Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Tangchewit

Tangchewit

Published by ชมรมกัลยาณธรรม, 2021-04-01 07:28:33

Description: Tangchewit

Search

Read the Text Version

ท า ง ชี วิ ต พระพุทธโคดม : ความคิดเห็นของท่าน (ชาวกาลามะ)  ถกู ตอ้ งไมส่ มควรยดึ ถอื ในคำ� พดู ของใคร จนกวา่ จะพสิ จู นด์ ว้ ยสต ิ ปัญญาของตนเองดังน ้ี (ดูบนั ทึกท้ายเล่ม ๕) หากเมื่อใดท่านได้พิจารณาด้วยปัญญาของตนเอง ธรรม  เหล่าน้ันไม่ดีประพฤติตามแล้วเป็นโทษเป็นอกุศล ให้ละเว้นเสีย  ตรงกนั ขา้ ม หากธรรมเหลา่ นน้ั ดปี ระพฤตติ ามแลว้ เปน็ คณุ เปน็ กศุ ล  จงประพฤติตามนน้ั นั่นเป็นสิ่งที่ผู้เขียนได้พูดหรือได้เขียนบอกญาติธรรมอยู ่ เสมอวา่  “จงดเู ขา เปน็ ครสู อนใจตนเอง หากดแี ลว้ ประพฤตติ ามเขา  เราก็จะดีเหมือนเขา หากผิดหรือท�ำให้ตนเองต้องมีบาป จงอย่า  ประพฤตเิ ชน่ เขา แลว้ เรากจ็ ะไมเ่ ลวเหมอื นเขา” ไดพ้ ดู อยเู่ สมอใน  แนวทางน ้ี เพราะตวั ของผเู้ ขยี นเอง ไดพ้ จิ ารณาความถกู ผดิ ในธรรม  ทุกครัง้ ทจ่ี ิตได้รบั สมั ผัส ในคร้ังพุทธกาล มีส่ิงที่พระพุทธโคดมให้เว้น ได้แก่การท่ี  พระปณิ โฑลภารทวาชะเหาะไปเอาบาตรไมจ้ นั ทนแ์ ดง พระพทุ ธเจา้   ทรงหา้ มภกิ ษมุ ใิ หแ้ สดงฤทธ ิ์ พราหมณว์ งั คสี ะมาบวชเปน็ ภกิ ษเุ พอ่ื   พิสูจน์หัวกะโหลกท่ีดีดแล้วเงียบ ไม่มีเสียงโต้ตอบ พระพุทธเจ้า  มิได้ทรงห้าม แต่ให้มาบวชเป็นภิกษุปฏิบัติธรรม เมื่อพระวังคีสะ  50

ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร พฒั นาจติ ตามแนวสมถกรรมฐานและวปิ สั สนากรรมฐาน จนจติ เขา้   ถึงญาณ ๑๖ ไดแ้ ล้ว จงึ เลิกดีดกะโหลกคนตายอีกตอ่ ไป มีสิ่งที่พระพุทธโคดมอนุญาตให้พระในพุทธศาสนาแสดง  ฤทธ์ิได้ เช่น พระมหาปชาบดีโคตมี เจตนาของพระพุทธเจ้าก็คือ  แม้จะเป็นสตรีเพศ  เม่ือพัฒนาจิตจนเข้าถึง  ญาณ  ๑๖  และ  อภญิ ญา ๕ ไดแ้ ลว้ กส็ ามารถมฤี ทธไิ์ ดเ้ หมอื นชาย ทรงอนญุ าตให ้ พระสาคตะอรหันต์แสดงฤทธ์ิอวดชาวอังคะที่มาขอฟังธรรม ทั้งน ี้ เพ่ือสร้างศรัทธาให้เกิดขึ้นกับชาวอังคะก่อนท่ีพระองค์จะแสดง  ธรรม นอกจากนี้พระมหาโมคคัลลานะได้แสดงธรรมแก่บริวาร  ผศู้ รทั ธาดว้ ยอทิ ธปิ าฏหิ ารยิ ค์ วบคกู่ บั อนสุ าสนปี าฏหิ ารยิ  ์ พระสาร-ี   บุตรได้แสดงธรรมกับผู้ศรัทธา ด้วยอาเทสนาปาฏิหาริย์ ควบคู ่ กับอนุสาสนีปาฏิหาริย์  จนทั้งสองอัครสาวกมีบริวารมากโดย  พระพุทธเจา้ มิไดข้ ้องขดั แต่อยา่ งใด ผู้เขียนเดินทางไปบรรยายธรรม ณ ที่แห่งใด มักพูดอยู่  เสมอว่าที่กล่าวนี้เป็นเร่ืองจริง แต่อย่าพึงปลงใจเช่ือ ตามหลัก  กาลามสูตร ท้ังน้ีมีจุดประสงค์ให้ผู้ฟังธรรม ไปพิสูจน์ด้วยตัวเอง  ดว้ ยการปฏบิ ตั ธิ รรม (สมถกรรมฐานและวปิ สั สนากรรมฐาน) หาก  พัฒนาจิตและเข้าถึงความรู้สูงสุดได้แล้วก็จะกระจ่างแจ้งด้วย  ปญั ญาของตวั เอง เมอื่ ประพฤตไิ ดเ้ ชน่ นแ้ี ลว้  จะเปน็ ประโยชนก์ บั   51

ท า ง ชี วิ ต ชวี ิตของผฟู้ งั ต่อไป ผู้เขียนได้พัฒนาสมองจนเข้าถึงปัญญาทางโลก โดยมี  ปรญิ ญาบตั รรบั รองการเขา้ ถงึ  ตอ้ งใชเ้ วลายาวนานถงึ  ๔ ปใี นการ  พฒั นา ผลทไี่ ดค้ อื ความรทู้ ไ่ี มจ่ รงิ แท ้ เรยี กวา่  สญั ญา (ความจำ� )  หรือเป็นอวิชชาในปฏิจจสมุปบาท แล้วจากนั้นได้พัฒนาจิตจนเข้า  ถงึ ความรสู้ งู สดุ  ทเ่ี รยี กวา่  อภญิ ญา ๕ และ ญาณ ๑๖ เปน็ เวลา  นานประมาณ ๑ เดอื น โดยไมม่ ปี ระกาศนยี บตั รหรอื ปรญิ ญาบตั ร  ใดๆ รบั รองการเขา้ ถงึ  แตม่ พี ฤตกิ รรม (คดิ  พดู  ทำ� ) ทเี่ ปลยี่ นไป  เช่นเหน็ สตั ว์ทม่ี ีกายทพิ ย์ได้ ยังมีโอกาสนำ� พาชวี ิตให้ไปสสู่ คุ ตภิ พ  สุทธาวาสได้ ผู้เขียนจึงมีท้ังปัญญาทางโลกที่รู้ไม่จริง (อวิชชา)  และมีปัญญาสูงสุดที่เป็นวิชชา ท่ีสามารถส่องนำ� ทางชีวิตให้พ้นไป  จากวฏั สงสารได ้ จงึ นบั วา่ โชคด ี ทผ่ี รู้ จู้ รงิ แท ้ สอนมใิ หป้ ลงใจเชอ่ื   (กาลามสูตร) แต่ให้พิสูจน์ความจริงด้วยตัวเอง หากประพฤติได้  ถูกตรงตามธรรมแลว้  กน็ บั วา่ โชคดขี องผนู้ ัน้ 52

มีน้อยคนนักที่จะพัฒนาจิตให้เข้าถึงได้  ท้ังน้ีด้วย  เหตุอดีตมีบารมีที่สั่งสมมาน้อย  และปัจจุบันมิได้บ�ำเพ็ญต่อ  จึงท�ำให้จิตมีบารมีอ่อนส่ังสมอยู่ภายใน จึงท�ำให้ยากต่อการ  พฒั นาจิตจนเกิดปญั ญาเห็นแจง้ ได้



กรรมนำ�เกิด ผู้เขียนระลึกอยู่เสมอว่า บุคคลมีชีวิตเป็นของตัวเอง เป็นเอก  สิทธ์ิเฉพาะตนที่จะนำ� พาชีวิตของตนไปสู่อบายภูมิ หรือนำ� พาชีวิต  สสู่ คุ ตภิ มู  ิ กเ็ ปน็ เรอ่ื งของเขา ปญั หาจงึ มอี ยวู่ า่  เราในฐานะผรู้ จู้ รงิ   แท้ สามารถชี้บอกทางเดินของชีวิตให้กับเขา แต่เขาจะน�ำพาชีวิต  ไปในทิศทางใดอยู่ที่ความศรัทธาหรือปัญญาของเขา ท้ังน้ีเพราะ  สรรพสัตว์ที่ถือก�ำเนิดอยู่ในภพต่างๆ ของวัฏสงสาร ล้วนต้องม ี กรรมเปน็ ตวั นำ� เกดิ ทง้ั สนิ้  นนั่ คอื มกี รรม (การกระทำ� ) เปน็ เครอื่ ง  จ�ำแนก ให้ดี ช่ัว เลว หยาบ 55

ท า ง ชี วิ ต มนุษย์ผู้ใดมีจิตอยู่ใต้อ�ำนาจของความโกรธ (โทสะ) อยู ่ บอ่ ยๆ หรอื อยเู่ สมอ เมอ่ื ตายทง้ิ ขนั ธล์ าโลกไปแลว้  รปู ขนั ธน์ ต้ี อ้ ง  เอาไปเผาไปฝัง แต่นามขันธ์หรือจิตวิญญาณยังต้องถูกแรงผลัก  ของกรรมผลกั ดันไปสภู่ พนรก ตามเหตทุ ่ีไดก้ ระท�ำไว้ก่อนตาย มนุษย์ผู้ใดมีจิตอยู่ใต้อ�ำนาจของการประพฤติคอร์รัปชั่น  (โลภะ) อยู่เสมอ เมื่อตายทิ้งรูปขันธ์ลาโลกไปแล้ว รูปขันธ์น้ีต้อง  ไปเผาไปฝัง แต่นามขันธ์หรือจิตวิญญาณ ยังต้องถูกแรงผลัก  ของกรรม ผลกั ดันไปส่ภู พนรก ภพเปรต อสรุ กาย ตามเหตุทีไ่ ด้  กระท�ำไว้ก่อนตาย มนุษย์ผู้ใดมีจิตอยู่ใต้อ�ำนาจของความหลงหรือเห็นผิด  อยู่เสมอ เมื่อตายทิ้งรูปขันธ์ลาโลกไปแล้ว รูปขันธ์น้ีต้องเอาไป  เผาไปฝัง แต่นามขันธ์หรือจิตวิญญาณ ยังต้องถูกแรงผลักของ  กรรม ผลกั ดนั ไปสภู่ พนรก หรอื ภพทอี่ ยใู่ นอบายภมู อิ นื่  เชน่  ภพ  ดิรัจฉาน ตามเหตทุ ไ่ี ด้กระทำ� ไวก้ อ่ นตาย ทั้งสามนี้เป็นอกุศลมูล ที่บุคคลพึงเล่ียงไม่กระท�ำ ส่วนรูป  ขันธ์ที่เป็นทิพย์ ตายแล้วสลายไปตามกฎแห่งกรรม ผู้ที่จะรู้เห็น  เข้าใจในกฎน้ี ต้องพัฒนาจิตจนตั้งมั่นอยู่ในระดับฌาน จึงจะ  สามารถรูเ้ ห็นเขา้ ใจในความเป็นไปตา่ งๆ เหล่าน้ไี ด้ 56

ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร มนษุ ยผ์ ใู้ ดมจี ติ อยใู่ ตอ้ ำ� นาจของการมศี ลี  ๕ เปน็ นจิ  มศี ลี   คุมใจอยู่ทุกขณะต่ืน เม่ือตายทิ้งรูปขันธ์ลาโลกไปแล้ว รูปขันธ์น ี้ ต้องเอาไปเผาไปฝัง แต่นามขันธ์หรือจิตวิญญาณ ยังต้องถูกแรง  ผลักของกรรม ผลักดันไปสู่การเกิดเป็นมนุษย์ ตามเหตุที่ได้  กระท�ำไว้กอ่ นตาย มนุษย์ผู้ใด ประพฤติตนมีศีลคุมใจอยู่ทุกขณะตื่น พร้อม  ทง้ั บำ� เพญ็ ทานอยเู่ สมอ ตายแลว้  รปู ขนั ธน์  ี้ ยงั ตอ้ งเอาไปเผาไปฝงั   แตน่ ามขนั ธห์ รอื จติ วญิ ญาณยงั ตอ้ งถกู แรงผลกั ของกรรม ผลกั ดนั   ไปส่ภู พภมู ทิ เี่ ป็นเทวดา ตามเหตทุ ีไ่ ด้กระทำ� ไว้กอ่ นตาย มนุษย์ผู้ใด ประพฤติตนมีศีลคุมใจอยู่ทุกขณะตื่น พร้อม  ทงั้ การพฒั นาจติ ใหต้ ง้ั มนั่ เปน็ สมาธ ิ ตายแลว้ ยงั ตอ้ งเอารปู ขนั ธไ์ ป  เผาไปฝงั  ยงั แตน่ ามขนั ธห์ รอื จติ วญิ ญาณ ยงั ตอ้ งถกู แรงผลกั ของ  กรรม ผลกั ดนั ไปสกู่ ารเกดิ เปน็ พรหม ตามเหต ุ (จติ เปน็ สมาธ)ิ  ที ่ ได้ประพฤติไว้ก่อนตาย นเ่ี ปน็ ความจรงิ แทท้ ไ่ี มป่ ระสงคใ์ หผ้ อู้ า่ นเชอื่ ตาม แตป่ ระสงค ์ ใหใ้ ชก้ าลามสตู ร เปน็ เครอื่ งตดั สนิ ความถกู ผดิ ในเรอ่ื งของกฎแหง่   กรรมทม่ี ีอ�ำนาจเหนอื ชีวติ ของสรรพสตั วใ์ นวัฏสงสาร 57



ชีวติ ท่ีพน้ จาก วัฏสงสาร ดังท่ีได้เกร่ินไว้แต่แรกว่า ผู้เขียนได้ไปพิสูจน์สัจธรรมในพุทธ  ศาสนาทว่ี ดั มหาธาตุฯ ท่าพระจนั ทร ์ กรุงเทพฯ เม่ือปีพุทธศักราช  ๒๕๑๘ ไดป้ ฏบิ ตั สิ มถกรรมฐาน จนจติ เขา้ ถงึ ความตง้ั มน่ั เปน็ ฌาน  แล้วไปเห็นตัวเองด้วยปุพเพนิวาสานุสติญาณ จนท�ำให้พระบวช  ใหมต่ อ้ งนำ�้ ตาหยด เพราะจติ ไปรเู้ หน็ เขา้ ใจ ในภพตา่ งๆ ตงั้ แตภ่ พ  นรกจนถงึ พรหมโลก นคี่ อื วฏั สงสารทส่ี ตั วต์ อ้ งเวยี นตาย-เวยี นเกดิ   อย่างไม่มีวันจบส้ิน ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมาจึงรู้เหตุท่ีท�ำให้ชีวิต  เวยี นวนอยใู่ นวฏั สงสาร เหตนุ นั้ คอื การใชค้ วามรทู้ ไ่ี มจ่ รงิ แท ้ หรอื   การใชค้ วามรู้ท่เี ป็นอวชิ ชา สอ่ งน�ำทางใหก้ บั ชวี ิตดำ� เนนิ ไปตามกฎ  59

ท า ง ชี วิ ต แห่งกรรม กรรมชั่วผลักดันจิตวิญญาณไปได้ร่างใหม่อยู่อาศัยใน  ทุคติภพ (ภพนรก ภพเปรต ภพอสุรกายและภพติรัจฉาน) ส่วน  กรรมดผี ลกั ดนั จติ วญิ ญาณไปไดร้ า่ งใหมอ่ ยอู่ าศยั ในสคุ ตภิ พ (ภพ  มนุษย์ ภพสวรรค์ และพรหมโลก) ภพต่างๆ เหล่าน้ีเป็นท่ีเกิด  ของสตั วท์ ถี่ กู  แรงผลกั ของกรรม ผลกั ดนั จติ วญิ ญาณไปสกู่ ารเกดิ   เปน็ สัตว ์ (รปู นาม) ในวัฏสงสารอย่างไม่มีวันสิ้นสดุ เม่ือพัฒนาจิตตามแนวของวิปัสสนากรรมฐาน จนเข้าถึง  ปัญญาเห็นแจ้งได้แล้ว จึงได้เห็นทางออกจากวัฏสงสาร ตั้งแต ่ คร้ังที่ไปปฏิบัติธรรมอยู่ท่ีวัดมหาธาตุฯ เม่ือคร้ังกระโน้น (พ.ศ.  ๒๕๑๘) เม่ือจิตเข้าถึงญาณ ๑๖ ได้แล้วจึงเอามาใช้ปรับชีวิตของ  ตนเองด้วยการก�ำจัดสังโยชน์ (ดูบันทึกท้ายเล่ม) เพ่ือไม่หลง  ทางวกวนอย่ใู นวัฏสงสาร และได้เผยแผ่ธรรมของพระพทุ ธโคดม  ต้ังแต่น้ันเป็นต้นมา จะเผยแผ่ให้ชาวพุทธท่ีศรัทธาได้พิสูจน์และ  ด�ำเนินรอยตามธรรมทพี่ ระพทุ ธองคท์ รงชแี้ นะ ผู้เขียนได้บรรยายธรรมตั้งแต่ยังบวชเป็นภิกษุใหม่อยู่ท่ี  วัดมหาธาตุฯ บรรยายธรรมตามที่พระพุทธเจ้าทรงสอนให้กระทำ�   สง่ิ ทเี่ ปน็ เดรจั ฉานวชิ า เชน่  พทุ ธพยากรณห์ รอื พทุ ธทำ� นาย พระองค์  60

ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร ทรงห้ามมิให้พุทธบริษัทประพฤติ ก็จะไม่น�ำมาสอน ไม่น�ำไป  บรรยาย ท้ังนี้รวมถึงไม่พูดเดรัจฉานกถาด้วย จึงต้องขออภัย  ญาติธรรมผู้ปรารถนาจะได้ยินได้ฟังอธรรมทั้งสองออกจากปาก  ของผู้เขียนด้วย ทั้งเดรัจฉานกถาและเดรัจฉานวิชาเป็นอธรรมที ่ ขวางทางพระนิพพานนั้นเป็นสิ่งท่ีผู้ปรารถนาจะก้าวข้ามวัฏสงสาร  ไม่กระท�ำกัน ดังท่ีพระพุทธโคดมได้ทรงสอนมิให้พุทธบริษัทน�ำ  ไปประพฤติ ด้วยเหตุน้ีคาถาเงินล้าน คาถาคลอดบุตรง่าย คาถา  เสริมสิริมงคล ฯลฯ ให้กับตนเอง จึงมิใช่วิสัยของผู้ปรารถนาจะ  พน้ ทกุ ข์ ในวฏั สงสารได้ถอื ปฏิบัติ 61

ค�ำ ถามทา้ ยเล่ม ถามวา่   คนหรือสัตว์ที่น�ำพาชีวิตวนเวียนอยู่ในวัฏสงสาร ตาย  แล้วไปไหน? ตอบว่า  คนหรือสัตว์เมื่อตายท้ิงรูปขันธ์แล้ว จิตวิญญาณท่ียัง  มกี เิ ลส สง่ั สมอยภู่ ายใน ยงั ตอ้ งถกู แรงกรรมของกเิ ลส  ผลักดันจติ วิญญาณไปสูภ่ พตา่ งๆ ในวัฏสงสาร ถามวา่   คนเพย้ี น หมายถึงคนประเภทไหน ? ตอบว่า  คนเพ้ียน หมายถึงคนที่มีพฤติกรรม (คิด พูด ท�ำ)  ผิดแปลกไปจากพฤติกรรมของคนปกติในสังคม เช่น  คดิ ทำ� ประโยชนแ์ กผ่ อู้ นื่  สตั วอ์ น่ื  โดยไมห่ วงั สงิ่ ตอบแทน  ใดๆ หรือเป็นคนท่ีมีพฤติกรรมพูดจาเป็นสาระล้วนๆ  ไมพ่ ดู ตามแบบอยา่ งของคนในสงั คมทน่ี ยิ มพดู กนั  หรอื   คนเพี้ยนคือคนท่ีมีปากพูดได้แต่ไม่พูดเดรัจฉานกถา  ท�ำเสมือนหน่ึงเป็นคนใบ้ คือไม่สร้างเหตุนำ� พาชีวิตวน  เวยี นอยู่ในวฏั สงสาร 62

ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร ถามว่า  ตาทเ่ี ห็นสรรพส่ิงเป็นสมมตินั้น เห็นอย่างไร ? ตอบว่า  คนท่ีจะมีตาเห็นเป็นเช่นน้ีได้ ต้องพัฒนาจิตจนเข้าถึง  ความรู้ที่เรียกว่า ปัญญาเห็นแจ้ง หรือความรู้สูงสุดข้ัน  โลกตุ ระ (ญาณ ๑๖) แลว้ ใชป้ ญั ญาเหน็ แจง้ ดบั โลกธรรม  และวตั ถ ุ จนเหน็ เปน็ อนตั ตาไดแ้ ลว้  คนประเภทนจ้ี งึ จะ  มปี ญั ญาเหน็ สรรพสงิ่ ในวฏั สงสารเปน็ เพยี งสมมต ิ ไมม่  ี อยจู่ รงิ แท้ 63

บนั ทกึ ท้ายเลม่

ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร บันทึกทา้ ยเล่ม ๑  อภญิ ญา ๕  คอื ความรูข้ ัน้ สูง ยังเป็นโลกยิ ญาณ ไดแ้ ก่ ความรทู้ ใี่ ช้แสดงฤทธ์ิต่างๆ ได้ (อทิ ธวิ ธิ ิ) ความรูท้ ใ่ี ช้ในการฟังเสียงทีเ่ ปน็ ทพิ ย์ได ้ (ทพิ พโสต) ความรูท้ สี่ ามารถรใู้ จคนอ่ืนได ้ (เจโตปรยิ ญาณ) ความร้ทู ่ที ำ� ใหร้ ะลกึ ชาติหนหลังได้ (ปุพเพนิวาสานุสติญาณ) ความรู้ที่ท�ำใหเ้ ห็นส่ิงอันเปน็ ทพิ ยไ์ ด้ (ทพิ พจักขุ) บนั ทึกทา้ ยเล่ม ๒  บารมี ๑๐  หมายถึง คุณธรรม ท่ีบ�ำเพ็ญอย่างย่ิงยวด เพื่อเข้าถึงจุดหมายอัน สงู ยง่ิ  ได้แก่ 65

ท า ง ชี วิ ต การใหห้ รอื การเสียสละ (ทาน) โดยไม่หวงั ผลตอบแทน การรกั ษากาย วาจา ใจ ใหถ้ กู ตอ้ งดีงามตามระเบยี บวินัย (ศลี ) การเอาตัวและใจออกห่างจากกาม (เนกขมั มะ) การหยั่งรู้เหตุผลตามความเปน็ จรงิ แท ้ (ปัญญา) ความเพยี รพยายาม โดยไมเ่ กรงกลัวตอ่ อปุ สรรค (วริ ิยะ) ความอดทน ใช้สตปิ ญั ญาความคุมตนในเหตุผลทดี่ งี าม (ขันต)ิ ความจรงิ กาย จริงวาจา จริงใจ (สจั จะ) ความต้งั ใจมั่น (อธิษฐาน) ความรัก ความปรารถนาดีให้สัตว์อ่ืน (ผู้อ่ืน) ได้ประโยชน์และมี ความสุข (เมตตา) ความวางใจเปน็ กลาง (อเุ บกขา) บันทึกทา้ ยเลม่  ๓  บวั  ๔ เหลา่ หรือบุคคล ๔ ประเภท ไดแ้ ก่ ๑. ผทู้ ฟี่ งั ธรรม แลว้ เขา้ ถงึ ธรรมไดจ้ ากการฟงั ธรรมครงั้ แรก เรยี กวา่   บัวพ้นน้�ำ รอสัมผัสจากแสงอาทิตย์ได้ ก็จะบานดอกในวันนี ้ (อุคฆตติ ญั ญู) ๒. ผทู้ ร่ี ธู้ รรมและเขา้ ถงึ ธรรมได ้ ตอ่ เมอื่ มกี ารขยายความในขอ้ ธรรม  น้นั ๆ จงึ จะสามารถบานดอกได้ ในวันร่งุ ขึ้น (วิปจิตัญญู) ๓. ผู้ที่รู้ธรรมและเข้าถึงธรรมได้ ต่อเมื่อได้ฟังธรรมซ้�ำแล้วซ้�ำเล่าก ็ สามารถทจ่ี ะบรรลธุ รรมได ้ เปรยี บบคุ คลประเภทนวี้ า่  เสมอื นบวั   66

ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร ที่จะบานดอกในวนั ถัดๆ ไป (เนยยะ) ๔. ผู้ที่ไม่ศรัทธาในธรรมะของพระพุทธศาสนา ด้วยเหตุที่มีปัญญา  เหน็ ผดิ มจี ติ เปน็ อวชิ ชาทรี่ ะบอุ ยใู่ นปฏจิ จสมปุ บาท เปรยี บบคุ คล  ประเภทนี้เสมือนบัวใต้นำ�้  ที่เป็นอาหารของเต่าและปลา จึงไม่ม ี โอกาสที่จะบานดอกได้ (ปทปรมะ) บันทึกทา้ ยเล่ม ๔  ญาณ ๑๖  หมายถึง โลกุตตรปัญญาสูงสุด ท่ีรู้เห็นเข้าใจสิ่งที่พ้นไปจากวิสัย โลก ได้แก่ ๑. ญาณกำ� หนดแยกรูปออกจากนาม (นามรูปปริจเฉทญาณ) ๒. ญาณก�ำหนดปัจจยั แห่งนามและรูป (ปัจจัยปรคิ คหญาณ) ๓. ญาณพิจารณานามรปู โดยไตรลักษณ์ (สมั มสนญาณ) ๔. ญาณตามเห็นการเกดิ และการดบั แห่งนามรปู  (อทุ ยพั พยานุปัส-  สนาญาณ) ๕. ญาณตามเหน็ จ�ำเพาะความดับเดน่ ขึ้นมา (ภังคานปุ ัสสนาญาณ) ๖. ญาณอนั มองเหน็ สงั ขารปรากฏเปน็ ของนา่ กลวั  (ภยตปู ฏั ฐานญาณ) ๗. ญาณคำ� นงึ เหน็ โทษอนั สงั ขารทง้ั ปวงตอ้ งแตกสลายไป (อาทนี วา-  นปุ สั สนาญาณ) ๘. ญาณค�ำนึงเห็นความหน่ายในสังขาร (นพิ พทิ านุปัสสนาญาณ) ๙. ญาณคำ� นงึ เหน็ สงั ขารแลว้ ใครจ่ ะไปใหพ้ น้  (มญุ จติ กุ มั ยตาญาณ) ๑๐. ญาณค�ำนึงพิจารณาหาทางให้พ้นจากวัฏสงสาร (ปฏิสังขานุ-  ปสั สนาญาณ) 67

ท า ง ชี วิ ต ๑๑. ญาณอนั วางใจเปน็ กลางตอ่ สงั ขาร (สังขารุเปกขาญาณ) ๑๒. ญาณแห่งการหยัง่ รอู้ ริยสจั จ์ (สัจจานุโลมิกญาณ) ๑๓. ญาณขา้ มโคตร (โคตรภญู าณ) ๑๔. ญาณหยั่งรู้ที่จะพัฒนาจิตให้ส�ำเร็จภาวะอริยบุคคลแต่ละข้ัน   (มรรคญาณ) ๑๕. ญาณเขา้ ถึงความสำ� เร็จเป็นอริยบคุ คลขน้ั นนั้ ๆ (ผลญาณ) ๑๖. ญาณทบทวนกเิ ลสทลี่ ะไดแ้ ละกเิ ลสทยี่ งั เหลอื อย ู่ (ปจั จเวกขณ-  ญาณ) บนั ทกึ ท้ายเลม่  ๕  กาลามสูตร หมายถึง การไม่ให้เช่ือในเร่ืองท่ีงมงาย ไร้เหตุผล ๑๐ ข้อ ดังนี้   อยา่ ปลงใจเชอ่ื ๑. ด้วยการฟังตามกันมา ๒. ด้วยการถือสืบๆ กันมา ๓. ด้วยการเลา่ ลือ ๔. ดว้ ยการอ้างต�ำรา หรอื  คัมภรี ์ ๕. ดว้ ยการตรึกตามอาการ (ตรรก) ๖. ดว้ ยประมาณการตามเหตผุ ล (อนมุ าน) ๗. ด้วยการคดิ ตรองตามแนวเหตผุ ล ๘. เพราะเขา้ กนั ไดก้ ับทฤษฏขี องตน ๙. เพราะมองเห็นรปู ลกั ษณน์ ่าเช่ือ 68

ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร ๑๐. เพราะนบั ว่าสมณะรูปนเี้ ปน็ ครูของเรา บันทึกทา้ ยเลม่  ๖  สังโยชน ์ ๑๐  คำ� วา่  สงั โยชน ์ หมายถงึ  กเิ ลสทผี่ กู มดั ใจสตั วไ์ วก้ บั วฏั สงสาร ไดแ้ ก่ ๑. ความเหน็ วา่ เปน็ ตัวของตน (สกั กายทิฏฐ)ิ ๒. ความสงสัยหรือไมแ่ นใ่ จ (วจิ ิกิจฉา) ๓. ความถือม่ันในศลี และพรต (สลี ัพพตปรามาส) ๔. ความตดิ ใจในกามคุณ (กามราคะ) ๕. ความกระทบกระท่งั ในใจ (ปฏิฆะ) ๖. ความปรารถนาในรปู ภพ (รูปราคะ) ๗. ความปรารถนาในอรูปภพ (อรปู ราคะ) ๘. ความส�ำคญั ตนว่าเป็นน่ันเปน็ นี ่ (มานะ) ๙. ความฟงุ้ ซ่าน (อุทธัจจะ) ๑๐. ความไมร่ ูจ้ รงิ  (อวชิ ชา) 69

ท า ง ชี วิ ต ประวตั ิ ทา่ นอาจารย์ ดร.สนอง วรอุไร ดร.สนอง วรอุไร มีภูมิล�ำเนาเดิมอยู่ที่ อ�ำเภอเมือง จังหวัด  ฉะเชิงเทรา มีพี่น้องท้ังหมด ๘ คน ท่านเป็นบุตรคนท่ี ๖ ท่าน  ได้รับการศึกษาเบ้ืองต้นจากโรงเรียนสุวรรณศิลป์ เม่ือสิ้น  สงครามโลกคร้ังท่ี ๒ ท่านและพี่ๆ น้องๆ ได้ย้ายเข้ามาเรียน  ในกรุงเทพฯ ศึกษาในโรงเรียนวัฒนศิลป์วิทยาลัยจนจบช้ัน  มธั ยมศกึ ษา  ดร.สนอง สนใจฝึกสมาธิคร้ังแรกในขณะเรียนช้ันมัธยม  จนจบปริญญาตรีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สาขาโรคพืช เมื่อ  พ.ศ. ๒๕๐๕ แลว้ จงึ ไปทำ� งานเปน็ นกั วชิ าการเกษตร ในภาคอสี าน  อยู่ประมาณ ๒ ปี จากนั้นได้โอนย้ายมาเป็นอาจารย์รุ่นบุกเบิก  ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สงั กัดคณะวทิ ยาศาสตร ์ 70

ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร พ.ศ. ๒๕๑๔ ท่านก็ได้เรียนจบปริญญาโท เกษตรศาสตร ์ มหาบณั ฑติ  จากมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร ์ สาขาเชอื้ รา ไดร้ บั ทนุ   โคลัมโบไปศึกษาปริญญาเอก สาขาไวรัส มหาวิทยาลัยลอนดอน  ประเทศองั กฤษ เปน็ เวลานาน ๔ ป ี ชว่ งนเ้ี รยี นหนกั มาก จนมไิ ด้  เดินทางกลับมาเมืองไทยเลยในระหว่างศึกษา ท่านใช้เวลาว่างพัก  ทำ� จิตนงิ่ ทกุ วัน ซง่ึ มผี ลใหท้ า่ นเรยี นจบ ๔ ปตี ามกำ� หนด เมื่อกลับเมืองไทยในเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๘ ท่าน  ตัดสินใจอุปสมบท ท่ีวัดปรินายก แล้วมาฝึกวิปัสสนากรรมฐาน  กบั พระเทพสทิ ธมิ นุ  ี (โชดก ปธ.๙) ทคี่ ณะ ๕ วดั มหาธาตยุ วุ ราช  รังสฤษฏ์ ท่าพระจันทร์ เพียงเวลา ๓๐ วันในสมณเพศ ท่ีท่าน  ปฏิบัติตามค�ำสอนของครูบาอาจารย์ ท่านได้รับประสบการณ์ทาง  จิตและญาณ อภิญญาต่างๆ มากมาย  เมื่อลาสิกขาบทแล้ว ท่านกลับไปเป็นอาจารย์อยู่ที่มหา-  วทิ ยาลยั เชยี งใหม ่ วถิ ชี วี ติ ของทา่ นเปลย่ี นแปลงไปมาก ไดร้ บั เชญิ   เป็นองค์บรรยายด้านหลักธรรม คุณธรรม จริยธรรม ตามหน่วย  งานต่างๆ องค์กรต่างๆ มากมาย มีผู้ติดตามผลงานของท่าน  ทงั้ ในและตา่ งประเทศ และหลงั จากเกษยี ณอายรุ าชการแลว้  กย็ งั   เป็นอาจารย์พิเศษถวายความรู้แก่พระนิสิต มหาวิทยาลัยมหา-  จุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั  วิทยาเขตล้านนาด้วย 71

ท า ง ชี วิ ต ปัจจุบันท่านได้น�ำประสบการณ์ตรงของท่านมาเป็นแบบ  อย่าง สร้างจุดเปล่ียนแปลงท่ีดีให้แก่ชีวิตคนจ�ำนวนมาก มีกลุ่ม  คณะศิษย์ก่อตั้งเป็นชมรมกัลยาณธรรม และชมรมสารธรรม  ล้านนา เผยแผ่ธรรมอย่างกว้างขวาง ผลงานของท่านท่ีส�ำคัญคือ  ทางสายเอก และอื่นๆ เช่น หนังสือท�ำชีวิตให้ได้ดีและมีสุข  ยงิ่ กวา่ สขุ เมอื่ จติ เปน็ อสิ ระ ตามรอยพอ่  และซดี รี วมธรรมบรรยาย  อกี จ�ำนวนมาก 72

ย่ิงพัฒนาสมองให้มีความรู้มากข้ึนเพียงใด โอกาส  ท่ีจะท�ำให้ความเห็นแก่ตัวย่อมมีมากข้ึนเท่าน้ัน  ตามที ่ ฝร่ังเขียนบอกว่า มนุษย์ที่มี IQ สูง แต่มี EQ ตำ่�  น�ำมา  ใช้บริหารกิจการสังคมแล้วเป็นโทษ  ด้วยเหตุแห่งการ  พัฒนาสมองเพื่อให้มี IQ สูงจ�ำเป็นต้องมีการประพฤติ  จ ริ ย ธ ร ร ม ท่ี เ กี่ ย ว ข ้ อ ง ค ว บ คู ่ กั น ไ ป ด ้ ว ย   เ พ่ื อ ใ ห ้ ค ว า ม  เห็นแกต่ ัวลดนอ้ ยลง Facwewbwoo.kka: nklaanylaanyaatnaamta.cmo.mcom


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook