Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ-อ่างงทอง

รายงานผลศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ-อ่างงทอง

Description: รายงานผลศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ-อ่างงทอง

Search

Read the Text Version

รายงานผลการดาเนนิ งาน โครงการศนู ยก์ ารเรยี นรู้ต้นแบบ (Co – Learning Space) อา่ งทอง ประจาปีงบประมาณ 2564 ********************** บทนา แนวคดิ ในการดาเนินงาน วิถีชวี ิต การเรียนรู้ การทางานของคนในยุคปัจจุบันท่เี ปลีย่ นไป รูปแบบการทางาน มักจะ ไปนั่งทางาน อ่านหนงั สือ ประชุม หรือทางานกลมุ่ ตามสถานที่สาธารณะ มากขึน้ ไมว่ ่าจะเป็นร้านกาแฟ หอ้ งสมดุ หรือตาม Co – working Space ตา่ ง ๆ ด้วยเหตุผลหลากหลายไม่วา่ จะเปน็ ต้องการพ้ืนทใี่ น การสร้างแรงบันดาลใจใหม่ๆในการทางาน หรือบางคร้ังจะรู้สึกวา่ มีสมาธิมากกวา่ ท่ีบ้าน ท่ีโรงเรียน หรือ ที่ทางาน แต่พนื้ ทลี่ กั ษณะเช่นนท้ี ีม่ ใี ห้บริการอยู่ในปัจจุบันยงั เปน็ ข้อจากดั ในการเข้าถงึ ของหลายๆคนไม่ วา่ จะเปน็ เรื่องของระยะเวลา การเปดิ – ปดิ บริการ ค่าใชจ้ า่ ย หรือถา้ เปิดให้ใชบ้ รกิ ารฟรีสิ่งอานวยความ สะดวกต่างๆหรือบรรยากาศ อาจยงั ไม่ตอบโจทย์สาหรับการทางานหรือการอ่านหนังสืออย่างมีสมาธิ รวมไปถงึ ความปลอดภยั ต่างๆในการเดินทางไปใช้บริการตามสถานท่ีเหลา่ น้ัน ประกอบกับสภาพสังคมท่ี เปล่ยี นไปทาให้รูปแบบการเรียนร้ขู องผ้รู ับบริการห้องสมุดเปล่ยี นไปมีการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการ ค้นคว้าหาความรู้มากขึน้ จากแนวคิดดังกล่าวสูก่ ารพัฒนาแหล่งเรียนร้ใู ห้มลี ักษณะเป็นศนู ย์การเรียนรู้ Co – Learning Space ซึง่ สานกั งาน กศน. เป็นหนว่ ยงานหน่ึงซงึ่ มีภารกิจหลักในการจัดการศึกษาตาม อธั ยาศัยใหก้ ับประชาชนทุกช่วงวัย และมีแหลง่ เรียนรู้ให้บริการหลากหลายรปู แบบ หอ้ งสมุดประชาชนก็ เป็นหนึ่งในแหล่งเรียนรู้ท่ีให้บริการประชาชนควบคกู่ ับภารกจิ อื่นๆของ กศน. กศน.อาเภอเมืองอ่างทอง ตระหนักถึงความสาคัญของการพัฒนาแหล่งเรยี นรูเ้ พื่อใหบ้ ริการ ประชาชน จึงได้พัฒนาห้องสมุดประชาชนจังหวดั อ่างทอง ให้มีลกั ษณะเปน็ ศนู ย์การเรยี นรู้ต้นแบบ Co – Learning Space เพ่ือให้เป็นแหลง่ เรยี นรสู้ าหรบั คนทุกเพศ ทกุ วัย ทุกอาชีพ วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาห้องสมดุ ประชาชนจังหวดั อ่างทอง ใหเ้ ป็นศูนย์การเรียนร้ตู น้ แบบ Co – Learning Space มีพื้นต่างๆ ใหบ้ ริการการเรียนรรู้ ่วมกันที่สนองตอบความต้องการของผูร้ บั บริการ ทกุ ช่วงวัย มีบรรยากาศทเี่ อื้อตอ่ การเรียนรู้

๒ เปา้ หมาย เชงิ ปริมาณ ปรบั ปรงุ พน้ื ท่กี ารใหบ้ ริการภายในและรอบๆหอ้ งสมดุ ประชาชนจังหวดั อ่างทองให้ เปน็ ศนู ย์การเรยี นร้ตู ้นแบบ Co – Learning Space จานวน 6 โซน คอื โซนทางาน/ประชมุ โซน สง่ เสริมการอ่าน/สื่อ โซนกิจกรรม โซนคอมพวิ เตอร์ โซนพกั ผ่อน โซนกาแฟ เชิงคณุ ภาพ ห้องสมุดประชาชนจังหวัดอา่ งทอง ไดร้ ับการพฒั นาปรับปรุงใหเ้ ปน็ ศูนย์การเรยี นรู้ ต้นแบบ Co – Learning Space มีพน้ื ทใี่ หบ้ ริการการเรียนรูร้ ว่ มกันที่ตอบสนองความต้องการเรียนรู้ ของผูร้ ับบริการทุกชว่ งวยั องคป์ ระกอบ องค์ประกอบเพื่อการให้บริการศนู ยก์ ารเรยี นรู้ต้นแบบ (Co – Learning Space) ของ ห้องสมุดประชาชนจังหวดั อา่ งทอง ในการให้บริการการเรียนร้ตู ามอัธยาศัยสาหรับผใู้ หบ้ ริการทกุ ชว่ ง วยั เพ่ือเปดิ โอกาสให้เรียนรไู้ ด้อยา่ งเสมอภาคเท่าเทียมกันอยา่ งตอ่ เนื่อง เชน่ 1. การใหบ้ รกิ ารหอ้ งปฏิบตั ิงานกลมุ่ ห้องประชุมกล่มุ ย่อย หรือกจิ กรรมอื่นๆตามความ เหมาะสม 2. การให้บริการ การค้นคว้าหาความรูด้ ้วยสอ่ื อุปกรณอ์ ีเลก็ ทรอนิกส์ (on line)การ ให้บริการสืบค้นข้อมูลความรู้ผ่าน Application ด้วยอนิ เทอร์เน็ต และการใหบ้ รกิ ารด้วยรปู แบบปกติ (off line)ของห้องสมดุ ประชาชนจังหวัดอา่ งทอง 3. การใหบ้ ริการพ้ืนท่ีจัดกจิ กรรมทงั้ ภายนอกและภายใน สาหรบั กลุม่ เป้าหมายทกุ ชว่ งวัย ซ่งึ ใหบ้ ริการทั้งบุคคลภายนอกและกิจกรรมทหี่ ้องสมุดประชาชนจงั หวดั อ่างทองจัดขึ้น 4. การให้บรกิ ารมุมคอมพิวเตอร์ ชมภาพยนตร์และข่าวจากทวี ีดจิ ทิ ลั เพื่อสนับสนนุ การ เรยี นรู้และความบนั เทงิ ให้กบั นักเรยี น นกั ศึกษาทัง้ ในระบบและนอกระบบโรงเรียน 5. การให้บริการพ้ืนที่เพ่ือการพักผ่อน พบปะพูดคยุ อา่ นหนังสือหรือเพือ่ พักคอย และมี บรกิ าร wifi ฟรี 6. การให้บริการมุมกาแฟ ซึ่งจดั เป็นพ้ืนทส่ี าหรับน่ังพักผ่อน เพื่ออ่านหนงั สอื จิบกาแฟ ภายในหอ้ งสมดุ ประชาชนจังหวัดอ่างทอง 7. การให้บริการมุมครอบครวั เพ่ือให้เป็นพน้ื ท่ีสาหรับเดก็ ๆและผู้ปกครองในการทา กิจกรรมรว่ มกันเปน็ การสรา้ งความสมั พันธ์อันดตี อ่ กันในครอบครัว

3 ภาพประกอบขององคป์ ระกอบศนู ยก์ ารเรียนร้ตู น้ แบบ (Co – Learning Space) 1. การให้บรกิ ารหอ้ งปฏิบัติงานกลุ่ม ห้องประชุมกลุ่มย่อย หรือกจิ กรรมอน่ื ๆตามความ เหมาะสม ๒. การให้บรกิ าร การค้นคว้าหาความรูด้ ้วยสอ่ื อุปกรณ์อีเล็กทรอนิกส์ (on line) การให้บรกิ ารสืบค้น ข้อมูลความรผู้ ่าน Application ด้วยอินเทอร์เนต็ และการให้บริการด้วยรปู แบบปกติ (off line)ของ หอ้ งสมุดประชาชนจงั หวัดอา่ งทอง

4 3. การให้บรกิ ารพืน้ ทีจ่ ดั กิจกรรมทัง้ ภายนอกและภายใน สาหรับกลุ่มเป้าหมายทกุ ชว่ งวยั ซึ่ง ใหบ้ รกิ ารท้งั บุคคลภายนอกและกิจกรรมทห่ี อ้ งสมุดประชาชนจงั หวดั อา่ งทองจดั ข้ึน 4. การใหบ้ ริการมมุ คอมพิวเตอร์ ชมภาพยนตร์และข่าวจากทีวีดจิ ิทัล เพ่ือสนับสนุนการเรยี นรแู้ ละ ความบันเทงิ ให้กับนักเรยี น นักศึกษาทงั้ ในระบบและนอกระบบโรงเรียน

5 5. การให้บริการพ้ืนท่ีเพ่ือการพักผ่อน พบปะพดู คุยอา่ นหนังสือหรือเพื่อพักคอย และมีบริการ wifi ฟรี 6. การใหบ้ ริการมุมกาแฟ ซ่ึงจดั เปน็ พืน้ ท่สี าหรับน่ังพักผ่อน เพื่ออา่ นหนังสอื จบิ กาแฟ ภายใน หอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวดั อา่ งทอง

6 7. การให้บรกิ ารมุมครอบครวั เพื่อใหเ้ ปน็ พืน้ ที่สาหรับเด็กๆและผ้ปู กครองในการทากจิ กรรมร่วมกนั เป็นการสรา้ งความสมั พนั ธ์อันดีตอ่ กนั ในครอบครวั

7 ขน้ั ตอนการดาเนินงาน 1. ขั้นวางแผน(Plan) - จัดทาแผนการดาเนินงาน - เสนอโครงการ/ขออนมุ ตั ิ - ประชุมผเู้ กีย่ วข้อง ๒.ข้นั การดาเนินการ(Do) พัฒนาปรับปรุงพนื้ ที่หอ้ งสมุดให้เป็นศูนยก์ ารเรียนรตู้ น้ แบบ Co – Learning Space 1. จดั ทาปา้ ยศูนยก์ ารเรยี นรูต้ น้ แบบ Co – Learning Space เพื่อใชใ้ นการติดตง้ั ดา้ นหนา้ ของอาคารห้องสมุด 2. จดั ทาป้ายจดั ทาป้ายช่อื โซน 6 โซน เพอ่ื ใชใ้ นการติดตั้งด้านหน้าของบริเวณที่จัดเปน็ โซน ตา่ ง ๆ 3. จดั ซอ้ื ดินปลกู ต้นไม้ ไม้ดอก ไมป้ ระดบั เพอื่ ปรับภูมิทศั นภ์ ายนอกใหส้ วยงาม 4. จดั ทาโซนทางาน/ประชุม (Co – Working Zone) เพือ่ พฒั นาห้องอ้างอิงใหเ้ ปน็ ห้อง ประชุมกลุ่มย่อยหรือกิจกรรมอื่นๆตามความเหมาะสม 5. จัดทาโซนส่งเสรมิ การอ่าน/ส่อื (Learning Zone) เพอ่ื พัฒนาใหเ้ ป็นแหล่งเรียนรู้ที่ สามารถค้นคว้าหาความรทู้ ัง้ on line(สอ่ื อิเล็กทรอนิกส)์ และในรปู off line (การใหบ้ ริการหอ้ งสมุด ด้วยรปู แบบปกต)ิ ตรงกบั ความต้องการของผรู้ บั บรกิ ารทกุ ช่วงวัย 6. จัดทาโซนกิจกรรม (Activities Zone) เพอื่ พัฒนามมุ เด็กให้เป็นพืน้ ท่จี ัดกิจกรรมและ พน้ื ท่สี าหรบั ครอบครัว(Family Zone) สาหรบั กลุม่ เป้าหมายทุกช่วงวยั และเพื่อพัฒนาบริเวณ ภายนอกให้สวยงาม ร่มรนื่ สารบั ผทู้ ี่ชอบธรรมชาติใช้ในการจดั กิจกรรม นั่งเลน่ พบปะพูดคยุ อ่าน หนงั สอื 7. จดั ทาโซนคอมพิวเตอร์ ชมภาพยนตร์และข่าว (Multimedia Zone) เพอ่ื พฒั นาพ้นื ทที่ ี่ ใช้นั่งอา่ นหนงั สอื เพียงอยา่ งเดียวใหเ้ ป็นพื้นทสี าหรับสืบค้นด้วยคอมพิวเตอร์ซึ่งจะเป็นการเพมิ่ ชอ่ งทาง ในการคน้ ควา้ อกี ช่องทางหนึง่ และเพ่ือความบนั เทงิ ของผู้ชอบดหู นงั ฟังข่าวจากจอทวี ดี ิจิทัล 8. จดั ทาโซนพกั ผ่อน (Relax Zone) เพ่ือพฒั นาพ้ืนทบ่ี รเิ วณห้องหนังสือท่ัวไปใหเ้ ปน็ พน้ื ที่ สาหรบั การพักผ่อน นง่ั เล่น พบปะพูดคุย อา่ นหนังสอื และเพอื่ พัฒนาบริเวณภายนอกให้สวยงาม รม่ รนื่ สารบั ผทู้ ช่ี อบธรรมชาตใิ ชใ้ นการพักผอ่ น นง่ั เลน่ พบปะพูดคยุ อา่ นหนงั สือ 9. จดั ทาโซนกาแฟ (Coffee Zone) เพอ่ื พฒั นาพื้นทบ่ี ริเวณห้องหนงั สือทวั่ ไปให้เป็นพืน้ ท่ี สาหรบั น่ังพักผ่อนสบายๆเพ่ืออ่านหนังสือ จบิ กาแฟ

8 ๓. ขัน้ ตรวจสอบ (Check) - ประเมนิ ผลโครงการ - สรุปผล/รายงานผล ๔. ข้ันปรบั ปรงุ แก้ไข (Action) - นาผลการประเมนิ มาปรบั ปรุงแก้ไข งบประมาณทไ่ี ด้รบั อนุมตั ิ แผนงาน ยุทธศาสตรเ์ พื่อสนบั สนุนดา้ นการพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ งบรายจ่ายอน่ื โครงการศนู ยก์ ารเรยี นร้ตู ้นแบบ กศน. ใน 5 ภูมภิ าค เป็น (Co – Learning Space) ระยะที่ 1 ระหวา่ งเดือนตุลาคม 2563 – มนี าคม 2564 จานวน 48,000 บาท ระยะท่ี 2 ระหวา่ งเดือนเมษายน 2564 – มถิ นุ ายน 2564 จานวน 27,000 บาท ระยะที่ 3 ระหวา่ งเดือนกรกฎาคม 2564 – กนั ยายน 2564 จานวน 29,000 บาท รวมเปน็ เงินทั้งส้ิน จานวน 104,000 บาท (หนง่ึ แสนสี่พันบาทถว้ น) งบประมาณท่ีใช้จริง จานวน 104,000 บาท (หน่งึ แสนสพี่ ันบาทถ้วน) รายละเอยี ดการใช้จ่ายเงนิ ดังน้ี 1. ดาเนนิ การพฒั นาปรับปรุงพนื้ ที่การให้บริการ 27,000 บาท - ค่าจา้ งเหมาปรบั ปรงุ ซอ่ มแซมพน้ื ท่ีพักผ่อนและมุมกาแฟ 15,280 บาท - ค่าจ้างจดั ทาป้ายชื่อศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ Co – Learning Space 3,970 บาท - คา่ จ้างจัดทาป้ายบอกโซนบริการ จานวน 6 โซน 4,900 บาท - จัดซือ้ ดนิ ปลกู ตน้ ไม้ ไมด้ อก ไมป้ ระดับ 48,000 บาท 4,850 บาท 2. ค่าเชา่ คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค ทวี ีดิจิทลั 3. จัดซอื้ ส่อื และวสั ดใุ นการจัดกิจกรรม

9 ภาพประกอบของการพฒั นาหอ้ งสมุดประชาชนจงั หวดั อ่างทอง 1. จัดทาป้ายศนู ย์การเรยี นรูต้ ้นแบบ Co – Learning Space เพ่ือใชใ้ นการตดิ ตงั้ ดา้ นหน้าของอาคาร หอ้ งสมดุ

10 2. จดั ทาป้ายจดั ทาปา้ ยชอ่ื โซน 6 โซน เพอ่ื ใชใ้ นการตดิ ตั้งด้านหน้าของบริเวณท่ีจดั เปน็ โซนต่าง ๆ . ทาโซนทางาน/ประชมุ (Co – Working Zone) โซนคอมพวิ เตอร์ ชมภาพยนตร์และขา่ ว (Multimedia Zone) . โซนสง่ เสรมิ การอา่ น/สื่อ (Learning Zone) โซนกิจกรรม (Activities Zone) โซนพกั ผอ่ น/โซนกาแฟ โซนครอบครัว (Family Zone) Coffee Zone/Relax Zone)

11 3. จดั ซื้อดนิ ปลกู ต้นไม้ ไมด้ อก ไมป้ ระดับ เพ่อื ปรับภมู ทิ ศั น์ภายนอกให้สวยงาม

12 4. จัดทาโซนทางาน/ประชุม (Co – Working Zone) เพื่อพัฒนาห้องอ้างอิงให้เป็นหอ้ งประชมุ กลมุ่ ยอ่ ยหรอื กิจกรรมอนื่ ๆตามความเหมาะสม 5. จดั ทาโซนส่งเสริมการอา่ น/สือ่ (Learning Zone) เพอ่ื พฒั นาใหเ้ ป็นแหล่งเรียนรู้ทสี่ ามารถคน้ ควา้ หาความรู้ทง้ั on line(สื่ออิเล็กทรอนิกส์) และในรูป off line (การใหบ้ ริการห้องสมุดด้วยรปู แบบ ปกติ) ตรงกบั ความต้องการของผู้รบั บริการทุกชว่ งวยั

13 6. จัดทาโซนกิจกรรม (Activities Zone) เพ่อื พัฒนามมุ เดก็ ใหเ้ ปน็ พืน้ ท่ีจดั กิจกรรมและ พนื้ ที่สาหรับครอบครวั (Family Zone) สาหรบั กลุม่ เป้าหมายทกุ ชว่ งวยั และเพื่อพัฒนาบรเิ วณ ภายนอกใหส้ วยงาม รม่ ร่ืน สารบั ผทู้ ่ีชอบธรรมชาติใช้ในการจัดกิจกรรม น่งั เล่น พบปะพูดคยุ อ่าน หนงั สือ

14 7. จัดทาโซนคอมพิวเตอร์ ชมภาพยนตร์และข่าว (Multimedia Zone) เพอ่ื พัฒนาพ้ืนที่ท่ี ใช้นัง่ อา่ นหนงั สอื เพียงอย่างเดียวใหเ้ ป็นพ้นื ทสี าหรับสบื คน้ ด้วยคอมพวิ เตอร์ซ่งึ จะเป็นการเพ่มิ ช่องทาง ในการค้นคว้าอกี ช่องทางหนึง่ และเพื่อความบนั เทิงของผูช้ อบดหู นังฟงั ข่าวจากจอทีวีดิจิทลั

15 8. จัดทาโซนพักผอ่ น (Relax Zone) เพ่ือพฒั นาพน้ื ทีบ่ รเิ วณหอ้ งหนงั สือทัว่ ไปใหเ้ ป็นพื้นทสี่ าหรบั การพักผอ่ น น่งั เล่น พบปะพูดคุย อา่ นหนงั สือ และเพ่อื พัฒนาบริเวณภายนอกใหส้ วยงาม รม่ ร่นื สารบั ผู้ทีช่ อบธรรมชาตใิ ช้ในการพักผ่อน นงั่ เล่น พบปะพดู คุย อา่ นหนังสือ 9. จดั ทาโซนกาแฟ (Coffee Zone) เพ่อื พัฒนาพื้นทีบ่ รเิ วณห้องหนงั สือท่วั ไปใหเ้ ป็นพน้ื ท่ี สาหรบั น่งั พกั ผ่อนสบายๆเพ่ืออ่านหนงั สือ จิบกาแฟ

16 ปรบั ปรุงโซนพักผ่อน/โซนกาแฟ (Coffee Zone/Relax Zone)

17 ผลการดาเนนิ งาน หอ้ งสมุดประชาชนจังหวดั อ่างทอง ได้รบั การพัฒนาให้เปน็ ศนู ย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ Co – Learning Space จานวน 6 โซน คือ 1. โซนทางาน/ประชุม (Co – Working Zone) 2. โซนสง่ เสริมการอ่าน/สื่อ (Learning Zone) 3. โซนกจิ กรรม (Activities Zone)และครอบครวั (Family Zone) 4. โซนคอมพวิ เตอร์ ชมภาพยนตร์และขา่ ว (Multimedia Zone) 5. โซนพกั ผ่อน (Relax Zone) 6. โซนกาแฟ (Coffee Zone) มผี ้รู บั บริการ จานวน 1,755 คน (ตั้งแตเ่ ร่มิ ดาเนนิ งานโครงการจนกระท่งั สน้ิ สุดโครงการระหวา่ ง เดอื น มิถุนายน-กันยายน 2564) หอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวัดอ่างทอง ได้รับการพฒั นาปรับปรงุ ให้เปน็ ศนู ย์การเรยี นรตู้ ้นแบบ Co – Learning Space มีพื้นที่ให้บรกิ ารการเรยี นร้รู ว่ มกันที่ตอบสนองความต้องการเรียนรู้ของ ผรู้ บั บริการทุกช่วงวัย การประเมินผล ตวั ช้ีวดั ความสาเร็จ เปา้ หมาย ผลการดาเนนิ งาน ผลการดาเนินงาน เปรียบเทียบกับ ของกิจกรรม/โครงการ ของกจิ กรรม/โครงการ ของกิจกรรม/โครงการ เปา้ หมาย เชิงปรมิ าณ พน้ื ที่การให้บรกิ าร - หอ้ งสมุดประชาชน หอ้ งสมุดประชาชน จานวน 6 โซน คอื จังหวดั อ่างทอง ไดร้ บั เป็นไปตามเป้าหมาย โซนทางาน/ประชุม การพฒั นาใหเ้ ป็นศูนย์ สงู กว่าเปา้ หมาย จงั หวัดอ่างทอง ได้รับ โซนสง่ เสริมการอา่ น/ส่ือ การเรยี นรตู้ น้ แบบ ตา่ กวา่ เปา้ หมาย การพัฒนาให้เป็นศนู ย์ Co–Learning Space การเรียนรู้ต้นแบบ Co – โซนกิจกรรม จานวน 6 โซน คอื โซน Learning Space โซนคอมพิวเตอร์ ทางาน/ประชุม โซน จานวน 6 โซน คือ โซน โซนพกั ผอ่ น โซนกาแฟ ส่งเสริมการอ่าน/ส่ือ ทางาน/ประชุม โซน โซนกจิ กรรม โซน สง่ เสรมิ การอ่าน/สื่อ คอมพวิ เตอร์ โซน โซนกิจกรรม โซน พักผอ่ น โซนกาแฟ คอมพิวเตอร์ โซน พกั ผอ่ น

ตัวชี้วัดความสาเรจ็ เป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน 18 ของกิจกรรม/โครงการ ของกจิ กรรม/โครงการ ของกิจกรรม/โครงการ ผลการดาเนินงาน เปรยี บเทียบกับ เปา้ หมาย เชงิ คุณภาพ - ห้องสมุดประชาชน หอ้ งสมุดประชาชน จงั หวัดอา่ งทอง ไดร้ ับ การพัฒนาให้เปน็ ศนู ย์ จงั หวดั สงิ ห์บรุ ี ได้รับการ การเรียนรู้ตน้ แบบ พัฒนาปรับปรุงให้เป็น Co–Learning Space ท่ี ศูนยก์ ารเรียนร้ตู น้ แบบ มีพ้นื ท่ีใหบ้ ริการการ Co – Learning Space เรยี นรู้รว่ มกนั ท่ี มพี ื้นที่ ให้บริการการ ตอบสนองความต้องการ เรยี นรู้ร่วมกนั ที่ ของผูร้ บั บริการทุกชว่ ง ตอบสนองความต้องการ วัย ของผรู้ บั บรกิ ารทุกช่วง วัย

19 สรุปความพึงพอใจของผู้รบั บรกิ ารโครงการปรบั ปรงุ พนื้ ทใ่ี หบ้ ริการ หอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวัดอ่างทอง ให้เปน็ ศนู ยก์ ารเรยี นร้ตู ้นแบบ Co – Learning Space ณ ห้องสมุดประชาชนจงั หวดั อ่างทอง ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ท่วั ไป เพศ (เรยี งลาดบั ขอ้ มูลจากมากไปนอ้ ย) เพศหญงิ จานวน 69 คน คิดเปน็ ร้อยละ 69.00 เพศชาย จานวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 31.00 อายุ (เรยี งลาดบั ขอ้ มูลจากมากไปน้อย) 20 อายุระหว่าง ๔๑ – ๕๐ ปี อายุระหวา่ ง ๑๖ – ๓๐ ปี 30 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 30 25 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 25

อายุระหวา่ ง ๕๑ ปขี ้ึนไป 20 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 20 ปี 17 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 17 อายุระหว่าง ๓๑ – ๔๐ ปี 8 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 8 อายุต่ากว่า 1๕ 21 ๓. วฒุ กิ ารศึกษาสงู สดุ (เรยี งลาดบั ขอ้ มลู จากมากไปนอ้ ย) ๓.๑ สาหรบั บคุ คลทั่วไป 44 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 51.8 ปรญิ ญาตรี 14 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 16.5 มธั ยมศึกษาตอนปลาย 13 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 15.3 ต่ากวา่ ปริญญาตรี 8 คน คิดเป็นร้อยละ ประถมศึกษา 6 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 9.4 สูงกวา่ ปรญิ ญาตรี 7.1

๓.๒ สาหรับนกั ศกึ ษา กศน. คดิ เป็นร้อยละ 12 คิดเปน็ ร้อยละ 9 มธั ยมศึกษาตอนปลาย 12 คน มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 9 คน 22 ส่วนท่ี ๒ ความพงึ พอใจกิจกรรมการเรียนรู้ หรือการใหบ้ ริการ ทีเ่ ข้ารับบริการ (กรุณาทา เครอ่ื งหมาย √ หนา้ ขอ้ ความทต่ี รงกลับความคดิ เห็นของท่านมากทสี่ ุด) 2.๑ การปรบั ปรงุ พน้ื ที่โซนทางาน/ประชุม (Co – Working Zone) (เรยี งลาดับขอ้ มูลจาก มากไปน้อย) มาก จานวน 74 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 74 มากท่สี ุด จานวน 22 คน คิดเปน็ ร้อยละ 22 ปานกลาง จานวน 3 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 3 นอ้ ยทส่ี ุด จานวน 1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1

23 2.2 ปรบั ปรุงพื้นท่ีโซนสง่ เสริมการอา่ น/ ส่ือ (Learning Zone) (เรียงลาดับข้อมูลจากมากไปน้อย) มากท่ีสดุ จานวน 60 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 60.6 มาก จานวน 39 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 39.4 ไมแ่ สดง จานวน 1 คน

24 2.3 ปรับปรงุ พื้นท่ีโซนกิจกรรม (Activities Zone)และครอบครวั ( Family Zone) มาก จานวน 56 คน คิดเปน็ ร้อยละ 56 มากท่ีสดุ จานวน 43 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 43 ปานกลาง จานวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 1

25 2.4 ปรับปรงุ พน้ื ท่ีโซนคอมพิวเตอร์ ชมภาพยนตรแ์ ละขา่ ว (Multimedia Zone) มาก จานวน 63 คน คิดเป็นร้อยละ 63 มากท่ีสดุ จานวน 36 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 36 ปานกลาง จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 1

26 2.5 ปรับปรุงพ้ืนที่โซนพกั ผอ่ น (Relax Zone) มาก จานวน 52 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 52 มากท่ีสดุ จานวน 48 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 48

27 2.6 ปรับปรุงพื้นที่โซนกาแฟ (Coffee Zone) มากที่สุด จานวน 54 คน คิดเปน็ ร้อยละ 54 มาก จานวน 46 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 46

ขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ/ความไม่พึงพอใจ 1. ขยายโซนออกนอกอาคารได้ไหม 2. อากาศร้อน 3. เพม่ิ หนงั สือนยิ ายให้มากข้นึ 4. เพิ่มเครื่องปรบั อากาศให้ครบทกุ โซนจะทาใหน้ ั่งอา่ นหรือทางานได้นานขึน้ มคี วามสุขมากขนึ้ 5. ขอแอร์ 6. ขอนยิ ายจนี ให้มากขนึ้

ตารางสรปุ ท่ี เนือ้ หาสาระการรายงานผล 1 ปรับปรงุ พนื้ ที่โซนทางาน/ประชุม (Co – Working Zone) 2 ปรบั ปรงุ พ้นื ทโ่ี ซนส่งเสริมการอ่าน/ สื่อ (Learning Zone) 3 ปรบั ปรุงพื้นทโ่ี ซนกิจกรรม (Activities Zone)และครอบครัว( Family Zone) 4 ปรับปรุงพื้นทโ่ี ซนคอมพวิ เตอร์ ชมภาพยนตร์และขา่ ว (Multimedia Zone) 5 ปรับปรงุ พน้ื ทโี่ ซนพักผ่อน (Relax Zone) 6 ปรับปรงุ พ้นื ท่ีโซนกาแฟ (Coffee Zone) ผลการประเมนิ คดิ เป็นคา่ เฉลี่ย

28 ระดับคุณภาพ สรุป (ร้อยละ) 96 พื้นทโ่ี ซนทางาน/ประชุม (Co – Working Zone)ได้รบั การ 100 ปรบั ปรงุ พฒั นาแลว้ มคี วามพึงพอใจในระดบั มากท่สี ดุ 99 พนื้ ทโี่ ซนสง่ เสริมการอา่ น/ สื่อ (Learning Zone)ไดร้ บั การ ปรบั ปรุงพฒั นาแลว้ มคี วามพึงพอใจในระดับ มากที่สดุ 96 พ้นื ทโี่ ซนกจิ กรรม (Activities Zone)และครอบครัว( Family Zone)ได้รบั การปรับปรุงพฒั นาแล้วมีความพึงพอใจในระดับ 100 มากทสี่ ดุ 100 พื้นทโี่ ซนคอมพิวเตอร์ ชมภาพยนตรแ์ ละขา่ ว (Multimedia 98.50 Zone)ได้รบั การปรบั ปรุงพฒั นาแล้วมคี วามพึงพอใจในระดับ มากทีส่ ุด พนื้ ที่โซนพักผอ่ น (Relax Zone)ไดร้ ับการปรบั ปรุงพฒั นา แล้วมีความพงึ พอใจในระดับ มากท่ีสดุ พน้ื ท่ีโซนกาแฟ (Coffee Zone) ได้รับการปรบั ปรุงพฒั นา แลว้ มีความพงึ พอใจในระดบั มากที่สดุ มีความพงึ พอใจโดยรวมอย่ใู นระดับมากท่ีสุด





29 ปัญหา/อุปสรรค/ขอ้ เสนอแนะและวิธแี กไ้ ขในการปฏบิ ตั ิงาน ท่ี ปญั หา/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ/วิธีแกไ้ ข 1 ไดร้ ับงบประมาณในการดาเนินงานคอ่ นข้าง ควรจัดสรรงบประมาณในการดาเนนิ งานให้ ลา่ ช้า ทาใหก้ ารบริหารงบประมาณตอ้ งทา เร็วข้นึ และ ทนั ตอ่ การปฏิบัติงานในเวลาที่ ภายในเวลาทจี่ ากดั จากัด ไมเ่ ร่งรีบจนเกินไป 2 หอ้ งสมุดประชาชนจังหวัดอ่างทอง เป็นอาคาร ควรให้การสนบั สนนุ บุคลากรท่มี ี ทข่ี ้นึ ทะเบยี นโบราณสถานของกรมศิลปากรจงึ มี ความสามารถในการออกแบบตกแต่งภายใน ขอ้ จากดั เกยี่ วกับอาคาร ทาให้สภาพของ เพ่ือพัฒนาใหเ้ ปน็ ไปตามเปา้ หมายโดยไม่ ห้องสมุดฯ ค่อนข้างเก่าและทรดุ โทรม เมื่อ กระทบกบั ข้อห้ามของโบราณสถาน ได้รับงบประมาณในการดาเนินงานครัง้ นี้ จงึ เป็นสาเหตุให้การดาเนนิ งานปรับปรุงพ้ืนทีโ่ ซน ต่างๆ ยังไมส่ มบูรณ์เทา่ ที่ควร 3 สถานทคี่ บั แคบเน่ืองจากห้องสมุดฯ มีขนาดเล็ก แก้ปญั หาโดยจดั สถานท่ภี ายนอกเปน็ โซน ไม่สามารถจัดโซนต่างๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสม พักผอ่ น(Relax Zone) เท่าทีค่ วร บางโซนตอ้ งใชพ้ ้ืนทีร่ ว่ มกัน เช่น โซนกิจกรรม (Activities Zone)และครอบครัว( Family Zone)และโซนพักผ่อน (Relax Zone) รว่ มกบั โซนกาแฟ (Coffee Zone) 4 บคุ ลากรผปู้ ฏบิ ตั งิ านไม่เพียงพอในการปรบั ปรุง แก้ปญั หาโดยขอความร่วมมือจากครู กศน. พัฒนาพนื้ ท่ี ตาบลของกศน.อาเภอเมืองอา่ งทองและภาคี เครือข่าย 5 ขาดแคลนเครือ่ งคอมพิวเตอร์และทีวี สว่ นกลางจัดหาคตอมพิวเตอร์และทีวใี ห้กบั งบประมาณที่ได้รับสามารถเชา่ ได้เพยี ง 1 ชุด หอ้ งสมดุ ฯ 6 ปญั หาจากโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา (covid-19 ) แกป้ ัญหาโดยการขอคาแนะนาจาก ระบาดทาให้ตอ้ งจากัดเร่ืองการปฏบิ ัตงิ านและ คณะกรรมการขบั เคลื่อนการดาเนินงานศนู ย์ ปดิ บรกิ ารตามคาสั่งของ ผูว้ า่ ราชการจงั หวดั การเรียนร้ตู ้นแบบ (Co – Learning อา่ งทอง ทาให้การทางานล่าช้ากว่ากาหนดและ Space) เป็นรายบคุ คล ไมส่ ามารถประชุมคณะกรรมการขบั เคล่ือนการ ดาเนินงานศูนย์การเรียนรูต้ น้ แบบ (Co – Learning Space)พร้อมกันท้ังคณะได้ 30

หมายเหตุ ผลการดาเนนิ งานตามโครงการ ใช้เกณฑ์สรุปผลระดบั คณุ ภาพ ดงั น้ี ดมี าก หมายถงึ ผลการประเมนิ จากแบบสอบถาม อยู่ในระดับร้อยละ 91 – 100 ดี หมายถึง ผลการประเมนิ จากแบบสอบถาม อยใู่ นระดับร้อยละ 71-90 ปานกลาง หมายถึง ผลการประเมนิ จากแบบสอบถาม อยู่ในระดับร้อยละ 51-70 นอ้ ย หมายถึง ผลการประเมนิ จากแบบสอบถาม อย่ใู นระดบั ร้อยละ 31-50 นอ้ ยทีส่ ดุ หมายถึง ผลการประเมินจากแบบสอบถาม อย่ใู นระดับร้อยละ 0-30 ลงชอื่ ผู้รายงาน (นางสาวดารณี เอยี่ มสาอางค์) บรรณารกั ษ์อตั ราจ้าง ลงชอ่ื ผ้รู ายงาน (นางสาวธดิ ารัตน์ เขมะชิต) บรรณารักษ์ชานาญการพเิ ศษ ลงชอ่ื ผู้ตรวจรายงาน (นางปุณนภา เชิดเพชรรัตน์) ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองอ่างทอง