Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PeemaiJitmai

PeemaiJitmai

Published by ชมรมกัลยาณธรรม, 2021-04-07 08:09:00

Description: PeemaiJitmai

Search

Read the Text Version

จติ ใหม่ปีใหม ่ ชวี ติ ใหม่ พระอาจารย์ครรชิต อกิญฺจโน

จติ ใหม่ปีใหม่ ชวี ิตใหม่ พระอาจารยค์ รรชิต อกญิ ฺจโน

ค�ำอนโุ มทนา 2 ขออนุโมทนา กับทางชมรมกัลยาณธรรมที่มีจิตศรัทธา ถอด  ธรรมะจากการบรรยายเรอ่ื ง “ปใี หม ่ ชวี ติ ใหม ่ จติ ใหม”่  เพอ่ื เผยแผ่  และเป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้คนได้เข้าใจการใช้ชีวิต และเป็น  นมิ ติ หมายในการเรมิ่ ต้นสู่การปฏิบัตธิ รรม การบรรยายในครง้ั น ี้ พระอาจารยม์ งุ่ หวงั ใหพ้ วกเราไดต้ ระหนกั   วา่  ชวี ติ เรานคี้ วรทจี่ ะเรม่ิ ตน้ ใหม ่ แตบ่ างคนยงั ไมร่ วู้ า่ จะเรมิ่ ตน้ เมอื่ ไรดี  อาจจะใช้วันท่ีสมมติทางโลก คือ วันปีใหม่เป็นวันเริ่มต้นก็ได้ แต ่ วนั ปใี หมใ่ นทางธรรมนนั้  ควรจะเปน็ วนั ทป่ี รบั เปลย่ี นทง้ั ชวี ติ และจติ ใจ  ให้มีความใหม่ ไม่ใช่เปลี่ยนเฉพาะทางกาย เพราะการเปล่ียนแปลง ชีวิตน้ ี สำ� คัญทส่ี ดุ ย่อมมาจากการเปลย่ี นแปลงจากจิตใจขา้ งใน ปี ใ ห ม่ ชี วิ ต ใ ห ม่ จ ิ ต ใ ห ม่

พ ร ะ อ า จ า ร ย ์ ค ร ร ชิ ต  อ ก ิ ญฺ จ โ น พระอาจารย์อยากจะน�ำเสนอให้ท่านท้ังหลายเข้าใจธรรมะ  ในรูปแบบง่ายๆ แต่สามารถใช้ได้จริงกับชีวิต ขอให้ทุกท่านได้รับ ประโยชน์จากการบรรยายธรรมในครั้งน้ี เพื่อที่จะได้มีชีวิตใหม่  มีจิตใหม่ ขอขอบคุณ คุณธร คุณอ้อม ที่มีความอุตสาหะในการฟัง  ค�ำบรรยาย เรียบเรียงและถอดออกมาเป็นตัวอักษร ขออนุโมทนา  ศิลปินใจบุญ “เซมเบ้” ท่ีช่วยวาดภาพปกภาพประกอบให้หนังสือ  ของอาจารย์อีกคร้ัง ขอขอบคุณคุณหมอจุ๋มที่เป็นต้นบุญในการคิด  พมิ พ ์ และเผยแผใ่ นครง้ั น ี้ ขอขอบคณุ ชมรมกลั ยาณธรรมทใ่ี หโ้ อกาส  พระอาจารย์ได้น�ำเสนอหรือแสดงธรรม และสุดท้ายขอขอบคุณ  3 ญาตโิ ยมทกุ คนทตี่ ง้ั ใจเรยี นร ู้ พฒั นาจติ ใจ เพอ่ื ใหม้ ชี วี ติ ใหม ่ จติ ใหม่  ดว้ ยกันทุกคน ขออนุโมทนากบั ทกุ ๆ ทา่ น เจรญิ พร พระอาจารย์ครรชิต อกญิ จโน

ชมรมกคลั ำ� ยนา�ำณธรรม เราทราบกันแล้วว่า การศึกษาและปฏิบัติธรรมนั้น มีวีธีการ  4 และรายละเอียดมากมาย แต่ละครูบาอาจารย์ก็จะสอนในแนวทาง  ที่ท่านมีประสบการณ์และผ่านพ้นมาได้ แต่ทุกช่องทางต้องน�ำไปสู ่ ความพน้ ทกุ ข ์ ปลอดพน้ จากกเิ ลสและความเศรา้ หมอง ดง่ั คำ� กลา่ ววา่   มหาสมุทรแห่งพระธรรมวินัยน้ี มีทางลงโดยรอบ แล้วแต่ว่า เราจะ  ลงทางไหน ยอ่ มรวมลงสมู่ หาสมทุ รแหง่ พระธรรมวนิ ยั ดว้ ยกนั ทงั้ สน้ิ ธรรมะในแนวค�ำสอนของหลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ เป็น  แนวทางการเจริญสติแห่งการต่ืนรู้ ที่ช่วยปลุกธาตุรู้ภายในให้ม ี ความตื่นตัวและพร้อมรับสภาวะต่างๆ อย่างรู้เท่าทัน มีการสืบทอด  คำ� สอนมารนุ่ ตอ่ รนุ่  ซง่ึ มอี ปุ กรณส์ �ำคญั คอื  การเจรญิ สต ิ ๑๔ จงั หวะ  ท่ีประดิษฐ์มาเพื่อน�ำส่งทุกชีวิตสู่ความสงบสุข และต่ืนด้วยสติ  นบั เปน็ แนวทางการศกึ ษาธรรมทน่ี า่ เรยี นร ู้ และเกอ้ื กลู แกค่ วามเจรญิ   ในญาณปญั ญาแห่งผใู้ ฝ่ศกึ ษาทกุ ท่านอย่างแท้จริง ปี ใ ห ม่ ชี ว ิ ต ใ ห ม่ จ ิ ต ใ ห ม่

พ ร ะ อ า จ า ร ย ์ ค ร ร ชิ ต  อ ก ิ ญฺ จ โ น ทา่ นพระครบู วรวีรวงศ ์ (พระอาจารย์ครรชติ  อกญิ จโน) เปน็   ศิษย์ของหลวงพ่อค�ำเขียน สุวัณโณ ท่ีได้สืบสานสายธารธรรม  ของพ่อแม่ครูบาอาจารย์ ทำ� ให้ธรรมะมาเป็นเรื่องใกล้ตัวคนรุ่นใหม่  โดยเฉพาะเร่ืองการจัดการกับความคิดนั้น ท่านสามารถตีแผ ่ ตัวปัญหาและความยุ่งเหยิงต่างๆ ในใจทุกคน ให้คลี่คลาย และ  เมตตาน�ำเสนอให้เข้าใจง่าย และในโอกาสท่ีท่านกรุณามาให้ธรรมะ  ที่โรงพยาบาลสมุทรปราการ ในหัวข้อ “ปีใหม่ คนใหม่ จิตใหม่”  เมอื่ วนั ท ่ี ๑๒ มกราคม ๒๕๖๓ ทผี่ า่ นมา ซงึ่ เปน็ การบรรยายธรรม  ที่เป็นประโยชน์ในการศึกษาธรรมอย่างยิ่ง ชมรมฯ จึงดำ� ริขอจัดทำ�   เป็นหนงั สือ 5 การจัดท�ำหนังสือคร้ังนี้ จะส�ำเร็จเป็นรูปร่างและสวยงาม  ไมไ่ ดเ้ ลย หากไมไ่ ดร้ บั ความกรณุ า เอาใจใสจ่ รงิ จงั จาก นอ้ งธรและ  นอ้ งออ้ ม ซง่ึ เปน็ ศษิ ยท์ มี่ ศี รทั ธาในคำ� สอนของพระอาจารยม์ าก และ ยังได้สละเวลาเผ่ือแผ่สิ่งดีๆ นั้น ให้แก่ผู้อ่ืน ท�ำให้งานครั้งน้ีส�ำเร็จ  ลลุ ว่ งไปดว้ ยดแี ละงดงามดว้ ยธรรม “ผใู้ หธ้ รรมยอ่ มถงึ ธรรม” ฉนั ใด  ขอใหบ้ ญุ กศุ ลทน่ี อ้ งทงั้ สอง ไดเ้ สยี สละและทมุ่ เทกบั งานพระศาสนา  อย่างจริงจังตลอดมารวมทั้งในคร้ังน้ีและโอกาสต่อไป จงน�ำพา  แต่ความสุข ความเจริญ สุขภาพกายใจที่แข็งแรง มาให้ทุกคนใน  ครอบครวั และคนทรี่ กั  และทส่ี ำ� คญั ขาดไมไ่ ดค้ อื  ภาพปกภาพประกอบ  ที่งดงาม ด้วยจิตผู้เปี่ยมธรรม จากน้อง “เซมเบ้” ศิลปินใจบุญผู้ม ี ศรัทธาเช่นเคย รวมไปถึงขอขอบคุณแนวหลังทางธรรมทุกท่าน  ทไ่ี มเ่ คยหมดแรงในการสนับสนนุ การทำ� ความดี

ชมรมกัลยาณธรรม ขอกราบขอบพระคุณในเมตตาของ  พระอาจารย์เป็นอย่างสูง ที่ได้มอบดวงประทีปแห่งธรรมที่แจ่มแจ้ง  ในแนวทางแห่งการบริหารขันธ์ ๕ เจ้าปัญหานี้ ให้เป็นประโยชน ์ เกื้อกูลสูงสุดตามอัตภาพ ช่วยให้เกิดการพัฒนาจิตใจ ให้ปลอดภัย  จากทกุ ข ์ และมคี วามสขุ  ความรม่ เยน็  หวงั วา่  ผอู้ า่ นทกุ ทา่ นจะไดร้ บั   ประโยชนจ์ ากหนงั สอื  สมกบั ความเมตตาของพระอาจารย ์ และความ เสียสละของทีมงานแนวหลังทางธรรมทุกทา่ น ขออนโุ มทนา กราบอนโุ มทนาทุกทา่ น ทพญ.อัจฉรา กลน่ิ สวุ รรณ์ 6 ประธานชมรมกลั ยาณธรรม ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ปี ใ ห ม่ ชี ว ิ ต ใ ห ม่ จิ ต ใ ห ม่

ส า ร บั ญ ๑๑ ใบใหม่ ปใี หม่ ๑๗ The beginner’s Mind ๒๓ ต้งั ใจท�ำทลี ะคร้งั  รูท้ ีละครง้ั  จบลงทีละครง้ั ๓๙ การเคลอ่ื นไหวทลี ะขณะ กบั  ปัจจบุ ันขณะ ๔๕ การเจรญิ สติแบบเคล่อื นไหว ๑๔ จงั หวะ ๕๕ ตาใน ตาใจ ตาสติ ๖๓ ปริญญา ๓ ๖๙ การกำ� หนดรู้ทุกข์ ๘๙ ยอมรับกฎพระไตรลักษณ์ ๙๓ ถาม - ตอบ

ช่วงเวลาแห่งชีวิตใหม่ ของธรรมชาติท่ีก�ำลังเบ่งบาน





ใบใหม ่ ปใี หม่ พูดถึงปีใหม่ ทุกคนจะถือเป็นโอกาสดี จริงๆ แล้วมันก็คือ  11 วันวันหนึ่ง ไม่ได้มีอะไรพิเศษ แต่การท่ีเราก�ำหนดว่า วันนี้เป็นวัน  ปใี หม ่ กเ็ พอ่ื ใหร้ วู้ า่ เปน็ วนั เรมิ่ ตน้ ของป ี เพอื่ เตอื นสตเิ ราวา่  วนั เวลา  ทผี่ า่ นไป แตล่ ะปที ผี่ า่ นไป เราทำ� อะไรบา้ ง มคี ำ� พดู หนง่ึ ทส่ี มเดจ็ พระ-  ผู้มีพระภาคเจ้าทรงตรัสเอาไว้ว่า “วันคืนผ่านไปล่วงไป บัดน้ีเธอ  ท�ำอะไรอยู่” ค�ำน้ีเป็นค�ำท่ีใช้เตือนผู้ปฏิบัติ หรือชาวพุทธทั้งหลาย  ผ้เู ปน็ พทุ ธสาวก ใหเ้ ขา้ ใจว่า เราควรจะตอ้ งตระหนกั วา่  วนั เวลานน้ั   มนั ผา่ นไปไว ถา้ เราไมต่ ระหนกั ถงึ วนั เวลาทผ่ี า่ นไปเรว็  มนั จะเสยี เปลา่   เพราะฉะนั้น การที่คนโบราณบรรพชนของเราได้ก�ำหนดวันต้นปี  วนั สน้ิ ป ี วนั ปใี หม ่ กเ็ พอื่ ทจี่ ะเตอื นสตใิ หเ้ รารวู้ า่  เวลามนั ผา่ นไปแลว้   นะ เธอจะมามวั เนน่ิ ช้า มวั ประมาทไมไ่ ด้ พระอาจารย์เคยไปอินเดีย วันปีใหม่ของอินเดียไม่ใช่วันท ่ี ๑ มกรานะ และกไ็ มใ่ ชว่ นั ท ี่ ๑๓ เมษา ซงึ่ เปน็ วนั สงกรานตไ์ ทย วนั  

ปีใหม่อินเดียจะอยู่ในช่วงประมาณเดือนกุมภาต่อเดือนมีนา อยู่ใน  ชว่ งเทศกาลกมุ ภ ์ โดยชว่ ง ๖๐ วนั นจ้ี ะเปน็ ชว่ งระยะเวลาเฉลมิ ฉลอง  เทศกาลอะไรเยอะแยะมากมาย ปีนั้นอาจารย์ไป เป็นช่วงเวลาครบ  รอบ ๑๒ ป ี การแตง่ งานของพระศวิ ะกบั แมอ่ มุ า มฤี ๅษชี เี ปลอื ยแห ่ กันมาอาบน�้ำที่แม่น้�ำคงคาที่พาราณสี บางคนก็โกนหัว ถือว่าบูชา  งานครบรอบ ๑๒ ปี และไกด์ก็บอกว่าช่วงนี้เป็นช่วงเวลาปีใหม่ของ  อินเดีย อาจารย์ก็เลยถามว่า ปีใหม่ไม่ใช่วันที่ ๑ มกราหรือ เขาก ็ ตอบวา่ ไมใ่ ชค่ รบั  แลว้ กย็ น่ื ยอดไมใ้ หอ้ าจารย ์ พรอ้ มบอกวา่  “ใบใหม่  ปใี หม”่  แปลว่า ปใี หมข่ องอนิ เดยี เขาถือเอาตามฤดูใบไมผ้ ลิ “ใบใหม่ ปีใหม่” ใบไม้ออกใบใหม่ข้ึนมาในช่วงฤดูกาลน้ี คน  12 อินเดียถือเป็นช่วงฤดูแห่งการเฉลิมฉลองปีใหม่ เร่ิมต้นชีวิตใหม่  เอาชวี ติ ของตน้ ไมท้ ม่ี นั ผลใิ บออกมาหลงั จากผา่ นชว่ งฤดรู อ้ น ฤดหู นาว  ฤดแู ลง้  แลว้ พอมใี บออ่ นแตกเปน็ ใบผลใิ หมข่ นึ้ มาใหม ่ เขาจงึ ถอื ชว่ ง  เวลาแห่งชีวิตใหม่ของธรรมชาติที่ก�ำลังเบ่งบาน เป็นช่วงระยะเวลา  แหง่ วนั เฉลมิ ฉลองปใี หม ่ บรรพชนของเขาไดบ้ ญั ญตั เิ อากำ� หนดกาล  ที่ดีงามน้ีในการท่ีจะบอกให้รู้ว่า เมื่อมันมีชีวิตใหม่เกิดข้ึน ใบไม้ที่  ผลบิ านขนึ้ มาใหม ่ บง่ บอกถงึ ชวี ติ ใหมท่ กี่ �ำลงั จะเบง่ บาน และเตบิ โต  เตม็ ทข่ี นึ้ ใหมอ่ กี ครงั้ หนง่ึ  มนั ควรจะเปน็ การตอ้ นรบั วนั ใหม ่ ชวี ติ ใหม่  เขากเ็ ลยใชเ้ ปน็ วันปีใหม่ของเขา ก็เลยอยากพูดเรื่องน้ีให้ฟัง เพราะว่า ในหัวข้อ “ปีใหม่ ชีวิต  ใหม ่ จติ ใหม”่  จะเหน็ ไดว้ า่  ทอ่ี าจารยย์ กตวั อยา่ งเรอื่ งคนอนิ เดยี เอา  วนั แหง่ การมชี วี ติ ใหมข่ องธรรมชาต ิ ของใบไมท้ มี่ นั แตกใบขนึ้ มาใหม ่ เปน็ วนั ปใี หม ่ เหมอื นเปน็ การบอกใหร้ วู้ า่  คนเราผา่ นไปหนงึ่ ป ี มนั ควร  ปี ใ ห ม่ ชี ว ิ ต ใ ห ม่ จ ิ ต ใ ห ม่

พ ร ะ อ า จ า ร ย ์ ค ร ร ชิ ต  อ ก ิ ญฺ จ โ น มชี วี ติ ใหมบ่ า้ ง บางคน สนิ้ ปเี หมอื นจะสน้ิ ใจเพราะมนั กนิ เหลา้ เยอะ  เจด็ วนั อนั ตรายของประเทศไทย ชว่ งระยะเวลาปใี หมต่ ายกค่ี น ? จำ� ได ้ เลย ตอนนั้นประเทศอเมริกาบุกยึดอิรัก ยิงถล่มไปสามวันด้วย  ขีปนาวุธ คนตายไป ๓๐๐ คน ส่วนประเทศไทยช่วงเจ็ดวันปีใหม ่ ตายไป ๘๐๐ คน ไม่โดนขีปนาวุธซักลูก เมาล้วนๆ คิดดู วันสิ้นป ี มนั เหมอื นจะสนิ้ ใจ แทนทวี่ นั สนิ้ ปจี ะเปน็ วนั สน้ิ คนเกา่ เรม่ิ ตน้ คนใหม่  กลายเป็นว่าหนักกว่าเดิม เฉลิมฉลองปีใหม่เพ่ือจะก้าวเข้าสู่วันใหม ่ กย็ งั เมาเหมอื นเดมิ  ทจ่ี รงิ แลว้   ปใี หมม่ นั ควรจะเตอื นตวั เองวา่  “วนั คนื ผ่านไปล่วงไป...เฮ้ย ! บัดน้ี เราควรจะเป็นคนใหม่ได้แล้วนะน่ี” ซ่ึง มันเป็นเรือ่ งสำ� คัญมากกบั การตระหนักท่จี ะเป็นคนใหม่ ที่เขาก�ำหนดเอาวันปีใหม่นี่ ก็เพ่ือต้องการให้เรารู้ว่า อะไร  13 ทเี่ รายงั ไมไ่ ดเ้ รมิ่  เราควรจะไดเ้ รมิ่ ใหมซ่ ะ สง่ิ ใดด ี สงิ่ ใดไมด่  ี ยกเอา  สัมมาวายามะของพระพุทธเจ้ามา บาป อกุศลกรรมใดท่ียังไม่เกิด  จงปอ้ งกนั ไว ้ อยา่ ใหม้ นั เกดิ , บาป อกศุ ลกรรมใดทเ่ี กดิ แลว้  เธอจงละ  จงปลอ่ ย จงวาง นน่ั หมายความวา่ อยา่ งไร ปเี กา่ ทผี่ า่ นมา เคยมปี ญั หา  มีเร่ืองทุกข์ใจ มีเร่ืองบาดหมาง หรืออะไรเยอะแยะท่ีท�ำให้เป็นทุกข์  เปน็ กงั วล มาปนี  ี้ เรอื่ งเกา่ ๆ ทมี่ นั ผา่ นมาแลว้  ถา้ มนั จะยอ้ นมาทำ� ให ้ เราเศร้าหมองได้ มันจะย้อนกลับมาในรูปของอะไร ?... ความคิด...  ถ้าใครเคยปฏิบัติกับพระอาจารย์ จะเข้าใจว่า มันจะย้อนกลับมา  ในรูปของ “เผลอคิด” น่ันเอง ความเผลอคิดมันแว๊บเข้ามา เป็น  เร่อื งเก่าๆ ทจี่ ะทำ� ให้เราเศรา้ หมอง ถา้ เรามีสตริ ทู้ ัน มคี วามรู้สึกตวั   ร้ทู ันมนั ป๊บั ... มนั จะทงิ้ เลย  ✤

14 มนุษย์เราจะมีชีวิตอยู่ อีกสักกี่ปีใหม่ ปี ใ ห ม่ ชี วิ ต ใ ห ม่ จ ิ ต ใ ห ม่

พ ร ะ อ า จ า ร ย ์ ค ร ร ชิ ต  อ ก ิ ญฺ จ โ น 15



The  beginner’s  Mind การละความทุกข์ การละบาปอกุศลเก่าท่ีเกิดขึ้นแล้ว วิธีการ  ง่ายทสี่ ดุ คอื  การกลบั มาร้สู กึ ตัว ทงิ้ มนั ลงไป ทิ้งมันไปเลย ไม่ใหค้ ่า  ความหมายใดๆ ถา้ เราสามารถทจี่ ะรสู้ กึ ตวั  แลว้ ละความทกุ ข ์ ความ  17 เศร้าหมองที่มันจะย้อนกลับมาหาเราได้ การท�ำได้อย่างน้ีจะท�ำให้  บาป อกศุ ลกรรมเหลา่ นน้ั  มนั ไมอ่ าจจะลงรากฝงั ลกึ ไดอ้ กี  เหน็ บอ่ ยๆ  ละได้บ่อยๆ...เห็นบ่อยๆ ละได้บ่อยๆ... มันจะค่อยๆ อ่อนก�ำลังลง  ท�ำไมมันอ่อนก�ำลังลง ? เพราะว่า เราไม่ได้ให้ค่าความหมายใดๆ  กับมนั  เป็นค�ำพดู ท่ีหลวงพ่อคำ� เขยี นพูดเสมอ # อย่าไปใหค้ ่า ให้ความหมายมนั  # (คำ� ครบู าอาจารย ์ จ�ำเอาไว ้ แฮชแท็กเอาไว้นะ) เวลาเราไมใ่ หค้ า่ ความหมายใดๆ กบั ความทกุ ขเ์ กา่ ๆ เรอ่ื งราว  เกา่ ๆ มนั จะลงรากฝงั ลกึ ไมไ่ ด ้ มนั จะคอ่ ยๆ ออ่ นกำ� ลงั  แตถ่ า้ เมอื่ ไร 

กต็ าม ทมี่ นั แวบ๊ ..เขา้ มา แลว้ เรา “...เฮอ้   !...(ถอนหายใจ)...ไมน่ า่ เลย.. รู้ง้ีนะ กูไม่ท�ำก็ดี..” เรียบร้อยครับ ใจท่ีเศร้าหมองตรงนี้ ใจท่ีเป็น  ทุกข์ตรงน้ี มันท�ำให้สิ่งนั้นเริ่มมีค่า มีความหมายมากขึ้นเรื่อยๆ  ยง่ิ เราไปทกุ ขก์ บั มนั บอ่ ยๆ มนั กย็ ง่ิ มคี า่ มคี วามหมายมากขน้ึ  ปญั หา  กค็ อื มนั จะกลายเปน็ รอ่ งรอยลกึ ลง ลกึ ลง รอ่ งรอยเหลา่ นไี้ มใ่ ชเ่ รอ่ื งด ี เพราะมันจะเข้ามาท�ำงานตลอด เราจะกลายเป็นคนเศร้าหมองกับ  เรื่องเดิมๆ กลายเป็นคนท่ีจมอยู่กับชีวิตเก่าๆ ลองย้อนดูตัวเองนะ  ว่าทุกวันน้ี ยังเป็นคนที่จมกับชีวิตเดิมๆ ชีวิตเก่าๆ เคยโกรธใคร  ก็ไม่ให้อภัย “กูจะจ�ำไว้ เข้ากระดูกด�ำ” น่ากลัวมากพวกนี้ พวกท่ี  โปรแกรมจิตตัวเอง เรยี กวา่ เปน็ คนทม่ี ชี ีวติ อย่ ู ไม่ยอมเปล่ยี นแปลง  18 เปน็ ชีวิตใหม ่ อันนอี้ นั ตราย ฮาวทูทิง้ เพราะฉะน้ันวันปีใหม่ ถือโอกาสโละ เปลี่ยนแปลงชีวิตดีกว่า  อะไรทม่ี นั เศรา้ หมอง เกา่ ๆ ผา่ นมา ถอื โอกาส “เท”... “ฮาว ท ู ทงิ้ ”  (ชอื่ หนงั ) จะทง้ิ มนั ไดอ้ ยา่ งไร ? กก็ ลบั มารสู้ กึ ตวั  เรอื่ งราวเกา่ ๆ ใดๆ  ท่ีจะท�ำให้เศร้าหมอง ท้ิงเลย !... พอมันจะแว๊บเข้ามา ยกมือสร้าง  จังหวะ ปั๊บ.. มันก็กลับมารู้สึกตัว หายใจเข้า...ก็รู้สึกตัว ...(ยกมือ  สร้างจังหวะต่อ)... รู้สึกไหม ?...รู้สึกเมื่อกี้ มันด่าใครไหม ?...มันรัก  มนั โลภ มนั โกรธ มนั หลงไหม ? นไี่ ง ฮาว ท ู ทง้ิ ...ทงิ้ มนั ไปเลย ทง้ิ   อยา่ งไร ? ...ทง้ิ ดว้ ยการกลบั มารสู้ กึ ตวั  เรอ่ื งเกา่ ๆ ทผี่ า่ นมา ทง้ิ ไปเลย ปี ใ ห ม่ ชี วิ ต ใ ห ม่ จ ิ ต ใ ห ม่

พ ร ะ อ า จ า ร ย ์ ค ร ร ชิ ต  อ ก ิ ญฺ จ โ น The  beginner’s  mind “มนษุ ยเ์ ราจะมีชวี ติ อยู่ อีกสักก่ปี ใี หม”่ ถอื เอาเลยวา่ ปใี หมน่  ้ี เราจะทง้ิ ใหห้ มด ทงิ้ เลย เรอ่ื งเกา่ ๆ เรอ่ื ง  เศรา้ หมอง อยา่ เอาไว.้ ..“จงเปน็ คน มใี จใหม”่  มคี ำ� สอนหนง่ึ  ทเ่ี รยี ก  วา่  “the beginner’s mind” (จติ ผเู้ รม่ิ ตน้ ใหม)่  อนั นเี้ ปน็ ค�ำพดู ของ  สตีฟ จอบส์ ในหนังสือของเขา เขาเล่าว่า วันที่เขาถูกเท ถูกทิ้ง  ถูกยึดบริษัทท่ีสร้างมาด้วยมือตนเอง เจอผู้บริหารท่ีเขาจ้างมากับ  ผู้ถือหุ้น ร่วมกัน ขับเขาออกจากบริษัท... ถ้าเป็นเรา จะเป็นยังไง ?  โกรธไหม ?... แต่สตีฟบอกว่า ในวันท่ีเขาถูกเท ถูกท้ิง เขารู้สึกว่า  19 เขาได้ปลดตัวเองออกจากภาระท้ังหลายทั้งปวง จากภาระท่ีหนักอึ้ง  ท่ีต้องจัดการบริษัท ต้องท�ำให้มันดีข้ึน ดีขึ้น เขารู้สึกว่าวันน้ันเป็น  วนั ทเี่ ขาปลดทกุ อยา่ งออก แลว้ เขา โลง่  ! โปรง่  เหมอื นเขาไดเ้ รม่ิ ตน้   ชีวิตใหม่ เขารู้สึกว่า อ๋อ... นี่เอง ที่เขาเคยได้ยินอาจารย์เซนสอน  เขามาวา่  The beginner’s mind จติ ของผเู้ รมิ่ ตน้ ใหม.่ .. เขาบอกวา่   เขาเขา้ ใจในวนั นนั้ เลยนะวา่  ใจทมี่ นั ทงิ้ ทกุ อยา่ งออกไป แลว้ กา้ วเขา้ ส่ ู จดุ เรม่ิ ตน้ ใหม ่ มนั ต่นื ตัวขึ้นมาใหมอ่ กี ครง้ั หนง่ึ  มนั เป็นยังไง อาจารยย์ กตวั อยา่ งเรอ่ื งนมี้ ากเ็ พราะวา่  ถา้ เรา ผปู้ ฏบิ ตั ธิ รรม  แลว้ ยงั หากินอย่กู ับอารมณเ์ กา่ ๆ เชน่  พระอาจารย์... ๓ ปีท่ีแล้ว โยม ปฏิบัติได้ ดี๊...ดี  บลั ลงั กไ์ หน บลั ลังก์น้ัน... สงบตลอด !

 แล้วชว่ งนี้ละ่  ?  ไม่ได้เรื่อง ! ๕ นาทีก็ไม่ได้สงบเลย... มันเป็นเพราะ  อะไรคะอาจารย์ ?  เป็นเพราะเธอมัวไปพะวงกับไอ้ ๓ ปีท่ีแล้ว  นะ่ สิ เห็นไหม ? ไปเอาอารมณ์ ๓ ปีที่แล้ว มาเกาะเกี่ยวตัวเอง  ในขณะทปี่ ฏบิ ตั  ิ ณ เวลาน ้ี ใจยงั ไปโหยหากบั  ๓ ปที แี่ ลว้  เหน็ ไหม ?  ไม่ไดเ้ ปน็ ผเู้ ริม่ ต้นใหม่แลว้  แตเ่ ปน็ ผู้ “แบกรถพ่วงอารมณเ์ กา่ ” อยู่ 20  ช่วงหลังๆ มาน่ี... ปฏิบัติไม่ได้เลย ท�ำไมมันเป็น  อย่างนนั้ ไมร่ ้คู ะ่  พระอาจารย ์?  เพราะเธอนะ่  เอาใจไปผกู พนั กบั  ๓ ป ี พอนง่ั   หลับตาลงปฏิบัติ หายใจเข้า ๑ ปื้ด ๒ ปื้ด... “เอ๊ะ...จะเหมือน ปีท่ีแล้วไหมน่ี” ...ผ่านไป ๑๐ ปื้ด... “ท�ำไมมันยังไม่เหมือน ๓ ปีที่แล้วอีกนะ” ... ผ่านไป ๒๐ ปื้ด... “อะไรนี่... ท�ำไมมันเป็น แบบน ้ี?...” ผ่านไป ๓๐ ปื้ด “กพู อแลว้ ...” เหน็ ไหม... แทนทจ่ี ะไปขา้ งหนา้  กลบั เอาอารมณเ์ กา่ มาเหนย่ี วรง้ั   ตวั เอง นเ่ี ขาเรียกวา่  “คนเกา่  คนโบราณ ไมร่ ูจ้ กั ใหม”่   ✤ ปี ใ ห ม่ ชี วิ ต ใ ห ม่ จิ ต ใ ห ม่

เข้าใจในแต่ละขณะ ของชีวิตท่ีเกิดขึ้น



ตง้ั ใจท�ำทลี ะครง้ั รทู้ ีละครั้ง จบลงทีละคร้งั 23 การปฏิบัติธรรมมันต้องมีชีวิตใหม่ การเจริญสติท่ีหลวงพ่อ  คำ� เขยี นสอนอาจารย ์ จดุ เปล่ยี นชวี ติ อาจารยเ์ ร่ิมจากคำ� พดู นี้ “ตั้งใจทำ� ทีละครั้ง รทู้ ีละครง้ั  จบลงทลี ะคร้ัง” เป็นค�ำสอนที่ดูง่ายๆ นะ...แต่เชื่อไหม นั่นคือค�ำสอนท่ีพลิก  ชีวิตอาจารย์ การปฏิบัติในแนวทาง ตั้งใจท�ำทีละคร้ัง รู้ทีละคร้ัง  จบลงทีละครั้ง มันท�ำให้ชีวิตอาจารย์เปลี่ยนทุกขณะ เป็นชีวิตใหม่  ในแตล่ ะขณะ แตล่ ะขณะทนั ท ี ไมเ่ กาะเกยี่ วกบั อารมณเ์ กา่  ไมเ่ กาะ  เกย่ี วกบั อารมณเ์ ดมิ  มนั ทำ� ใหเ้ ราเขา้ ใจในแตล่ ะขณะของชวี ติ ทเี่ กดิ ขน้ึ   ท�ำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงและเข้าใจความเปลี่ยนแปลงนั้นใน 

แต่ละขณะ แตล่ ะขณะไป... นี่ ! คนใหม ่ ชวี ติ ใหม ่ มนั เรมิ่ อยา่ งน.้ี ..  คนใหม่จิตใหม่ มันเป็นอย่างน้ี... the beginner’s mind มันเป็น  อยา่ งนี้ จติ ผเู้ ร่ิมตน้ ใหม่มันต้องเกิดทุกขณะอย่างไร ? (เตรยี มยกมอื สร้างจังหวะ ๑๔ ทา่ ) เอามอื วางบนหวั เขา่ ทัง้ สองข้าง ลองต้งั ใจตะแคงมอื ขวา.. ตง้ั ปั๊บ.. ขณะนี ้ เกดิ แลว้  ๑ ขณะ  ร้ไู หม ? เมื่อก้ี ?... แล้วมนั จบลงตรงนัน้ ไหม ? มันจบลงตรงทม่ี นั หยุด 24 ลองยกมือขวาข้ึนมา แล้วหยุดไว้ ขณะทีก่ �ำลังยกมือขึน้ มานนั้ นะ่  มันใช่ตะแคงมอื ไหม ? ไมใ่ ช่... ตะแคงมือ มนั เป็นอดีตไปแล้ว ปัจจุบันใหม ่ ไดป้ รากฏข้ึนกบั คุณ... เห็นไหม ? ลองเลอ่ื นมอื มาที่ทอ้ งซิ ยกมอื เมือ่ ก ้ี เป็นอะไร ? เป็นอดีต แตม่ อื ท่ีเคลอ่ื นมาทีท่ ้องน ่ี เป็นปัจจุบนั ตะแคงมอื ซา้ ย เปน็ ปัจจบุ ัน ยกมือซา้ ยข้ึน เปน็ ปจั จุบันอีกแล้ว เลื่อนมอื ซา้ ยมาที่ท้อง เปน็ ปัจจุบันอีกแล้ว เอามอื ขวาขนึ้ หน้าอก เปน็ ปัจจบุ นั ปี ใ ห ม่ ชี วิ ต ใ ห ม่ จิ ต ใ ห ม่

พ ร ะ อ า จ า ร ย ์ ค ร ร ชิ ต  อ ก ิ ญฺ จ โ น ผลักออกไปข้างๆ เปน็ ปจั จุบัน เอาลงมาตะแคงไวท้ หี่ ัวเข่า ก็เป็นปัจจุบนั ใหม่ คว�ำ่ มือขวาลง ก็เป็นปจั จุบนั ใหม่ เอามือซ้ายขึ้นหนา้ อก เปน็ ปัจจบุ ันใหม่ ผลกั ออกไปขา้ งๆ เปน็ ปจั จบุ นั ใหม่ เอาลงมาตะแคงไวท้ หี่ วั เขา่ ซ้าย ก็เป็นปจั จุบนั ใหม่ คว�ำ่ มอื ซา้ ยลง ก็เปน็ ปจั จุบันใหม่ คุณลองสังเกตดูสิ คนใหม่ จิตใหม่ ชีวิตใหม่ มันไม่ต้องไป  รอส้ินปี การรอส้ินปี แล้วเริ่มต้นปี อย่างโลกเขาว่า มันส�ำหรับคน  หยาบๆ ทกี่ ำ� หนดไมเ่ ปน็ วา่ จะมชี วี ติ ใหมอ่ ยา่ งไร แตส่ ำ� หรบั ผปู้ ฏบิ ตั ิ  25 ธรรม เป็นพุทธสาวกแลว้  เรามีชีวติ ใหมอ่ ย่ทู ุกขณะ

การเจรญิ สติ แบบเคล่อื นไหว ๑๔ จังหวะ “ต้ังใจทำ� ทีละคร้งั รูท้ ลี ะครงั้ จบลงทลี ะครัง้ ” เริ่มต้น...เอามอื วางทเ่ี ขา่ ทั้งสองขา้ ง ๑ ๒ ต้งั ใจ...ตะแคงมอื ขวา ต้ังใจ...ยกมอื ขวาขึ้นมา ๓ ๔ ต้งั ใจ...เล่อื นมอื ขวามาทท่ี ้อง ตั้งใจ...ตะแคงมอื ซ้าย ๕ ๖ ตง้ั ใจ...ยกมือซ้ายขึ้นมา ต้ังใจ...เลอื่ นมือซ้ายมาที่ทอ้ ง

๗ ๘ ตง้ั ใจ...เล่อื นมอื ขวาขนึ้ หนา้ อก ตง้ั ใจ...ผลักมือขวาออกไปข้างๆ ๙ ๑๐ ต้ังใจ...เอามือขวาลงมา ตะแคงไว้ที่หวั เข่า ตงั้ ใจ...ควำ่� มือขวาลง ๑๑ ๑๒ ตัง้ ใจ...ผลักมอื ซ้ายออกไปข้างๆ ต้งั ใจ...เลอ่ื นมือซา้ ยข้ึนหนา้ อก ๑๓ ๑๔ ตั้งใจ...เอามอื ซา้ ยลงมา ตะแคงไวท้ ห่ี วั เข่า ต้งั ใจ...ควำ่� มือซ้ายลง

๑. ตัง้ ใจท�ำทลี ะครัง้ เคล็ดลับอย่ตู รงน ้ี “ตง้ั ใจทำ� ทลี ะคร้ัง” ซ่ึงมนั ท�ำให้ ๑. ตัดความเคยชิน ความต้ังใจจะเข้าไปแทนท่คี วามเคยชิน ถามว่าชีวิตเรา อยู่กับความเคยชิน หรืออยู่กับความตั้งใจ  มากกว่ากัน ? (เคยชิน) เราก็เลยใช้ชีวิตแบบเดิมๆ อยู่ตลอดเวลา  ไมเ่ คยเปน็ คนใหมเ่ ลย มนั กลายเปน็ ชวี ติ ทอ่ี ยกู่ บั ความเคยชนิ  นนั่ คอื   เหตผุ ลวา่  ทำ� ไมเราถงึ ไมต่ ระหนกั ในความจรงิ ของชวี ติ  เพราะฉะนน้ั   28 ถา้ คณุ ตง้ั ใจ ตงั้ ใจทำ� ทลี ะครง้ั  ปบุ๊ ... ขณะทค่ี ณุ ตง้ั ใจ มนั เขา้ ไปแทนท่ ี ความเคยชนิ แล้ว  ๒. เกดิ  “ความใหม่” ขน้ึ มาทุกที ๓. เกดิ ความต้ังมน่ั ขน้ึ มาใหม่ ๔. หลดุ จากการถกู ครอบงำ� ดว้ ยความรสู้ กึ  ความนกึ คดิ  และ  อารมณต์ ่างๆ ไดง้ า่ ยมาก ใครปฏบิ ตั แิ ลว้  โดนความงว่ งเลน่ งานอยา่ งหนกั หนว่ ง... ยกมอื   ขึ้น ? (ผู้ปฏบิ ัติยกมือพร่ึบ) แปลว่า... ไมใ่ ชค่ นตัง้ ใจใหม่ ปี ใ ห ม่ ชี ว ิ ต ใ ห ม่ จ ิ ต ใ ห ม่

พ ร ะ อ า จ า ร ย ์ ค ร ร ชิ ต  อ ก ิ ญฺ จ โ น ความง่วงเกิดจากอะไร ? ได้เคยสังเกตไหม ? ความง่วงเกิดจากใจท่ีมันเผลอออกไป...เวลาความง่วงจะมา  ใจมนั จะไหลออกจากฐานไป การเปลยี่ นเปน็ คนใหมใ่ นปนี  ี้ มนั ตอ้ งเรม่ิ ตน้  เปลย่ี นจากคนท่ ี ทำ� อะไรดว้ ยความเคยชนิ  เปน็ ทำ� อะไรดว้ ยความตง้ั ใจ เพราะความ  ตั้งใจน้ันจะเป็น เบ้ืองต้น ท่ามกลาง และเบื้องปลาย ท่ีจะน�ำพาเรา  ไปส่คู วามหลดุ พน้  ความตัง้ ใจจึงเป็นเร่ืองสำ� คัญมาก ความเคยชนิ เปน็ อาหารของความหลง โมหะ อวชิ ชา แตค่ วาม  ต้ังใจจะเป็นอาหารของสติ ของความรู้สึกตัว เพราะฉะนั้น ท�ำไม  พ่อแม่ ครูอาจารย์ ท่านถึงสอนเสมอว่า จะท�ำอะไรให้ท�ำกรรมฐาน  อยทู่ กุ ขณะ ทำ� อะไรใหใ้ สค่ วามตงั้ ใจลงไป อยากทำ� ใหช้ วี ติ เปน็ ชวี ติ ที่  29 ดำ� รงอยดู่ ว้ ยกรรมฐาน งา่ ยนดิ เดยี วคอื  ทำ� อะไรกท็ ำ� ดว้ ยความตง้ั ใจ  จะหยบิ จะจบั  จะยนื จะเดนิ  จะนง่ั จะนอน จะเคย้ี วจะกลนื  จะทำ� อะไร  ก็ตาม ขอใหท้ ำ� ดว้ ยความตงั้ ใจ หลวงพ่อค�ำเขียนใช้ค�ำว่า “อย่าท�ำฟรีๆ” อย่าให้มันเป็นชีวิต  ฟรๆี  แตท่ ำ� ดว้ ยความตงั้ ใจ มฉิ ะนน้ั แลว้ เราจะสงั่ สมความหลง สงั่ สม  ความเคยชนิ  กลายเปน็ โกรธดว้ ยความเคยชนิ  โลภดว้ ยความเคยชนิ   รกั ดว้ ยความเคยชนิ  กลวั ดว้ ยความเคยชนิ  โนน่ น ่ี ไปดว้ ยความเคยชนิ   หมดเลย เพราะมนั สงั่ สมความเคยชนิ  ชวี ติ เราจะเปลยี่ นเปน็ คนใหม่  ก็เม่ือเราเร่ิมตั้งใจ ต้ังใจน่ีแหละเป็นจุดเริ่มต้นของการเป็นคนใหม่  มจี ิตใหม ่ เพือ่ จะมชี ีวิตใหม่

กรรมฐาน กรรมฐาน ประกอบดว้ ย ๒ ส่วน คอื  ฐาน กับ ใจ เวลาใจมันไหลออก อารมณ์จะเข้าแทรกทันที และอารมณ ์ ท่ีเข้าแทรกง่ายที่สุดก็คือ ความง่วง เพราะฉะน้ัน วิธีการจัดการ  ความง่วงก็คือ กลับมาท่ีฐาน พอใจกลับมาต้ังใหม่ ปุ๊บ..ใจมันจะ  ตั้งม่ันใหม่ขึ้นอีกครั้ง ความง่วงจะหายไป เพราะมันเข้าแทรกไม่ได้  แล้ว มันตั้งม่ันที่ฐานแล้ว แต่สักพักก็จะมีอีก ใจก็จะไหลออกไปอีก  ไม่เปน็ ไร.. กลบั มาใหม่ 30 ทกุ ครงั้ ทเี่ ราตงั้ ใจใหม ่ มนั ตดั ความเคยชนิ แลว้  พอใจมนั จะไหล  ออกไป มนั กลบั มาตงั้ ใจใหมอ่ กี ครง้ั หนงึ่  มนั จงึ สามารถแกน้ วิ รณ*์ ได ้ ง่าย  * นวิ รณ ์ คอื  สิ่งที่ก้ันจติ ไม่ให้ก้าวหนา้ ในคณุ ธรรม ประกอบด้วย  ๑. กามฉนั ทะ (ความพอใจในกาม)  ๒. พยาบาท (ความขดั เคืองใจ)  ๓. ถีนมิทธะ (ความหดหู่และเซอ่ื งซึม) ๔. อุทธัจจกุกกจุ จะ (ความฟงุ้ ซ่านและร้อนใจ) ๕. วจิ ิกิจฉา (ความลังเลสงสัย) ปี ใ ห ม่ ชี วิ ต ใ ห ม่ จ ิ ต ใ ห ม่

แทนใจ แทนฐาน ใจ ต้งั อยู่บน ฐาน “กรรมฐาน” 31 ใจไหลออกไปจากฐาน ใจกลบั มาทฐ่ี าน

๒.  รู้ทีละคร้ัง “รู้ทีละครัง้ ” เป็นอยา่ งไร ? ในขณะท่ีเราตะแคงมือปั๊บ แล้วเรารู้กับมัน เราไม่ได้รู้แค่ว่า  มกี ารเคลอ่ื น แลว้ หยดุ  แตใ่ นขณะนน้ั  มนั กอ็ าจจะม ี ความรสู้ กึ นกึ คดิ   หรอื อารมณใ์ ดเขา้ แทรก หรอื เกดิ อาการกบั กาย กบั ใจขนึ้ มา ปรากฏ  ใหเ้ ราได้รู้ ไดเ้ หน็ เหมือนกนั ปญั หาของผปู้ ฏบิ ตั  ิ ทป่ี ฏบิ ตั แิ ลว้ ไมก่ า้ วหนา้  กเ็ พราะ “สงั เกต  ไม่เป็น” ชวี ิตเลยไม่เปล่ียนใหม่ 32 การสงั เกต เปน็ หลกั ใหญใ่ จความของการทำ� วปิ สั สนา หลายคน  หลงทาง คดิ วา่ ปฏบิ ตั ไิ ปแลว้  จะดงิ่ ..ดง่ิ ...แลว้ ทะลพุ รวดเขา้ ไป แลว้ ก็  บรรลุธรรม... ฝันไปเถอะ ! ภาวะท่ีจะเข้าถึงธรรมของพระพุทธเจ้า  นั้นคือ การเข้าไปสังเกตเห็นกลไกการท�ำงานของขันธ์ ๕ และเห็น  ว่าการทำ� งานของขนั ธ์ ๕* นั้นมันอยภู่ ายใต้กฎพระไตรลกั ษณ์ สงั เกต...ท�ำอย่างไร ?... การ “รู้ทีละครั้ง” นี่แหละ มันจะช่วยท�ำให้เราเข้าใจกฎพระ  ไตรลักษณไ์ ด้ * ขันธ์ ๕ คือ ส่วนประกอบ ๕ อย่าง ที่รวมเข้าเป็นชีวิต ๑.รูป (ร่างกาย)  ๒.เวทนา (ความรู้สึก สุข ทุกข์ เฉยๆ) ๓.สัญญา (ความจ�ำได้หมายรู้)  ๔.สังขาร (ความนึกคิดปรุงแต่ง) ๕.วิญญาณ (ความรู้สิ่งท่ีมากระทบทาง ตา  หู จมูก ล้ิน กาย ใจ) ปี ใ ห ม่ ชี ว ิ ต ใ ห ม่ จิ ต ใ ห ม่

พ ร ะ อ า จ า ร ย ์ ค ร ร ชิ ต  อ ก ิ ญฺ จ โ น ขณะที่เราตะแคงมือขวา...ปั๊บ... เรารู้กับมัน เราไม่ได้รู้แค ่ กายเคลอื่ นไหว แตใ่ นภาวะทจ่ี ติ มนั หลงคดิ ออกไป เราจะเหน็ อาการ  ของจติ ทำ� งานในรปู แบบของความเผลอคดิ  ถา้ มนั รทู้ นั เรว็ ขนึ้  ในจงั หวะ  นนั้  เราจะเหน็ กลไกการทำ� งานในความคดิ นนั้ วา่  มนั เปน็ การทำ� งาน  ของสัญญาขันธ์ สัญญาเข้ามาทำ� งาน ความจ�ำได้หมายรู้ในเรื่องราว  ต่างๆ สมมติบัญญัติต่างๆ โน่น นี่... สังขารขันธ์ก็ปรุงต่อ มันก็จะ  เห็นกลไกการท�ำงานของสังขารในขณะน้ันอีก ในขณะที่มันปรากฏ  ขน้ึ  เมอื่ จติ หลดุ ไปจากฐานนแี่ หละ มนั จะเหน็ สญั ญาขนั ธเ์ ขา้ มาทำ� งาน  เห็นสังขารขันธ์เข้ามาทำ� งาน บางทีมันเลยเถิดไปอีก บางจังหวะมัน  ไปเห็นรู้ทันอีกว่า ในบางคร้ัง ขณะที่สัญญาท�ำงาน สังขารท�ำงาน  บางทีมันมีส่ิงหน่ึงเกิดข้ึน อาการที่ใจมันหลงเข้าไปยึดมั่นถือม่ัน  33 ในเร่ืองราวเหล่านั้น ในส่ิงเหล่านั้นที่เกิดข้ึน เราเรียกอาการน้ันว่า  “อปุ าทานในขนั ธ”์  นค่ี อื ภาวะซอ้ น ถา้ สญั ญามนั ทำ� งาน เปน็ ความคดิ   ชั้นที่ ๑ สังขารขันธ์เข้ามาปรุงต่อ เป็นความคิดชั้นท่ี ๒ อันน้ียัง  ไมเ่ ทา่ ไร เพราะยงั เปน็ แคข่ นั ธท์ ำ� งาน แตถ่ า้ มนั มคี วามพอใจ ไมพ่ อใจ  ยินดี ยินร้าย เข้าไปในเร่ืองราวเหล่านั้น อันนี้เรียกว่ามีตัณหา  อุปาทาน เป็นความคิดชั้นท่ี ๓ อันนี้มันไม่ใช่ขันธ์ แต่มันเป็นกลไก  การท�ำงานของ “อวิชชา” คือความไม่รู้ ตรงน้ีแหละ ! ท่ีจะพาเรา  เป็นสขุ เป็นทุกข์ เปน็ นนู่ เปน็ นสี่ าระพดั ในจังหวะท่ีมันมีอะไรเกิดข้ึนท่ีกาย เกิดข้ึนท่ีใจ มันจะรู้ “รู ้ ทีละครงั้ ”

๓.  จบลง  ทีละครง้ั สดุ ทา้ ย คำ� ที่ ๓ ของหลวงพ่อคำ� เขยี น... “จบลง ทีละครง้ั ” จบลงทีละคร้ัง ยังไง ?... ปัญหาหน่ึงที่พระอาจารย์เจอกับ  ผู้ปฏิบัติ ไอ้ที่ว่านี่ ตัวเอง ไม่ใช่ใครหรอก พอเห็นตัวเอง มันก็เลย  เห็นคนอื่นไง แล้วก็เห็นคนอื่นยังหลงอีกเยอะ ปัญหาที่พระอาจารย์  เจอกค็ อื  คนสว่ นใหญ ่ รแู้ ลว้ มนั ไมจ่ บ รแู้ ลว้ มนั ไมว่ าง รแู้ ลว้ มนั กลบั   ไมไ่ ด ้ รแู้ ลว้ ยาว ออกไปเรอื่ ย อนั นเี้ ขาเรยี กวา่  “หลงในร”ู้  ซงึ่ หนกั   กวา่  “หลงปรงุ ” อกี  เพราะวา่ มนั เอาทฤษฎ ี หรอื อะไรกต็ าม ไปปรงุ   34 ตอ่ อีก เพลนิ ...เพลนิ ด้วยวิธีการท่ีหลวงพ่อค�ำเขียนบอกให้เรา “จบลง ทีละครั้ง”  มันท�ำให้เรากลับมา ตั้งใจใหม่ ด้วยจังหวะท่ีถูกควบคุมเป็นจังหวะ  ทีละจังหวะอย่างน้ี (ยกมือสร้างจังหวะ) ทีละท่า ทีละจังหวะ ช่วง  เวลาแหง่ การเรม่ิ ตน้ ใหมม่ นั ทำ� ใหจ้ บลงไปดว้ ยในตวั  ถา้ ความคดิ ไมจ่ บ  ออกไปตอ่  กไ็ มเ่ ปน็ ไร เรากเ็ รมิ่ ตน้ ใหมอ่ กี  มนั กจ็ บอกี  มนั ออกไปตอ่   อกี  กไ็ มเ่ ปน็ ไร กก็ ลบั มาใหม ่ มาเรมิ่ ตน้ ใหมอ่ กี  กจ็ บไปอกี  มนั ทำ� ให ้ เกิดการขาดตอน...ขาดตอน...ขาดตอน มันไม่ไหลยาว ไม่ไหลลื่น  มนั ยงั กลับมาร้สู ึกตัว มันท�ำให้ช่วงจังหวะที่ลากยาวน้ันถกู ตดั ใครเคยนัง่ ดลู มหายใจเปน็ ฐานบา้ ง ? เวลามันเกิดความคิดเกิดอารมณ์ใด สังเกตดไู หม ? มนั ไหลออกไปใช่ไหม ? มนั กลบั มายากไหม ? เพราะอะไร ? ปี ใ ห ม่ ชี วิ ต ใ ห ม่ จิ ต ใ ห ม่

พ ร ะ อ า จ า ร ย ์ ค ร ร ชิ ต  อ ก ิ ญฺ จ โ น เพราะลมหายใจ ถ้ามนั ไมม่ เี จตนา มันก็ยงั หายใจ แต่การเคลื่อนไหวแบบน้ี (๑๔ จังหวะ) ถ้าไม่มีเจตนา มัน เคล่ือนไหวไมไ่ ด ้ เพราะฉะนั้น ความตั้งใจใหม่ที่มันเกิดข้ึน มันท�ำให้เกิดการ  ตัดช่วงของความไหลล่ืนตรงนั้น หยุดลง เราจึงกล้ายืนยันว่าการ  เจริญสติ ๑๔ จังหวะน้ี มันท�ำให้เรากลับมารู้สึกตัวได้ไว หลุดจาก  อารมณ์ต่างๆ ได้ไว ถ้าใครยังติดอารมณ์อยู่ แปลว่า น่ัน..ไม่ได้อยู่  กบั ความรสู้ กึ ตวั จรงิ ๆ เพราะเมอ่ื ใดกต็ ามทคี่ ณุ กลบั มารสู้ กึ กบั ความ  เคลอื่ นไหว มาระลกึ รอู้ ริ ยิ าบถ มาระลกึ รกู้ บั กายได ้ มนั หยดุ เลยนะ  เร่ืองท่ีมันไหลล่ืนอยู่ในใจ มันจะหยุดเลย แต่ถ้ามันไม่หยุด แปลว่า  น่ันไม่ได้กลับมาจริงๆ ถ้าคุณต้ังใจใหม่เม่ือไร ปั๊บ.. วนลูป (Loop)  35 กลับมาใหม่ ต้ังใจท�ำทีละคร้ัง - รู้ทีละคร้ัง - จบลงทีละคร้ัง ถ้ามัน  ไม่จบ... ตง้ั ใจใหม่ปุ๊บ มนั จบ... เข้าใจหรอื ยัง ? น่ีคือค�ำสอนของหลวงพ่อค�ำเขียน เป็นค�ำสอนแรกท่ีพลิก  กระบวนการปฏิบัติใหพ้ ระอาจารย ์ จากคนเกา่  ย�ำ่ อยใู่ นอารมณเ์ ก่า  ติดอยู่ในความสงบจนเหมือนจะไปเป็นฤๅษีแล้ว อยากเข้าป่าเข้าดง  ไม่อยากเจอพบใคร หิวค่อยไปบิณฑบาต ไม่กวาดลานวัด ข้อวัตร  ปฏิบัติต่างๆ ทิ้งหมดเลย เพราะมันไปติดความสงบ กลายเป็นคน  แชใ่ นอารมณเ์ กา่  เพราะฉะนน้ั  การทเี่ ราจะเปน็ คนใหม ่ มจี ติ ใจใหม่  มันต้องต่ืนรู้ ต่ืนตัว ตื่นกาย ต่ืนใจ... รู้กาย ต่ืนกาย รู้ใจ ตื่นใจ  โดยหลักการ ต้ังใจท�ำทีละคร้ัง รู้ทีละครั้ง จบลงทีละคร้ัง มันท�ำให ้ ชวี ติ เราเปลยี่ นไปในแตล่ ะขณะ แตล่ ะขณะ มนั เหน็ ความเปลย่ี นแปลง  ในแตล่ ะขณะ และในแต่ละขณะมนั กไ็ ม่เหมอื นกันด้วย  ✤

การเคล่ือนไหวทีละขณะ 36 มันท�ำให้เราตระหนัก ในปัจจุบันขณะ  ทีละขณะ ปี ใ ห ม่ ชี ว ิ ต ใ ห ม่ จิ ต ใ ห ม่

พ ร ะ อ า จ า ร ย ์ ค ร ร ชิ ต  อ ก ิ ญฺ จ โ น 37



การเคลื่อนไหว ทลี ะขณะ กับ ปจั จุบันขณะ 39 บางทมี นั กไ็ มม่ คี วามคดิ อะไร...แคร่ อู้ ยูก่ ับกายเคล่ือนไหว บางทรี ู้กายเคล่ือนไหว แล้วมันยงั มีใจคิดอย.ู่ ..ก็มี  พอกลับมารกู้ ายเคล่ือนไหวอกี ...ความคดิ ก็หายไปอีก บางทคี วามคิดโผล่ข้นึ มา...ก็เปน็ ความคิดเรื่องใหม่อีก ขณะท่ีคุณเห็นอย่างนี้เข้าเรื่อยๆ มันท�ำให้คุณเห็น ความเป็น  อนจิ จงั  ทกุ ขงั  อนตั ตา มนั จะแสดงใหค้ ณุ เหน็ วา่  ในแตล่ ะจงั หวะของ  ชวี ติ คณุ นน้ั  มนั ไมเ่ หมอื นกนั เลย คณุ ไมต่ อ้ งไปมองไกลเลย แคว่ นิ าที  ตอ่ วินาทีนี ่ มนั ยังไม่เหมือนกนั เลย นั่งๆ ไป ตอนน้ียังไม่เมื่อยหรอก อีกสักพัก เม่ือยเว้ย ! จริง  หรือไม่ ?

ยกมือไป ยกมือมา พออกี จังหวะหนงึ่  เมอ่ื ยเยอ๊ ะ เยอะ.. นงั่ ยกไป ยกมา บางจงั หวะเมอื่ ยหายไป วา๊ บ... มไี หม ? เวทนา  มนั หายไป มีไหม ? สกั พัก...อา้ ว ! ไม่เป็นอะไรแล้ว สกั พักกง็ ่วง... มันท�ำให้เราสังเกตชีวิตของเราในแต่ละขณะ แต่ละขณะ...  มันก็เลยท�ำให้เราเข้าใจว่า ชีวิตคน มันเป็นขณะ แล้วมันเปล่ียนไป  ทุกขณะ เพราะฉะนน้ั  มนั ท�ำให้เราเหน็ ว่า ๑. เราอยใู่ นอดตี ไมไ่ ด ้ เพราะอดตี มันจบไปแล้ว ๒. อนาคตก็ยังไมม่ าถึง  40 ๓. อยกู่ บั ปจั จบุ นั  และรทู้ นั วา่ ตวั ปจั จบุ นั  กเ็ ปลยี่ นไปทกุ ขณะ การเคลื่อนไหวทีละขณะ การก้าวเดินทีละก้าว การหายใจ  แต่ละคร้ัง ถ้าเราเป็นผู้ตั้งมั่นกับการปฏิบัติ และการสังเกตอย่างน้ ี เราจะเหน็ เลยวา่  มนั มภี าวะเปลยี่ น เปลยี่ น... ในแตล่ ะขณะ เพราะ  ปจั จบุ นั กย็ งั อยไู่ มไ่ ด ้ ปจั จบุ นั มนั เปลยี่ นไปทกุ ขณะ แตถ่ า้ เมอ่ื ไรกต็ าม  ทคี่ ณุ ลากปจั จบุ นั เพอ่ื ทจ่ี ะอยกู่ บั มนั  นนั่ ..คณุ กำ� ลงั เขา้ สกู่ ารจมแช ่ กบั อดตี  มนั จงึ ไมแ่ ปลกทจ่ี ะบอกวา่  สมาธเิ พอื่ การตรสั รนู้ น้ั  มนั จะ  ตอ้ งเปน็ สมาธทิ เ่ี ปน็  “ขณกิ สมาธ”ิ  คอื  สมาธทิ เ่ี ปน็ ขณะ..ขณะ...  ในแต่ละขณะ ใจเราต้ังมั่นเพ่ือเห็นสภาวะที่เกิดข้ึนในแต่ละขณะนั้น  พอเปลี่ยนขณะ ก็ตัง้ มนั่  รูก้ ับมนั ตรงๆ ในขณะนนั้ กลไกการปฏิบัติธรรมที่หลวงปู่เทียนสอนมา ที่หลวงพ่อ  คำ� เขยี นบอกอาจารยม์ า กค็ อื  “เคลอื่ นแลว้ หยดุ  จบ ๑ ครง้ั ” “เคลอ่ื น  ปี ใ ห ม่ ชี ว ิ ต ใ ห ม่ จิ ต ใ ห ม่

พ ร ะ อ า จ า ร ย ์ ค ร ร ชิ ต  อ ก ิ ญฺ จ โ น แลว้ หยดุ  จบอกี  ๑ ครงั้ ” “เคลอ่ื นแลว้ หยดุ  จบอกี  ๑ ครง้ั ” “เคลอื่ น  แล้วหยดุ  จบอีก ๑ ครง้ั ” # การเคลอื่ นไหวทีละขณะ มันท�ำให้เราตระหนักในปัจจุบันขณะ ทลี ะขณะ # (แฮชแทก็ ไว ้ จะได้จ�ำได)้ (ยกมอื สร้างจงั หวะ ๑๔ จังหวะ) 41 ในขณะท่ีเราท�ำแต่ละขณะ ใหส้ งั เกตแตล่ ะขณะไปด้วย  เรารกู้ ับการเคลอื่ นไหวปั๊บ... รูช้ ัด ไมช่ ัด เราสงั เกตเห็น เรารู้กับการเคล่ือนไหวปั๊บ... ความรู้สึกตัว ชัด ไม่ชัด เรารู ้ ในขณะน้ัน  เรารู้กับการเคล่ือนไหวป๊บั ... ใจมันคดิ ...ป๊บุ  เหน็ ...ป๊บั เคลอ่ื นใหม่ ป๊บั ... จบขบวนการอันนั้น เรมิ่ ขบวนการใหม่ เรียนรู้อยา่ งน้ี การปฏิบัติในแนวทางเจริญสติ จะไม่ใช่การมุ่งไปสู่ความสงบ  แตม่ นั มงุ่ ทจี่ ะเหน็ แตล่ ะขณะ เรยี นรทู้ ลี ะขณะ เขา้ ใจชวี ติ ในแตล่ ะขณะ  อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จะปรากฏขึ้นในแต่ละขณะ กิเลส ๑๕๐๐  ตัณหา ๑๐๘ เกิดข้ึนในแต่ละขณะ ความรู้สึกตัวที่เกิดขึ้นในแต่ละ  ขณะนี้ ที่มันเห็นอย่างนี้ กลายเป็นเคร่ืองมือท่ีย่ิงใหญ่มาก ท่ีจะ 

เปลี่ยนชีวิตคน ความรู้สึกตัวที่เกิดในแต่ละขณะนั้น มันจะเปลี่ยน  ชีวติ เราเป็นคนใหม่ ไม่ใช่คนใหมท่ ี่หนา้ ตา หรอื สีผม แต่คำ� ว่า “คน ใหม่” ในท่ีน้ี มันจะเป็นคนใหม่เม่ือใจมันเปล่ียน มันเปล่ียนจาก  ขา้ งในออกมาข้างนอก จากคนเคยโกรธ ก็จะโกรธน้อยลง แล้วค่อยๆ กลายเป็นคน  ที่รทู้ นั ความโกรธ เมอ่ื รู้ทันความโกรธ... มันก็ไม่ไปกับความโกรธ ต่อไป ความโกรธก ็ ไรค้ า่  ไร้ความหมาย จากคนทเ่ี คยโลภ กจ็ ะโลภน้อยลง จากนนั้ ก็รูท้ ันความโลภ แล้วความโลภก็จะไมม่ ีคา่  ไม่มคี วามหมายใดๆ 42 มนั เปลยี่ นจากขา้ งใน มนั ฟอกจากขา้ งในออกมา นนั่ คอื  ชวี ติ   เปลี่ยน ชวี ติ ใหม่ จติ ใหม่..มนั จะเกิดขึ้นตรงนี้  ✤ ปี ใ ห ม่ ชี ว ิ ต ใ ห ม่ จ ิ ต ใ ห ม่

เห็นกายเคลื่อนไหว เห็นใจนึกคิด



การเจรญิ สติ แบบเคลอ่ื นไหว  ๑๔ จงั หวะ 45 ช่วงเวลาแห่งความส�ำคัญท่ีเราได้มาพบกันในช่วงปีใหม่น้ี เรา  มาต้ังใจท�ำดีๆ เลิกเป็นคนจมแช่อารมณ์เก่า เปล่ียนมาเป็น เรียนรู ้ ที่จะศึกษาทุกขณะของชีวิตตัวเอง หลายคนยกมือสร้างจังหวะ (ทำ�   เร็วๆ ท�ำไปอย่างน้ัน...ไม่สังเกตอะไร) หรือยกมือสร้างจังหวะไป  คุยไป “ฉันน่ะ...ฝึกมา ๑๐ ปีแล้ว ยังไม่เข้าใจอะไรเลยนี่”...(ยกมือ  ไม่ผดิ จงั หวะดว้ ยนะ) ใหเ้ ปลย่ี นใหม่ มาท�ำแบบนี้ ตัง้ ใจท�ำทลี ะครั้ง - รู้ทลี ะคร้ัง - จบลงทีละคร้งั (เรม่ิ ยกมือ ๑๔ จังหวะ) เคล่อื นแล้วหยดุ ... เคลือ่ นแล้วหยดุ  เปน็ จังหวะทส่ี มำ�่ เสมอ ไมช่ ้าเกนิ ไป ไม่เรว็ เกนิ ไป

มีจงั หวะใหม่เกดิ ข้นึ ใหม ่ รู้ใหม่ เกิดอะไรข้ึนกต็ าม มนั ก็จบลงไป ความสม�ำ่ เสมอของจงั หวะ เรยี กไดว้ า่ เป็นผูม้ ใี จท่ีต้ังมน่ั มีความตงั้ ม่นั ของใจ มคี วามเพียรท่ีสม่�ำเสมอ ที่ต้องปรับกระบวนการยกมือ ๑๔ จังหวะ ก็เพราะหลายคน  ท�ำไปท�ำมา แล้วมันเร็วข้ึนเร่ือยๆ เพราะอะไร ? เพราะหนึ่ง มัน  เคยชิน สอง มันมีความคิดเกิดข้ึนเยอะ ก็เลยขยับมือเร็วข้ึนเพ่ือไป  ขจัดความคิดโดยไม่รู้ตัว เพราะติดนิสัยท่ีจะต้องจัดการกับความคิด  ให้ได้ มีความคิดหนึ่งท่ีฝังกับหัวเราก็คือ ต้องไม่ให้มันคิด ใจมันถึง  46 จะสงบ มนั ตดิ สงบ เลยท�ำใหข้ ยบั มอื ใหไ้ ว เพอื่ ทจี่ ะจดั การความคดิ แลว้ ถ้าง่วงละ่  ? “อาจารย์... มันง่วงน่ะ ยกมือให้เร็วข้ึนเพื่อให้หายง่วงได้ไหม  จะไดต้ ื่นตวั  ?” ไมต่ อ้ งเลย แค่ตง้ั ใจดีๆ ก็พอ ตง้ั ใจใหม ่ เพราะในขณะทเ่ี ราตง้ั ใจใหม ่ ใจเราไปยงุ่ อยกู่ บั อะไร ? ใจเราไปยุ่งอยู่กับการตั้งใจตรงนี้ แล้วง่วงมันจะหายไปโดย  อตั โนมตั ิ ถ้าคุณขยับ ๑๔ จังหวะให้เร็ว เพื่อจะไล่ความง่วง คุณจะ  ปฏิบัติด้วยวิภวตัณหา ปฏิเสธความง่วง ไม่อยากได้ภาวะนั้น มันก็  ไม่สามารถจัดการความง่วงได้ แต่ถ้าคุณ “มันง่วงก็รู้” และยืนยัน  จังหวะเดิม ยืนยันความต้ังใจม่ัน มันจะจัดการได้หมดจริงๆ ความ ส�ำคัญคือ จะท�ำอย่างไรให้ความตั้งใจมัน่ ของเราม่นั คง ปี ใ ห ม่ ชี ว ิ ต ใ ห ม่ จิ ต ใ ห ม่

พ ร ะ อ า จ า ร ย ์ ค ร ร ชิ ต  อ ก ิ ญฺ จ โ น ทำ� ไมอาจารยถ์ งึ สอนอยา่ งน ้ี กเ็ พราะเราท�ำมาอยา่ งน ้ี เมอ่ื ท�ำ  มาอยา่ งน ี้ เราเหน็ ผลมนั อยา่ งนนั้  แลว้ สง่ิ ทเ่ี ราไดม้ านน้ั  สงิ่ ทเ่ี ราเขา้ ใจ  นั้น มันท�ำให้เราทุกข์น้อยลง น้อยลง ไปเร่ือยๆ ถ้าปฏิบัติแล้ว  ทุกข์ไม่น้อยลง แสดงวา่ ยังปฏบิ ตั ิไม่ถูกทางเทา่ น้นั เอง (เร่มิ ปฏิบัติ ยกมอื  ๑๔ จงั หวะ)  ขณะท่ีตั้งใจใหม่ในแต่ละครั้ง ไม่ต้องไปหารายละเอียดของ  การเคลื่อนไหว แค่รูว้ า่ มีการเคล่อื นแล้วหยดุ ...เคลื่อนแลว้ หยุด... สบายๆ สายตาปลอ่ ยสบายๆ อยา่ หลบั ตา (ไมห่ ลบั ตา เพราะถา้ ความ  ง่วงมา จะได้เหน็ ชัด) 47 ฝึกทีจ่ ะเห็น แตไ่ มใ่ ชด่ ู ฝกึ ให้หูไดย้ นิ  แตไ่ ม่ไดฟ้ ัง เพราะเราจะใหค้ วามสำ� คญั กับการเจรญิ สติเปน็ ตัวหลกั สังเกตไหม บางจังหวะ มันก็จะมใี จแว๊บ คิดออกไป พอเร่ิมต้นกับการเคลื่อนไหวใหม่อีกครั้ง สังเกตไหมว่าใจมัน  กลบั มา กลับมาได้เร็วข้นึ มนั จะออกไปคดิ  กไ็ มเ่ ปน็ ไร เรอ่ื งของมนั  เรามหี นา้ ทต่ี งั้ ใจใหม่ คดิ อกี  กร็ ู้ทันอีก แล้วเรากต็ ั้งใจใหม่ ตงั้ กรรมฐานขึน้ มาใหมท่ ีละครั้ง ไปเรอ่ื ยๆ ในขณะทอี่ าจารยพ์ าเราท�ำทลี ะครง้ั  ตงั้ ใจทลี ะครงั้  สงั เกตไหม  มนั ตา่ งจากทเี่ คยท�ำไหม ? ตะกใ้ี ครเจอความงว่ งบา้ ง ? หลดุ จากมนั   งา่ ยกวา่ เกา่ ไหม ? ใครเจอความคดิ ทม่ี นั แวบ๊ ...ออกไปบา้ ง ? กลบั มา 

ไดง้ า่ ยกวา่ เกา่ ไหม ? เพราะทกุ ครงั้ ของความตง้ั ใจใหม ่ มนั ทำ� ใหเ้ กดิ   ความตัง้ มั่นขน้ึ กรรมฐานประกอบด้วยกี่ส่วน ?...๒ ส่วน คือ ฐาน กับ ใจ  และฐานท่ีดีท่ีสุดอยู่ท่ีกาย อิริยาบถใหญ่ อิริยาบถย่อย ลมหายใจ  เขา้  ลมหายใจออก พระอาจารยข์ อถามพวกเราหนอ่ ย ในขณะทเี่ รา  ตงั้ ใจทำ� ทลี ะครงั้  สงิ่ ทเี่ ราเหน็ ชดั  มคี วามงว่ งเขา้ มา แตเ่ รากส็ ามารถ  กลบั มาไดง้ า่ ยขนึ้  ใชไ่ หม มใี จทเ่ี ผลอคดิ ออกไป ใชไ่ หม เรากส็ ามารถ  กลับมาได้ง่ายขึ้น เพราะทุกคร้ังของการตั้งใจใหม่...ทุกครั้งของการ  ต้ังใจใหม่ มันท�ำให้เกิดความต้ังม่ันข้ึนใหม่ ตั้งมั่นข้ึนใหม่ มันไม่ได้  ท�ำด้วยความเคยชินอีกแล้ว 48 ถ้าคุณปฏิบัติด้วยความต้ังใจใหม่ทีละคร้ัง แล้วมันยังมีเผลอ  คิดออกไปได้ คุณก�ำลังท�ำถูกต้อง แต่ถ้าคุณตั้งใจท�ำแล้วมันล็อค  ไมใ่ หค้ วามคิดออกไป คุณกำ� ลงั ท�ำผดิ วดั กนั ตรงนวี้ า่ ถกู หรอื ผดิ  ถา้ ตงั้ ใจทำ� แลว้ มนั กลายเปน็ ลอ็ คจติ   ไม่ใหค้ ิด อันนีผ้ ดิ  แตถ่ ้าตัง้ ใจท�ำแลว้  ใจยงั คิดได ้ อนั นถ้ี กู อาจารย์ต้องการพาคุณต้ังใจท�ำทีละครั้ง แล้วให้เห็นทุกคร้ังท ่ี ใจมนั คดิ  มนั จะเหน็ ชดั เลยวา่  ใจออกไปแลว้ ..ปบุ๊ ...ปบุ๊  แตถ่ า้ ทำ� ดว้ ย  ความเคยชิน ใจมันออกไปตอนไหน ก็ไม่รู้ กลับมาตอนไหน ก็ไม่รู ้ ได้สงั เกตไหมว่า ในขณะที่เราต้ังใจทำ� ทลี ะคร้งั  เราไมร่ ู้ดว้ ยซ�้ำวา่ เรา  หายใจ ใช่ไหม แต่เราหายใจ และบางคร้ังมันก็ไปรู้ว่าเราหายใจ  มไี หม ? บางครง้ั มนั กร็ วู้ า่ เราหายใจ บางครงั้ มนั กไ็ มร่  ู้ แตเ่ ราจะรเู้ รอ่ื ง  การเคลอ่ื นไหวตรงนเี้ ปน็ หลัก ปี ใ ห ม่ ชี ว ิ ต ใ ห ม่ จิ ต ใ ห ม่

พ ร ะ อ า จ า ร ย ์ ค ร ร ชิ ต  อ ก ิ ญฺ จ โ น การเดนิ จงกรม การเดินจงกรม ก็เหมือนกัน เดินทีละก้าว รู้ทีละก้าว จบลง  ทลี ะกา้ ว มหี ลกั การเดยี วกนั กบั การสรา้ งจงั หวะดว้ ยมอื  เพยี งเปลย่ี น  จากมอื กบั แขน เปน็ ขากบั เทา้  ชว่ งหมนุ ตวั กข็ ยบั เทา้  เพอ่ื ใหเ้ กดิ การ  เคล่ือนไหวเป็นจังหวะ เก็บเก่ียวความรู้สึกของการ เคล่ือน หยุด  เคลอื่ น หยดุ  เพอื่ ใหเ้ กดิ เปน็ วหิ ารธรรมของเรา ใสค่ วามตง้ั ใจ ใสเ่ จตนา  ทกุ ยา่ งกา้ วของเรา มน่ั คง สมำ่� เสมอ ตงั้ มน่ั  ตอ่ เนอ่ื งกบั จงั หวะของเรา ขณะทเี่ รายกการเดนิ ขนึ้ มาเปน็ กรรมฐาน อนั นค้ี อื  วติ ก แลว้   เรากา้ วเดนิ อยา่ งมน่ั คง ตอ่ เนอ่ื ง คอื  วจิ าร ไปอยแู่ ลว้ ในตวั  มคี วาม  49 ต่อเน่ืองของจังหวะท่ีเราต้ังใจมั่นอยู่ตลอด มันเป็นขณะ เป็นขณะ  ของความต้ังม่ันของใจ เป็นขณิกสมาธิอยู่แล้ว มันไม่ใช่สมาธิเพื่อ  ด�ำด่งิ ลงสคู่ วามสงบระดบั ลึก แต่แค่ใหก้ ายกับใจเราอยู่ดว้ ยกัน เพือ่   จะเหน็ จงั หวะทก่ี ายกบั ใจมนั แยกจากกนั  เพอื่ แยกใหเ้ หน็ การทำ� งาน  ของกายทแ่ี สดงออกในรปู แบบอริ ยิ าบถ การท�ำงานของจติ ในรปู แบบ  ความคิด การแยกกายแยกจิตตรงน้ี เห็นกลไกการท�ำงาน เห็น  อาการการท�ำงานของกายผา่ นอริ ยิ าบถ ผา่ นการเคลอ่ื นไหว สงั เกต  เหน็ กลไกการทำ� งานของจติ  เหน็ อาการของจติ ผา่ นการคดิ  โดยเฉพาะ  ความคิดท่ีมันคิดข้ึนเอง ที่เรียกว่าเผลอคิด เป็นกลไกการท�ำงาน  ของจิตทเี่ ปน็ ตัวของมันเอง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook