Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tailawpainai_book185

tailawpainai_book185

Published by ชมรมกัลยาณธรรม, 2021-03-28 13:00:28

Description: tailawpainai_book185

Search

Read the Text Version

สดุ ทา ยผบู รรยายยงั มเี รอื่ งทเ่ี กดิ ขน้ึ จากความไมร จู รงิ เม่ือนำความรูไปใชแลวทำใหเกิดเปนปญหากับผูใช ซ่ึงมีอยู ครง้ั หนง่ึ ผบู รรยายไดถ กู เชญิ ไปใหค วามรผู มู ที กั ษะในการรกั ษา คนไขใหหายเจบ็ ปว ย หลงั จากการบรรยายจบส้นิ ลง ไดม ีหมอ ใหญทานหนึ่งเขา มาทักทายผูบรรยายแลว พูดวา หมอใหญ : ผมไปเปลยี่ นตบั มาครบั เอาตบั ของเดก็ ทถี่ กู รถชนตายมาเปลี่ยนแทนตับของผม ผบู รรยาย : คณุ หมอทำงานทางดานไหนครับ หมอใหญ : ผมมีความรูและมีประสบการณในดานยา รกั ษาโรค กอ นนำยามาใชก บั คนไข ผมตอ งเอายาไปฉดี ทดลอง ในหนูขาว (mice) กอน หากหนูหายจากโรคและไมมีไซต เอ็ฟเฟกต ผมจึงจะนำยาน้นั มาฉดี ใหคนไขค รบั จากคำบอกเลา ของหมอใหญ ผบู รรยายจงึ ไดร วู า การ กระทำของคุณหมอมิไดผิดกฎหมายและมิไดผิดจรรยาแพทย แตผิดกฎแหงกรรมตรงท่ีวา กระทำเหตุเบียดเบียนสัตว เพราะตับของสัตว รวมถึงตับของมนุษยทำหนาท่ีสรางน้ำดี และสรา งโปรตนี บางชนดิ ขน้ึ เพอ่ื ทำลายพษิ ทเี่ ขา สตู วั ยาทคี่ ณุ ๙๙ดร.สนอง วรอุไร

ตายแล้วไปไหนหมอฉีดเขาไปในตัวหนูทดลอง ถือวาเปนส่ิงแปลกปลอมท่ีนำ เขาไปในตวั สตั ว ตบั ของสัตวจ งึ ตอ งทำหนาท่กี ำจดั สารพิษให หมดไปจากรางกาย เมือ่ ตับตองทำงานหนกั จนเส่ือมดลุ ยภาพ ผลการเปลี่ยนตับ (organ transplant) จึงไดเกิดขึ้นกับคุณ หมอ ดวยเหตุนี้การใชความรูทางโลกหรือความรูที่ไมจริงแท ไปในทางท่ีเบยี ดเบียน ยอ มนำทกุ ขโทษมาสูผใู ชไ ด เมื่อเดือนมีนาคม พุทธศักราช ๒๕๕๒ ผูบรรยาย ไดมีโอกาสเขาไปกราบพระนิยตโพธิสัตว ท่ีมีชื่อวา “ครูบา บญุ ชุม ” ในถ้ำราชคฤห อำเภองาว จงั หวัดลำปาง ถ้ำนนั้ แบง ออกเปน สามเขต โดยมปี ระตกู น้ั เขตถำ้ ชนั้ ในสดุ เปน ทอ่ี ยขู อง สงฆ (สงั ฆาวาส) จงึ มฆี ราวาสเพศชายประมาณ ๒๐ คนไดร บั อนุญาตใหเขาไปยังถ้ำชั้นในสุดได หลังจากท่ีไดกราบครูบาฯ แลว ทา นไดพ ดู ขนึ้ วา “ตอ ไปนโี้ ลกจะวกิ ฤตมากยงิ่ ขน้ึ พวกเรา อยาไดประมาท จงพัฒนาจติ แลว ปด อบายภมู ใิ หได” คำวา “วกิ ฤต” หมายถงึ เหตกุ ารณทีก่ ำลังจะแปรผนั ไปเปนอันตราย คำวา “กลียุค” หมายถงึ สมยั ที่มเี หตุการณปน ปว น ๑๐๐

หรือเดือดรอนกันไปทั่ว ดังนั้นความหมายของคำวาวิกฤต ท่ี ครูบาฯ ไดกลา วเตือนญาตธิ รรมก็คอื ในวนั เวลาขางหนา โลก ท่ีเราอยูอาศัยกำลังจะเกิดเหตุการณแปรผันไปอยูในข้ันท่ีปน อันตรายตอการอยูอ าศัยของคนบางหมบู างพวกมากย่ิงข้นึ ผู บรรยาย ได ฟง แลว ยัง พอใจ ช้ืน ท่ี ยัง ไม เขา ถึง เหตุการณที่ทำใหเดือดรอนกันไปท่ัวท่ีเรียกวา กลียุค จาก ภาพขาวเร่ืองน้ำทวมที่ออกเผยแพรทางจอโทรทัศนจะเห็นได วา น้ำทวมเกดิ ขน้ึ ในท่หี ลายแหง เชนทีโ่ คราช ท่นี ครสวรรค ท่อี ยธุ ยา ที่จงั หวัดชยั ภูมิ ฯลฯ เหลา นเ้ี ปน เหตุการณวกิ ฤตที่ ทำใหม นุษยม คี วามเปน อยทู ไี่ มส งบสุข ซ่ึง พระพุ ทธ โค ดม ได ต รัส ไว ใน ครั้ ง พุท ธ ก า ล ว า “มนุษยมีทรัพยสมบัติเปนสาธารณะแกโจร แกน้ำ แกไฟ แกพระราชา” แมกาลเวลาไดสืบตอมายาวนานนับหลาย พันป สัจธรรมดังกลาวก็ยังคงความเปนจริงสืบตอมาจนถึง ยุคปจจุบัน ดังที่ครูบาฯ ไดกลาวเนนย้ำไมใหประมาทในการ ดำเนินชวี ิต ปญ หาจึงมอี ยูวา เราจะปด อบายภูมิไดอยา งไร? การพัฒนาจิตแลวปดอบายภูมิใหได เปนคำกลาวที่ ดร.สนอง วรอไุ ร ๑๐๑

ตายแล้วไปไหนบุคคลตองทำเหตุปจจุบันใหถูกตรง แลวชีวิตในกาลเวลาขาง หนา จะไมโ คจรลงไปเกดิ เปนสตั วอ ยูในอบายภมู ิ อันไดแ ก ไม ลงไปเกิดเปนสัตวเดรัจฉาน ไมลงไปเกิดเปนสัตวเปรต สัตว อสรุ กาย รวมถึงไมลงไปเกิดเปน สตั วนรก การจะทำเชน นไี้ ด บคุ คลตอ งพฒั นาจติ (สมถภาวนา) ใหเขาถึงความตั้งม่ันเปนสมาธิ และพัฒนาจิต (วิปสสนา ภาวนา) ใหเกิดปญ ญาเห็นแจง แลว ใชป ญญาเห็นแจง กำจดั กิเลสที่ผูกมัดใจ (สังโยชน) อยางนอยกำจัดสังโยชนสามตัว แรก (สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา และสีลัพพตปรามาส) ใหห มดไป จากใจไดแ ลว โอกาสปดอบายภูมิ คอื ไมน ำพาชวี ติ ไปเกดิ เปน สตั วอ ยใู นทคุ ตภิ พจึงจะเกิดขึน้ ได ตายเกดิ อีกไมเกิน ๗ ชาติ ยอมนำพาชีวิตไปสูความพนทุกขหรือท่ีเรียกวา เขานิพพาน น้นั จึงจะมีความเปน จริงได สิ่งที่ผูบรรยายบอกเลามาใหฟงน้ี บุคคลอยาไดหวัง วาจะไดพบไดทราบและไดสนทนาธรรมกับพระนิยตโพธิสัตว ทีม่ ีนามวา ครูบาบุญชุม เพราะนับแตวนั ที่ ๑๘ เดอื นเมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๓ เปน ตนไป ครบู าฯจะไมออกจากถำ้ มาพบ บคุ คลผมู ีอตั ภาพเปนมนุษยเปน เวลานานถงึ ๓ ป ท้งั น้ีครบู าฯ ๑๐๒

ไดพูดวา “อาตมาตองเตรียมตัวใหพรอมท่ีจะนำพาชีวิตไปสู ภพใหม” เรอ่ื งการใชป ญ ญาทางโลกสอ งนำทางใหก บั ชวี ติ และ การใชป ญ ญาสงู สดุ นำพาชวี ติ ใหพ น ไปจากโลก มผี ลแตกตา ง กนั ดงั ตวั อยา งเรอ่ื งจรงิ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในยคุ ปจ จบุ นั ซง่ึ ผบู รรยายจะ นำมาบอกเลาใหฟง ดงั นี้ มีนักศึกษาคนไทยที่ไปศึกษาระดับปริญญาเอกอยูใน ตา งประเทศอยคู นหนง่ึ ไดส ง ขอ ความเขา มาในเวบ็ ไซด www. kanlayanatam.com เปน ขอ ความทมี่ ไิ ดม จี ดุ ประสงคท จ่ี ะถาม ปญ หา แตเ ปน ขอ ความทเ่ี กย่ี วกบั ความคดิ ของเขา คดิ ดงั ๆ ให คนทเี่ ขา มาอา นเวบ็ ไซดไ ดร วู า เขามคี วามคดิ เปน เชน ไร ซง่ึ แบง ความคิดของเขาออกเปน สามขั้นตอนคอื ความคิดในข้ันตอนที่ ๑ เขาพูดวา ขณะน้ีเขากำลัง ศกึ ษาตอ อยใู นตา งประเทศและไดม โี อกาสไปฝก พฒั นาจติ ตาม แนวของโคเอน็ กา แลว เหน็ วา วธิ กี ารฝก เชน นนั้ เปน ประโยชน กบั ชวี ติ จงึ คดิ ทจี่ ะไปกเู งนิ มาสกั หนง่ึ กอ นเพอื่ นำมาสรา งสถาน ปฏิบัติธรรมตามแนวดงั กลาวข้ึนท่ีเมืองไทย ดร.สนอง วรอุไร ๑๐๓

ตายแล้วไปไหนความคิดในขั้นตอนท่ี ๒ เขาไดคิดตอไปวา จะยังไม กูเงินแตขอใหเรียนจบการศึกษากอน แลวกลับไปทำงานเก็บ เงนิ ใหไ ดส ักกอนหน่งึ แลว จึงคอยสรางสถานปฏิบตั ิธรรม ความคิดในขั้นตอนที่ ๓ เขาไดคิดตอไปวาจะยังไมกู เงนิ แตจ ะไปปฏบิ ตั ธิ รรมใหเ ขา ถงึ ดวงตาเหน็ ธรรมไดเ มอื่ ไรแลว จงึ จะสรางสถานปฏบิ ตั ธิ รรมในภายหลัง เมือ่ ผบู รรยายไดท ราบความคดิ ดังๆ ของเขา ทจ่ี ะทำ ประโยชนใหกับมวลชน ถือวาเปนเรื่องดีที่ตองอนุโมทนา และยังไดใชจิตวิเคราะหความคิดของเขาดวยวิธีการอัน แยบคาย (โยนิโสมนสิการ) วาหน่ึงในสี่ของกามโภคี สุขที่ คฤหัสถสามารถเขาถึงได คือความสุขที่เกิดจากการไมทำตัว ใหเปนหน้ี และยังไดพิจารณาตอไปถึงคำวา “ดวงตาเห็น ธรรม” ซึ่งมีความหมายวา สิ่งใดส่ิงหนึ่งมีการเกิดข้ึนเปน ธรรมดา สิ่งน้ันทั้งปวงยอมมีความดับไปเปนธรรมดา ผูที่จะ เขาถึงปญญาเห็นแจงเชนน้ีได ตองมีสภาวธรรมในดวงจิต เปน อรยิ บุคคล นับแตพ ระโสดาบันข้ึนจนถงึ พระอรหันต ตาม ๑๐๔

ทมี่ รี ะบไุ วใ นบทสวดมนตส งั ฆานสุ ติ ทภ่ี กิ ษสุ งฆใ ชส วดทำวตั ร เชา -ทำวตั รเยน็ ในครั้งพุทธกาล ที่กรุงสาวัตถีแควนโกศล มีอนาถ บิณฑิกเศรษฐีโสดาบัน ไดสรางวัดเชตวัน มีนางวิสาขา โสดาบัน ไดส รางวดั บพุ พารามและทีก่ รงุ โกสมั พี แควนวงั สะ มีโฆสกเศรษฐีโสดาบันไดสรางวัดโฆสิตาราม มีปาวาริก เศรษฐโี สดาบัน ไดสรางวัดปาวารกิ าราม และมกี กุ กุฏเศรษฐี โสดาบันไดสรา งวดั กกุ กฏุ าราม แตล ะเศรษฐีโสดาบนั ไดส ราง วัดคนละหน่ึงวัดถวายไวในพุทธศาสนา สวนผูมีจิตบรรลุ สภาวธรรมต้ังแตพระสกทาคามีขึ้นไปจนถึงขั้นพระอรหันต มิไดสรา งวดั หรอื ศาสนสถานใดๆ ถวายไวใ นพุทธศาสนา ที่กลาวมาขา งตน พอทจ่ี ะสรุปลงไดว า ผูมีดวงตาเห็น ธรรมขั้นพระโสดาบันเทานั้น ยังมีโอกาสสรางวัด หรือสราง ศาสนสถานถวายไวใ นพทุ ธศาสนาได แตผ มู ดี วงตาเหน็ ธรรม ขนั้ พระสกทาคามจี นถงึ ขนั้ พระอรหนั ตจ ะไมส รา งศาสนสถาน ใดๆใหเ กิดขึ้น ดังน้ันนักศึกษาคนที่คิดดังๆ วาขอใหไดดวงตาเห็น ธรรมเสียกอนแลวจึงจะสรางสถานปฏิบัติธรรมข้ึนมาภาย ดร.สนอง วรอไุ ร ๑๐๕

ตายแล้วไปไหนหลัง เปนความคิดเห็นของคนท่ียังเขาไมถึงความจริงแทของ สจั ธรรม หากเขา ถงึ ดวงตาเหน็ ธรรมขน้ั ทส่ี งู กวา พระโสดาบนั แลว โอกาสสรางสถานปฏิบัติธรรมยอมไมเกิดข้ึน ท้ังนี้เปน ดวยเหตุพระสกทาคามีเปนผูมีกำลังของกามราคะออน สวน พระอนาคามีและพระอรหันตเปนผูปราศจากกามราคะแลว จึงไมเอาจิตเขาไปผูกติดเปนทาสของวัตถุใดๆ มีแตคิดกำจัด กิเลสทค่ี างคาใจใหห มดไปเทานน้ั เพ่ือชวี ิตไมหวนกลบั มาเกดิ อยใู นวฏั สงสารอกี จากเจตนารมณข องนกั ศกึ ษา ทไ่ี ปแสวงหาความรอู ยู ในตา งประเทศ เมอื่ สำเรจ็ การศกึ ษาแลว เขาจะมาปฏบิ ตั ธิ รรม จนเขา ถงึ ดวงตาเหน็ ธรรม นนั่ แสดงวา เขาเหน็ ความตายรออยู เบอื้ งหนา เมอื่ ตายแลว จติ ยงั ตอ งโคจรไปเกดิ อยใู นภพใหม เขา จึงประสงคเตรยี มตวั ไวใหพรอ มกอ นตาย วา ตายแลว จะไมลง ไปเกิดในอบายภมู อิ ีกจนกวา จะเขา สนู ิพพาน ๑๐๖

พั ฒ น า จิ ต เขา ถงึ ปญ ญาสงู สดุ

ตายแล้วไปไหนผูบรรยายไดมีโอกาสไปพัฒนาจิต จนเขาถึงปญญา สงู สดุ ทเ่ี รยี กวา อภญิ ญา ๕ แลว จงึ ไดเ หน็ ความจรงิ วา ตนเอง เวียนตายเวียนเกิดมานับภพชาติไมถวน แตละภพที่เกิดมี แตรูปขันธเทาน้ันที่แตกสลาย สวนจิตท่ียังมีกิเลสคางคาอยู ภายใน ไมเคยตายหรือไมเคยสลาย จิตยังตองโคจรเขาไป อยูในรูปขันธตัวใหมอยางน้ีเร่ือยไป เม่ือไดเห็นความจริงของ ชวี ิตเปนเชน นแี้ ลว จงึ ไดรูวาเราโงเอง ที่ปลอ ยใหก ิเลสเขา มา มอี ำนาจเหนือใจ หลังจากเห็นสัจธรรมของชีวิตเปนเชนนี้แลว จึงได คิดหาทางออกใหกับชีวิตดวยการพัฒนาปญญาเห็นแจงให เกิดขนึ้ แลวพบวา มนุษยเ ปน สตั วส งั คม ชีวิตจะดำรงอยูได ตองอาศัยปจจัยจากสังคมมาหลอเล้ียง มนุษยจึงตองพัฒนา ความรูหรือปญญาภายนอก (สุตมยปญญา และจินตามย ปญ ญา) เพือ่ ใชทำงานใหก บั สังคม ชีวิตจึงจะดำรงอยรู อดได ๑๐๘

อกี ประการหนงึ่ มนษุ ยต ายแลว ยงั ตอ งไปเกดิ ใหม การ โคจรของจิตไปสูภพใหมท่ีดี (สุคติภพ) ตองใชบุญเปนปจจัย เดินทาง ผูใดมีบุญส่ังสมอยูในดวงจิตนอย ตายแลวจิตยอม โคจรไปไดไ มไ กล ตรงกนั ขา ม ผใู ดมบี ญุ สงั่ สมอยใู นดวงจติ มาก ตายแลว จติ วญิ ญาณสามารถโคจรไปสสู คุ ตภิ พทอ่ี ยหู า งไกลได ดงั นนั้ ผปู รารถนามชี วี ติ ในภพใหมท ด่ี ี จงึ ตอ งทำงานภายในให กับตวั เองดวยการสรางและส่งั สมบญุ ไวใ นดวงจิต ผูบ รรยายขออนญุ าตยืมคำทีห่ ลวงพอคำเขยี น ไดพ ูด ไวเ มอ่ื สกั ครูน ี้วา “มโน ปพุ พฺ คํ มา ธมมฺ า (จติ เปนรากฐานของสิง่ ท้ังหลาย) มโน เสฏฐา (จิตประเสรฐิ กวาส่งิ ทั้งหลาย) มโน มยา (ส่ิงท้งั หลาย สำเรจ็ ดว ยจิต)” จากอมตวลีท่ีหลวงพอฯ ไดยกข้ึนมากลาวใหญาติ ธรรมไดร ับฟง แลว ตองนำไปคิดเอาเองวา สิง่ ทง้ั หลายสำเรจ็ ดวยใจจรงิ ไหม ในท่ปี ระชุมแหง น้ี มใี ครบางไหมที่คิดวา ตาย ดร.สนอง วรอุไร ๑๐๙

ตายแล้วไปไหนแลว ตวั เองจะไมเ กดิ อกี ตราบใดทยี่ งั มกี เิ ลสคา งคาอยู ในเมอื่ จติ ทงิ้ รปู ขนั ธแ ลว กิเลสยงั มพี ลงั ผลกั ดันจิตวญิ ญาณ ใหโคจร ไปเขา อยอู าศยั ในรา งใหม เพอื่ ใชร า งใหมท ำกจิ กรรมใหก บั ชวี ติ สบื ตอ ไป ผทู ค่ี ดิ วา ตวั เองจะไมเ กดิ อกี เพราะเกดิ มาเปน สตั วไ ม วา จะอยูในภพภูมไิ หน ก็ยอ มมีความทุกขต ามมาพรอ มกบั การ เกิดทั้งสิน้ ผบู รรยายไดร ับโทรศพั ทท างไกล จากสภุ าพสตรที า น หน่ึง สุภาพสตรีทานนั้นไดพูดกับผูบรรยายวา “อาจารยคะ ดิฉันแตงงานแลว แตไมมีบุตร ดิฉันเปนเจาของรีสอรทแหง หนึ่ง และมีเงินอยูจำนวนหนึ่งจะบริจาคสรางกุฏิพระไวใน พุทธศาสนา” ผูบรรยายเมื่อไดฟงเจาของรีสอรทพูดแลว จึงได คิดตอไปวาสุภาพสตรีทานน้ีคงมีความทุกข ท่ีตองยุงเก่ียว กับสมบัติท่ีนำความคับแคนใจมาให จึงไดพูดเตือนสติไปวา “ตายแลวเอารีสอรทไปดวยนะ อยาท้ิงไวเปนสมบัติกำพรา ใหเ ปน ภาระของผอู ยหู ลงั ตอ งเดอื ดรอ น” เธอไดฟ ง แลว หวั เราะ หๆึ แทจ รงิ สภุ าพสตรที า นนนั้ ไดโ ทรศพั ทม าหาดว ยจดุ ประสงค บริจาคทรัพย สรางกุฏิพระไวที่วัดแหงหนึ่งท่ีผูบรรยายรูจัก จงึ ไดแนะนำใหต ิดตอกับเจาอาวาสโดยตรง ๑๑๐

หวนกลบั มาพดู ถงึ วลที เี่ ปน ภาษาบาลที กี่ ลา ววา “มโน มยา” หมายถึงสำเร็จดวยใจ จะเปนคนดีมีศีลธรรมไดก็ตอง พัฒนาใจใหมีสติสัมปชัญญะ จะมีชีวิตที่สงบราบรื่นได ก็ ตองพัฒนาใจใหมีสัมมาทิฏฐิ จะมีความสุขไดก็ตองพัฒนา ใจ ใหสงบจากอารมณป รงุ แตงหรอื ใหม คี วามสันโดษ จะเปน อริยบุคคลได ก็ตองพัฒนาใจใหเปนอิสระจากกิเลสที่ผูกมัด ใจ (สังโยชน) ฯลฯ ตรงกันขา ม จะเปน คนช่ัวก็อยูที่การทำใจ ใหประพฤติทุศีลไรธรรม จะมีชีวิตสะดุดและมีปญหาใหตอง แกไ ขกต็ อ งปลอ ยใจใหอ ยใู ตอ ำนาจของความเหน็ ผดิ หรอื ความ หลง จะมชี วี ติ วบิ ตั ิ กต็ อ งปลอ ยใจใหเ ปน ทาสของอบายมขุ ฯลฯ จากตวั อยา งทยี่ กขน้ึ มาพดู ใหฟ ง จะดจี ะชว่ั ขนึ้ อยกู บั ใจของตวั เองเปนตน เหตุ เม่ือยอนกลับมาพิจารณาวาตายแลวไปไหน ก็ตอง คิดถึงตนเหตุที่บุคคลไดกระทำไวกอนตาย มีพระสวดบังสุกุล บางรูป ไปเอามือเคาะที่ขางฝาโลงศพ แลวพูดวา “โยมไป ที่ชอบๆ เถิด” เม่ือไดยินไดฟงแลว ตองพิจารณาตอไปวา รา งกายทไ่ี รว ญิ ญาณ (ศพ) ยงั คงนอนนง่ิ อยใู นโลงศพ รา งกาย มไิ ดโ คจรไปไหน แตจิตทีอ่ อกจากรางตา งหากละ ทโ่ี คจรไปยงั ดร.สนอง วรอไุ ร ๑๑๑

ตายแล้วไปไหนท่ีตางๆ ได ทงั้ นี้ข้ึนอยกู ับกรรมทำไวเปนตน เหตุ ในคร้ังทีย่ งั มี ชีวติ อยู ทช่ี อบๆ ของบคุ คลผูป ระพฤติชัว่ เชน นันทมาณพ ประพฤติขมขืนทางเพศพระอุบลวรรณ ภิกษุณอี รหนั ต ไดถกู ธรณสี ูบลงไปเกิดในอเวจนี รก นางจิญจมานวิกา แกลงทำเปนทอง แลวกลาวตู พระพทุ ธโคดม ไดถ กู ธรณีสบู ลงไปเกิดในอเวจนี รก วสั สการพราหมณ นกั ปราชญแ หง กรงุ ราชคฤหก ลา ว วาจาปรามาสพระมหากจั จายนะอรหนั ต ผลปรากฏวา เมอ่ื ตาย แลว ตอ งลงไปเกิดเปนลงิ อยใู นปา ไผของกรงุ ราชคฤห โตเทยยพราหมณ เศรษฐมี ที รัพยม หาศาล มีจิตหลง เปนทาสของทรัพยเงินทอง ตายแลวไปเกิดเปนลูกสุนัข เฝา สมบตั ิตวั เองในบา นของลกู ชาย สวนท่ีชอบๆ ของผูประพฤตดิ ีงาม เชน สริ มิ า โสเภณแี หง แควน มคธ ไดฟ ง ธรรมจากพระโอษฐ แลว มีจติ สำนกึ ผดิ ในอาชพี ท่ีตนทำ จึงเลกิ มจิ ฉาอาชวี ะ แลว หนั มาประพฤตทิ าน ศลี ภาวนา จนจิตบรรลโุ สดาปต ตผิ ลใน ๑๑๒

ขณะยังเปนฆราวาส เม่ือนางไดตายลงแลว จิตวิญญาณถูก พลังแหงความดีผลักดันใหไปเกิดเปนสิริมาเทพนารีโสดาบัน อยใู นสวรรคชัน้ สูงสดุ (ปรนมิ มติ วสวตี) โทณพราหมณ ผทู ำหนา ทจ่ี ดั แบง พระบรมสารรี กิ ธาตุ ไดปฏิบัติทาน ศีล ภาวนา ตายแลวจิตวิญญาณถูกพลังแหง ความดี ผลักดันใหไปเกิดเปนพระพรหมอนาคามี อยูใน สทุ ธาวาสพรหมโลก ฉนั นภกิ ษุ ผดู อ้ื รนั้ จนไมม ใี ครสอนได ไดถ กู หมสู งฆล ง พรหมทณั ฑ (ไมพ ดู ดว ย ไมว า กลา วตกั เตอื น ไมค บหาสมาคม) เกดิ สำนกึ ผิดแลว หันมาปฏิบัติธรรม จนจิตบรรลุอรหตั ตผล นางสารี ผเู ปนมารดาของพระสารีบตุ ร มีความเหน็ ผดิ ทศ่ี รทั ธาเลอ่ื มใสบชู าทา วมหาพรหม ภายหลงั ไดเ หน็ เทวดา ชนั้ ผูใ หญเนรมติ มาเปนมนุษยก ายหยาบมีรัศมีสดใส มาเย่ยี ม พระสารีบุตรกอนเขานิพพานแลว เกิดศรัทธาในตัวของพระ สารีบุตร (ลูกชาย) จึงขอใหสอนธรรมให ทำใหจิตของนาง เปล่ียนจากมิจฉาทิฏฐิมาเปนสัมมาทิฏฐิ แลวบรรลุโสดาปตติ ผลเปน พระอริยบคุ คลข้นั ตน ได ปด อบายภูมไิ ด ดร.สนอง วรอุไร ๑๑๓

ตายแล้วไปไหนจากตวั อยา งทย่ี กขนึ้ มาบอกเลา ใหฟ ง จะเหน็ ไดว า ชวี ติ ของบุคคลจะดำเนนิ ไปสทู คุ ติภพ หรือดำเนินไปสสู ุคติภพหรือ พน ไปจากการเวยี นตายเวยี นเกดิ อยใู นวฏั สงสาร ยอ มสำเรจ็ ได ดว ยใจท้ังสน้ิ ดังน้ันผูท่ีศึกษาเลาเรียน เพ่ือใหเกิดความรูในระดับ สุตมยปญญาและจินตามยปญญา แมจะเรียนมาจนสูงสุด เทาไร ก็ยังเปนความรูหรือปญญาที่ยังไมรูความเปนจริงท่ีแท รูความจริงช่ัวระยะเวลาหน่ึงแตเมื่อกาลเวลาน้ันไดผานพน ไปแลว เหตุผลท่ีเคยสัมพันธกันหรือความจริงท่ีเคยเปนยอม ไมเปนจริงอีกตอไป ความรูเชนน้ีจึงเรียกวาเปนความรูท่ีไม จริงแท หรือคอื ความหลง (โมหะ) อันเปนเหตไุ มร จู ริงที่เรียก วาอวิชชานั่นเอง ดังผูท่ีศึกษาเลาเรียนมาในทางโลกที่บุคคล ทั่วไปนิยมแสวงหา โดยหารูไมวา อวิชชาเปนตนเหตุใหสัตว ตอ งเวยี นตายเวยี นเกิด อยูใ นวัฏสงสารอยา งไมมวี ันจบส้นิ ผูใดปรารถนานำพาชีวิตใหพนไปจากวัฏสงสาร ผู น้ันตอ งพฒั นาจิตใหเ กิดปญญาสงู สดุ ทเ่ี รียกวา ญาณ ซึง่ เปน ปญ ญาทเี่ หน็ ความจรงิ ในระดบั จติ สมั ผสั ปญ ญาสงู สดุ มอี ยสู อง ระดบั คอื โลกยี ญาณหรืออภญิ ญา ๕ เห็นความจรงิ ทม่ี เี หตผุ ล ๑๑๔

รองรับทยี่ าวนานขา มภพชาตไิ ด และ โลกุตรญาณหรอื ญาณ ๑๖ ท่ีเห็นความเปนจริงแทและสามารถใชสองนำทางชีวิตให พน ไปจากวฏั สงสารได การรเู หน็ เขา ใจเชน น้ี ยอ มรไู ดด ว ยจติ ที่ พฒั นาดแี ลว มาสมั ผสั ดงั ทพี่ ระนางเขมา ผมู รี ปู รา งสวยงามมี สผี วิ ดง่ั ทองคำ ถอื กำเนดิ อยใู นขตั ตยิ สกลุ แหง แควน มทั ทะ และ เปน มเหสขี องพระเจา พมิ พสิ ารอกี พระองคห นงึ่ ดว ย เมอื่ ไดไ ป เทยี่ วชมความสวยงามของวดั เวฬุวันแลว ไดเขา ฟงธรรมจาก พระพทุ ธเจา พรอ มดว ยบญุ เกา ของพระนางเขมาทท่ี ำสง่ั สมมา แตช าตอิ ดตี สง ผล ขณะฟงธรรมจากพระโอษฐ พระนางเขมา ไดใชจิตท่ีสงบพิจารณาธรรมโดยแยบคาย (โยนิโสมนสิการ) เม่ือพระพุทธองคเทศนาธรรมจบลง จิตของพระนางฯ ได ปรวิ รรตถงึ อรยิ ธรรมสงู สดุ เปน พระอรหนั ตต งั้ แตย งั อยใู นเพศ ฆราวาส ประจวบกับขณะนั้นเปนเพลาเย็นใกลค่ำ พระเจา พิมพิสารไดเสด็จไปยังวัดเวฬุวัน เพื่อขออนุญาตพระศาสดา นำพระมเหสีกลับวัง พระพุทธเจาจึงไดตรัสกับพระเจาพิมพิ สารวา “มหาบพิตร หากนำพระนางเขมากลับวังในวันนกี้ ็จะ ไดเ ชยชมรา งทเ่ี ปน ศพของพระนางฯ” แตห ากมหาบพติ รทรง ประทานอนญุ าตใหพระนางฯ ไดบ วชเปน ภกิ ษุณี มหาบพติ ร จะยงั ไดเ ห็นยงั ไดส นทนากนั อยูใ นวนั ขางหนา ดร.สนอง วรอไุ ร ๑๑๕

ตายแล้วไปไหนในที่สุดพระนางเขมาผูมีจิตบรรลุอรหัตตผลจึงได บวชเปนภิกษุณีอรหันต และไดรับแตงตั้งใหเปนพุทธสาวิกา ผูมีปญญามากอยูในพุทธศาสนา ซ่ึงตางจากพาหิยะไดบรรลุ ดวงตาเหน็ ธรรมขน้ั สงู สดุ เปน พระอรหนั ตเ ชน เดยี วกบั พระนาง เขมา แตไมมีโอกาสไดบวชเปนภิกษุ ตองมาดวนส้ินชีวิตลง กอ นบวช ดว ยถกู เจา กรรมนายเวร (ยกั ษณิ )ี มาพบเขา ระหวา ง เดนิ หาเครือ่ งบวช ยักษณิ ีจงึ เขา สงิ รา งแมโ คและขวิดพาหิยะ จนตาย แตด ว ยสภาวธรรมในดวงจติ ของพาหิยะ ปลอดแลว ซง่ึ กเิ ลสท่ผี ูกมัดใจ (สงั โยชน ๑๐) เม่ือจิตท่ีปราศจากมลทินได เคล่อื นออกจากราง จงึ ไดโ คจรไปสูภาวะท่ีเรียกวานพิ พาน จติ ที่ปลอดจากมลทินไดเ กดิ ขน้ึ ในยุคปจจุบัน เชน ใน กรณขี องหลวงพอธี ชาวไทยใหญอพยพทีเ่ ขา มาอยู ณ ตำบล เมืองนะ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม ไดขออนุญาต ภรรยาบวชเปนฤาษี แลวขน้ึ ไปปฏิบัตธิ รรมอยบู นยอดเขา ผล ปรากฏวา จติ ไดบ รรลอุ รยิ ธรรมสงู สดุ เหน็ สรรพสงิ่ เปน อนตั ตา จึงตองบวชเปนพระสงฆไ ทยอยูจ นทกุ วันน้ี เร่ืองการบรรลุอรหัตตผลในขณะยังเปนฆราวาสนี้ ทานเจาคุณโชดกไดพูดกับผูบรรยายวา ฆราวาสคนใดมีจิต ๑๑๖

บรรลุอรหตั ตผลแลว ตอ งบวชเปนภิกษสุ งฆภายใน ๗ วนั ถา ไมบ วช จิตจะตอ งท้ิงรางเขาสนู ิพพาน คำพูดของทานเจา คณุ อาจารยยังหาเหตุผลมายืนยันไมได แตที่รูวาในคร้ังพุทธกาล พระนางเขมา (ฆราวาสหญิง) บรรลุอรหัตตผลแลวตองรีบ บวชในวันนั้น พาหิยะ (ฆราวาสชาย) บรรลุอรหัตตผลแลว ตองรีบบวช ขณะเดินหาเคร่ืองบวชถูกคูปรับเกาจองเวร จึง ตองมาตายลงกอนบวช โสปากะเด็กชายที่ถือกำเนิดในปาชา ไดฟ งธรรมจากพระศาสดาแลว มีจิตบรรลุอรหตั ตผลในขณะ ยังเปน เด็กชายมอี ายุไดเพยี ง ๗ ขวบ จงึ ไดรับพทุ ธานุญาต ๖ ใหบ วชเปนสามเณรในวนั น้ัน ฯลฯ ดังนั้นระยะเวลาของการเปลี่ยนจากเพศฆราวาส มาอยูในเพศของนักบวช หลังจากที่จิตบรรลุอรหัตตผลแลว จะตองบวชทันทีหรือจะตองบวชภายในเจ็ดวัน ก็สุดแต วจิ ารณญาณของผฟู ง ตอ งวนิ จิ ฉยั ดว ยตวั เอง เพราะผบู รรยาย ยังไมมีประสบการณตรงในเร่ืองดังกลาว แตจากคนที่ไมเชื่อ ในพระธรรม ไมเชื่อในพระวนิ ัย และไมเ ช่อื ในพระสูตรจงึ ได ไปพิสูจน ดวยการบวชเปนภิกษุปฏิบัติธรรมจนเขาถึงธรรม เม่อื ปพทุ ธศกั ราช ๒๕๑๘ เปนตนมา จนกระทั่งบัดน้ี เปนเวลา ดร.สนอง วรอุไร ๑๑๗

ตายแล้วไปไหนกวา ๓๕ ปแ ลว ยงั หาขอ ผดิ พลาดในพุทธวจนะไมได ดงั น้ันใน เรอื่ งระยะเวลาของการบวชหลงั จากทจี่ ติ บรรลอุ รหตั ตผลแลว ทานผูฟงจะเช่ือพุทธวจนะหรือจะเช่ือพระไตรปฎกซึ่งเกิดข้ึน หลังพทุ ธปรนิ ิพพานไปแลว กส็ ุดแตท า นจะปลงใจเช่อื ดว ยตัว ทา นเอง แตผ บู รรยายเชอื่ คำทพี่ ระพทุ ธองคไ ดต รสั ไว จงึ ทำให ชวี ติ ของผบู รรยายเปลยี่ นไปในทางทด่ี ี ในทางทเี่ ปน ธรรม เปน วินัยทุกขณะตื่น จึงมีบุญเขาส่ังสมในดวงจิตแทบจะไมมีบาป เกิดขึ้น ท้ังนี้เปนเพราะไดพัฒนาจิตจนมีสติอยูเกือบทุกลม หายใจเขา-ออก และมีปญญาเห็นแจงในแทบจะทุกส่ิงท่ีเขา สัมผัสจติ อาทิ ไดยินใครเขาดาวาเรา เขากเ็ ปนครทู ดี่ สี อนเรา ใหนำเอาคำท่ีไดยินมาพิจารณาดูตัวเอง หากเรายังมีสิ่งไมดี อยูใ นดวงจิต ตอ งปรบั แกไข แตหากเรามิไดเ ปน อยา งทเี่ ขาวา เขาก็เปนครูที่ดีสอนเราวา จะไมประพฤติเชนเขา แลวเราก็ จะไมเปน เหมือนเขา ผใู ดมธี รรมวนิ ยั สถิตอยกู บั ใจทกุ ขณะตื่น ทุกส่งิ ทเ่ี ขา กระทบจิตยอ มเปน ครสู อนใจเราได ยังมีอยูอีกเร่ืองหนึ่งที่จะบอกเลาใหฟงวา มีอยูคร้ัง หน่ึง ผูบรรยายไดไปรวมคณะทอดกฐินกับคุณหญิงสุรีพันธ ๑๑๘

คณะกฐินมีเปนจำนวนมาก จงึ ทำใหม ปี ญ หาเกิดขึ้นกับที่หลับ นอน ปญ หาเร่ืองหองสุขา ปญหาเรื่องหองอาบน้ำ ฯลฯ ตางๆ เหลาน้ีไมเปนปญหากับผูมีธรรมวินัยสถิตอยูกับใจ ไมมีน้ำให อาบก็ใชผ าชบุ น้ำขวดเชด็ ตวั หองสขุ าไมวา งกเ็ ดนิ เขา ปาหาที่ ถา ยทกุ ข ทีน่ อนไมมกี ็หาท่ีหลบั นอนในปา ในครงั้ นั้นยงั จำได วา เมื่อศาลาท่ีใชเปนท่ีหลับนอน แออัดยัดเยียดไปดวยผูคน ทม่ี าทอดกฐนิ จนหาทว่ี า งลม ตวั ลงนอนไมไ ด ผบู รรยายพรอ ม เพอ่ื นอกี สองคน ไดเ ดนิ เขา สปู า เมอ่ื เวลาใกลจ ะถงึ สองนากิ า กลางดึก เดินเขาปา ไปไดป ระมาณครึง่ กิโลเมตรไดพ บกฎุ ิพระ หลังหน่ึงอยูกลางปา ไดเขาไปกราบพระปา แลวขออนุญาต นอนบนพนื้ ดนิ ใกลก บั กฏุ ทิ พ่ี ระปา ใชจ ำวดั เมอ่ื พระปา อนญุ าต แลวยงั ไดพ ดู ขึ้นอีกสองเรอ่ื งวา พระปา : “โยมระวังนะ ใตถุนกุฎิของอาตมามีงูพิษ อาศัยอยูและเวลาโยมจะไปขับถาย ใหไปขับถายท่ีนั่น” พระ ปา พดู พรอ มกับชี้นว้ิ บอกสถานที่ ผูบ รรยาย : “ไมเ ปนไรครับ พวกกระผมจะปฏบิ ตั ิตาม ทพี่ ระคุณเจาชแ้ี นะ” ดร.สนอง วรอุไร ๑๑๙

ตายแล้วไปไหนคืนน้นั เม่ือผบู รรยายจัดการกับเรื่องของตัวเองเสร็จ เรียบรอยแลว กอนนอนไดสวดมนตบทสรรเสริญคุณพระ รตั นตรยั แลว ตอ ดว ยการสวดมนตบ ทขนั ธปรติ ร เพอื่ แผเ มตตา กับพญางูท้ังสี่ตระกูล (งูตระกูลวิรูปกษ งูตระกูลเอราบถ งู ตระกลู ฉพั ยาบตุ ร และงูตระกลู กัณหาโคดม) เพ่ือปองกนั มิให ถูกงูพิษขบกัด ซ่ึงบทมนตขันธปริตรนี้เคยนำไปใชกับหมูฤาษี ที่อาศัยอยู ณ ปาหิมพานต ในคร้ังกระโนนที่พระพุทธโคดม ไดไปเสวยพระชาตเิ ปนฤาษี ผลปรากฏวา คนื นนั้ เปน คนื เดอื นหงายบรเิ วณโดยรอบ มีแสงจันทรส อ งสวา ง ปราศจากสิง่ รบกวนใดๆ จึงนอนหลบั สบายและมีความสุข เมื่อตื่นขึ้นกอนลุกออกจากกลดในตอน เชา ยังไดพ ิจารณาจนเหน็ วา งูมีอำนาจอยทู พ่ี ษิ ของมนั เดก็ มกี ารรอ งไหเปน อำนาจ สตรมี คี วามโกรธเปน อำนาจ บัณฑิต มีการเพงโทษตัวเองเปนอำนาจ แตคนพาลมีการเพงโทษผู อื่นเปนอำนาจ โจรมีอาวุธเปนอำนาจ นักการเมืองมีทรัพย เปน อำนาจ ฯลฯ ความรูตา งๆ เหลาน้ีเกดิ ขนึ้ เมอื่ จิตมีอารมณ สงบ และเชนเดียวกัน ปญญาเห็นแจงยังไดเห็นอีกวา ๑๒๐

บคุ คลมีชีวิตเปนของตัวเอง จึงตอ งบริหารจดั การชวี ิตดวยตวั เอง จึงไดศรัทธาในพระปญญาคุณของพระพุทธเจา ตลอด ๔๕ พรรษาที่พระองคเผยแพรธรรม พระองคมิไดเขาไปกาว ลวงในชีวิตของใครผูใด ดังนั้นเมื่อพระสารีบุตรมาทูลลาเขา นพิ พาน พระองคไ ดต รสั วา “กาลํ ชานาหิ สารบี ตุ ร” เมือ่ พระ มหาปชาบดมี าทลู ลาเขา นพิ พาน พระองคไ ดต รสั วา “กาลํ ชา นาหิ โคตม”ี เมอื่ พระยโสธรามาทลู ลาเขา นพิ พาน พระองคไ ด ตรัสวา “กาลํ ชานาหิ ยโสธรา” เม่ือพระอญั ญาโกณฑัญญะ มาทูลลาเขา นพิ พาน พระองคไ ดต รัสวา “กาลํ ชานาหิ โกณ ฑญั ญะ” และยงั ไดเ สดจ็ ไปในพธิ เี ผาศพของทา นทปี่ า หมิ พานต อกี ดวย ฯลฯ สวนเร่ืองการแสดงฤทธิ์ ทรงบัญญัติเปนวินัย หาม พระปณโฑล ภารทวาชะแสดงฤทธิ์ที่เหาะไปเอาบาตรไม จันทนที่เศรษฐีผูกหอยไวกับปลายไมท่ีปกอยูบนหลังคาบาน พระพุทธองคทรงตำหนิการมีพฤติกรรมเชนน้ัน จึงใหภิกษุ ประพฤติ ตรงกันขาม พระพุทธองคทรงมีพระบัญชาใหพระ มหาปชาบดี แสดงฤทธก์ิ อ นเขา นพิ พาน ใหพ ระยโสธราแสดง ฤทธก์ิ อ นเขา นพิ พาน ใหพ ระสาคตะแสดงฤทธป์ิ ราบมจิ ฉาทฏิ ฐิ ดร.สนอง วรอไุ ร ๑๒๑

ตายแล้วไปไหนของชาวแควน องั คะ และในพรรษาท่ี ๖ กอ นเสดจ็ ไปโปรดพทุ ธ มารดาในดาวดงึ ส พระองคไ ดแ สดงยมกปาฏหิ ารยิ  เพอ่ื ปราบ ทฏิ ฐิของเหลาเดยี รถีย ฯลฯ การแสดงฤทธิต์ า งๆเหลา นี้ เกดิ ขนึ้ ไดด ว ยการพฒั นาจติ ใหต งั้ มนั่ เปน สมาธริ ะดบั ฌาน ซง่ึ เปน โลกิยอภญิ ญาทม่ี ไิ ดเ ปนเหตุนำไปสคู วามพนทุกข ทา นผฟู งจงตระหนักในสจั ธรรมดงั กลา ววา “มไิ ดเ ปนเหตนุ ำไปสูความพนทกุ ข” พระองคจึงหามภิกษุมิใหแสดงฤทธิ์ เวนไวแตวามี พระบัญชาใหแสดงฤทธิ์เพื่อจุดประสงคอันเปนเหตุใหเกิด สัมมาทฏิ ฐทิ นี่ ำไปสคู วามพน ทกุ ข การบรรยายเร่อื งตายแลวไปไหน ผูบรรยายไดแ สดง หรือชี้ใหเห็นในแงมุมตางๆ ท่ีเกิดข้ึนในครั้งพุทธกาลและท่ี เกิดขน้ึ ในกาลปจ จุบนั แตท ั้งหลายทงั้ ปวงน้ีอยทู ่ีการประพฤติ เหตุปจจุบันใหถูกตรง โดยใชปญญาเห็นถูกตามธรรมเปน เครอื่ งสอ งนำทางใหก บั ชวี ติ แลว ความสมปรารถนาจงึ จะเกดิ เปนจริงไดใ นวันขา งหนา ๑๒๒

บทมนตข ันธปริตร วิรปู ก เขหิ เม เมตตัง ความเปน มิตรของเรา จงมแี กพ ญางทู ัง้ หลาย สกุลวิรูปกขดวย เมตตัง เอราปะเถหิ เม ความเปนมติ รของเรา จงมีกบั พญางทู ้ังหลาย สกลุ เอราบทดวย ฉพั ยาปุตเตหิ เม เมตตงั ความเปน มติ รของเรา จงมแี กพ ญางูทง้ั หลาย สกลุ ฉพั ยาบุตรดว ย เมตตงั กัณหาโคตะมะเกหิ จะ ความเปนมิตรของเรา จงมแี กพ ญางูท้ังหลายสกลุ กัณหาโคตมกะดว ย อะปาทะเกหิ เม เมตตงั ความเปนมติ รของเรา จงมีกบั สัตวท ั้งหลาย ที่ไมมีเทา ดว ย เมตตัง ทปิ าทะเกหิ เม ความเปน มิตรของเรา จงมีกับสัตวท งั้ หลาย ทม่ี ีสองเทาดว ย จะตปุ ปะเทหิ เม เมตตัง ความเปน มติ รของเรา จงมกี บั สัตวท ง้ั หลาย ท่มี สี ่เี ทาดวย เมตตงั พะหปุ ปะเทหิ เม ความเปนมิตรของเรา จงมีกับสัตวท ง้ั หลาย ท่ีมีหลายเทา ดว ย มา มงั อะปาทะโก หิงสิ สตั วไ มม เี ทาอยา เบยี ดเบียนเรา มา มงั หิงสิ ทปิ าทะโก สตั วส องเทาอยา เบียดเบียนเรา มา มงั จะตุปปะโท หิงสิ สตั วสเ่ี ทา อยาเบียดเบียนเรา ดร.สนอง วรอไุ ร ๑๒๓

ตายแล้วไปไหนมา มัง หงิ สิ พะหปุ ปะโท สัตวห ลายเทาอยาเบียดเบียนเรา สัพเพ สตั ตา สัพเพ ปาณา ขอสรรพสัตวที่มชี วี ิตทั้งหลาย สัพเพ ภตู า จะ เกวะลา ทเ่ี กิดมาทัง้ หมดจนส้นิ เชิงดว ย สัพเพ ภทั รานิ ปสสันตุ จงเห็นซึง่ ความเจริญทงั้ หลายทั้งปวงเถดิ มา กญิ จิ ปาปะมาคะมา โทษลามกใดๆ อยาไดม าถึงแลว แกส ตั วเหลานัน้ อัปปะมาโณ พทุ โธ พระพุทธเจา ทรงพระคณุ ไมม ีประมาณ อัปปะมาโณ ธมั โม พระธรรม ทรงพระคณุ ไมมปี ระมาณ อปั ปะมาโณ สังโฆ พระสงฆ ทรงพระคณุ ไมม ีประมาณ ปะมาณะวนั ตานิ สริ ิงสะปานิ อะหิ วิจฉกิ า สะตะปะที อณุ ณานาภี สะระพู มสู กิ า สัตวเ ลื้อยคลานทั้งหลาย คอื งู แมลงปอง ตะเข็บ ตะขา แมงมุม ตกุ แก หนู เหลา นี้ ลว นมปี ระมาณ ( ไมม ากเหมือนพระรตั นตรัย ) กะตา เม รักขา กะตา เม ปะริตตา ความรักษา อนั เรากระทำแลว การปอ งกัน อนั เรากระทำแลว ปะฏิกกะมนั ตุ ภูตานิ หมูสตั วท ้งั หลายจงหลีกไปเสีย โสหงั นะโม ภะคะวะโต เราน้นั กระทำนอบนอ ม แดพระผมู ีพระภาคเจา อยู นะโม สตั ตนั นัง สมั มาสมั พทุ ธานังฯ กระทำนอบนอม แดพระสมั มาสัมพุทธเจา เจ็ดพระองคอยู ฯ ๑๒๔

บทมนตโมรปรติ ร ๑. อเุ ทตะยงั จกั ขุมา เอกะราชา หะริสสะวัณโณ ปะถะวปิ ปะภาโส ตัง ตงั นะมัสสามิ หะริสสะวณั ณงั ปะถะวิปปะภาสงั ตะยาชชะ คตุ ตา วหิ ะเรมุ ทิวะสงั พระอาทิตยผูเปนดวงตาของโลก ผูยิ่งใหญพระองคนี้ เสด็จอุทัย ขึ้นทรงพระรัศมีสีทองสาดสองปฐพี ดวยเหตุนี้ ขาพเจาขอนมัสการ พระอาทิตยผูทรงรัศมีสีทองสาดสองปฐพีพระองคนั้น พระองคได คุมครองขาพระองคในวันนี้แลว ขอใหขาพระองคมีชีวิตยั่งยืนอยู ตลอดวัน ๒. เย พรฺ าหฺมะณา เวทะคู สพั พะธมั เม เต เม นะโม เต จะ มงั ปาละยันตุ นะมตั ถุ พุทธานงั นะมัตถุ โพธยิ า นะโม วิมตุ ตานัง นะโม วมิ ุตตยิ า อมิ ัง โส ปะรติ ตงั กตั ฺวา โมโร จะระติ เอสะนา พระพทุ ธเจาเหลา ใด ทรงรแู จง ธรรมทงั้ ปวง ขา พเจาขอนอบนอม พระพทุ ธเจา เหลา นนั้ ขอพระพทุ ธเจา เหลา นน้ั จงคมุ ครองขา พเจา ขอน อบนอ มแดพ ระพทุ ธจา ทง้ั หลาย ขอนอบนอ มแดพ ระโพธญิ าณ ขอนอบ นอ มแดพ ระพทุ ธเจา ผูหลดุ พน แลว ขอนอบนอมแดวิมุตตธิ รรม เมื่อนก ยูงน้ันสาธยายพระปรติ รอยา งนีแ้ ลว จงึ ออกเสวงหาอาหาร ดร.สนอง วรอุไร ๑๒๕

ตายแล้วไปไหน๓. อะเปตะยงั จกั ขมุ า เอกะราชา หะรสิ สะวณั โณ ปะถะวิปปะภาโส ตงั ตัง นะมสั สามิ หะรสิ สะวณั ณงั ปะถะวิปปะภาสงั ตะยาชชะ คุตตา วหิ ะเรมุ รตั ติง พระอาทติ ยผ เู ปน ดวงตาของโลก ผยู ง่ิ ใหญพ ระองคน ้ี เสดจ็ อสั ดงคต ทรงพระรัศมีสีทองสาดสองปฐพี ดวยเหตุน้ี ขาพเจาขอนมัสการ พระอาทิตยผูทรงรัศมีสีทองสาดสองปฐพีพระองคนั้น พระองคได คุมครองขาพระองคในวันนี้แลว ขอใหขาพระองคมีชีวิตยั่งยืนอยู ตลอดราตรี ๔. เย พฺราหฺมะณา เวทะคู สัพพะธมั เม เต เม นะโม เต จะ มงั ปาละยนั ตุ นะมัตถุ พทุ ธานงั นะมัตถุ โพธยิ า นะโม วิมตุ ตานัง นะโม วมิ ตุ ตยิ า อมิ ัง โส ปะริตตัง กตั วฺ า โมโร วาสะมะกัปปะยิ พระพุทธเจา เหลาใด ทรงรแู จง ธรรมทั้งปวง ขาพเจาขอนอบนอม พระพทุ ธเจา เหลา นนั้ ขอพระพทุ ธเจา เหลา นนั้ จงคมุ ครองขา พเจา ขอน อบนอ มแดพ ระพทุ ธจา ทง้ั หลาย ขอนอบนอ มแดพ ระโพธญิ าณ ขอนอบ นอมแดพระพุทธเจาผูหลุดพนแลว ขอนอบนอมแดวิมุตติธรรม เมื่อ นกยูงนัน้ สาธยายพระปริตรอยา งนีแ้ ลว จงึ นอน ๑๒๖

รายนามผรู วมศรทั ธาพมิ พหนังสอื ตายแลว ไปไหน ลำดบั ชอ่ื -สกุล จำนวนเงนิ ลำดับ ช่ือ-สกลุ จำนวนเงิน ๑ คณุ ฉนิ ซิวซัน และ ครอบครวั ๑๒,๐๐๐ ๒๕ คณุ ยศภัทร เกรียงชตุ ิมา ๙๐๐ ๒๖ คณุ ฉลองชัย - ๒ คุณเริงศกั ดิ์ โอภาสรศั มี ๘,๐๐๐ ๙๐๐ คณุ วรรณกร คงบันเทิง ๓ คณุ พัชรา ธรรมลขิ ิตชยั ๖,๘๕๐ ๒๗ คณุ จนั ทรา-คุณเทียนชยั - ๘๐๐ ๔ คณุ รงั สติ คุณอัญจนา อุดมผล ๕,๐๐๐ คุณธรรมนาถ ทองเคียน ๖๔๐ ๒๘ คณุ รชั กฤต อรุณเดชาวฒุ -ิ ๖๓๐ ๕ รานเหมอื นฝน ๔,๔๐๐ คณุ ภคั วรนิ ทร พนิตกุลเศรษฐ ๖๐๐ ๖ คุณจันทรทิพย คนั ธมานนท ๔,๑๐๐ ๒๙ คุณรำพรรณี ชูชยั ๖๐๐ ๓๐ คุณแนง นอ ย ภิญโญชนม ๗ คณุ วลยั ทพิ ย ปต ิจอมวงค ๕๘๐ และคุณพยุง กาญจนกนั ทร ๕๗๐ และคณะ ๔,๐๐๐ ๓๑ คณุ ณาตยา เกตแกว ๕๔๐ ๓๒ คณุ วรลักษณ อรา มประยูร ๕๐๐ ๘ คุณขนิษฐา พงศศ รวี ฒั น ๔,๐๐๐ ๕๐๐ และครอบครัว ๕๐๐ ๙ คุณนรนิ ทร - คณุ ธรี ประภา ๔,๐๐๐ ๓๓ คณุ ฉลองชัย คงบนั เทิง ๕๐๐ ๓๔ พ.ต.อ.เดชชาภากร หิรัญวัฒน ๔๐๐ เศวตประวชิ กุล ๓๕ คุณพฤกษ นิลสขุ และครอบครัว ๔๐๐ ๓๖ คณุ ย้มิ ล้ิมสมบูรณื ๓๘๐ ๑๐ คุณพิรณุ จติ รยง่ั ยืน ๔,๐๐๐ ๓๗ คณุ ณัฏฐวุฒิ อุทัยเสน ๓๓๐ ๓๘ คุณนภา แกนทองแดง ๓๐๐ ๑๑ คุณอุทยั วรรณ ขนุ เจริญ ๒,๖๕๐ ๓๙ คุณปราณี ชวนปกรณ ๓๐๐ ๔๐ คุณเอกชัย ดรี ุงโรจน ๓๐๐ ๑๒ คณุ พมิ พน ิภา กิตตชิ ัยชนะกลุ ๒,๓๐๐ ๔๑ คุณมาลี บุญนาค ๔๒ คุณวฒุ ิชัย ใยมณี ๓๐๐ ๑๓ พระชาลี ฐานยตุ โต ๒,๒๐๐ ๔๓ พระชยั พร จนฺทวโํ ส ๔๔ คณุ พรทิพย ไชยณรงค และครอบครัว ๑๔ อามาเซย่ี มฮัว้ แซลี้ ๒,๑๖๐ ๔๕ พ.ต.อ.สมศักดิ์ จติ ตริ ตั น ๔๖ คุณวรี ะ-คณุ สุจรรยา ถ่ินทวี ๑๕ คณุ มานะ นาวนิ ๒,๐๐๐ และครอบครวั ๑๖ คณุ นฤมล ภทั รวมิ ลพร ๒,๐๐๐ ๑๗ คุณตอง ๑,๖๐๐ ๑๘ คณุ ธมน ไทยวานิช ๑,๕๖๐ ๑๙ คณุ ญาตกิ า นนั ทฐ ณฏั และ คณุ อนนั ต ปกสงั คะเณย ๑,๐๐๒ ๒๐ คณุ พาสพร ธปู พลี ๑,๐๐๐ ๒๑ พ.ต.ต.หญิง ทัศนม น ดิษเจรญิ ๑,๐๐๐ ๒๒ พ.ต.อ.บุญเสรมิ -คุณยุพดี ศรชี มภู ๑,๐๐๐ ๒๓ คณุ วิชยั โพธ์นิ ทีไท และครอบครัว ๑,๐๐๐ ๒๔ คณุ อดุ มพร สายเพ็ชร และครอบครวั ๑,๐๐๐ ดร.สนอง วรอุไร ๑๒๗

ลำดบั ชื่อ-สกลุ จำนวนเงนิ ลำดบั ชอ่ื -สกุล จำนวนเงิน ๔๗ คณุ อุกฤษฎ คุณเขษมศกั ด์ิ ๓๐๐ ๗๖ คณุ ฉลองชัย คงบนั เทิง ๘๐ อายตวงษ และครอบครัว ๒๔๐ ๗๗ คุณอุษา สงางาม ๘๐ ๒๒๐ ๗๘ คณุ ประยทุ ธ ปย ะกาโส ๗๐ ๔๘ คณุ สรที สุขวฒั น และครอบครัว ๒๒๐ ๗๙ คุณประมวญ ผวิ สวย ๗๐ ๔๙ คณุ ทวิ าพร หลวงบำรุง ๒๐๐ ๘๐ คุณนฤมล เอ่ยี มสอาด ๖๐ ๕๐ คณุ นภัจสรณ หมอดี ๒๐๐ ๘๑ คุณนวรตั น ดกี ัง ๖๐ ๕๑ คุณยายโสภา ปทมดิลก ๒๐๐ ๘๒ คณุ นภางค ตกึ ปากเกลด็ ๖๐ ๕๒ คณุ ชรินทร สุวัชรังกูร ๒๐๐ ๘๓ คณุ ยุวดี โอโลรัมย ๖๐ ๕๓ คุณนำ้ ริน แรมกมล ๒๐๐ ๘๔ คณุ เบญจรัตน สุทธิชูจติ ๖๐ ๕๔ คณุ บศุ กร ทรงพุฒิ ๒๐๐ ๘๕ คณุ ศภุ โชค โพธท์ิ อง ๖๐ ๕๕ คณุ เพยี งจันทร ทองเคียน ๒๐๐ ๘๖ คณุ เกยี รติสิน อ่ิมบตุ ร ๖๐ ๕๖ คุณวาทินี สุธนรกั ษ ๒๐๐ ๘๗ คณุ เรวัตร ศรจี ันทร ๖๐ ๕๗ คุณทอ -คุณสนุ ันทา แหลมไพศาล ๒๐๐ ๘๘ คณุ ปาณศิ า พีรวณชิ กลุ ๖๐ ๕๘ คุณพิกุล จนั ทรเจรญิ กิจ ๒๐๐ ๘๙ คุณสำราญ ชื่นบญุ ๕๐ ๕๙ คุณอารยา ปฏิณาณกวี ๑๗๐ ๙๐ คณุ ศริ ิยภุ า ปน กรวด ๔๐ ๖๐ คณุ ลำดวน กฤษดา ๑๖๐ ๙๑ คณุ เทวี กอไทสง ๔๐ ๖๑ คณุ วรรตั น ชัยสวสั ดิ์ ๑๖๐ ๙๒ คุณสมจติ ร มหานันทกลู ๔๐ ๖๒ คณุ ณิฏฐฑติ า มหาปญ ญาวงค ๑๖๐ ๙๓ คณุ สทั ยาพันธ เช่ยี วชาญ ๔๐ ๖๓ คุณวไิ ล บญุ เตม็ ๑๔๐ ๙๔ คณุ อรสิ ราภรณ ศรีรตั นอาภรณ ๔๐ ๖๔ พระมหาธีรานนท จริ ฏฐิโก ๑๒๐ ๙๕ คุณกติ ตวิ ชั แยนการ ๔๐ ๖๕ คุณสมนกึ ลาภวงคไ พบลู ย ๑๒๐ ๙๖ คณุ ดำรงค ศักดช์ิ ัยกลุ ๓๐ ๖๖ คุณจฑุ ามาศ ธรรมบวั ชา ๑๐๒ ๙๗ พระมหาสมถวลิ ปราโส ๓๐ ๖๗ คุณปลกี ยนุ สยาม ๑๐๐ ๙๘ คุณธนา ศรนี เิ วศน ๓๐ ๖๘ คุณสรุ ัตน พมุ ผล ๑๐๐ ๙๙ คุณสมปอง รามศริ ิ ๒๐ ๖๙ เทศบาลเมอื งปเู จา สมิงพราย ๑๐๐ ๑๐๐ คุณสราวุธ รัตนยานนท ๒๐ ๗๐ คณุ ภาสกร รุจิราธาดากลุ ๑๐๐ ๑๐๑ ด.ช.ภูมินทร อรจันทร ๒๐ ๗๑ คุณอุษณยี  พงคประยรู ๑๐๐ ๑๐๒ คณุ ปราณี มหารำลกึ ๒๐ ๗๒ คณุ ไพรวัน ลิขิตวานชิ ๑๐๐ ๑๐๓ คุณปรดี า เล็งอดุ มภาค ๒๐ ๗๓ คุณสรุ ตั น พุม ผล ๑๐๐ ๗๔ คุณอารียา พนั ธุสุริยานนท รวมศรัทธาทัง้ ส้ิน ๙๖,๔๒๔ ๗๕ คณุ ปวรศิ า แกนดี ๑๒๘ ตายแล้วไปไหน

การประพฤตเิ หตุปจ จุบันใหถ ูกตรง โดยใชปญ ญาเหน็ ถกู ตามธรรม เปนเครอ่ื งสองนำทางใหก ับชวี ิต ความสมปรารถนาจงึ จะเกดิ ข้ึน เปน จริงไดกับทานในวันขา งหนา ดร.สนอง วรอุไร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook