Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Patipattipujjavisatchana

Patipattipujjavisatchana

Published by ชมรมกัลยาณธรรม, 2021-04-21 06:43:56

Description: Patipattipujjavisatchana

Search

Read the Text Version

ปฏิปต ติปุจฉาวสิ ชั นา พระธรรมเจดีย (จมู พนธฺ โุ ล) : ถาม พระอาจารยม ั่น ภรู ทิ ัตตเถร : ตอบ อบุ ายแหง วิปสสนาอนั เปน เครอื่ งถายถอนกเิ ลส เทศนาโดย พระอาจารยมน่ั ภูริทตั ตเถร

ชมรมกัลยาณธรรม หนงั สอื ดีอนั ดบั ท่ี ๑๐๖ ปฏิปตตปิ ุจฉาวิสจั นา : พระธรรมเจดีย (จูม พนฺธุโล) ถาม ทานพระอาจารยมนั่ ภูริทตั ตเถร ตอบ จัดพมิ พถวายเปนพุทธบชู าโดย ชมรมกลั ยาณธรรม ๑๐๐ ถ.ประโคนชัย ต.ปากนำ้ อ.เมอื ง จ.สมุทรปราการ โทร. ๐๒-๗๐๒๙๖๒๔ หรือ ชมรมกัลยาณธรรม ๘๙/๖-๗ ซอยศึกษาวิทยา ถ.สาธรเหนือ สลี ม บางรัก กทม. โทร. ๐๒-๖๓๕๓๙๙๘ รูปเลม -จัดพิมพ : กอ นเมฆแอนดก นั ยก รปุ โทร.๐๘๙๑๐๓-๓๖๕๐ พิมพครงั้ ที่ ๑ : ๕,๐๐๐ เลม สพั พทานงั ธมั มทานงั ชินาติ การใหธรรมะเปน ทาน ยอมชนะการใหท ง้ั ปวง www.kanlayanatam.com

มอบเปน ธรรมบรรณาการ แด ......................................................... จาก ......................................................... .........................................................

หนงั สอื ธรรมะทรงคุณคา ปฏปิ ตติปจุ ฉาวิสชั นา พระธรรมเจดยี  (จมู พนฺธุโล) : ถาม พระอาจารยมนั่ ภูรทิ ตั ตเถร : ตอบ

๕ ปฏปิ ต ติปจุ ฉาวสิ ัชนา ปฏปิ ต ตปิ จุ ฉาวิสชั นา ก. ถามวา ผูป ฏบิ ตั ศิ าสนาโดยมากปฏิบัติอยูแคไ หน? ข. ตอบวา ปฏบิ ัตอิ ยูภ มู กิ ามาพจรกุศลโดยมาก ก. ถามวา ทำไมจงึ ปฏิบตั ิอยเู พยี งนนั้ ? ข. ตอบวา อัธยาศัยของคนโดยมากยงั กำหนัดอยใู น กามเห็นวา กามารมณทด่ี ีเปน สุข สว นที่ไมด ี เหน็ วา เปน ทุกข จึงไดปฏิบัตใิ นบุญกิริยาวตั ถุ มกี ารฟงธรรมใหท าน รักษาศีล เปน ตน หรือภาวนาบา งเลก็ นอ ย เพราะความ มุง เพื่อจะไดสวรรคสมบตั ิ มนุษยสมบัติ เปนตน กค็ งเปน ภูมิกามาพจรกุศลอยูน่ันเอง เบื้องหนาแตกายแตกตาย ไปแลว ยอ มถึงสคุ ติบา ง ไมถ ึงบาง แลวแตว ิบากจะซดั ไป เพราะไมใ ชนยิ ตบคุ คล คอื ยังไมป ดอบาย เพราะยงั ไมไ ดบรรลโุ สดาปต ตผิ ล ก. ถามวา กท็ านผปู ฏิบัติทด่ี กี วา นไี้ มมีหรือ ? ข. ตอบวา มี แตวา นอย ก. ถามวา นอยเพราะเหตุอะไร ? ข. ตอบวา นอ ยเพราะกามทง้ั หลายเทา กบั เลอื ดในอกของ

๖ ปฏปิ ตติปจุ ฉาวิสชั นา สัตว ยากท่ีจะละความยินดีในกามได เพราะการปฏิบัติ ธรรมละเอียด ตองอาศัยกายวิเวก จิตตวิเวก จึงจะเปน ไปเพ่อื อุปธวิ เิ วก เพราะเหตุน้ีแลจึงทำไดดว ยยาก แตไ ม เหลือวสิ ัย ตองเปนผเู ห็นทกุ ขจรงิ ๆจึงจะปฏิบตั ิได ก. ถามวา ถาปฏิบัติเพียงภูมิกามาพจรกุศล ดูไมแปลก อะไร เพราะเกดิ เปน มนษุ ยก เ็ ปน ภมู กิ ามาพจรกศุ ลอยแู ลว สว นการปฏิบตั ิจะใหดีกวา เกาก็ตอ งใหเลือ่ นช้ัน เปนภูมริ ู ปาวจรหรอื อรูปวจร และโลกอดุ ร จะไดแ ปลกจากเกา? ข. ตอบวา ถูกแลว ถาคิดดูคนนอกพุทธกาล ทานก็ได บรรลฌุ านชน้ั สงู ๆ กม็ คี นในพทุ ธกาล ทา นกไ็ ดบ รรลมุ รรค แลผล มีพระโสดาบัน แลพระอรหันต โดยมากน่ีเรา ก็ไมไดบรรลุฌาน เปนอันสูคนนอกพุทธกาลไมได แล ไมไ ดบ รรลมุ รรคแลผลเปนอันสูค นในพทุ ธกาลไมได ก. ถามวา เมอ่ื เปนเชนนจ้ี กั ทำอยา งไรดี ? ข. ตอบวา ตองทำในใจใหเห็นตามพระพุทธภาษิตที่วา มตตฺ าสุขปรจิ จฺ าคา ปสเฺ ส เจ วิปลุ ํ สขุ ํ ถาวาบุคคลเห็นซ่ึงสุขอันไพบูลย เพราะบริจาคซ่ึงสุขมี ประมาณนอยเสยี ไซร จเช มตฺ ตาสุขํ ธโี ร สมฺปสสฺ ํ วิ ปุลํ สขุ ํ บุคคลผูมีปญญาเครื่องทรงไว เมื่อเล็งเห็นซึ่งสุขอัน ไพบลู ย พงึ ละเสียซ่ึงสขุ มปี ระมาณนอ ย

๗ ปฏปิ ต ตปิ ุจฉาวสิ ชั นา ก. ถามวา สขุ มปี ระมาณนอยไดแกส ขุ ชนดิ ไหน ? ข. ตอบวา ไดแ กส ขุ ซง่ึ เกดิ แตค วามยนิ ดใี นกามทเ่ี รยี กวา อามสิ สขุ น่ีแหละสุขมปี ระมาณนอย ก. ถามวา กส็ ุขอันไพบลู ยไ ดแ กสขุ ชนดิ ไหน ? ข. ตอบวา ไดแ กฌ าน วิปส สนา มรรค ผล นพิ พาน ที่ เรียกวา นริ ามสิ สุข ไมเจือดวยกาม นแี่ หละสุขอนั ไพบลู ย ก. ถามวา จะปฏิบัติใหถึงสุขอันไพบูลยจะดำเนินทาง ไหนดี ? ข. ตอบวา จะตองดำเนินทางองคม รรค ๘ ก. ถามวา องคมรรค ๘ ใครๆ ก็รูทำไมจึงเดินกันไมใคร จะถูก ? ข. ตอบวา เพราะองคม รรคทงั้ ๘ ไมม ใี ครเคยเดนิ จงึ เดนิ ไมใ ครถ กู พอถกู ก็เปน พระอรยิ เจา ก. ถามวา ทเ่ี ดินไมถ ูกเพราะเหตุอะไร ? ข. ตอบวา เพราะชอบเดนิ ทางเกา ซงึ่ เปน ทางชำนาญ ก. ถามวา ทางเกานัน้ คอื อะไร ? ข. ตอบวา ไดแกกามสุขัลลิกานุโยค แลอัตตกิลมถา นุโยค ก. ถามวา กามสขุ ัลลกิ านุโยคนั้นคอื อะไร ? ข. ตอบวา ความทำตนใหเ ปน ผหู มกมนุ ตดิ อยใู นกามสขุ น้แี ล ชอื่ วากามสุขัลลกิ านโุ ยค

๘ ปฏิปตตปิ ุจฉาวิสัชนา ก. ถามวา อัตตกิลมถานโุ ยคไดแกท างไหน ? ข. ตอบวา ไดแ กผ ปู ฏบิ ตั ผิ ดิ แมป ระพฤตเิ ครง ครดั ทำตน ใหลำบากสักเพียงไร ก็ไมสำเร็จประโยชน ซึ่งมรรค, ผล, นิพพาน, น่แี หละเรียกวาอตั ตกลิ มถานโุ ยค ก. ถามวา ถา เชน นนั้ ทางทง้ั ๒นี้เหน็ จะมคี นเดนิ มากกวา มัชฌมิ าปฏปิ ทาหลายรอ ยเทา ? ข. ตอบวา แนทีเดียว พระพุทธเจาแรกตรัสรู จึงได ทรงแสดงกอนธรรมอยางอื่นๆ ท่ีมาแลวในธัมมจักกัปป วัตตนสูตร เพื่อใหสาวกเขาใจ จะไดไมดำเนินในทางท้ัง ๒ มาดำเนนิ ในทางมัชฌิมาปฏิปทา ก. ถามวา องคมรรค ๘ ทำไมจงึ ยกสัมมาทิฏฐิ ซ่ึงเปน ก องปญญาข้ึนแสดงกอ น สว นการปฏบิ ตั ขิ องผูดำเนนิ ทาง มรรค ตองทำศีลไปกอน แลวจึงทำสมาธิแลปญญา ซึ่ง เรียกวาสิกขา ท้งั ๓ ? ข. ตอบวา ตามความเหน็ ของขา พเจา วา จะเปน ๒ ตอน ตอนแรก สวนโลกิยกุศลตองทำศีล สมาธิ ปญญา เปน ลำดบั ไป ปญ ญาทเ่ี กดิ ขนึ้ ยงั ไมเ หน็ อรยิ สจั ทงั้ ๔ สงั โยชน ๓ ยังละไมได ขีดของใจเพียงนี้เปนโลกีย ตอนที่เห็น อริยสัจแลวละสังโยชน ๓ ไดตอนนี้เปน โลกตุ ตร ก. ถามวา ศลี จะเอาศลี ชนิดไหน ? ข. ตอบวา ศีลมีหลายอยาง ศีล ๕ ศีล ๘ ศีล ๑๐ ศีล

๙ ปฏิปตติปจุ ฉาวิสชั นา ๒๒๗ แตใ นที่นีป้ ระสงคศีลทเี่ รียกวา สมฺมา วาจา สมฺมา กมฺมนโฺ ต สมมฺ าอาชโี ว แตตองทำใหบ ริบรู ณ ก. ถามวา สมมฺ าวาจา คอื อะไร ? ข. ตอบวา มุสาวาทา เวรมณี เวนจากพูดเท็จ ปสุณาย วาจายเวรมณี เวนจากพูดสอเสียด ใหเขาแตกราวกัน ผรสุ าย วาจายเวรมณี เวน จากพดู คำหยาบ สมผฺ ปปฺ ลาปา เวรมณี เวน จากพดู โปรยประโยชน ก. ถามวา สมฺมากมฺมนโฺ ต การงานชอบนน้ั มกี ่อี ยาง ? ข. ตอบวา มี ๓ อยาง คือ ปาณาติปาตา เวรมณี เวน จากฆาสัตว อทินฺนาทานา เวรมณี เวนจากการลัก ทรัพย อพฺรหมฺจริยา เวรมณี เวนจากอสัทธรรม ไมใช พรหมจรรย ก. ถามวา สมมฺ ากมมฺ นโฺ ต ในทอ่ี นื่ ๆ โดยมากเวน อพรฺ หมฺ สว นในมหาสตปิ ฏ ฐานทำไมจงึ เวน กาเมสมุ ิจฉาจาร ? ข. ตอบวา ความเห็นของขาพเจาวาที่ทรงแสดงศีล อพฺรหมฺ เหน็ จะเปน ดวยรับสง่ั แกภกิ ษุ เพราะวาภิกษเุ ปน พรหมจารบี คุ คลทง้ั นน้ั สวนในมหาสติปฏ ฐาน ๔ ก็รับสงั่ แกภ กิ ษุ เหมอื นกนั แตว า เวลานน้ั พระองคเ สดจ็ ประทบั อยู ในหมชู นชาวกรุ ุ พวกชาวบา นเหน็ จะฟงอยมู าก ทานจึง สอนใหเ วนกามมจิ ฉาจาร เพราะชาวบา นมักเปน คนมคี ู ก. ถามวา สมมฺ าอาชโี ว เลยี้ งชวี ติ ชอบ เวน จากมจิ ฉาชพี นั้นเปน อยา งไร ?

๑๐ ปฏปิ ตติปจุ ฉาวสิ ชั นา ข. ตอบวา บางแหงทานก็อธิบายไววา ขายสุรายาพิษ ศัสตราอาวุธ หรือขายสัตวมีชีวิตตองเอาไปฆา เปนตน เหลานี้แหละเปน มิจฉาชพี . ก. ถามวา ถา คนทไ่ี มไ ดข ายของเหลา นเี้ ปน สมมฺ าอาชโี ว อยางนนั้ หรือ? ข. ตอบวา ยังเปนไปไมได เพราะวิธีโกงของคนมีหลาย อยา งนกั เชน คา ขายโดยไมซ อ่ื มกี ารโกงตาชงั่ ตาเตง็ หรอื เอารัดเอาเปรียบอยางใดอยางหนึ่ง ในเวลาท่ีผูซื้อเผลอ หรอื เขาไวใ จ รวมความพดู วา อธั ยาศยั ของคนทไี่ มซ อ่ื คดิ เอารัดเอาเปรียบผูอื่น เห็นแตจะได สุดแตจะมีโอกาส จะเปนเงินหรือของก็ดี ถึงแมจะไมชอบธรรม สุดแตจะ ไดเปนเอาทั้งน้ัน ขาพเจาเห็นวา อาการเหลาน้ีก็เปน มิจฉาชพี ทั้งสน้ิ สมฺมาอาชโี ว จะตองเวน ทุกอยาง เพราะ เปน สง่ิ ทค่ี ดคอมไดมาโดยไมช อบธรรม. ก. ถามวา สมมฺ าวายาโม ความเพยี รชอบนนั้ คอื เพยี ร อยางไร? ข. ตอบวา สงั วรปธานเพยี รระวงั อกศุ ลวติ ก๓ทย่ี งั ไมเ กดิ ไมใ หเกดิ ข้นึ ปหานปธาน เพียรละอกศุ ลวติ ก ๓ ทเี่ กดิ ขนึ้ แลวใหหายไป ภาวนาปธาน เพียรเจริญกุศลท่ียังไมเกิด ใหเกิดขึ้น อนุรักขนาปธาน เพียรรักษากุศลท่ีเกิดแลวไว ใหส มบรู ณ.

๑๑ ปฏปิ ตติปจุ ฉาวสิ ัชนา ก. ถามวา สมฺมาสติ ระลกึ ชอบนน้ั ระลกึ อยา งไร? ข. ตอบวา ระลึกอยูในสติปฏฐาน ๔ คือ กายานุปสฺ สนา ระลึกถงึ กาย เวทนานุปสฺสนา ระลึกถึงเวทนา จิตตฺ า นปุ สสฺ นา ระลึกถึงจติ ธมฺมานปุ สฺสนา ระลึกถึงธรรม ก. ถามวา สมฺมาสมาธิ ความตั้งใจไวชอบ คือตั้งใจไว อยา งไร จงึ จะเปนสมฺมาสมาธ?ิ ข. ตอบวา คอื ตง้ั ไวใ นองคฌ านทง้ั ๔ทเ่ี รยี กวา ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน เหลาน้ีแหละเปน สมมฺ าสมาธิ. ก. ถามวา สมฺ มา สงฺกปฺ โป ความดำริชอบน้ันดำริ อยางไร? ข. ตอบวา เนกขฺ มมฺ สงกฺ ปโฺ ปดำรอิ อกจากกามอพยฺ าปาท สงกฺ ปโฺ ป ดำริไมพยาบาท อวหิ ึ สาสงฺกปฺโป ดำริในความ ไมเบียดเบียน. ก. ถามวา สมมฺ าวายาโม กล็ ะอกุศลวิตก ๓ แลว สมฺมา สงฺกปฺโป ทำไมจงึ ตองดำริอกี เลา ? ข. ตอบวา ตางกันเพราะ สมฺมาวายาโมนั้น เปนแต เปล่ียนอารมณ เชน จิตท่ีฟุงซาน หรือเปนอกุศลก็เลิก นึกเรอ่ื งเกา เสีย มามสี ตริ ะลึกอยใู นอารมณท ี่เปนกศุ ล จงึ สงเคราะหเ ขา ในกองสมาธิสว นสมมฺ าสงกฺ ปโฺ ป มปี ญ ญา พจิ ารณาเหน็ โทษของกาม เหน็ อานสิ งสข องเนกขมั ม จงึ

๑๒ ปฏปิ ตตปิ จุ ฉาวสิ ชั นา ไดค ดิ ออกจากกามดว ยอาการทเี่ หน็ โทษ หรอื เหน็ โทษของ พยาบาท วิหงิ สา เห็นอานิสงสของเมตตากรณุ า จงึ ไดค ดิ ละพยาบาทวหิ งิ สา การเหน็ โทษแลเหน็ อานสิ งสเ ชน น้ี แหละจงึ ผดิ กบั สมมฺ าวายาโม ทา นจงึ สงเคราะหเ ขา ไว ในกองปญญา. ก. ถามวา สมมฺ ทฏิ ฐิ ความเหน็ ชอบนน้ั คอื เหน็ อยา งไร? ข. ตอบวา คือ เห็นทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค ที่เรียกวา อริยสัจ ๔ ความเหน็ ชอบอยา งนแ้ี หละ ชอื่ วา สมมฺ าทิฏฐิ. ก. ถามวา อริยสจั ๔ นน้ั มกี ิจจะตองทำอะไรบาง ? ข. ตอบวา ตามแบบที่มีมาในธรรมจักร มีกิจ ๓ อยาง ใน ๔ อริยสัจรวมเปน ๑๒ คือ สัจญาณ รูวาทุกข กิจ ญาณ รวู าจะตองกำหนด กตญาณ รวู า กำหนดเสรจ็ แลว แลรูวาทุกข สมุทัยจะตองละ แลไดละเสร็จแลว และรู วาทุกขนิโรธจะตองทำใหแจง แลไดทำใหแจงเสร็จแลว แลรูวาทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา จะตองเจริญ แลได เจรญิ เสร็จแลว นแี่ หละเรียกวากจิ ในอริยสจั ทัง้ ๔. ก. ถามวา ทกุ ขน ัน้ ไดแกส ่ิงอะไร? ข. ตอบวา ขันธ ๕ อายตนะ ๖ ธาตุ ๖ นามรูปเหลานี้ เปนประเภททุกขสจั . ก. ถามวา ทุกขมีหลายอยางนักจะกำหนดอยางไรถกู ? ข. ตอบวา กำหนดอยางเดียวก็ได จะเปนขันธ ๕ หรือ

๑๓ ปฏปิ ตติปุจฉาวิสัชนา อายตนะ ๖ หรือธาตุ ๖ นามรูปอยางใด อยางหนึ่งก็ได ไมใชวาจะตองกำหนดทีละหลายอยาง แตวาผูปฏิบัติ ควรจะรูไว เพราะธรรมท้ังหลายเหลานี้ เปนอารมณของ วิปสสนา. ก. ถามวา การที่จะเห็นอริยสัจก็ตองทำวิปสสนาดวย หรอื ? ข. ตอบวา ไมเจริญวิปสสนา ปญญาจะเกิดอยางไร ได เมอ่ื ปญญาไมม ีจะเหน็ อรยิ สจั ท้งั ๔ อยางไรได แตท่ี เจริญวิปสสนากันอยู ผทู ่ีอินทรียออน ยังไมเ หน็ อรยิ สัจทัง้ ๔ เลย. ก. ถามวา ขนั ธ ๕ ใครๆ ก็รู ทำไมจึงกำหนดทกุ ขไ มถ กู ? ข. ตอบวา รแู ตช อ่ื ไมร อู าการขนั ธต ามความเปน จรงิ เพราะฉะนนั้ ขนั ธ ๕ เกดิ ข้นึ ก็ไมร ูว า เกดิ ขนั ธ ๕ ดับไปก็ ไมรูวาดับ แลขันธมีอาการสิ้นไปเสื่อมไปตามความเปน จรงิ อยางไร กไ็ มท ราบท้งั นั้น จงึ เปนผูห ลงประกอบดวย วปิ ลาส คอื ไมเ ทยี่ ง กเ็ หน็ วา เทย่ี ง เปน ทกุ ขก เ็ หน็ วา เปน สขุ เปนอนัตตาก็เห็นวาเปนอัตตาตัวตน เปนอสุภไมงามก็ เห็นวาเปน สุภะงาม เพราะฉะนน้ั พระพุทธเจาจงึ ทรงสงั่ สอนสาวก ท่มี าแลว ในมหาสติปฏฐานสูตร ใหร ูจกั ขนั ธ ๕ แลอายตนะ ๖ ตามความเปนจริง จะไดกำหนดถกู . ก. ถามวา ขนั ธ๕คอื รปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ นั้นมลี ักษณะอยา งไร เมื่อเวลาเกดิ ขึ้นแลดบั ไป จะไดรู?

๑๔ ปฏปิ ตตปิ ุจฉาวิสัชนา ข. ตอบวา รปู คือธาตดุ ิน ๑๙ น้ำ ๑๒ ลม ๖ ไฟ ๔ ช่อื วามหาภูตรูป เปนรูปใหญแลอุปาทายรูป ๒๔ เปนรูปท่ี ละเอียด ซ่งึ อาศัยอยใู นมหาภูตรปู ๔ เหลา นี้ ชอื่ วา รปู แต จะแจงใหล ะเอยี ดกม็ ากมาย เมอื่ อยากทราบใหล ะเอยี ด ก็ จงไปดูเอาในแบบเถดิ . ก. ถามวา กเ็ วทนานน้ั ไดแกส ิง่ อะไร? ข. ตอบวา ความเสวยอารมณ ซงึ่ เกดิ ประจำอยใู นรปู นี้แหละ คือบางคราวก็เสวยอารมณเปนสุข บางคราวก็ เสวยอารมณเปนทุกข บางคราวก็ไมท ุกขไมสุข น่แี หละ เรียกวา เวทนา ๓ ถา เตมิ โสมนสั โทมนัส กเ็ ปนเวทนา ๕. ก. ถามวา โสมนสั โทมนสั เวทนาดเู ปน ชอ่ื ของกเิ ลส ทำไม จึงเปนขันธ ? ข. ตอบวา เวทนามี ๒ อยา ง คอื กายกิ ะเวทนาๆ ซ่งึ เกิดทางกาย ๑ เจตสกิ เวทนาๆ ซง่ึ เกดิ ทางใจ ๑ สขุ เวทนาเสวยอารมณเ ปน สขุ ทกุ ขเวทนาเสวยอารมณ เปนทุกข ๒ อยางน้ีเกิดทางกาย โสมนัสโทมนัส อทุกขมสุขเวทนา ๓ อยางน้ีเกิดทางใจไมใชกิเลส คือ เชนกับบางคราวอยูดๆี ก็มีความสบายใจ โดยไมได อาศยั ความรกั ความชอบกม็ ี หรอื บางคราวไมอ าศยั โทสะ หรอื ปฏฆิ ะ ไมส บายใจขนึ้ เอง เชน คนเปน โรคหวั ใจหรอื โรค เสนประสาทก็มี อยางนเี้ ปน ขนั ธแ ท ตองกำหนดรวู า เปน

๑๕ ปฏปิ ตตปิ จุ ฉาวิสัชนา ทุกข เม่ือเวทนาอยา งใด อยางหน่ึงปรากฏขนึ้ นัน่ แหละ เปนความเกิดข้ึนแหงเวทนา เมื่อเวทนาเหลาน้ันดับหาย ไป เปนความดับไปแหงเวทนา น่ีแหละเปนขันธแท เปน ประเภททขุ สัจ. ก. ถามวา เวทนาน้นั อาศยั อะไรจึงเกดิ ขนึ้ ? ข. ตอบวา อาศยั อายตนะภายใน๖ภายนอก๖วญิ ญาณ ๖ กระทบกันเขา ช่ือวาผสั สะ เปนทเ่ี กดิ แหงเวทนา ก. ถามวา อายตนะภายใน ๖ ภายนอก ๖ วญิ ญาณ ๖ ผสั สะ ๖ เวทนาทเี่ กดิ แตผ สั สะ ๖ กไ็ มใ ชก เิ ลส เปน ประเภท ทุกขท ้ังนน้ั ไมใ ชห รือ ? ข. ตอบวา ถูกแลว ก. ถามวา แตทำไมคนเราเม่ือเวลาตาเห็นรูป หูไดยิน เสียง จมูกไดด มกลน่ิ ลิ้นไดลิม้ รสหรอื ถูกตอ งโผฏฐัพพะ ดวยกาย รูรับอารมณดวยใจ ก็ยอมไดเวทนาอยางใด อยา งหนง่ึ ไมใ ชห รอื กอ็ ายตนะแลผสั ส เวทนากไ็ มใ ชก เิ ลส แตท ำไมคนเราจงึ เกดิ กิเลส และความอยากขึ้นไดเ ลา ? ข. ตอบวา เพราะไมรูวาเปนขันธแลอายตนะ แลผัสส เวทนาสำคัญวาเปนผูเปนคนเปนจริงเปนจัง จึงไดเกิด กเิ ลสและความอยาก เพราะฉะนัน้ พระพทุ ธเจา จึงทรง แสดงไวใ นฉกั กะสตู รวา บคุ คลเมอื่ สขุ เวทนาเกดิ ขน้ึ ก็ปลอยใหร าคานสุ ยั ตามนอน ทุกขเวทนาเกิดข้นึ ก็

๑๖ ปฏปิ ตตปิ จุ ฉาวิสชั นา ปลอ ยใหปฏิฆานสุ ัยตามนอน อทกุ ขมสุขเวทนาเกดิ ขน้ึ กป็ ลอ ยใหอ วชิ ชานสุ ยั ตามนอน การทำทสี่ ดุ แหง ทุกขในชาติน้ีไมใชฐานะที่จะมีไดเปนได ถาบุคคล เมื่อเวทนาท้ัง ๓ เกิดข้ึน ก็ไมปลอยใหอนุสัยทั้ง ๓ ตามนอน การทำท่ีสุดแหงทุกขในชาติน้ีมีฐานะท่ีมี ไดเ ปนได นกี่ ็เทากบั ตรสั ไวเ ปน คำตายตวั อยูแลว. ก. ถามวา จะปฏบิ ตั อิ ยา งไรจงึ จะไมใ หอ นสุ ยั ทงั้ ๓ ตาม นอน ? ข. ตอบวา ก็ ตอง มี สติ ทำความ รูสึก ตัว ไว แล มี สัมปชัญญะ ความรูรอบคอบในอายตนะ แลผัสส เวทนาตามความเปน จรงิ อยา งไร อนสุ ยั ท้งั ๓ จึงจะ ไมตามนอน สมดวยพระพุทธภาษิตในโสฬสปญหาท่ี ๑ ตรัสตอบอชิตะมานพวา สติ เตสํนิวารณํ สตเิ ปนดุจ ทำนบเครอื่ งปด กระแสเหลา นนั้ ปญฺ าเยเตปถ ยิ ยฺ เร กระแสเหลานั้นอันผูปฏิบัติจะละเสียไดดวยปญญา แตในที่น้ันทานประสงคละตัณหา แตอนุสัยกับตัณหาก็ เปน กิเลสประเภทเดยี วกนั . ก. ถามวา เวทนาเปน ขนั ธแ ท เปน ทกุ ขสจั ไมใ ชก เิ ลส แต ในปฏจิ จสมปุ บาท ทำไมจงึ มี เวทนาปจจฺ ยาตณั หา เพราะ เหตอุ ะไร? ข. ตอบวา เพราะไมรูจักเวทนาตามความเปนจริง

๑๗ ปฏิปต ติปจุ ฉาวิสัชนา เมอ่ื เวทนาอยา งใดอยา งหนงึ่ เกดิ ขน้ึ เวทนาทเี่ ปน สขุ ก็ชอบเพลิดเพลินอยากได หรือใหคงอยูไมใหหาย ไปเสยี เวทนาทีเ่ ปนทุกขไมด ีมีมา ก็ไมช อบประกอบ ดวยปฏิฆะ อยากผลักไสไลขับใหหายไปเสียทุก ขมสุขเวทนา ที่มีมาก็ไมรูอวิชชานุสัยจึงตามนอน สมดวยพระพุทธภาษิตในโสฬสปญหาท่ี ๑๓ ท่ี อุทยะ มานพทลู ถามวา กถํ สตสสฺ จรโตวิ ญฺ าณํอุปรชุ ฺฌติ เมอื่ บุคคลประพฤติมีสติอยางไร ปฏิสนธิวิญญาณจึงจะดับ ตรสั ตอบวา อชฺฌตฺตฺจ พหทิ ฺธา จ เวทนํ นาพนิ นทฺ โต เม่ือบุคคลไมเพลิดเพลินย่ิง ซ่ึงเวทนาท้ังภายในแล ภายนอก อวํ สตสฺส จรโต วิ ฺญาณํ อปุ รุปชฌฺ ติ ประพฤติมสี ตอิ ยูอ ยา งน้ี ปฏสิ นธิวิญญาณจึงจะดับ. ก. ถามวา เวทนาอยา งไรช่ือวาเวทนาภายนอก เวทนา อยางไรชอื่ วาเวทนาภายใน? ข. ตอบวา เวทนาทเี่ กดิ แตจ กั ขสุ มั ผสั โสตะสมั ผสั ฆานะ สมั ผสั ชวิ หาสมั ผัส กายสมั ผสั ๕ อยา งน้ี ช่ือวา เวทนาท่ี เปน ภายนอก เวทนาทเี่ กดิ ในฌาน เชน ปต หิ รอื สขุ เปน ตน ชอื่ วา เวทนาภายใน เกดิ แตมโนสัมผสั . ก. ถามวา ปติแลสขุ กเ็ ปน เวทนาดวยหรอื ?

๑๘ ปฏปิ ต ติปจุ ฉาวิสชั นา ข. ตอบวา ปติแลสุขนั้นเกิดข้ึนเพราะความสงบ อาศัย ความเพยี รของผูปฏบิ ตั ิ ในคิรมิ านนทสูตร อานาปานสติ หมวดที่ ๕ กับที่ ๖ ทานสงเคราะหเขาในเวทนานุปส สนา สตปิ ฏ ฐาน เพราะฉะนัน้ ปติแลสุขจึงจัดเปนเวทนาภายในได. ก. ถามวา ทเ่ี รยี กวา นริ ามสิ เวทนา เสวยเวทนาไมม อี ามสิ คือไมเจือกามคุณ เห็นจะเปนเวทนาท่ีเกิดข้ึนจากจิตท่ี สงบน้ีเอง แตถาเชนนนั้ ความยินดีใน รปู , เสียง, กล่นิ , รส, โผฏฐพั พะ ท่เี รียกวากามคุณ ๕ เวทนาท่เี กดิ คราวนัน้ ก็ เปน อามิสเวทนา ถกู ไหม? ข. ตอบวา ถูกแลว . ก. ถามวา สว นเวทนาขา พเจา เขา ใจดแี ลว แตส ว นสญั ญา ขันธ ความจำรูป จำเสียง จำกล่ิน จำรส จำโผฏฐัพพะ จำธัมมารมณ ๖ อยางนี้ มีลักษณะอยางไร เมื่อรูป สัญญาความจำรูปเกิดขึ้นนั้น มีอาการเชนไร แลเวลาท่ี ความจำรปู ดบั ไป มอี าการเชน ไร ขา พเจา อยากทราบ เพอ่ื จะไดกำหนดถูก? ข. ตอบวา คือเราไดเ ห็นรปู คน หรอื รูปของอยางไร อยา ง หนึ่งแลว มานกึ ขน้ึ รปู คนหรือรปู ของเหลา น้ันก็มาปรากฏ ขน้ึ ในใจ เหมือนอยางไดเ หน็ จริงๆ นีเ่ รยี กวาความจำรปู . ก. ถามวา ยังไมเขาใจดี ขอใหชี้ตัวอยางใหขาวอีกสัก หนอย ?

๑๙ ปฏิปต ตปิ จุ ฉาวสิ ัชนา ข. ตอบวา เชนกับเม่ือเชาน้ี เราไดพบคนที่รูจักกันหรือ ไดพ ูดกนั ครนั้ คนนน้ั ไปจากเราแลว เม่ือเรานึกถึงคนนน้ั รูปรา งคนน้ันก็ปรากฏชดั เจนเหมือนเวลาท่ีพบกนั หรอื ได เหน็ ของสงิ่ ใดสงิ่ หนง่ึ ไว เมื่ อเวลานกึ ขน้ึ กเ็ หน็ สง่ิ นนั้ ชดั เจน เหมอื นอยา งเวลาทเี่ หน็ รวมเปน ๒อยา งคอื อปุ าทนิ นกรปู รูปท่มี ีวิญญาณ เชน รปู คนหรอื รูปสตั ว อนุปาทินนกรูป รปู ที่ไมมวี ญิ ญาณครอง ไดแ กส่งิ ของตางๆ หรอื ตน ไมด ิน หนิ กรวด. ก. ถามวา ถา เชนนั้นคนเปน ก็เปน รูปทม่ี วี ิญาณ คนตาย กเ็ ปน รูปท่ไี มม วี ิญญาณ อยางน้นั หรอื ? ข. ตอบวา ถูกแลว นา สลดใจ ชาติเดียวเปน ได ๒ อยาง. ก. ถามวา ถาเชนน้ันสัญญาก็เปนเร่ืองของอดีตทั้งนั้น ไมใ ชปจ จุบนั ? ข. ตอบวา อารมณน้ันเปนอดีต แตเมื่อความจำ ปรากฏขน้ึ ในใจ เปน สญั ญาปจ จบุ นั นแ่ี หละ เรยี กวา สัญญาขันธ. ก. ถามวา ถาไมรูจักสัญญา เวลาที่ความจำรูปคนมา ปรากฏขึ้นในใจ กไ็ มรูวาสญั ญาของตวั เอง สำคญั วาเปน คนจรงิ ๆ หรอื ความจำรปู ทไี่ มม วี ญิ ญาณมาปรากฏขนึ้ ใน ใจ กไ็ มร วู า สญั ญาสำคญั วา เปน สง่ิ เปน ของจรงิ ๆ เมอ่ื เปน เชนน้ีจะมีโทษอยางไรบาง ขอทานจงอธิบายใหขาพเจา เขาใจ ?

๒๐ ปฏิปต ตปิ จุ ฉาวิสชั นา ข. ตอบวา มีโทษมาก เชนนึกถึงคนท่ีรัก รูปรางของคน ที่รักก็มาปรากฏกับใจ กามวิตกท่ียังไมเกิดก็จะเกิดข้ึน ที่ เกิดขึ้นแลวก็จะงอกงาม หรือนึกถึงคนที่โกรธกัน รูปราง ของคนที่โกรธกันนั้นก็มาปรากฏชัดเจนเหมือนไดเห็น จรงิ ๆ พยาบาทวิตกท่ยี งั ไมเกดิ กจ็ ะเกิดขน้ึ ทเ่ี กิดข้นึ แลวก็ จะงอกงาม หรือนึกถึงส่ิงของท่ีสวยๆ งามๆ รูปรา งสง่ิ ของ เหลานั้นก็มาปรากฏในใจ เกิดความชอบใจบาง แหละ อยากไดบาง เพราะไมรูวาสัญญาขันธของตัวเองสำคัญ วา สง่ิ ทง้ั ปวงเปนจรงิ เปนจงั ไปหมด ที่แทก็เหลวทั้งนน้ั . ก. ถามวา ก็ ความ เกิด ข้ึน แหง สัญญา มี ลักษณะ อยางไร? ข. ตอบวา เม่ือความจำรูปอยางใดอยางหน่ึงมาปรากฏ ในใจ เปนความเกิดข้ึนแหงความจำรูป เมื่อความจำรูป เหลา น้ัน ดับหายไปจากใจ เปนความดับไปแหง ความจำ รูป. ก. ถามวา ความจำเสยี งน้นั มีลกั ษณะอยา งไร ? ข. ตอบวา เชนเวลาเราฟงเทศน เม่ือพระเทศนจบแลว เรานึกขึ้นจำไดวาทานแสดงวาอยางนั้นๆ หรือมีคนมา พูดเลาเร่ืองอะไรๆ ใหเราฟง เม่ือเขาพูดเสร็จแลว เรานึก ข้นึ จำถอ ยคำนน้ั ได น่ีเปนลกั ษณะของความจำเสยี ง เม่อื ความจำเสยี งปรากฏขน้ึ ในใจ เปน ความเกดิ ขน้ึ แหง ความ

๒๑ ปฏปิ ตตปิ จุ ฉาวสิ ชั นา จำเสียง เมื่อความจำเสียงเหลาน้นั ดับหายไปจากใจ เปน ความดับไป แหงสทั ทสัญญา. ก. ถามวา คันธสัญญาความจำกล่ิน มีลักษณะ อยางไร? ข. ตอบวา เชนกับเราเคยไดกลิ่นหอมดอกไมหรือน้ำอบ หรือกลิ่นเหม็นอยางใดอยางหนึ่งไว เม่ือนึกข้ึนก็จำกลิ่น หอมกลนิ่ เหมน็ เหลานนั้ ได นเี่ ปน ความเกิดขึน้ ของความ จำกลน่ิ เมอื่ ความจำกลนิ่ เหลา นนั้ หายไปจากใจเปน ความ ดบั ไปแหงคันธสญั ญา. ก. ถามวา รส สัญญา ความ จำ รส น้ัน มี ลักษณะ อยางไร? ข. ตอบวา ความจำรสนนั้ เมอ่ื เรารบั ประทานอาหารมรี ส เปรี้ยว หวาน จดื เคม็ หรอื ขม เปน ตน เมอื่ รับประทาน เสรจ็ แลว นึกขึน้ กจ็ ำรสเหลาน้นั ไดอ ยา งนี้เรียกวา ความ จำรส เมอื่ ความจำรสปรากฏข้นึ ในใจ เปนความเกิดขน้ึ แหงรสสัญญา เมือ่ ความจำรสเหลานนั้ ดบั หายไปจากใจ เปนความดับไปแหงรสสญั ญา. ก. ถามวา โผฏฐัพพสญั ญานน้ั มลี กั ษณะอยางไร ? ข. ตอบวา ความจำเครอื่ งกระทบทางกาย เชน เราเดนิ ไป เหยียบหนาม ถกู หนามยอก หรอื ถกู ตองเย็นรอ นออนแข็ง อยา งใดอยางหนึ่ง เมอ่ื นกึ ข้นึ จำความถูกตองกระทบทาง กายเหลานน้ั ไดช อ่ื วา โผฏฐัพพสัญญา.

๒๒ ปฏปิ ตตปิ จุ ฉาวิสัชนา ก. ถามวา เชนเมื่อกลางวันน้ีเราเดินทางไปถูกแดดรอน จัด ครน้ั กลบั มาถงึ บาน นึกถึงท่ีไปถกู แดดมานนั้ กจ็ ดั ได วา วันน้นั เราไปถกู แดดรอ นอยา งนีเ้ ปน โผฏฐพั พสญั ญา ถูกไหม ? ข. ตอบวา ถูกแลว ส่ิงใดสิ่งหน่ึงมากระทบถูกตองทาง กาย เม่ือเรานึกคิดถึงอารมณเหลานั้นจำได เปนโผฏฐัพ พสัญญาทั้งนั้น เม่ือความจำโผฏฐัพพสัญญาเกิดขึ้นใน ใจ เปนความเกิดขึ้นแหงโผฏฐัพพสัญญา เมื่อความจำ เหลาน้ันดับหายไปจากใจ เปนความดับไปแหงโผฏฐัพพ สัญญา. ก. ถามวา ธมั มสญั ญามีลักษณะอยา งไร? ข. ตอบวา ธัมมสัญญา ความจำธัมมารมณนั้นละเอียด ยิ่งกวา สัญญา ๕ ท่ไี ดอธิบายมาแลว. ก. ถามวา ธัมมารมณนน้ั ไดแกส่งิ อะไร? ข. ตอบวา เวทนาขนั ธ สญั ญาขนั ธ สงั ขารขนั ธ ๓ อยา งนี้ ชอ่ื วา ธมั มารมณ เชน เราไดเ สวยเวทนาทเี่ ปน สขุ หรอื ทเ่ี ปน ทุกขไว แลเวทนาเหลาน้ันดับไปแลว นึกข้ึนจำไดอยางนี้ ชื่อวาความจำเวทนา หรือเราเคยทองบนอะไรๆ จะจำได มากก็ตามหรือจำไดนอยก็ตาม เม่ือความจำเหลาน้ันดับ ไป พอนึกขึ้นถึงความจำเกาก็มาเปนสัญญาปจจุบันข้ึน อยา งนเ้ี รียกวาความจำสญั ญา หรือเราคดิ นกึ เรือ่ งอะไรๆ

๒๓ ปฏปิ ต ตปิ ุจฉาวสิ ัชนา ขึ้นเองดวยใจ เม่ือความคิดเหลาน้ันดับไป พอเรานึก เรอ่ื งอะไรๆ ขน้ึ เองดว ยใจ กจ็ ำเรอ่ื งนนั้ ได นเี่ รยี กวา ความ จำสงั ขารขนั ธ ความจำเรอื่ งราวของเวทนา สญั ญา สงั ขาร เหลา น่ีแหละชื่อวา ธัมมสัญญา ความจำธัมมารมณ เมอ่ื ความจำธัมมารมณมาปรากฏขึ้นในใจ เปนความเกิดข้ึน แหง ธมั มสญั ญา เมอื่ ความจำธมั มารมณเ หลา นน้ั ดบั หาย ไปจากใจ เปนความดบั ไปแหง ธัมมสญั ญา. ก. ถามวา แหมชางซบั ซอนกนั จรงิ ๆ จะสังเกตอยางไร ถูก? ข. ตอบวา ถา ยงั ไมร จู กั อาการขนั ธ กส็ งั เกตไมถ กู ถา รจู กั แลวก็สงั เกตไดงาย เหมือนคนทีร่ จู กั ตวั แล รูจกั ช่ือกัน ถึง จะพบหรือเห็นกันมากๆ คนก็รูจักไดทุกๆ คน ถาคนท่ีไม เคยรูจักตัวหรือรูจักชื่อกันมาแตคนเดียวก็ไมรูจักวา ผูน้ัน คือใคร สมดวยพระพุทธภาษิต ในคหุ ัฏฐกสตู รหนา ๓๙๕ ทว่ี า สฺญํ ปริญฺ า วติ เรยยฺ โอฆํ สาธชุ นมากำหนด รอบรสู ัญญาแลวจะพึงขา มโอฆะได. ก. ถามวา สังขารขนั ธคอื อะไร? ข. ตอบวา สังขารขันธค ือความคดิ ความนึก. ก. ถามวา สังขารขันธเปน ทกุ ขสจั หรือเปน สมุทยั ? ข. ตอบวา เปน ทกุ ขสจั ไมใ ชสมุทัย. ก. ถามวา ก็สังขารขันธตามแบบอภิธัมมสังคหะ ทาน

๒๔ ปฏปิ ต ตปิ ุจฉาวสิ ัชนา แจกไวว า มีบาปธรรม ๑๔ โสภณเจตสกิ ๒๕ อญั ญสมนา ๑๓ รวมเปน เจตสกิ ๕๒ ดวงนน้ั ดูมที ัง้ บญุ ทัง้ บาป และ ไมใ ชบ ญุ ไมใ ชบ าปปนกนั ทำไมจงึ เปน ทกุ ขสจั อยา งเดยี ว ขา พเจายงั ฉงนนัก? ข. ตอบวา อัญญสมนา ๑๓ ยกเวทนาสัญญาออก เสีย ๒ ขันธ เหลืออยู ๑๑ นี่แหละเปนสังขารขันธแท จะตอ งกำหนดรูวาเปนทุกข สวนบาปธรรม ๑๔ นน้ั เปน สมุทัยอาศัยสังขารขันธเกิดข้ึน เปนสวนปหาตัพพธรรม จะตองละ สวนโสภณเจตสิก ๒๕ นั้นเปนภาเวตัพพ ธรรมจะตอ งเจรญิ เพราะฉะน้นั บาปธรรม ๑๔ กับโสภณ เจตสกิ ๒๕ ไมใชสังขารแท เปน แตอาศยั สงั ขารขันธเ กิด ขน้ึ จงึ มหี นา ทจี่ ะตอ งละแลตอ งเจรญิ ความคดิ ความนกึ อะไรๆ ที่มาปรากฏข้ึนในใจ เปนความเกดิ ขึน้ แหง สังขารขันธ ความคิดความนึกเหลาน้ันดับหายไป จากใจ กเ็ ปนความดับไปแหงสังขารขันธ. ก. ถามวา วิญญาณขันธท ร่ี ูทางตา ทางหู ทางจมกู ทาง ลนิ้ ทางกาย ทางใจ ๖ อยา งน้ี มลี กั ษณะอยา งไร และเวลา เกดิ ข้ึนแลดับไปมอี าการอยา งไร? ข. ตอบวา คือ ตา ๑ รูป ๑ กระทบกันเขา เกิดความรู ทางตา เชนกับเราไดเห็นคนหรือส่ิงของอะไรๆ ก็รูไดคน น้ันคนน้ี หรือส่ิงนั้นสิ่งน้ี ชื่อวาจักขุวิญญาณ เมื่อรูปมา

๒๕ ปฏปิ ตติปจุ ฉาวิสัชนา ปรากฏกบั ตา เกดิ ความรทู างตาเปน ความเกดิ ขนึ้ แหง จกั ขุ วิญญาณ เมื่อความรูทางตาดับหายไป เปนความดับไป แหงจกั ขุวญิ ญาณ หรอื ความรทู างหู รกู ล่ินทางจมูก รรู ส ทางล้ิน รูโผฏฐัพพะทางกายมาปรากฏขึ้น ก็เปนความ เกิดขึ้นแหงโสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวญิ ญาณ เม่อื ความรู ทางหู จมกู ล้ิน กาย หายไป ก็ เปน ความดับไปแหงโสตวิญญาณ ฆานวญิ ญาณ ชิวหา วิญญาณ กายวิญญาณ เมื่อใจกับธัมมารมณมากระทบ กนั เขาเกดิ ความรทู างใจเรยี กวา มโนวญิ ญาณ. ก. ถามวา ใจนนั้ ไดแกส่ิงอะไร? ข. ตอบวา ใจนั้นเปนเครื่องรับธัมมารมณใหเกิดความรู ทางใจ เหมอื นอยา งตาเปน เคร่อื งรับรูปใหเ กดิ ความรูท าง ตา. ก. ถามวา รเู วทนา รูสัญญา รูสงั ขารนนั้ รอู ยา งไร ? ข. ตอบวา รเู วทนานนั้ เชน สขุ เวทนาเปน ปจ จบุ นั เกดิ ขน้ึ ก็ รวู าเปนสุข หรือทกุ ขเวทนาเกดิ ขึ้น กร็ ูว าเปนทกุ ข อยางนี้ แลรเู วทนาหรอื สญั ญาใดมาปรากฏขน้ึ ในใจ จะเปน ความ จำรปู หรอื ความจำเสยี งกด็ ี กร็ สู ญั ญานน้ั อยา งนเี้ รยี กวา รู สญั ญาหรอื ความคดิ เรอื่ งอะไรๆ ขนึ้ กร็ ไู ปในเรอื่ งนน้ั อยา ง นี้ รูสงั ขาร ความรเู วทนา สญั ญา สงั ขาร ๓ อยา งนี้ ตองรู ทางใจ เรยี กวา มโนวญิ ญาณ.

๒๖ ปฏปิ ตตปิ จุ ฉาวสิ ชั นา ก. ถามวา มโนวิญญาณ ความรูทางใจก็เหมือนกันกับ ธรรมสัญญา ความจำธัมมารมณอยางน้ันหรือ เพราะ นก่ี ็รวู าเวทนา สญั ญา สงั ขาร นน่ั ก็จำเวทนา สญั ญา สงั ขาร ? ข. ตอบวา ตา งกนั เพราะสญั ญานนั้ จำอารมณท ลี่ ว งแลว แตตวั สญั ญาเอง เปนสัญญา ปจ จบุ นั สวนมโนวญิ ญาณ นนั้ รเู วทนาสญั ญาสงั ขารทเี่ ปน อารมณป จ จบุ นั เมอ่ื ความ รเู วทนา สัญญา สงั ขาร มาปรากฏขนึ้ ในใจ เปน ความเกิด ขนึ้ แหงมโนวญิ ญาณ เม่อื ความรู เวทนา สัญญา สังขาร ดบั หายไปจากใจ เปน ความดับไปแหง มโนวิญญาณ. ก. ถามวา เชนผงเขาตา รูวาเคืองตา เปนรูทางตาใช ไหม? ข. ตอบวา ไมใช เพราะรูทางตานั้น หมายถึงรูปท่ีมา กระทบกัน ตาเกิดความรูขึ้น สวนผงเขาตาน้ันเปนกาย สมั ผัส ตอ งเรียกวา รโู ผฏฐพั พะ เพราะตานัน้ เปน กาย ผง นัน้ เปน โผฏฐัพพะ เกดิ ความรขู ้นึ ช่ือวา รูทางกาย ถาผง เขาตาคนอ่ืน เขาวานเราไปดู เมื่อเราไดเห็นผงเกิดความ รขู ้นึ ชอ่ื วารูทางตา. ก. ถามวา สาธุ ขาพเจาเขาใจไดความในเร่ืองนี้ชัดเจน ดแี ลว แตขันธ ๕ น้นั ยังไมไดค วามวาจะเกิดข้นึ ทลี ะอยา ง สองอยาง หรอื วา ตอ งเกิดพรอ มกนั ท้งั ๕ ขันธ

๒๗ ปฏิปตติปจุ ฉาวสิ ชั นา ข. ตอบวา ตอ งเกิดพรอมกันทัง้ ๕ ขนั ธ. ก. ถามวา ขนั ธ ๕ ทเี่ กดิ พรอ มกนั นน้ั มลี กั ษณะอยา งไร? และความดบั ไปมอี าการอยา งไร ? ขอใหช ตี้ วั อยา งใหข าว สกั หนอย ข. ตอบวา เชน เวลาเรานึกถึงรูปคนหรือรูปสิ่งของอยาง ใดอยางหน่ึง อาการที่นึกข้ึนนั้นเปนลักษณะของสังขาร ขันธ รปู รางหรือสิ่งของเหลา นน้ั มาปรากฏขึ้นในใจ น่เี ปน ลกั ษณะของมโนวิญญาณ สุขหรอื ทุกขห รืออเุ บกขาที่เกดิ ขึน้ ในคราวน้ัน นี่เปน ลักษณะของเวทนา มหาภตู รูป หรอื อุปาทายรูปท่ีปรากฏอยูนั้น เปนลักษณะของรูป อยางนี้ เรียกวาความเกิดขึ้นแหง ขันธพรอมกันทัง้ ๕ เม่ืออาการ ๕ อยา งเหลานัน้ ดบั ไปเปน ความดับไปแหง ขนั ธทงั้ ๕. ก. ถามวา สวนนามท้ัง ๔ เกิดขึ้นและดับไปพอจะเห็น ดว ย แตท ่ีวา รปู ดับไปนั้นยังไมเ ขาใจ ? ข. ตอบวา สว นรปู นนั้ มคี วามแปรปรวนอยเู สมอ เชน ของ เกา เสอื่ มไป ของใหมเ กดิ แทนแตท วา ไมเ หน็ เอง เพราะรปู สันตติ รปู ท่ีติดตอ เนื่องกนั บังเสีย จึงแลไมเหน็ แตก็ลอง นกึ ดถู งึ รปู ตงั้ แตเ กดิ มาจนถงึ วนั น้ี เปลย่ี นไปแลว สกั เทา ไร ถารูปไมด บั กค็ งไมมีเวลาแก แลเวลาตาย. ก. ถามวา ถา เราจะสังเกตขนั ธ ๕ วา เวลาเกดิ ขนึ้ แลดับ ไปนั้น จะสังเกตอยางไรจึงจะเห็นได แลท่ีวาขันธสิ้นไป

๒๘ ปฏปิ ต ติปจุ ฉาวสิ ชั นา เสอื่ มไปนน้ั มลี กั ษณะอยา งไร เพราะวา เกดิ ขน้ึ แลว กด็ บั ไป แลว กเ็ กิดข้นึ ไดอ ีก ดูเปนของคงทไ่ี มเ หน็ มคี วามเส่อื ม? ข. ตอบวา พดู กบั คนทไี่ มเ คยเหน็ ความจรงิ นน้ั ชา งนา ขนั เสยี เหลอื เกนิ วิธีสงั เกตขนั ธ ๕ นัน้ ก็ตอ งศกึ ษาใหร จู กั อาการขันธตามความเปนจริง แลวก็มีสติสงบความคิด อ่ืนเสียหมดแลว จนเปนอารมณอันเดียวที่เรียกวาสมาธิ ในเวลาน้ันความคิดอะไรๆ ไมมีแลว สวนรูปนั้นหมาย ลมหายใจ สวนเวทนาก็มีแตปติหรือสุข สวนสัญญาก็ เปนธรรม สัญญาอยางเดียว สวนสังขารเวลานั้นเปนสติ กับสมาธิ หรอื วิตกวิจารอยู สว นวญิ ญาณกเ็ ปน แตค วาม รอู ยใู นเรอื่ งทสี่ งบนน้ั ในเวลานนั้ ขนั ธ ๕ เขา ไปรวมอยเู ปน อารมณเดียว ในเวลานั้นตองสังเกตอารมณปจจุบัน ที่ ปรากฏอยูเปนความเกิดขึ้นแหงขันธ พออารมณปจจุบัน นน้ั ดบั ไป เปน ความดบั ไปแหง นามขนั ธ สว นรปู นน้ั เชน ลม หายใจออกมาแลวพอหายใจกลับเขาไป ลมหายใจออก นนั้ กด็ บั ไปแลว ครนั้ กลบั มาหายใจออกอกี ลมหายใจเขา กด็ บั ไปแลว นี่แหละเปน ความดบั ไปแหงขันธท ั้ง ๕ แลว ปรากฏขน้ึ มาอกี กเ็ ปน ความเกดิ ขนึ้ ทกุ ๆ อารมณ แลขนั ธ ๕ ทเี่ กดิ ขน้ึ ดบั ไป ไมใ ชด บั ไปเปลา ๆ รปู ชวี ติ นิ ทรยี  ความ เปน อยขู องรปู ขนั ธ อรูปชวี ิตินทรยี  ความเปน อยขู องนาม ขนั ธท ง้ั ๔ เมอื่ อารมณด บั ไปครงั้ หนงึ่ ชวี ติ แลอายขุ องขนั ธ ท้ัง ๕ กส็ ้ินไปหมดไปทุกๆ อารมณ.

๒๙ ปฏิปต ติปุจฉาวิสชั นา ก. ถามวา วิธีสังเกตอาการขันธที่ส้ินไปเส่ือมไปนั้น หมายเอาหรอื คดิ เอา? ข. ตอบวา หมายเอากเ็ ปน สญั ญา คดิ เอากเ็ ปน เจตนา เพราะฉะนั้นไมใชหมายไมใชคิด ตองเขาไปเห็น ความจริงทปี่ รากฏเฉพาะหนา จึงจะเปน ปญญาได. ก. ถามวา ถา เชน นน้ั จะดคู วามสนิ้ ไปเสอื่ มไปของขนั ธท ง้ั ๕ มิตอ งต้ังพธิ ีทำใจใหเปน สมาธทิ กุ คราวไปหรือ? ข. ตอบวา ถายังไมเคยเห็นความจริง ก็ตองต้ังพิธีเชนนี้ รำ่ ไป ถา เคยเหน็ ความจรงิ เสยี แลว กไ็ มต อ งตงั้ พธิ ที ำใจให เปนสมาธิทกุ คราวก็ได แตพอมสี ติข้ึน ความจริงก็ปรากฏ เพราะเคยเห็นแลรจู ักความจรงิ เสยี แลว เมื่อมสี ตริ ูตัวขน้ึ มาเวลาใด กเ็ ปน สมถวิปสสนากำกบั กันไปทกุ คราว. ก. ถามวา ทว่ี า ชวี ติ แลอายขุ องขนั ธส นิ้ ไปเสอ่ื มไปนนั้ คอื สิน้ ไปเส่อื มไปอยางไร? ข. ตอบวา เชน เราจะมลี มหายใจอยไู ดส กั ๑๐๐ หน กจ็ ะ ตาย ถา หายใจเสยี หนหนงึ่ แลว กค็ งเหลอื อกี ๙๙ หน หรอื เราจะคดิ จะนกึ อะไรไดส กั ๑๐๐ หน เมอ่ื คดิ นกึ เสยี หนหนง่ึ แลว กค็ งเหลอื ๙๙ หน ถาเปน คนอายยุ ืน กห็ ายใจอยไู ด มากหน หรอื คดิ นกึ อะไรๆ อยไู ดม ากหน ถา เปน คนอายสุ นั้ กม็ ีลมหายใจและคิดนึกอะไรๆ อยูไ ดน อ ยหน ที่สุดก็หมด ลงวนั หนึ่ง เพราะจะตองตายเปน ธรรมดา.

๓๐ ปฏิปต ติปุจฉาวิสัชนา ก. ถามวา ถา เราจะหมายจะคดิ อยใู นเรอ่ื งความจรงิ ของ ขนั ธ อยา งนีจ้ ะเปน ปญ หาไหม ? ข. ตอบวา ถาคิดเอาหมายเอา ก็เปนสมถะ ที่เรียกวา มรณัสสติ เพราะปญ ญานัน้ ไมใ ชเรอ่ื งหมายหรือเรอื่ งคิด เปนเรื่องของความเห็นอารมณปจจุบันที่ปรากฏ เฉพาะ หนา ราวกับตาเหน็ รปู จึงจะเปนปญ ญา. ก. ถามวา เม่ือจิตสงบแลว ก็คอยสังเกตดูอาการขันธ ที่เปนอารมณปจจุบัน เพ่ือจะใหเห็นความจริง นั่นเปน เจตนาใชไหม? ข. ตอบวา เวลานั้นเปนเจตนาจริงอยู แตความจริงก็ยัง ไมป รากฏ เวลาทค่ี วามจรงิ ปรากฏขน้ึ นนั้ พน เจตนาทเี ดยี ว ไมม เี จตนาเลย เปน ความเห็นท่เี กิดข้ึนเปนพิเศษ ตอจาก จติ ทสี่ งบแลว. ก. ถามวา จติ คูกับเจตสิก ใจคกู ับธมั มารมณ มโนธาตุคู กับธรรมธาตุ ๓ คูนเี้ หมอื นกนั หรอื ตา งกัน? ข. ตอบวา เหมอื นกัน เพราะวาจิต กบั มโนธาตุกบั ใจน้ัน อยางเดียวกัน สว นใจนัน้ เปน ภาษาไทย ภาษาบาลี ทา น เรยี กวา มโน เจตสกิ นน้ั กไ็ ดแกเ วทนา สญั ญา สงั ขาร ธัม มารมณน นั้ ก็ คอื เวทนา สญั ญา สงั ขาร ธรรมธาตนุ น้ั กค็ อื เวทนา สญั ญา สังขาร. ก. ถามวา ใจน้นั ทำไมจงึ ไมใ ครปรากฏ เวลาที่สงั เกตดูก็

๓๑ ปฏปิ ต ติปจุ ฉาวสิ ชั นา เหน็ แตเ หลา ธมั มารมณ คอื เวทนาบา ง สญั ญาบา ง สงั ขาร บาง มโนวิญญาณความรูทางใจ เพราะเหตุไร ใจจึงไม ปรากฏเหมอื นเหลา ธมั มารมณ กับมโนวญิ ญาณ? ข. ตอบวา ใจนน้ั เปนของละเอียด เหน็ ไดยาก พอพวก เจตสิกธรรมที่เปนเหลาธัมมารมณมากระทบเขาก็เกิด มโนวญิ ญาณ ถกู ผสมเปนมโนสัมผสั เสียทีเดียว จงึ แลไม เห็นมโนธาตไุ ด. ก. ถามวา อเุ บกขาในจตุตถฌาน เปน อทกุ ขมสขุ เวทนา ใชหรือไม? ข. ตอบวา ไมใ ช อทุกขมสุขเวทนา น้ันเปนเจตสิกธรรม สว นอุเบกขาในจตตุ ถฌานนั้นเปน จิต. ก. ถามวา สงั โยชน ๑๐ นนั้ คอื สกั กายทฐิ ิ วจิ ิกจิ ฉา สลี พั พตั ตปรามาส กามราคะ พยาบาท รูปราคะ อรูป ราคะ มานะ อทุ ธจั จะ อวชิ ชา ทีแ่ บง เปน สงั โยชนเบ้อื ง ตำ่ ๕ เบ้อื งบน ๕ นัน้ ก็สว นสักกายทฐิ ิท่ที า นแจกไว ตาม แบบขันธละ ๔ รวม ๕ ขนั ธ เปน ๒๐ ทีว่ า ยอมเหน็ รูป โดยความเปนตวั ตนบาง ยอมเห็นตวั ตนวามีรูปบา ง ยอม เห็นรูป ในตวั ตนบาง ยอมเห็นตัวตนในรปู บา ง ยอ มเห็น เวทนา สัญญา สงั ขาร วญิ ญาณ โดยความเปนตวั ตนบา ง ยอมเหน็ ตัวตนวามี เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณบาง ยอ มเห็น เวทนา สญั ญา สังขาร วิญญาณในตัวตนบาง

๓๒ ปฏิปต ตปิ ุจฉาวสิ ชั นา ยอ มเหน็ ตัวตนในเวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณบา ง ถาฟง ดูทา นท่ลี ะสักกายทิฐไิ ดแลว ดไู มเ ปน ตัวเปนตน แตท ำไมพระโสดาบนั กล็ ะสักกายทฏิ ฐไิ ดแ ลว สงั โยชน ยังอยอู ีกถึง ๗ ขา พเจา ฉงนนัก? ข. ตอบวา สกั กายทฏิ ฐิ ทที่ า นแปลไวต ามแบบ ใครๆ ฟง กไ็ มใ ครเ ขา ใจ เพราะทา นแตก อ น ทานพดู ภาษามคธกนั ทานเขาใจไดความกันดี สวนเราเปนไทย ถึงแปลแลวก็ จะไมเขาใจ ของทาน จึงลงความเหน็ วา ไมเปนตวั เปน ตน เสีย ดูออกจะแรงมากไป ควรจะนึกถึง พระโกณทัญญะ ในธมั มจกั ร ทา นไดเ ปน โสดาบนั กอ นคนอน่ื ทา นไดค วาม เหน็ วา ยงฺกิจฺ ิ สมทุ ยธมฺมํ สพพฺ นตฺ ํ นโิ รธธมมํ สง่ิ ใดสิง่ หน่ึง มีความเกิดข้ึนเปนธรรมดา สิ่งนั้นลวนมีความดับ เปน ธรรมดา แลพระสารบี ตุ รพบพระอัสสชิ ไดฟงอรยิ สจั ยอ วา เย ธมมฺ า เหตปุ ฺปภวา เตสํ เหตุ ตถาคโต เตสฺจ โย นิ โรโธ จ เอวํวาที มหาสมโณ ธรรมเหลาใดเกิดแตเหตุ พระตถาคตเจาทรงแสดงเหตุ ของธรรมเหลานั้น และความดับของธรรมเหลาน้ัน พระ มหาสมณะมปี กติกลาวอยางนี้ ทานกไ็ ดด วงตาเหน็ ธรรม ละสักกายทฐิ ไิ ด. ก. ถามวา ถาเชนน้ันทานก็เห็นความจริงของปญจขันธ

๓๓ ปฏิปตติปุจฉาวิสชั นา ถา ยความเหน็ ผดิ คอื ทิฏฐิวปิ ลาสเสยี ได สว นสลี พั พตั กับ วิจกิ ิจฉา ๒ อยา งนั้น ทำไมจงึ หมดไปดว ย? ข. ตอบวา สักกายทิฏฐิน้ัน เปนเร่ืองของความเห็นผิด ถึงสีลัพพัตก็เก่ียวกับความเห็นวาส่ิงที่ศักด์ิสิทธ์ิตางๆ ที่ มีอยูในโลกจะใหดใี หช ่ัวได วจิ ิกจิ ฉาน้ัน เมือ่ ผูท่ยี งั ไมเคย เห็นความจริง ก็ตองสงสัยเปนธรรมดา เพราะฉะนั้นทาน ที่ไดดวงตาเห็นธรรมคือเห็นความจริงของสังขารท้ังปวง สว นสีลพั พตั น้นั เพราะความเห็นของทา นตรงแลวจึงเปน อจลสัทธา ไมเห็นไปวาสิ่งอ่ืนนอกจากกรรมท่ีเปนกุศล แลอกุศล จะใหดีใหชั่วได จึงเปนอันละสีลัพพัตอยูเอง เพราะสงั โยชน ๓ เปนกิเลสประเภทเดยี วกนั . ก. ถามวา ถาตอบสังโยชน ๓ อยางนี้แลว มิขัดกันกับ สกั กายทฏิ ฐิตามแบบทว่ี า ไมเปนตวั เปนตนหรอื ? ข. ตอบวา คำท่ีวาไมเปนตัวเปนตนนั้น เปนเรื่องที่ เขาใจเอาเองตางหาก เชน กับพระโกณฑัญญะ เมื่อฟง ธรรมจักร ทานก็ละสักกายทิฏฐิไดแลว ทำไมจึงตองฟง อนัตตลักขณะสูตรอีกเลา นี่ก็สอใหเห็นไดวาทานผูท่ี ละสักกายทิฏฐิไดน้ัน คงไมใชเ ห็นวาไมเปนตัวเปนตน. ก. ถามวา ถา เชน นนั้ ทวี่ า เหน็ อนตั ตา กค็ อื เหน็ วา ไมใ ชต วั ไมใ ชต นอยางนั้นหรือ? ข. ตอบวา อนัตตาในอนัตตลักขณะสูตรท่ีพระพุทธเจา

๓๔ ปฏิปต ตปิ ุจฉาวสิ ชั นา ทรงซกั พระปญ จวคั คยี  มเี นอ้ื ความวา ขนั ธ ๕ ไมเ ปน ไปใน อำนาจ สิง่ ที่ไมเ ปน ไปในอำนาจบงั คับไมได จึงช่อื วา เปน อนตั ตา ถาขันธ ๕ เปนอัตตาแลวกค็ งจะบังคบั ได เพราะ ฉะน้ันเราจึงควรเอาความวา ขันธ ๕ ท่ีไมอยูในอำนาจ จึงเปนอนตั ตา เพราะเหตุที่บังคับไมได ถา ขันธ ๕ เปน อตั ตา ตัวตนกค็ งจะบังคบั ได. ก. ถามวา ถา เชน น้นั เห็นอยา งไรเลาจึงเปน สกั กายทิฏฐิ? ข. ตอบวา ตามความเห็นของขาพเจาวา ไมรูจักขันธ ๕ ตามความเปนจริง เห็นปญจขันธวาเปนตนและเท่ียง สุข ปนตัวตนแกนสาร และเลยเห็นไปวาเปนสุภะความ งามดวย ท่ีเรียกวาทิฏฐิวปิ ลาส นีแ่ หละเปนสักกายทิฏฐิ เพราะฉะน้ันจึงเปนคูปรับกับ ยงฺกิญจิ สมุทยธมฺมํ สพฺ พนฺตํ นิโรธธมมํ ซ่ึงเปนความเห็นถูก ความเห็นชอบจึง ถายความเห็น ผดิ เหลา นนั้ ได. ก. ถามวา ถาเชนน้นั ทานท่ลี ะสักกายทิฐิไดแ ลว อนิจฺจํ ทุกขํ อนตฺตา จะเปนอธั ยาศยั ไดไ หม ? ข. ตอบวา ถาฟงดูตามแบบทานเห็น ยงฺกิฺจิ สมุทย ธมฺมํ สพฺพนฺตํ นิโรธธมฺมํ ชัดเจน อนิจฺจํ คงเปนอัธยาศัย สว นทุกขํ กบั อนตฺตา ถงึ จะเหน็ กไ็ มเ ปน อัธยาศยั เขา ใจวา ถาเหน็ ปญ จขันธ เปนทุกขมากเขา กามราคะพยาบาทก็ คงนอย ถาเห็นปญจขันธเปนอนัตตามากเขา กามราคะ

๓๕ ปฏิปต ตปิ ุจฉาวิสัชนา พยาบาทกค็ งหมด ถาเห็นวา สพเฺ พ ธมมฺ า อนตตฺ า ชัดเจน เขา สงั โยชนเ บื้องบนก็คงหมด นี่เปนสวนความเขา ใจ แต ตามแบบทา นก็ไมไ ดอ ธิบายไว. ก. ถามวา ท่ีวาพระสกิทาคามี ทำกามราคะพยาบาท ใหนอยนั้น ดูมัวไมชัดเจน เพราะไมทราบวานอยแค ไหน ไมแตกหักเหมือนพระโสดาบัน พระอนาคามีแล พระอรหนั ต? ข. ตอบวา แตกหักหรือไมแตกหักก็ใครจะไปรูของทาน เพราะวา เปน ของเฉพาะตัว. ก. ถามวา ถาจะสันนิษฐานไปตามแนวพระปริยัติก็จะ ชี้ตัวอยา งใหเขา ไดบางหรอื ไม? ข. ตอบวา การสันนิษฐานนั้นเปนของไมแน ไมเหมือน อยางไดร ูเ องเหน็ เอง. ก. ถามวา แนห รือไมแ นก เ็ อาเถดิ ขาพเจา อยากฟง ? ข. ตอบวา ถาเชนนั้น ขาพเจาวาทานที่ไดเปนโสดาบัน เสร็จแลว มีอัธยาศัยใจคอซ่ึงตางกับปุถุชน ทานไดละ กามราคะพยาบาทสว นหยาบถงึ กบั ลว งทจุ รติ ซง่ึ เปน ฝา ย อบายได คงเหลอื แตอยางกลางอยางละเอียดอีก ๒ สว น ภายหลงั ทานเจรญิ สมถวปิ สสนามากขึน้ กล็ ะ กามราคะ ปฏิฆะสังโยชน อยางกลางไดอีกสวน ๑ ขาพเจาเห็นวา นีแ่ หละเปน มรรคท่ี ๒ ตอมาทานประพฤติปฏิบตั ิละเอียด

๓๖ ปฏิปตตปิ จุ ฉาวิสัชนา เขา กล็ ะกามราคะพยาบาททเี่ ปน อยา งละเอยี ดไดข าด ชอื่ วา พระอนาคาม.ี ก. ถามวา กามราคะพยาบาทอยางหยาบถึงกับลวง ทุจริต หมายทจุ ริตอยางไหน ? ข. ตอบวา หมายเอาอกุศลกรรมบถ ๑๐ วาเปนทุจริต อยางหยาบ. ก. ถามวา ถา เชน นั้น พระ โสดาบัน ทาน ก็ ละ อกุศล กรรมบถ ๑๐ ไดเ ปนสมุจเฉทหรอื ? ข. ตอบวา ตามความเห็นของขาพเจา เห็นวากายทุจริต ๓ คอื ปาณา อทนิ นา กาเมสมุ จิ ฉาจาร มโนทุจริต ๓ อภิ ชฌฺ า พยาบาท มจิ ฉาทฏิ ฐนิ ล้ี ะขาดไดเ ปน สมุจเฉท สว น วจีกรรมที่ ๔ คอื มุสาวาทก็ละไดข าด สวนวจกี รรมอีก ๓ ตัว คอื ปส ุณาวาจา ผรสุ วาจา สัมผัปปลาป ละไดแ ตส ว น หยาบท่ีปุถุชนกลาวอยู แตสวนละเอียดยังละไมไดตอง อาศัยสงั วรความระวงั ไว. ก. ถามวา ทตี่ อ งสำรวมวจกี รรม ๓ เพราะเหตอุ ะไรทำไม จงึ ไมขาดอยางมุสาวาท? ข. ตอบวา เปน ดว ยกามราคะกบั ปฏฆิ ะสงั โยชนท ง้ั ๒ ยงั ละไมไ ด. ก. ถามวา วจกี รรม๓มาเกย่ี วอะไรกบั สงั โยชนท ง้ั ๓ ดว ย เลา?

๓๗ ปฏิปต ตปิ จุ ฉาวิสชั นา ข. ตอบวา บางคาบบางสมัย เปนตนวามีเรื่องที่จำเปน เกดิ ขนึ้ ในคนรกั ของทา นกบั คนอกี คนหนงึ่ ซง่ึ เขาทำความ ไมด อี ยา งใดอยา งหนง่ึ จำเปน ทจ่ี ะตอ งพดู ครนั้ พดู ไปแลว เปนเหตุใหเขาหางจากคนนั้นจึงตองระวัง สวนปสุณา วาจา บางคราวความโกรธเกิดขน้ึ ท่สี ดุ จะพูดออกไปดว ย กำลงั ใจทโี่ กรธวา พอ มหาจำเรญิ แมมหาจำเริญ ท่ีเรียก วา ประชดทา น กส็ งเคราะหเ ขา ในผรสุ วาจา เพราะเหตนุ นั้ จงึ ตองสำรวม สวนสัมผัปปลาปนน้ั ตริ จั ฉานกถาตางๆ มี มาก ถาสมัยท่ีเผลอสติมีคนมาพูด ก็อาจจะพลอยพูดไป ดว ยได เพราะเหตุน้ันจงึ ตอ งสำรวม. ก. ถามวา ออ พระโสดาบนั ยังมเี วลาเผลอสตอิ ยหู รอื ? ข. ตอบวา ทำไมทานจะไมเ ผลอ สงั โยชนยังอยูอ กี ถึง ๗ ทา นไมใชพระอรหนั ตจะไดบริบูรณด วยสต.ิ ก. ถามวา กามราคะ พยาบาท อยางกลางหมายความ เอาแตไ หน เมอ่ื เกดิ ขนึ้ จะไดร?ู ข. ตอบวา ความรกั แลความโกรธทป่ี รากฏขน้ึ มเี วลาสนั้ หายเร็ว ไมถึงกบั ลว งทจุ ริต นี่แหละเปนอยา งกลาง. ก. ถามวา กก็ ามราคะ พยาบาท อยา งละเอยี ดนน้ั หมาย เอาแคไ หน แลเรยี กวา พยาบาทดหู ยาบมาก เพราะเปน ชอื่ ของอกศุ ล? ข. ตอบวา บางแหงทานก็เรียกวาปฏิฆะสังโยชน ก็มีแต

๓๘ ปฏิปตติปุจฉาวสิ ชั นา ความเห็นของขาพเจาวา ไมควรเรียกพยาบาท ควรจะ เรียกปฏฆิ ะสงั โยชนดูเหมาะดี ก. ถามวา ก็ปฏิฆะกับกามราคะที่อยางละเอียดนั้นจะ ไดแกอาการของจติ เชนใด ? ข. ตอบวา ความกำหนัดที่อยางละเอียด พอปรากฏข้ึน ไมทันคิดออกไปก็หายทันที สวนปฏิฆะนั้น เชน คนท่ีมี สาเหตุโกรธกันมาแตกอน คร้ันนานมาความโกรธกันมา แตกอน คร้นั นานมาความโกรธนั้นก็หายไปแลว และไม ไดน กึ ถงึ เสยี เลย ครน้ั ไปในทปี่ ระชมุ แหง ใดแหง หนงึ่ ไปพบ คนน้ันเขามีอาการสะดุดใจ ไมสนิทสนมหรือเกอเขิน ผิด กบั คนธรรมดาซงึ่ ไมเ คยมสี าเหตกุ นั ขา พเจา เหน็ วา อาการ เหลาน้ีเปนอยางละเอียด ควรจะเรียกปฏิฆะสังโยชนได แตตามแบบทานก็ไมไดอธบิ ายไว ก. ถามวา สังโยชนทั้ง ๒ น้ี เห็นจะเกิดจากคนโดยตรง ไมใ ชเกิดจากส่งิ ของทรพั ยสมบัติอืน่ ๆ ? ข. ตอบวา ถูกแลว เชนวิสาขะอุบาสกเปนพระอนาคามี ไดยินวาหลีกจากนางธัมมทินนา ไมไดหลีกจากสิ่งของ ทรพั ยส มบตั สิ ว นอนื่ ๆสว นความโกรธหรอื ปฏฆิ ะทเ่ี กดิ ขน้ึ ก็ เปน เรอื่ งของคนทงั้ นน้ั ถงึ แมจ ะเปน เรอ่ื งสงิ่ ของ กเ็ กยี่ วขอ ง กบั คน ตกลงโกรธคนนนั่ เอง ก. ถามวา สว นสงั โยชนเ บอื้ งตำ่ นนั้ กไ็ ดร บั ความอธบิ าย

๓๙ ปฏิปต ติปุจฉาวิสชั นา มามากแลว แตส ว นสงั โยชนเ บอ้ื งบน ๕ ตามแบบทอ่ี ธบิ าย ไวว า รูปราคะ คือ ยินดใี นรูปฌาน อรปู ราคะยนิ ดใี นอรูป ฌาน ถาเชนนน้ั คนทไี่ มไ ดบ รรลฌุ านสมาบัติ ๘ สังโยชน ทั้ง ๒ ก็ไมมีโอกาสจะเกิดได เมื่อเปนเชนนี้สังโยชน ๒ ไมมีหรือ ? ข. ตอบวา มี ไมเ กดิ ในฌาน ก็ไปเกิดในเร่อื งอน่ื ก. ถามวา เกิดในเรื่องไหนบาง ขอทานจงอธิบายให ขา พเจาเขาใจ ? ข. ตอบวา ความยินดีในรูปขันธ หรือความยินดีใน รูป เสียง กล่ิน รส โผฏฐพั พะ น้นั ชอ่ื วารูป ราคะ ความยนิ ดใี น เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ หรอื ยนิ ดใี นสมถวปิ ส สนา หรือยนิ ดใี นสว นมรรคผล ทไ่ี ดบ รรลเุ สขคณุ แลว เหลา นก้ี ็ เปน อรปู ราคะได ก. ถามวา กค็ วามยนิ ดใี นกาม ๕ พระอนาคามลี ะไดแ ลว ไมใชห รอื ทำไมจึงมาเก่ียวกับสังโยชน เบอ้ื งบนอกี เลา ? ข. ตอบวา กามมี ๒ ช้นั ไมใชช น้ั เดียวทพ่ี ระอนาคามลี ะ น้ัน เปนสวนความกำหนัดในเมถุน ซ่ึงเปนคูกับพยาบาท สว นความยนิ ดใี นรปู เสยี ง กลน่ิ รส โผฏฐพั พะทไ่ี มไ ดเ กย่ี ว กบั เมถนุ จงึ เปนสงั โยชนเ บือ้ งบน คอื รปู ราคะ สว นความ ยินดีในนามขันธทั้ง ๔ หรอื สมถวิปส สนาหรือมรรคผลชน้ั ตน ๆ เหลานี้ ชื่อวา อรปู ราคะ ซ่ึงตรงกับความยินดใี น

๔๐ ปฏปิ ต ติปจุ ฉาวสิ ชั นา ธัมมารมณ เพราะฉะน้ันพระอรหันตทั้งหลายเบ่ือหนาย ในรปู ขันธ หรอื รปู เสยี ง กลน่ิ รส โผฏฐัพพะ เปน ภายนอก จึงไดสิ้นไปแหงรูปราคะสังโยชน และทานเบ่ือในเวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ และสมถหรือวปิ ส สนาท่อี าศยั ขันธเกิดขึ้นเมื่อทานส้ินความยินดีในนามขันธแลว แม ธรรมทง้ั หลายอาศยั ขนั ธเ กดิ ขน้ึ ทา นกไ็ มย นิ ดี ไดช อื่ วา ละ ความยนิ ดยี นิ รา ยในนามรปู หมดแลว ทา นจงึ เปน ผพู น แลว จากความยินดี ยนิ รา ยในอารมณ ๖ จึงถงึ พรอมดว ยคุณ คือฉะลงั คุเบกขา. ก. ถามวา แปลกมากยังไมเคยไดยินใครอธิบายอยางนี้ สวนมานะสงั โยชนนั้น มอี าการอยางไร? ข. ตอบวา มานะสงั โยชนน นั้ มอี าการใหว ดั เชน กบั นกึ ถงึ ตวั ของตวั กร็ สู กึ วา เปน เรา สว นคนอน่ื กเ็ หน็ วา เปน เขา แล เห็นวาเราเสมอกับเขา หรือเราสูงกวาเขาหรือเราต่ำกวา เขา อาการท่ีวัดชนดิ น้ีแหละเปนมานะสังโยชน ซ่ึงเปนคู ปรบั กับอนัตตาหรือ สพเฺ พ ธมฺมา อนตฺตา. ก. ถามวา ก็อุทธัจจสังโยชนนั้นมีลักษณะอยางไร เชน พระอนาคามลี ะสงั โยชนเ บอื้ งตำ่ ไดห มดแลว สว นอทุ ธจั จ สงั โยชนจ ะฟงุ ไปทางไหน? ข. ตอบวา ตามแบบทานอธิบายไววา ฟุงไปในธรรม เพราะทา นยังไมเ สรจ็ กจิ จงึ ไดฝ กใฝอยูใ นธรรม.

๔๑ ปฏิปต ตปิ จุ ฉาวสิ ชั นา ก. ถามวา อวิชชาสังโยชนนน้ั ไมร ูอ ะไร? ข. ตอบวา ตามแบบทา นอธบิ ายไวว า ไมร ขู นั ธท เี่ ปน อดตี ๑ อนาคต ๑ ปจ จบุ นั ๑ อรยิ สจั ๔ ปฏจิ จสมปุ บาท ๑ ความ ไมร ูใ นที่ ๘ อยางนีแ้ หละชอ่ื วา อวิชชา. ก. ถามวา พระเสขบคุ คลทา นกร็ อู รยิ สจั ๔ ดว ยกนั ทงั้ นน้ั ทำไมอวชิ ชาสังโยชนจ งึ ยงั อย?ู ข. ตอบวา อวิชชามีหลายช้ัน เพราะฉะน้ันวิชชาก็หลาย ชั้น สวนพระเสขบุคคล มรรคแลผลช้ันใดที่ทานไดบรรลุ แลว ทานกร็ เู ปน วชิ ชาขึ้น ชนั้ ใดยงั ไมร ู ก็ยังเปน อวิชชาอยู เพราะฉะนัน้ จงึ หมดในข้ันทส่ี ุด คือ พระอรหนั ต. ก. ถามวา พระเสขบุคคลทานเห็นอริยสัจ แตละตัณหา ไมได มไิ มไดทำกิจในอริยสัจหรอื ? ข. ตอบวา ทา นกท็ ำทุกชั้นนั้นแหละ แตกท็ ำตามกำลัง. ก. ถามวา ทวี่ า ทำตามช้ันนัน้ ทำอยางไร? ข. ตอบวา เชนพระโสดาบันไดเห็นปญจขันธ เกิดขึ้น ดับไป ก็ชอื่ วาไดก ำหนดรทู กุ ข และไดละสังโยชน ๓ หรือ ทุจริตสวนหยาบๆ ก็เปนอันละสมุทัย ความที่สังโยชน ๓ ส้ินไปเปนสวนนิโรธตามชั้นของทาน สวนมรรคทานก็ได เจรญิ มีกำลังพอละสังโยชน ๓ ได แลทานปด อบายได ชือ่ วาทำภพคอื ทคุ ติใหหมดไป ทีต่ ามแบบเรยี กวา ขีณนิรโย มีนรกสิ้นแลว สวนพระสกิทาคามี ก็ไดกำหนดทุกขคือ

๔๒ ปฏปิ ต ตปิ จุ ฉาวิสชั นา ปญจขันธแลวแลละกาม ราคะ พยาบาทอยางกลางได ช่ือวาละสมุทัย ขอท่ีกามราคะพยาบาทอยางกลางหมด ไป จึงเปนนิโรธของทาน สวนมรรคน้ันก็เจริญ มาได เพียงละกามราคะพยาบาท อยางกลางน่ีแหละจึงไดทำ ภพชาตใิ หนอยลง สว นพระอนาคามีทกุ ขไดกำหนดแลว ละกามราคะพยาบาทสว นละเอยี ดหมดไดช อ่ื วา ละสมทุ ยั กามราคะพยาบาทอยางละเอียดท่ีหมดไปจึงเปนนิโรธ ของทาน สวนมรรคนั้นก็ไดเจริญมาเพียงละสังโยชน ๕ ไดหมด แลไดส น้ิ ภพคอื กามธาต.ุ ก. ถามวา ศีล สมาธิ ปญ ญา ที่เปน โลกีย กบั โลกตุ ตรน้นั ตา งกนั อยา งไร? ข. ตอบวา ศีล สมาธิ ปญญา ของผูปฏิบัติอยูในภูมิ กามาพจร รปู าพจร อรูปาพจร น่ีแหละเปน โลกีย ทเ่ี รยี ก วา วัฏฏคามกี ุศล เปน กุศลท่ีวนอยูในโลก สวน ศีล สมาธิ ปญ ญา ของทา นผปู ฏบิ ัตติ ัง้ แตโสดาบันแลว ไป เรยี กวา วิวัฏฏคามีกุศล เปนเคร่ืองขามขึ้นจากโลก นี่แหละเปน โลกุตตร. ก. ถามวา ทา นทบี่ รรลฌุ านถงึ อรปู สมาบตั แิ ลว กย็ งั เปน โลกียอยู ถา เชนน้ันเราจะปฏบิ ตั ใิ หเ ปน โลกตุ ตร ก็เหน็ จะ เหลือวิสัย? ข. ตอบวา ไมเหลือวิสัย พระพุทธเจาทานจึงทรงแสดง ธรรมสัง่ สอน ถาเหลือวิสยั พระองคกค็ งไมทรงแสดง.

๔๓ ปฏปิ ตตปิ ุจฉาวสิ ชั นา ก. ถามวา ถาเราไมไดบรรลุฌานช้ันสูงๆ จะเจริญ ปญ ญา เพ่อื ใหถึงซง่ึ มรรคแลผลจะไดไ หม? ข. ตอบวา ได เพราะวิธีท่ีเจริญปญญาก็ตองอาศัย สมาธิ จรงิ อยู แตไมต องถงึ กับฌาน อาศยั สงบจิตที่ พน นวิ รณ ก็พอเปนบาทของวิปส สนาได. ก. ถามวา ความสงัดจากกาม จากอกุศลของผูที่บรรลุ ฌานโลกีย กับความสงัดจากกาม จากอกุศลของพระ อนาคามีตางกนั อยางไร? ข. ตอบวา ตางกันมาก ตรงกนั ขา มทีเดยี ว. ก. ถามวา ทำไมจึงไดต างกันถงึ กับตรงกนั ขา มทเี ดยี ว? ข. ตอบวา ฌานที่เปนโลกีย ตองอาศัยความเพียร มีสติ คอยระวังละอกุศล แลความเจริญกุศลใหเกิดข้ึน มีฌาน เปนตน และยังตองทำกิจที่คอยรักษาฌานน้ันไวไมให เสื่อม ถึงแมจะเปนอรูปฌานที่วาไมเส่ือมในชาติน้ี ชาติ หนาตอๆ ไป กอ็ าจจะเสอ่ื มได เพราะเปนกุปปธรรม. ก. ถามวา ถาเชนนัน้ สว นความสงดั จากกามจากอกุศล ของพระอนาคามี ทา นไมมเี วลาเสื่อมหรอื ? ข. ตอบวา พระอนาคามี ทานละกามราคะสังโยชนกับ ปฏิฆะสังโยชนไดขาด เพราะฉะน้ันความสงัดจากกาม จากอกุศลของทานเปนอัธยาศยั ทเี่ ปน เองอยเู สมอ โดย ไมตองอาศัยความเพียรเหมือนอยางฌานท่ีเปนโลกีย

๔๔ ปฏปิ ตติปุจฉาวสิ ชั นา สวนวิจกิ จิ ฉาสังโยชนน ้ัน หมดมาตงั้ แตเปนโสดาบนั แลว เพราะฉะน้ันอุทธัจจนิวรณท่ีฟุงไปหากามและพยาบาท กไ็ มม ี ถึงถนี ะมิทธนวิ รณก ไ็ มม ี เพราะเหตุนัน้ ความสงดั จากกามจากอกุศลของทานจึงไมเสื่อม เพราะเปนเอง ไมใชท ำเอาเหมือนอยา งฌานโลกีย. ก. ถามวา ถา เชน นนั้ ผทู ไ่ี ดบ รรลพุ ระอนาคามี ความสงดั จากกามจากอกศุ ล ที่เปน เองมิไมมหี รอื ? ข. ตอบวา ถานึกถึงพระสกิทาคามี ที่วาทำสังโยชนทั้ง สองใหน อ ยเบาบาง นา จะมคี วามสงดั จากกามจากอกศุ ล ที่เปนเองอยูบางแตก ็คงจะออ น. ก. ถามวา ท่ีวาพระอนาคามีทานเปนสมาธิบริปูริการีบริ บูรณดวยสมาธิ เห็นจะเปน อยา งน้เี อง? ข. ตอบวา ไมใชเปนสมาธิ เพราะวาสมาธิน้ันเปนมรรค ตอ งอาศยั เจตนาเปน สว นภาเวตพั พธรรม สว นภาเวตพั พ ธรรมสวนของพระอนาคามีทานเปนเอง ไมมีเจตนาเปน สัจฉิกาตัพพธรรม เพราะฉะน้ันจึงไดตางกันกับฌานท่ี เปน โลกีย. ก. ถามวา นิวรณแลสงั โยชนน นั้ ขา พเจาทำไมจงึ ไมร ูจกั อาการ คงรูจักแตช อ่ื ของนวิ รณแ ลสังโยชน? ข. ตอบวา ตามแบบในมหาสตปิ ฏ ฐาน พระพทุ ธเจา สอน สาวกใหรูจักนิวรณแลสังโยชน พระสาวกของทานต้ังใจ

๔๕ ปฏปิ ต ตปิ จุ ฉาวสิ ัชนา กำหนดสังเกตก็ละนิวรณแลสังโยชนไดหมด จนเปนพระ อรหันต โดยมาก สวนทานท่ีอินทรียออน ยังไมเปนพระ อรหนั ต กเ็ ปน พระเสขบคุ คล สว นเราไมต งั้ ใจไมส งั เกตเปน แตจ ำวา นวิ รณห รอื สงั โยชนแ ลว กต็ ง้ั กองพดู แลคดิ ไปจงึ ไม พบตวั จรงิ ของนวิ รณแ ลสงั โยชนเมอ่ื อาการของนวิ รณแ ละ สังโยชนอยา งไรกไ็ มรูจกั แลว จะละอยา งไรได. ก. ถามวา ถาเชนนั้นผูปฏิบัติทุกวันนี้ ที่รูจักลักษณะ อาการของนวิ รณแ ลสังโยชนจะมีบา งไหม ? ข. ตอบวา มีถมไปชนิดท่ีเปนสาวกตั้งใจรับคำสอนแล ประพฤตปิ ฏบิ ัตจิ ริง ๆ. ก. ถามวา นวิ รณ๕เวลาทเี่ กดิ ขนึ้ ในใจมลี กั ษณะอยา งไร จงึ จะทราบไดว า อยา งนี้ คอื กามฉนั ท อยา งนค้ี อื พยาบาท หรือถีนะมิทธะ อทุ ธจั จะกกุ กุจจะวจิ กิ จิ ฉา และมชี ื่อเสียง เหมือนกับสังโยชน จะตางกันกับสังโยชนหรือวาเหมือน กัน ขอทานจงอธิบายลักษณะของนิวรณแลสังโยชนให ขา พเจาเขาใจ จะไดส งั เกตถกู ? ข. ตอบวา กามฉนั ทนวิ รณ คือความพอใจในกาม สว น กามนน้ั แยกเปน สอง คอื กเิ ลสกามหนงึ่ วตั ถกุ ามอยา งหนง่ึ เชน ความกำหนัดในเมถนุ เปนตน ชื่อวา กิเลสกาม ความ กำหนัดในทรพั ยส มบตั เิ งินทองทบี่ านนาสวน และเคร่ือง ใชส อยหรอื บุตรภรรยาพวกพอง และสัตวของเลยี้ งทเี่ รียก

๔๖ ปฏปิ ต ติปจุ ฉาวิสชั นา วา วญิ ญาณกทรพั ย อวญิ ญาณกทรพั ยเ หลา น้ี ชอ่ื วา วตั ถุ กามความคิดกำหนดั พอใจในสว นทงั้ หลายเหลาน้ี ชอื่ วา กามฉนั ทนวิ รณ สว นพยาบาทนวิ รณคอื ความโกรธเคือง หรือคิดแชงสัตวใหพินาศ ช่ือวาพยาบาทนิวรณ ความ งวงเหงาหาวนอน ช่ือวา ถีนะมิทธนิวรณ ความฟุงซาน รำคาญใจ ช่ือวา อุธัจจกุกกุจจนิวรณ ความสงสัย ใน พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ แลสงสัยในกรรมทส่ี ัตวทำ เปนบาป หรอื สงสยั ในผลของกรรมเหลาน้ี เปนตน ชื่อวา วิจิกิจฉา รวม ๕ อยางนี้ ชื่อวานิวรณ เปนเครื่องก้ันกาง หนทางดี. ก. ถามวา กามฉันทนิวรณ อธิบายเก่ียวไปตลอดกระ ท่ังวิญญาณกทรัพย อวิญญาณกทรัพย วาเปนวัตถุกาม ถา เชนน้นั ผทู ี่ยังอยูค รองเรือน ซึง่ ตองเกย่ี วขอ งกบั ทรพั ย สมบตั ิอัฐฬส เงนิ ทองพวกพอ ง ญาตมิ ติ ร ก็จำเปนจะตอ ง นกึ ถงึ สงิ่ เหลา นนั้ เพราะเกย่ี วเนอ่ื งกบั ตนกม็ เิ ปน กามฉนั ท นิวรณไ ปหมดหรือ? ข. ตอบวา ถา นกึ ตามธรรมดาโดยจำเปน ของผทู ยี่ งั ครอง เรือนอยู โดยไมไดกำหนัดยินดีก็เปนอัญญสมนา คือ เปนกลางๆ ไมใชบุญไมใชบาป ถาคิดถึงวัตถุกามเหลา นั้น เกิด ความยินดีพอใจรักใครเปนหวงยึดถือหมกมุน พัวพันอยูในวัตถุกามเหลานั้น จึงจะเปนกามฉันทนิวรณ

๔๗ ปฏปิ ตตปิ ุจฉาวสิ ชั นา สมดวยพระพุทธภาษิตที่ตรัสไววา น เต กามา ยานิ จิตฺ รานิ โลเก อารมณท่ีวิจิตรงดงามเหลาใดในโลก อารมณ เหลานนั้ มิไดเ ปนกาม สงกฺ ปปฺ ราโค ปุริสสฺส กาโม ความ กำหนัดอันเกิดจากความดำรินี้ นี้แหละเปนกามของคน ติฐฺ นฺติ จิตฺรานิ ตเถว โลเก อารมณท ่วี จิ ติ รงดงามในโลก ก็ต้ังอยูอยางนัน้ เอง อเถตฺถธีรา วินยนฺติ ฉนทฺ ํ เม่อื ความ จรงิ เปนอยา งนี้ นกั ปราชญทั้งหลายจึงทำลายเสียได ซ่งึ ความพอใจในกามนน้ั นก่ี ท็ ำใหเ หน็ ชดั เจนไดว า ถา ฟง ตาม คาถาพระพทุ ธภาษติ นี้ ถา คดิ นกึ ถงึ วตั ถกุ ามตามธรรมดา กไ็ มเ ปน กามฉันทนิวรณ ถาคดิ นกึ อะไรๆ ก็เอาเปนนิวรณ เสียหมด กค็ งจะหลีกไมพ นนรก เพราะนวิ รณเปนอกศุ ล. ก. ถามวา พยาบาทนิวรณน้ัน หมายความโกรธเคือง ประทุษรายในคน ถาความกำหนัดในคนก็เปนกิเลสกาม ถกู ไหม? ข. ตอบวา ถกู แลว . ก. ถามวา ความงวงเหงาหาวนอน เปนถีนะมิทธนิวรณ ถาเชนนั้นเวลาที่เราหาวนอนมิเปนนิวรณทุกคราวไป หรือ? ข. ตอบวา หาวนอนตามธรรมดา เปน อาการของรา งกาย ท่ีจะตองพักผอน ไมเปนถีนะมิทธ นิวรณกามฉันทหรือ พยาบาทที่เกิดข้ึนแลวก็ออนกำลังลงไป หรือดับไปใน

๔๘ ปฏิปต ติปจุ ฉาวสิ ชั นา สมยั นนั้ มอี าการมวั ซวั แลงว งเหงา ไมส ามารถจะระลกึ ถงึ กศุ ลได จึงเปนถนี ะมิทธนวิ รณ ถาหาวนอนตามธรรมดา เรายังดำรงสติสัมปชัญญะอยูไดจนกวาจะหลับไป จึง ไมใ ชนิวรณ เพราะถีนะมทิ ธนิวรณเ ปน อกศุ ล ถา จะเอา หาวนอนตามธรรมดาเปน ถนี มทิ ธแลว เรากค็ งจะพน จาก ถีนะมิทธนวิ รณไ มได เพราะตอ งมีหาวนอนทุกวันดวยกนั ทกุ คน. ก. ถามวา ความฟุงซานรำคาญใจ ที่วาเปนอุทธัจจ กุกกุจจนิวรณน้ัน หมายฟุงไปในที่ใดบาง? ข. ตอบวา ฟงุ ไปในกามฉนั ทบาง พยาบาทบาง แตใ น บาปธรรม ๑๔ ทานแยกเปน สองอยา ง อุทธัจจะความ ฟงุ ซา น กุกกจุ จ ความรำคาญใจ แตในนิวรณ ๕ ทานรวม ไวเปน อยา งเดียวกนั . ก. ถามวา นิวรณ ๕ เปนจิตหรือเจตสกิ ? ข. ตอบวา เปนเจตสิกธรรมฝายอกุศลประกอบกับจิตท่ี เปนอกศุ ล. ก. ถามวา ประกอบอยา งไร? ข. ตอบวา เชนกามฉันทนิวรณก็เกิดในจิต ท่ีเปนพวก โลภะมูล พยาบาทกุกกุจจนิวรณ ก็เกิดในจิตท่ีเปนโทสะ มูล ถีนะมิทธ อทุ ธัจจะ วิจิกิจฉา ก็เกิดในจิตท่ีเปนโมหะ มูล พระพุทธเจาทรงเปรียบนิวรณทั้ง ๕ มาในสามัญ

๔๙ ปฏปิ ต ติปุจฉาวิสัชนา ญผลสูตร ทีฆนิกายสีลักขันธวรรคหนา ๙๓ วา กาม ฉันทนิวรณ เหมือนคนเปนหน้ี, พยาบาทนิวรณเหมือน คนไขหนัก, ถีนมิทธนิวรณ เหมือนคนติดในเรือนจำ, อุทธัจจกุกกุจจนิวรณ เหมือนคนที่เปนทาส, วิจิกิจฉา นวิ รณเ หมอื นคนเดนิ ทางกนั ดารมภี ยั นา หวาดเสยี ว เพราะ ฉะนั้น คนท่ีเขาพน หน้ี หรือหายเจ็บหนัก หรือออกจาก เรอื นจำ หรอื พน จากทาส หรอื ไดเ ดนิ ทางถึงทป่ี ระสงคพ น ภยั เกษมสำราญ เขายอ มถงึ ความยนิ ดฉี นั ใด ผทู พี่ น นวิ รณ ท้ัง ๕ ก็ยอมถึงความยินดีฉันน้ัน แลในสังคารวสูตร ใน ปจจกนิบาตอังคุตตรนิกาย หนา ๒๕๗ พระพุทธเจาทรง เปรยี บนิวรณด ว ยนำ้ ๕ อยา ง วา บคุ คลจะสองดูเงาหนา กไ็ มเ หน็ ฉนั ใด นวิ รณท งั้ ๕ เมอื่ เกดิ ขน้ึ กไ็ มเ หน็ ธรรมความ ดคี วามชอบฉนั นนั้ กามฉนั ทนวิ รณ เหมอื นนำ้ ทรี่ ะคนดว ย สีตางๆ สคี รัง่ สชี มพู เปน ตน พยาบาทนวิ รณ เหมือนน้ำ รอ นทเี่ ดอื ดพลา น ถนี ะมทิ ธนวิ รณ เหมอื นนำ้ ทม่ี จี อกแหน ปดเสียหมด อทุ ธจั จกกุ กุจจนิวรณ เหมอื นนำ้ ทีค่ ลนื่ เปน ระลอก วิจิกจิ ฉานิวรณ เหมือนน้ำท่ขี ุนขนเปนโคลนตม เพราะฉะนน้ั นำ้ ๕ อยา งนี้ บคุ คลไมอ าจสอ งดเู งาหนา ของ ตนได ฉนั ใด นวิ รณท ง้ั ๕ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ครอบงำใจของบคุ คลไม ใหเหน็ ธรรมความดคี วามชอบไดก ็ฉันนน้ั . ก. ถามวา ทำไมคนเราเวลาไขห นกั ใกลจ ะตาย กท็ ำบาป