกิ ารที่พักสาหรบั นกั ท่องเที่ยวทจี่ ะอยู่ท่ีพักในระยะยาว 2.5 โอกาสในการสร้างความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อเร่งอัตราการขยายตัว ทาง เศรษฐกิจ ส่งเสริมความร่วมมือทางดา้ นการผลิต การคา้ การลงทุน การสร้างความร่วมมือเพื่อลดปัญหาความ เสี่ยงทางการเงิน และปัญหาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจภายนอก รวมถึงความร่วมมือในการพัฒนาด้านสังคม และสงิ่ แวดลอ้ มเพื่อประโยชนร์ ว่ มกนั ของภูมิภาค [Date] 13 บทที่ 2 นโยบายเก่ียวกบั อนามยั สงิ่ แวดล้อม

ประเดน็ เชงิ ยทุ ธศาสตร์ 1. พัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ควบคู่ไปกับการพัฒนาเศรษฐกิจฐานความรู้ เพื่อนาไปเพิ่มคุณค่า ใหก้ ับทนุ วัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาท่ีมอี ยู่ ดังน้นั จาเป็นต้องให้ความสาคัญต่อการสร้างองคค์ วามรู้ การวจิ ัยและ พัฒนา การพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์ท้ังการศึกษาในระบบและนอกระบบดว้ ย 2. กาหนดนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศและบูรณาการการดาเนินงานของหนว่ ยงาน เนื่องจากการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์มีกรอบการดาเนินงานท่ีค่อนข้างกว้างและเก่ียวข้องกับหน่วยงาน ภาครฐั และเอกชนจานวนมาก 3. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสภาพแวดล้อมภายในประเทศไทย เพื่อให้เอ้ือประโยชน์ต่อการ พฒั นาเศรษฐกจิ สร้างสรรค์ โดยเฉพาะอย่างย่ิงโครงสร้างพื้นฐานดา้ นการสื่อสารและคมนาคม การส่งเสริมการ ลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา การจัดหาแหล่งเงินทุน การพัฒนาการศึกษาอย่างเป็นระบบและครบวงจรให้ สอดคล้องกับความต้องการของตลาด การพัฒนาการตลาดสมัยใหม่ให้ทันต่อคู่แข่งขันและการเปล่ียนแปลงของโลก โดยให้ความสาคญั ในประเด็น ต่อไปนี้ 3.1 พัฒนาปัจจัยแวดล้อมท่ีกระตุ้นให้ภาคเอกชนลงทุนผลิตสินค้าสร้างสรรค์ โดยเพ่ิม มาตรการ กระตุ้นเพ่ือดึงดูดบริษัทข้ามชาติให้ร่วมลงทุนกับภาคเอกชนและชุมชนไทยในการพัฒนาสินค้าสร้างสรรค์ด้วย นวัตกรรมและองคค์ วามรสู้ มัยใหม่ 3.2 พัฒนาระบบฐานข้อมูล ส่ือสาร และคมนาคมท่ีมีประสิทธิภาพ เพื่อรอบรับ ภาคการผลิต สร้างสรรค์ ตลอดจนสง่ เสริมแหลง่ เรยี นรสู้ าธารณะและพัฒนาพ้นื ทสี่ าธารณะรปู แบบต่าง ๆ เพอื่ สร้างเวทีนักคิด และสร้างสรรค์ตา่ ง ๆ ตลอดจนการส่งเสรมิ การประยกุ ตใ์ ชใ้ ห้ เหมาะสมกบั บรบิ ทของชุมชนและวฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน 4. ให้คุณค่าต่อทรัพย์สินทางปัญญาจากความคิดสร้างสรรค์ โดยมีกฎหมายและกฎระเบียบที่ช่วย ในการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา และกระบวนการบังคับใช้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสนับสนุนให้ ผ้ปู ระกอบการธุรกิจสร้างสรรค์ได้รับการคุม้ ครองตามกฎหมายและกระบวนการท่ีมอี ยู่ 5. ขับเคลื่อนและสรา้ งโอกาสให้กบั ผปู้ ระกอบการ การพัฒนาความสามารถในการแขง่ ขนั ของ ผปู้ ระกอบการไทยให้มคี วามคิดสร้างสรรค์ (Creative entrepreneurs) 6. ศึกษาวิจัยและพัฒนาเชงิ ลึกในสาขาเศรษฐกจิ สรา้ งสรรคแ์ ละทนุ วัฒนธรรม โดยทาการศกึ ษา ใน 5 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. มรดกทางวัฒนธรรมและภูมปิ ัญญา และความหลากหลายทางชีวภาพ 2. เอกลกั ษณ์ศลิ ปะและวัฒนธรรม 3. งานชา่ งฝีมอื และหัตถกรรม 4. อุตสาหกรรมสื่อ บนั เทงิ และซอฟต์แวร์ 5. การออกแบบและพัฒนาสินค้าสร้างสรรค์ 7. การติดตามประเมินผล การขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของไทยโดยให้มีกลไกใน การดาเนินการติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบและ [Date] 14 บทท่ี 2 นโยบายเก่ียวกบั อนามยั สง่ิ แวดล้อม

ตอ่ เนื่อง ซึ่งจาเปน็ ตอ้ งมีเคร่ืองมอื ในการตดิ ตาม ดชั นีชวี้ ดั ศกั ยภาพเศรษฐกิจสร้างสรรคใ์ นรายสาขา 8. ปรบั โครงสร้างการผลิตและบรกิ ารของประเทศอยา่ งต่อเน่อื ง โดยผนวกความคิดสร้างสรรค์ 9. พัฒนาสถาบันและบูรณาการบทบาทของสถาบันท่ีเก่ียวข้อง ให้เช่ือมโยงเป็นเครือข่ายเพ่ือให้ สนบั สนุนการพฒั นาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ประเด็นการพัฒนา จากการพิจารณาสถานการณ์ แนวโน้มในอนาคตท่ีประเทศไทยต้องเผชิญและโอกาสใน การพฒั นาแลว้ มีประเด็นทคี่ วรพจิ ารณาแนวทางการดาเนินการในอนาคต ใหเ้ ปน็ รูปธรรม ดังนี้ 1. การปรบั ทิศทางการพัฒนาประเทศสู่การเป็นสงั คมคาร์บอนตา่ (Low Carbon Society) โดยการปรับระบบการขนส่ง และโครงสร้างพื้นฐานการวางผังเมืองท่ีผสมผสานระบบนิเวศน์เข้าด้วยกัน การ ปรับดา้ นโครงสร้างพลังงาน สกู่ ารใชพ้ ลงั งานอย่างมปี ระสิทธิภาพ และการปรับพฤติกรรมการบริโภคของสังคม สรู่ ปู แบบการบรโิ ภคอยา่ งย่ังยนื 2. การพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานทรัพยากรชีวภาพ ในการสร้างรายได้ควบคู่กับการอนุรักษ์ฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติ โดยใหค้ วามสาคญั กบั การผลิตสินค้าและบรกิ ารจากทรัพยากรชีวภาพที่ไมส่ ่งผลกระทบต่อ สง่ิ แวดล้อม และการอนรุ ักษฟ์ ้ืนฟู 3. ความม่ันคงดา้ นอาหารและพลังงาน โดยให้ความสาคัญกับประเด็นด้านความปลอดภัยและความ มั่นคงด้านอาหาร (Food Safety and Food Security) เพื่อให้ประเทศไทยมีอาหารที่เพียงพอกับการบริโภค ภายในประเทศ รวมถงึ สามารถรองรับการบรโิ ภคจากตา่ งประเทศไดร้ ะดับหนงึ่ 4. การสร้างองคค์ วามรู้ การวิจยั และพฒั นา จัดระบบข้อมูล เพ่ือสรา้ งโอกาสในการพฒั นาและสรา้ ง ความตระหนักให้แกป่ ระชาชน 5. สร้างศักยภาพในการเจรจาระหว่างประเทศ เพ่ือสร้างโอกาสและความได้เปรียบในการกาหนด ท่าทใี นการเจรจา ประเด็นการพัฒนาสงั คม ในระยะต่อไป จากการขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาประเทศที่ต้องเผชิญท้ังการเปล่ียนแปลงภายใต้ กระแสโลกาภิวัตน์ ความกดดันจากระบบทุนนิยม แนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงโครงสรา้ งประชากรไทย และ ทั้งวิกฤตเศรษฐกิจและการเมืองท่ีเกิดขึ้นในปัจจุบันที่สะท้อนความอ่อนแอของฐานรากสังคมไทยการปรับ กระบวนทรรศน์ใหม่ของการพัฒนาสังคมจึงเป็นความจาเป็นและนาไปสู่แนวคิดในการออกแบบโครงสร้างทาง โลกอย่างมีภูมิคุ้มกันทีดี จึงควรมีการวางโครงสร้างสถาปัตยกรรมทางสังคม หรือหาทางเลือกใหม่ท่ีเหมาะสม และสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทไทยและการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขน้ึ ดงั น้ี 1. การปรับโครงสร้างทางสังคมให้เป็นสังคมท่ีมีคุณภาพ มีภูมิคุ้มกันท่ีแข็งแกร่งและรองรับการ เปลี่ยนแปลงโดย 1.1 นาหลักคิดและแนวปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ต่อยอด กับทุนทางสังคม ที่ยังมีอยู่หลายด้านอย่างจริงจัง การพัฒนามนุษย์ให้มีค่านิยมจิตสาธารณะซึ่งถือว่าเป็น [Date] 15 บทท่ี 2 นโยบายเก่ียวกบั อนามยั สงิ่ แวดล้อม

ความสาเรจ็ ของการสร้างทุนมนุษย์ในระดับจลุ ภาค 1.2 วางรากฐานการพฒั นาสังคมท่ีฐานราก ตงั้ แตช่ ุมชน ท้องถ่ิน ใหส้ ามารถพัฒนาความ เขม้ แข็งทุกด้านดว้ ยตวั เอง 1.3 การออกแบบสังคมที่มีคณุ ภาพ คุณภาพสังคมเป็นแนวคิดท่ีมีความซบั ซอ้ นตามสภาพสังคม เป็นแนวคิดเชิงบรู ณาการของเร่ืองตา่ ง ๆ ที่เกีย่ วข้องกับคุณภาพมนษุ ย์ ท้ังความตระหนกั ตนและการมีส่วนรว่ ม ในทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ดังนั้นคุณภาพสังคมเป็นเป้าหมายเชิงบูรณาการระหว่างนโยบาย พัฒนาสังคม นโยบายพัฒนาเศรษฐกิจ นโยบายพัฒนาส่ิงแวดล้อม และนโยบายพัฒนาด้านอ่ืน ๆ โดยสะท้อน จากสงั คมใน 4 มิติ คือ สงั คมแหง่ ความเอื้ออาทรและสมานฉันท์ (Social Cohesion) ความม่นั คงทางเศรษฐกจิ และสงั คม (Socio Economic Security) การรวมกลุม่ เพอ่ื สรา้ งโอกาสใหก้ บั ทกุ คนอย่างเปน็ ธรรม (Social Inclusion) การเสรมิ สร้างพลงั ทางสังคม (Social Empowerment) 2. พัฒนาคุณภาพของทนุ มนุษย์ 2.1 แนวคิดการพัฒนาทนุ มนุษยใ์ นศตวรรษท่ี 21 การพัฒนามนุษย์นอกจากการให้ ความสาคญั กบั การเรยี นรู้ศาสตรว์ ิทยาการแลว้ การดาเนนิ ชีวติ ในโลกยคุ ศตวรรษท่ี 21 ได้โดยต้องมจี ติ สาธารณะใน 5 ประการ คือ จิตแห่งวิทยาการ จติ แหง่ การสังเคราะห์ จิตแห่งการสรา้ งสรรค์ จติ แหง่ ความ เคารพ จิตแห่งคณุ ธรรม 2.2 การพัฒนาคนทุกชว่ งอายุให้เปน็ ทนุ มนษุ ย์ทีเ่ ข้มแข็ง มีความรู้พืน้ ฐานท่ีมคี ณุ ภาพ เรยี นรู้ ทักษะชีวติ ทเ่ี หมาะสม และมีความรู้ชานาญในศาสตรว์ ทิ ยาการ ได้รบั การพฒั นาต่อยอดตามศกั ยภาพและ ความถนดั อยา่ งต่อเนอื่ งตลอดชีวิต 2.3 เน้นกระบวนการพัฒนาทคี่ นเปน็ ศนู ย์กลางทกุ ภาคส่วนสนับสนนุ โดย ภาคประชาชน/ ชมุ ชน ต้องมีบทบาทเป็นเจา้ ของเรื่อง มีบทบาทสาคัญตลอดกระบวนการ ภาครฐั ประเดน็ พลงั ขับเคล่ือนสังคมสูส่ มดุล 1. ปรับกระบวนทรรศน์ (Paradigm) การพัฒนาประเทศใหม่โดยยดึ ประชาชนเป็นศูนย์กลางของการ แกไ้ ขปัญหา 2. สร้างค่านิยมร่วม (Shared Value) ของคนในสังคมที่ยึดม่นั ที่ความดี ความสุจริต ความรับผิดชอบ ต่อสังคม ตลอดจนการมีจิตสานึกด้านสิทธิหน้าที่ของพลเมือง ไม่ละเมิดสิทธิ ของผู้อ่ืน ตระหนักในคุณค่าและ เคารพศกั ดิศ์ รีของความเป็นมนษุ ย์ เพ่อื ลดความขัดแย้งในสงั คม 3. พัฒนากระบวนการ “สัญญาประชาคม” บนพื้นฐานของการมีส่วนร่วมของประชาชนในทุกระดับ ต้ังแตร่ ะดับชมุ ชน ทอ้ งถ่ิน จนถึงระดับประเทศ 3.1 พัฒนากลไกในระดับภาพรวม ได้แก่ การปรับปรุงกระบวนการยุติธรรม กลไกตรวจสอบ [Date] 16 บทที่ 2 นโยบายเกี่ยวกบั อนามยั สงิ่ แวดล้อม

ระบบให้คุณให้โทษ ระบบกฎหมาย 3.2 พัฒนากลไกในระดับชุมชน ให้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง และสร้างความสุข สงบสุขในชมุ ชน รวมทั้งทางานรว่ มกบั ชุมชนอ่ืนในลกั ษณะเครอื ข่าย (Networking) 4. สรา้ งความแข็งแกร่งของโครงสร้าง กลไกและกระบวนการบริหารจัดการของทกุ ภาคสว่ นของสังคม บนพ้ืนฐานหลักธรรมาภิบาลและประชาธิปไตยท่ีสอดคล้องกับวิถีวัฒนธรรมการเมืองไทย ท่ียึดโยงกับแนว ปฏิบัติภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักคาสอนที่ทรงคุณค่าบนพื้นฐานของศาสนา ทาให้ ภาคประชาชนเข้มแข็งและพ่ึงตนเองได้ โดยวางรากฐานด้านคุณธรรมจริยธรรม และวัฒนธรรมประชาธิปไตย และธรรมาภบิ าล 5. ขับเคลื่อนและวางระบบการติดตามประเมินผลในทุกระดับ ต้ังแต่ระดับประเทศจนถึงระดับพ้ืนที่ เพอ่ื สนบั สนุนการสรา้ งสญั ญาประชาคมใหม่บนพ้นื ฐานการมีส่วนรว่ ม ท่มี า : www.cpu.ac.th/Planning%20and%20Development/doc/plan17.doc กจิ กรรมท่ี 3 ใหน้ ักศึกษาแบ่งกลุ่มจดั ทาร่างข้อเสนอแนวนโยบายด้านอนามยั ส่งิ แวดลอ้ มในระดับตาบลเพอ่ื ให้ ประชาชนมีชมุ ชนมสี ว่ นร่วมในการดารงชวี ิตอย่ภู ายใต้สภาวะแวดลอ้ มท่ีดแี ละปราศจากมลภาวะ [Date] 17 บทที่ 2 นโยบายเก่ียวกบั อนามยั สง่ิ แวดล้อม

2.11แบบฝกึ หัดประจาบทท่ี 2 1.จงอธิบายความหมายของหลกั การอนามัยสิง่ แวดลอ้ ม 2.จงระบุประเด็นทีน่ ่าสนใจที่เก่ยี วขอ้ งกับการปรับปรงุ นโยบายสง่ิ แวดลอ้ มมา 5 ประเด็น 3.โรงพยาบาลระดบั ตาบลทท่ี ่านปฏบิ ัติงานอยตู่ ั้งอยู่ต่ากว่าระดับถนน ซ่งึ เป็นเส้นทางหลกั ของชุมชน พาดผ่านด้านหนา้ ติดกับรวั้ ของโรงพยาบาล พนื้ ท่ีด้านหลงั ของโรงพยาบาลเป็นทร่ี าบต่าขนาดกว้างใหญ่ เวลา มฝี นตกลงมาน้าฝนจะไหลจากถนนลงมาบริเวณโรงพยาบาล แลว้ ไหลต่อลงไปในท่รี าบลุ่ม ด้านหลงั ผ้บู ริหาร ของรพ.สต.แห่งน้ีได้ยา้ ยไปอยู่ทอ่ี ื่นหลายคนแลว้ ดว้ ยปญั หาน้าจากถนนทไ่ี หลลงมา ทาให้โรงพยาบาลประสบ กับปญั หาน้าทว่ มขงั อยู่ทุกปี มีการทาหนังสือไปยังสานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั เพือ่ ใหล้ งมาชว่ ยแกไ้ ขปัญหา แตเ่ นอ่ื งจาก รพ.สต.แหง่ นี้เป็นสถานทที่ ชี่ าวบา้ นไว้วางใจ และเป็นจดุ ศูนย์กลางของชุมชน ทาใหช้ าวบ้านส่วน ใหญ่คัดคา้ นการย้ายสถานพยาบาลแห่งนีไ้ ปอยู่ ที่อื่น งานดูแลสขุ ภาพประชาชนตามนโยบายของรพ.สต.แหง่ นี้ทาไดต้ ามเกณฑ์ท่กี ระทรวงกาหนด ชมุ ชนแห่งนี้ชาวบ้านใหก้ ารความรว่ มมอื กับเจ้าหน้าที่เป็นอย่างดี อีกทั้ง มอี งค์การปกครองส่วนท้องถ่ินพรอ้ มให้การสนบั สนุน ในวันสิ้นเดือนนจี้ ะมีการประชมุ ชแ้ี จงชาวบ้านโดยรพ. สต.มอบหมายให้ทา่ นร่างนโยบายมา 2 ประเดน็ คือนโยบายเร่งดว่ น 2 ขอ้ กับนโยบายต่อเนอื่ งระยะยาว 2 ข้อ พร้อมทงั้ ระบุเหตผุ ลของนโยบาย ทา่ นจงเขยี นมาท้ัง 2 ประเดน็ พร้อมประกอบเหตผุ ล [Date] 18 บทท่ี 2 นโยบายเกี่ยวกบั อนามยั สง่ิ แวดล้อม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook