คือเห็นส่ิงต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับกายและใจโดยไม่ผลักไส พอไม ่ ผลักไส ก็ท�ำใหส้ งบ ทำ� ใหอ้ ารมณน์ ั้นดบั ไป เคยมคี นถามหลวงปดู่ ลู ย ์ อตโุ ล วา่ ท�ำอยา่ งไรจงึ จะตดั ความ โกรธได้ หลวงปู่ตอบว่า “ไม่มีใครตัดให้ขาดได้หรอก มีแต่รู้ทัน เมอื่ รทู้ นั มนั กด็ บั ไปเอง” อนั นน้ี า่ คดิ นะ ไมม่ ใี ครตดั ความโกรธใหข้ าด ได้ คือถึงแม้ว่าบางคร้ังดูเหมือนว่าเราจะตัดความโกรธให้ขาดได ้ หรือกดข่มให้มันหายไปได้ แต่ท่ีจริงมันไม่ได้หายไปไหน มันแอบ ซอ่ นตวั อยใู่ นมมุ มดื และคอยโผลม่ าตอนเราเผลอ นกั ปฏบิ ตั หิ ลายคน เวลาทำ� สมาธภิ าวนาจะพยายามบงั คบั จติ เชน่ เวลามคี วามโกรธ ความหงดุ หงดิ กก็ ดมนั เอาไว ้ ซง่ึ กไ็ ดผ้ ลในชว่ งสนั้ ๆ แตพ่ อเผลอ เมอ่ื ไรมนั กพ็ งุ่ ขนึ้ มาใหม ่ เหน็ ไดจ้ ากคนทที่ ำ� สมาธภิ าวนาหลายคน เวลาโกรธจะโกรธแรงมาก เพราะเขาไม่รู้จักจัดการกับความโกรธ อย่างถูกต้อง เขาใช้วิธีการกดข่มมันเอาไว้ มันก็ซุกซ่อนอยู่ข้างใน รอวนั ระเบดิ 50 ธรรมกลางป่า สุ ข ก ลา ง ใ จ
มโี ยมคนหนง่ึ เลา่ ใหฟ้ งั วา่ เขาเปน็ กรรมการพทุ ธสมาคม และ จัดการอบรมวิปัสสนากรรมฐานเป็นประจ�ำ เขาสังเกตว่าบางคน เวลาทำ� สมาธภิ าวนากด็ สู งบด ี แตพ่ อท�ำสมาธเิ สรจ็ ลงมาจากหอ้ ง ประชุม จะขับรถกลับบ้าน ปรากฏว่ารถออกไม่ได้เพราะมีรถ คันอื่นจอดซ้อนอยู่ เขาโกรธมาก โวยวายดังลั่น ท้ังๆ ที่เม่ือครู่ ยงั อยใู่ นอาการสำ� รวมสงบ อนั นเี้ รยี กวา่ ทำ� สมาธ ิ แตอ่ าจจะไมไ่ ด ้ เจรญิ สตกิ ไ็ ด ้ มสี มาธแิ ตไ่ มม่ สี ต ิ หนกั ไปในทางกดขม่ พอมอี ะไร มากระทบ หรือเจอเร่ืองท่ีไม่พอใจ อารมณ์ที่ถูกกดเอาไว้ก็ ได้ช่องระเบิดออกมา จนกระท่ังกลายเป็นความโมโหถึงกับต่อว่า ดา่ ทอออกมา หลายคนเวลาเจรญิ สตใิ หมๆ่ ไมร่ วู้ ธิ ี กพ็ ยายามหา้ มความคดิ ดเู หมอื นไดผ้ ล ทำ� ใหส้ งบ แตพ่ อจะนอนความคดิ ออกมาจนฟงุ้ เลย อาตมากเ็ คยเปน็ แตก่ อ่ นไมร่ วู้ ธิ เี จรญิ สต ิ หลวงพอ่ เทยี น ทา่ นสอน ว่าให้รู้เฉยๆ รู้ซ่ือๆ แต่ตัวเองก็ยังพยายามกดข่มความคิด โผล ่ ขนึ้ มาเมอื่ ไรกก็ ดมนั เอาไว ้ ทำ� ไปไดส้ องอาทติ ย ์ พอเขา้ อาทติ ยท์ สี่ าม มวี นั หนงึ่ ความคดิ มนั หายไปเลย แตก่ ลบั รสู้ กึ หนกั ๆ ตอ้ื ๆ แปลกใจ วา่ ความคดิ มนั หายไปไหน มนั ออกมานอ้ ยมากแตท่ �ำไมไมร่ สู้ กึ เบา กลบั รสู้ กึ หนกั ๆ ปรากฏวา่ คนื นน้ั พอจะเขา้ นอนกฟ็ งุ้ มาก ความคดิ ทถี่ กู กดเอาไวพ้ รง่ั พรอู อกมาจนนอนไมห่ ลบั อนั นเ้ี ปน็ เพราะเราไป กดข่มมันเอาไว้ 51 พระไพศาล วิสาโล
เคยมกี ารทดลองใหอ้ าสาสมคั รทำ� กจิ กรรมอยา่ งหนงึ่ กอ่ น นอน โดยแบง่ เปน็ สองกลมุ่ กลมุ่ แรกใหน้ กึ ถงึ นสิ ยั หรอื การกระทำ� บางอยา่ งของตนทไี่ มช่ อบ และพยายามกดขม่ มนั เอาไว ้ กลมุ่ ทส่ี อง ไมต่ อ้ งทำ� อะไร แคร่ บั รเู้ ฉยๆ ไมต่ อ้ งกดขม่ มนั ปรากฏวา่ กลมุ่ แรก จะฝันฟุ้งมากกว่ากลุ่มที่สอง และฝันถึงส่ิงท่ีตนไม่ชอบอยากกดข่ม มนั การทดลองนชี้ ใ้ี หเ้ หน็ วา่ ยงิ่ พยายามกดขม่ มนั กย็ ง่ิ ผดุ ยงิ่ โผล ่ ไม่ยอมหายไป มีคนหน่ึงนอนละเมอมาก เพราะมีความเครียดจากท่ีทำ� งาน กลางคนื กเ็ กบ็ เอาไปฝนั จนนอนละเมอ ละเมออยา่ งรุนแรง เขาก ็ พยายามจะไม่ละเมอ กอ่ นนอนก็ตัง้ ใจไวว้ ่าจะไมล่ ะเมอ ปรากฏว่า ย่ิงละเมอใหญ่เหมือนคนท่ีนอนไม่หลับ พอต้ังใจจะนอนให้หลับ ด้วยการบังคับจิตไม่ให้ฟุ้งปรากฏว่ามันกลับฟุ้งมากขึ้น ยิ่งอยาก นอนใหห้ ลบั มนั ยงิ่ ไมห่ ลบั เพราะยงิ่ กดขม่ มนั กย็ งิ่ ตอ่ ตา้ น ดงั นน้ั การกดขม่ ความคดิ หรอื อารมณน์ น้ั ไมใ่ ชว่ ธิ กี ารทไี่ ดผ้ ลในระยะยาว ท่ีหลวงปู่ดูลย์บอกไว้ว่าไม่มีใครตัดความโกรธให้ขาดได้ก็เพราะ เหตนุ ้ี สงิ่ ทค่ี วรทำ� คอื เพยี งแตร่ ทู้ นั มนั เหน็ มนั เกดิ ขน้ึ ตงั้ อย ู่ เดยี๋ ว มันก็ดับ เพราะความโกรธเกิดขึ้นเมื่อเราหลง เมื่อไรก็ตามท่ีเรา มสี ติ รู้ตวั ความหลงก็หายไป หรอื ตั้งอย่ไู ม่ได้ 52 ธรรมกลางป่า สุ ข ก ลา ง ใ จ
เราคงได้เรียนเรื่องปฏิจจสมุปบาทมาแล้ว เมื่อมีผัสสะ ก็จะ เกดิ เวทนา จากนนั้ กจ็ ะปรงุ แตง่ เปน็ ตณั หา อปุ าทาน ภพ ชาต ิ ฯลฯ อย่างไรก็ตามส่ิงท่ีจะท�ำให้เวทนาไม่ปรุงแต่งเป็นตัณหานั้นมีอยู่ นนั่ คอื มสี ต ิ อาจมสี ตติ อนเกดิ ผสั สะ เมอื่ เกดิ ผสั สะแลว้ มสี ต ิ เวทนา ทางใจก็ไม่เกิด หรือถึงแม้ตอนน้ันสติมาไม่ทัน เกิดผัสสะแล้ว มีเวทนาเกิดข้ึน แต่ก็สามารถมีสติในขั้นนี้ได้ คือรู้ทันเวทนา เม่ือ มสี ตเิ หน็ เวทนา มนั กจ็ ะไมป่ รงุ แตง่ เปน็ ตณั หา อปุ าทาน เพราะเมอื่ มีสติ มีความรู้ตัว การหลงปรุงแต่งเป็นตัณหาอุปาทานก็เกิดขึ้น ไม่ได้ สติจึงเป็นเหมือนแสงสว่างท่ีสาดส่องเข้าไป ท�ำให้ความมืด หายไป เราจงึ ไมต่ อ้ งทำ� อะไรมากไปกวา่ การเหน็ หรอื รเู้ ฉยๆ เมอ่ื มี ความเครยี ดหรอื ความฟุง้ ซ่านเกิดข้นึ กแ็ ค่เหน็ หรือรู้เฉยๆ มบี างคนสงสยั วา่ ทงั้ ๆ ทเ่ี หน็ ความคดิ แลว้ แตท่ ำ� ไมมนั ไมห่ ยดุ หรือทั้งๆ ท่ีเห็นความโกรธแล้วทำ� ไมมันไม่หายโกรธ ค�ำตอบอาจ เป็นเพราะคนที่ถามนั้นไม่ได้เห็นหรือรู้เฉยๆ ไม่ได้เห็นด้วยใจท ่ี เปน็ กลาง คอื ไมร่ งั เกยี จ ไมผ่ ลกั ไส ไมค่ ดิ ทจี่ ะท�ำอะไรกบั ความคดิ หรอื อารมณเ์ หลา่ นนั้ แคด่ เู ฉยๆ แตส่ ว่ นใหญไ่ มไ่ ดด้ หู รอื รเู้ ฉยๆ ใจ จะแฝงความไม่พอใจ ความไม่ชอบอารมณ์เหล่านั้น อยากผลักไส มนั เชน่ ตอนทเี่ หน็ ความโกรธ กม็ คี วามรสู้ กึ ลกึ ๆ วา่ ไมช่ อบความ โกรธ อยากให้ความโกรธนั้นดับไป พอเห็นความฟุ้งซ่านก็มีความ 53 พระไพศาล วิสาโล
อยากให้ความฟุ้งซ่านนั้นดับไป พอมีความรู้สึกแบบน้ัน ใจก็จะ กดข่มอารมณ์เหลา่ นน้ั โดยไมร่ ตู้ วั ท�ำให้มนั ยงิ่ อาละวาดมากข้นึ เปรียบเหมือนกับมีกองไฟกองหนึ่ง เราอยากจะดับไฟ ถ้า เอานำ้� ทเี่ จอื ดว้ ยนำ�้ มนั ไปดบั หรอื สาดใสม่ นั มนั จะดบั ไหม มนั กลบั ลกุ โพลงขน้ึ มาแรงขนึ้ แตถ่ า้ เราเอาน้�ำบรสิ ทุ ธสิ์ าดใสก่ องไฟ ถา้ น�้ำ มีปริมาณมากพอ ก็สามารถดับกองไฟกองน้ันได้ สติท่ีเราใช้ด ู หรือรู้ทันอารมณ์นั้น ต้องเป็นสติที่บริสุทธิ์ คือแค่รู้เฉยๆ ใจต้อง เป็นกลางต่อสิ่งท่ีเห็น ไม่มีความรู้สึกลบ ปฏิเสธ หรืออยากจะ ผลักไสมัน น่ีความหมายของค�ำว่ารู้ซ่ือๆ รู้เฉยๆ คืออะไรท่ีดีก ็ ไมไ่ ขวค่ วา้ อะไรทไี่ มด่ กี ไ็ มผ่ ลกั ไส เวลาเราเจรญิ สต ิ กใ็ หร้ เู้ ทา่ ทนั ทา่ ทขี องจติ ดว้ ย ไมเ่ พยี งแตร่ วู้ า่ มอี ารมณห์ รอื มคี วามคดิ เกดิ ขนึ้ ในใจเท่านั้น แต่สามารถท่ีจะมองเห็นใจของตนว่าเป็นกลาง ต่อธรรมารมณ์ที่เกิดขึ้นน้ันไหม ธรรมารมณ์ก็คือความคิดและ อารมณ์ท่ีเกิดข้ึนในใจ นักปฏิบัติส่วนใหญ่พอปฏิบัติถึงจุดหนึ่งก็ รู้ทันความคิด แต่ไม่เห็นความรู้สึกท่ีอยากจะผลักไสความคิดนั้น เราตอ้ งมองใหเ้ ห็นความรูส้ ึกดงั กล่าวดว้ ย นักปฏิบัติหลายคนพอเห็นความหงุดหงิดเกิดขึ้นก็ไม่พอใจ พอมีความโกรธเกิดข้ึนก็ไม่พอใจ นึกสงสัยว่าเราปฏิบัติมาต้ังนาน ท�ำไมยังมีความโกรธอยู่ คนที่คิดแบบน้ีในใจส่วนลึกก็พยายาม 54 ธรรมกลางป่า สุ ข ก ลา ง ใ จ
กดข่มความโกรธเอาไว้ มีความรู้สึกต่อต้านความโกรธ หรือจะ เรยี กวา่ เปน็ โกรธซ้อนโกรธกไ็ ด้ เห็นโกรธตวั แรกก็จรงิ แตไ่ มเ่ หน็ โกรธตัวที่สอง แต่ถ้าเราหม่ันดูใจของเราบ่อยๆ เวลามีความโกรธ เกิดข้ึนแล้วใจรู้สึกต่อต้านความโกรธน้ัน เราก็จะรู้ทันอาการ เหล่านน้ั ให้หมัน่ รทู้ ันความโกรธท้งั สองตวั มนั มโี กรธซอ้ นโกรธ มคี ดิ ซอ้ นคดิ เชน่ เวลามคี วามคดิ เกดิ ขนึ้ แทนทจี่ ะเหน็ เฉยๆ กก็ ลบั มคี วามคดิ ซอ้ นขนึ้ มาวา่ ทำ� ไมถงึ คดิ อนั น ี้ เรยี กวา่ คดิ ซอ้ นคดิ หลายคนเหน็ คดิ ตวั แรกแตไ่ มเ่ หน็ คดิ ตวั ทส่ี อง ตวั ทส่ี องมนั ละเอยี ดกวา่ หรอื สามารถหลอกเราไดง้ า่ ยกวา่ เรา ตอ้ งสาวไปใหเ้ หน็ ตวั คดิ ตวั ทสี่ อง หรอื วา่ โกรธตวั ทสี่ องทซี่ อ้ นเขา้ มา อยา่ งนถี้ ึงจะทำ� ให้การเหน็ ด้วยสตทิ ่ัวถงึ อย่างแทจ้ รงิ ปัญหาที่แท้จริงของคนเราและนักปฏิบัติ ไม่ได้อยู่ท่ีว่าม ี อารมณใ์ ดเกดิ ขน้ึ หรอื มอี ะไรมากระทบ แตอ่ ยทู่ เี่ รารสู้ กึ อยา่ งไร ต่ออารมณ์หรือสิ่งที่มากระทบ เช่น เวลามีเสียงดังเกิดข้ึน เสียง ไม่ใช่ปัญหาสิ่งท่ีเป็นปัญหาก็คือใจที่ไม่ชอบเสียงน้ัน คนท่ีทุกข์ใจ หรอื รสู้ กึ หงดุ หงดิ เวลาเสยี งดงั จรงิ ๆ แลว้ ตวั การไมไ่ ดอ้ ยทู่ เ่ี สยี งดงั แตอ่ ยทู่ คี่ วามรสู้ กึ ตอ่ ต้านไมช่ อบใจเสยี งนนั้ ต่างหาก เหมอื นกบั ท่ีพูดตั้งแต่วันแรกแล้วว่า ความหนาวไม่เป็นปัญหามากเท่ากับใจ 55 พระไพศาล วิสาโล
ทรี่ สู้ กึ ตอ่ ตา้ นความหนาว ปจั จยั ภายนอกไมส่ ำ� คญั และกอ่ ปญั หา มากเท่ากบั ใจท่ีต่อตา้ นผลกั ไส เรอื่ งนก้ี ท็ ำ� นองเดยี วกบั ลงิ ทม่ี อื ถกู กะป ิ ลงิ มนั เกลยี ดกะปมิ าก พอมือถูกกะปิ มันก็จะเอามือถูตามต้นไม้ ถูกับหิน ถูกับเปลือกไม ้ เพื่อให้กลิ่นกะปิหายไป แต่กล่ินกะปิมันแรง ถูอย่างไรกล่ินก็ยังอยู ่ ตราบใดที่มันยังได้กล่ิน มันก็ไม่เลิกถู มันถู ถูจนกระทั่งน้ิวและ มอื เปน็ แผล เลอื ดไหลซบิ ๆ บางทเี ปน็ แผลใหญ ่ แมเ้ จบ็ กย็ งั ไมห่ ยดุ ถู ค�ำถามก็คือ อะไรท�ำให้ลิงเลือดไหล อะไรท�ำให้ลิงเป็นแผล หลายคนตอบว่ากะปิ ท่ีจริงไม่ใช่กะปิ กะปิไม่ท�ำให้เลือดไหล แต ่ ความเกลียดกะปิต่างหากท�ำให้ลิงเลือดไหล เพราะพอมันเกลียด ก็พยายามถูๆ เพ่ือก�ำจัดกลิ่นกะปิ กะปิไม่เป็นปัญหามากเท่ากับ ความรู้สึกเกลยี ดกะปิ น่ีไม่ใช่ปัญหาของลิงเท่าน้ัน เป็นปัญหาของคนด้วย เพราะ เวลามอี ะไรมากระทบไมว่ า่ จะเปน็ ความหนาว ความรอ้ น หรอื เสยี ง แลว้ เราเกดิ ทกุ ขข์ นึ้ มา ทแี รกกเ็ กดิ ทกุ ขเวทนาทางกาย แตส่ ว่ นใหญ ่ มกั จะมที กุ ขเวทนาทางใจตามมาดว้ ย ทกุ ขเวทนาทางใจเกดิ จากใจ ทต่ี อ่ ตา้ นผลกั ไสนนั่ เอง ความรสู้ กึ ตอ่ ตา้ นผลกั ไสบางครง้ั อนั ตราย กวา่ ส่ิงที่มากระทบด้วยซ้ำ� สิ่งท่ีมากระทบนั้นก่อปัญหาน้อยกว่า 56 ธรรมกลางป่า สุ ข ก ลา ง ใ จ
ความรู้สึกต่อต้านผลักไส เด็กสาวหลายคนทุกข์มากกับการมีสิว สวิ ไมไ่ ดท้ ำ� ใหเ้ กดิ ความทกุ ขอ์ ะไรมาก ไมไ่ ดท้ �ำใหเ้ จบ็ ปว่ ย เพยี งแต่ มันท�ำให้ดูไม่สวยอย่างที่คาดหวังเท่านั้นเอง มันไม่ได้ทำ� ร้ายใคร เลย แต่พอรู้สึกเกลียดสิว ก็ท�ำให้ทุกข์ถึงกับกินไม่ได้นอนไม่หลับ บางคนกลุ้มใจมากถึงกับฆ่าตัวตายเพราะสิว ท่ีจริงจะบอกว่าฆ่า ตัวตายเพราะสิวก็ไม่ถูก ท่ีถูกคือฆ่าตัวตายเพราะความรังเกียจสิว ตา่ งหาก สวิ ไมท่ ำ� ใหฆ้ า่ ตวั ตาย แตค่ วามรงั เกยี จสวิ ท�ำใหฆ้ า่ ตวั ตาย ได ้ ดว้ ยเหตนุ เี้ องจงึ อยากพดู วา่ สงิ่ ทเี่ รารงั เกยี จนน้ั ไมน่ า่ กลวั หรอื ไม่อนั ตรายเทา่ กับความรูส้ ึกรังเกียจตอ่ สิ่งน้นั ในอเมรกิ ามผี หู้ ญงิ หลายคนคดิ วา่ ตวั เองอว้ น และมคี วามทกุ ข ์ กับความอ้วนมาก จึงพยายามลดความอ้วน ด้วยการกินยาลด ความอ้วน และท�ำอะไรต่ออะไรอีกมากมาย แต่น้�ำหนักก็ไม่ลด คนเหล่าน้ีเป็นทุกข์กับมัน ไม่ได้ทุกข์กายแต่ทุกข์ใจ หลายคนทำ� อยา่ งไรรไู้ หม กนิ พยาธติ วั ตดื เพราะเหน็ วา่ คนทม่ี พี ยาธริ า่ งกายจะ ผ่ายผอม เขาอยากผอมอย่างนั้นบ้างก็เลยกินพยาธิ พยาธิตัวตืด อาจท�ำให้ถึงตายได้ ถ้ามันเพ่ิมปริมาณมากๆ คนท่ีท�ำแบบน้ี คิด แบบนี้มีเยอะ ในฮ่องกงมีเป็นร้อย ในอเมริกาก็มีไม่น้อย เขาไป หาซ้ือพยาธิจากทางอินเทอร์เน็ต พยาธิเหล่านี้จะถูกบรรจุอยู่ใน แคปซูล จึงกินง่าย ราคาคงแพง ถามว่ากินแล้วผอมมั้ย ก็ผอม 57 พระไพศาล วิสาโล
อยา่ งทตี่ อ้ งการ แตอ่ นั ตรายมาก ค�ำถามกค็ อื เขาใชอ้ ะไรคดิ เขา ท�ำอย่างน้ันได้อย่างไร ท�ำอย่างนั้นได้ก็เพราะรู้สึกรังเกียจความ อ้วนอย่างรุนแรง ถึงกับท�ำในส่ิงท่ีเป็นอันตรายต่อร่างกายตัวเอง ความอ้วนไมใ่ ชป่ ัญหามากเท่ากบั ความรงั เกียจความอว้ น ลองโยงไปถงึ ความเจบ็ ไขไ้ ดป้ ว่ ย เชน่ มะเรง็ จรงิ ๆ แลว้ มะเรง็ ไมไ่ ดอ้ นั ตรายมากเทา่ กบั ความรสู้ กึ เกลยี ดกลวั มะเรง็ บางคนเพยี ง แคร่ วู้ า่ เปน็ มะเรง็ ระยะตน้ เทา่ นนั้ ถงึ กบั กนิ ไมไ่ ดน้ อนไมห่ ลบั ซมึ เซา ไมม่ ชี วี ติ ชวี า หมดอาลยั ตายอยาก ทง้ั ทมี่ นั ไมไ่ ดท้ �ำใหร้ า่ งกายเจบ็ ป่วยขนาดนั้น แต่เป็นเพราะใจที่กลัว ใจท่ีต่อต้านผลักไสมะเร็ง กเ็ ลยท�ำใหอ้ ยู่เหมอื นตาย ท้ังหมดน้ีก็เพ่ือจะชี้ให้เห็นว่า เวลามีผัสสะเกิดข้ึน มีอะไรมา กระทบหรือมีความคิดหรืออารมณ์ใดๆ เกิดข้ึนที่ใจ ส่ิงนั้นไม่ใช่ ปญั หามากเทา่ กบั ความรสู้ กึ ตอ่ ตา้ นผลกั ไส สงิ่ ทคี่ วรทำ� กค็ อื พอม ี ความฟุ้งซ่านเกิดข้ึน เราก็ดูมันเฉยๆ ดูมันด้วยใจท่ีเป็นกลาง ท�ำให้ไม่ทุกข์ แต่ถ้าเกิดไม่ชอบ อยากจะผลักไส อยากจะกดข่ม ก็จะปฏิบัติด้วยความทุกข์ด้วยความเครียด สุดท้ายก็ท้อและเลิก ปฏบิ ตั ิ 58 ธรรมกลางป่า สุ ข ก ลา ง ใ จ
คำ� วา่ รเู้ ฉยๆ จงึ สำ� คญั มากทง้ั ในแงข่ องการทำ� ใหใ้ จสงบ และ ท�ำให้เกิดปัญญา เพราะเม่ือรู้เฉยๆ ดูโดยปราศจากอคติ ไม่ว่า ฉนั ทาคต ิ โทสาคต ิ โมหาคต ิ หรอื ภยาคต ิ เมอื่ ดโู ดยปราศจากอคต ิ ก็จะเห็นความจริง วิปัสสนาเกิดขึ้นได้จากการเห็นความจริง หรอื การเหน็ ตามความเปน็ จรงิ จะเหน็ ตามทเ่ี ปน็ จรงิ ไดก้ ต็ อ้ งไมม่ ี อคต ิ แตถ่ ้ามีอคติ มีความรู้สึกบวกหรือลบ ชอบหรือชังก็แล้วแต่ ก็จะท�ำให้เหน็ ไมต่ รงตามความเปน็ จรงิ การเกดิ ความสวา่ งอนั เปน็ จดุ มงุ่ หมายของวิปัสสนากไ็ มเ่ กิดข้ึน ฉะนนั้ การรเู้ ฉยๆ รซู้ อ่ื ๆ นน้ั สำ� คญั ทงั้ ในแงข่ องการทำ� ใหเ้ กดิ ความสงบ และเกดิ ความสวา่ ง เปน็ วธิ กี ารสำ� คญั สำ� หรบั ทงั้ สมถะ และวิปัสสนา แต่เป็นสมถะท่ีไม่ได้เกิดจากการตัดการรับรู้ เช่น ไปอยู่ในห้องพระ อยู่ในห้องแอร์ หรืออยู่ในท่ีเงียบๆ แต่เป็น ความสงบทเ่ี กดิ ขน้ึ ทา่ มกลางผสั สะทมี่ ากระทบ หรอื เปน็ ความสงบ เพราะร ู้ คอื รทู้ นั รแู้ ลว้ วาง ไมใ่ ชเ่ พราะไมร่ ู้ หรอื ไมร่ บั รสู้ งิ่ ใดๆ สตเิ ปน็ พนื้ ฐาน เปน็ เครอ่ื งมอื ส�ำคญั ทท่ี ำ� ใหใ้ จสงบ และทำ� ให ้ จิตสว่างหรือเกิดปัญญา ด้วยเหตุนี้เราจึงควรหมั่นเจริญสติ โดย ฝึกทักษะในการรู้เฉยๆ รู้ซ่ือๆ รู้โดยท่ีไม่มีความรู้สึกชอบหรือชัง หรอื ไมใ่ หค้ า่ กบั มนั ไมใ่ หค้ า่ ในทน่ี ี้ หมายถงึ ไมใ่ หค้ า่ ทงั้ บวกและลบ 59 พระไพศาล วิสาโล
เพราะถ้าให้ค่าเป็นบวก ก็ทำ� ให้เกิดฉันทาคติได้ แต่ก็ยังดีกว่าการ ใหค้ า่ เปน็ ลบ เพราะถา้ เราใหค้ า่ เปน็ ลบ กเ็ กดิ โทสาคต ิ หรอื ภยาคติ เกิดความเกลยี ดหรอื กลัวขน้ึ มา จติ ใจกจ็ ะเร่ารอ้ น อาตมาไปพุทธคยาเมอื่ สองสามเดือนกอ่ น ระยะหลงั มีคนไป พุทธคยากันมากจนพลุกพล่าน เสียงดังอึกทึก เพราะคนที่ไปก็มัก จะไปสวดมนต์ บางคณะไม่ได้สวดปากเปล่าแต่ใช้ไมโครโฟนด้วย โดยเฉพาะกลมุ่ คนไทยเวลาเดนิ ประทกั ษณิ กจ็ ะสวดอติ ปิ โิ ส มเี ครอื่ ง ขยายเสยี งพรอ้ ม เสยี งดงั มาก พระทเิ บตกไ็ มเ่ บา สวดเสยี งดงั แต่ ปรากฏว่าท้ังที่เสียงดัง คนพลุกพล่าน กลับมีหลายคนน่ังภาวนา อยา่ งสงบรอบตน้ พระศรมี หาโพธ ์ิ รอบเจดยี พ์ ทุ ธคยา ทจี่ รงิ ถา้ พดู 60 ธรรมกลางป่า สุ ข ก ลา ง ใ จ
ถงึ ความดงั ทนี่ นั่ กด็ งั ไมน่ อ้ ยกวา่ ตลาดหรอื รมิ ถนน ถา้ วดั ความดงั เป็นเดซิเบลแล้วคงพอๆ กัน ถ้าใครไปนั่งสมาธิอยู่กลางตลาด จิตใจคงจะรุ่มร้อนหงุดหงิด แต่ท�ำไมคนท่ีน่ังสมาธิในพุทธคยา ถงึ ไดน้ งิ่ สงบ ไมใ่ ชเ่ พราะเขาไมไ่ ดย้ นิ เสยี งอกึ ทกึ แตเ่ ปน็ เพราะ เขาไม่มคี วามรู้สึกลบต่อเสียงเหล่านตี้ า่ งหาก คนทนี่ งั่ ภาวนาอยรู่ อบเจดยี พ์ ทุ ธคยายอ่ มรสู้ กึ วา่ เสยี งเหลา่ นนั้ เปน็ เสยี งของศรทั ธา เปน็ เสยี งสวดมนต ์ จงึ ใหค้ า่ ในทางบวก แตถ่ า้ เป็นเสียงรถมอเตอไซต ์ เสียงรถยนต์ เสียงจอ๊ กแจ๊กจอแจในตลาด ก็มักให้ค่าในทางลบ ท�ำให้ไม่ชอบ พอไม่ชอบแล้ว แม้เสียงจะดัง นอ้ ยกว่าทพ่ี ุทธคยากค็ งจะหงดุ หงิดไม่น้อย ความรู้สึกต่อส่ิงที่มากระทบน้ันส�ำคัญมากกว่าส่ิงที่มา กระทบ ไมว่ า่ จะกระทบทางตา ห ู จมกู ลน้ิ กาย หรอื ใจ การรเู้ ฉยๆ คือทั้งไม่ชอบและไม่ชัง ไม่ให้ค่าท้ังในทางลบหรือบวก แค่ดู หรอื รเู้ ฉยๆ ตามทเี่ ปน็ จรงิ นเี้ ปน็ ทกั ษะทส่ี ำ� คญั ของการเจรญิ สติ การท�ำสมาธิภาวนา และสามารถจะน�ำใช้ในการด�ำเนินชีวิต ให้ปกติให้ผาสุกได้ แม้จะเจออะไรต่ออะไรมากมายมากระทบ ก็ตาม 61 พระไพศาล วิสาโล
รูท้ กุ ข์ พน้ ทกุ ข์ ตอนท�ำวัตรเราได้สาธยายข้อความตอนหนึ่งว่า “เราทั้งหลาย เปน็ ผทู้ ถ่ี กู ความทกุ ขห์ ยง่ั เอาแลว้ เปน็ ผทู้ ม่ี คี วามทกุ ขเ์ ปน็ เบอ้ื งหนา้ แลว้ ” เพยี งเทา่ นกี้ ค็ งเหน็ วา่ พทุ ธศาสนาไมไ่ ดม้ องชวี ติ หรอื มองโลก ในแง่ดีเท่าไร คือไม่ว่าเราจะมีความปกติสุข มีสุขภาพดี มีความ เจรญิ กา้ วหนา้ ในการงานเพยี งใด แตเ่ บอ้ื งหนา้ เรานน้ั มคี วามทกุ ข ์ รออยแู่ ลว้ และทจี่ รงิ มนั กอ็ ยใู่ นตวั เราตลอดเวลา และรอทจี่ ะแสดง ตวั ออกมา 63 พระไพศาล วิสาโล
ความทุกข์ที่อยู่เบ้ืองหน้าเรานั้นได้แก่ ความแก่ ความเจ็บ ความพลัดพรากสูญเสียและท่ีสุดก็คือความตาย อันเป็นส่ิงที่เรา หนีไม่พ้น มีบทพิจารณาอีกบทหน่ึงที่กล่าวว่า “เรามีความแก่เป็น ธรรมดา จะล่วงพ้นความแก่ไปไม่ได้ มีความเจ็บไข้เป็นธรรมดา จะลว่ งพน้ ความเจบ็ ไขไ้ ปไมไ่ ด ้ มคี วามตายเปน็ ธรรมดา จะลว่ งพน้ ความตายไปไม่ได้ เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจ ทงั้ หลาย” ทงั้ หมดนถ้ี า้ ไมเ่ กดิ ขน้ึ ตอนนก้ี ต็ อ้ งเกดิ ขน้ึ ในวนั ขา้ งหนา้ นค่ี อื ความทกุ ขท์ รี่ อเราอย ู่ แตข่ อ้ ความทอ่ นตอ่ มาทส่ี าธยายวา่ “ทำ� ไฉนการท�ำท่ีสุดแห่งกองทุกข์ทั้งส้ินน้ี จะพึงปรากฏชัดแก่เราได้” ตรงนบี้ ง่ ชว้ี า่ แมพ้ ทุ ธศาสนาไมไ่ ดม้ องโลกในแงด่ ี แตก่ ม็ องโลก อยา่ งมคี วามหวงั คอื แมจ้ ะมคี วามทกุ ขร์ ออย ู่ แมจ้ ะถกู ความทกุ ข์ หยั่งเอาแล้ว แตเ่ ราก็ยังมคี วามสามารถทจ่ี ะพน้ ทุกขไ์ ด้ ยามทป่ี ระสบเจอทกุ ขเ์ รากพ็ บสขุ ได ้ ดงั ทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ตรสั วา่ “ผ้มู ปี ัญญา แม้ประสบทกุ ขก์ ็ยงั หาสุขพบ” หาสขุ พบทไี่ หน ก็พบที ่ ใจนน่ั เอง ไมใ่ ชท่ ไ่ี หนเลย ถงึ แมจ้ ะเจบ็ ปว่ ย แกช่ รา หรอื พลดั พราก สญู เสยี กย็ งั พบสขุ ได ้ อยา่ งนเ้ี รยี กวา่ มองชวี ติ อยา่ งมคี วามหวงั นนั่ หมายความวา่ “แมค้ วามเกดิ กเ็ ปน็ ทกุ ข ์ แมค้ วามแกก่ เ็ ปน็ ทกุ ข ์ แม ้ ความตายกเ็ ปน็ ทกุ ข”์ อยา่ งทเี่ ราเพงิ่ สาธยาย แตเ่ กดิ มาแลว้ ไมท่ กุ ข์ ก็ได ้ แกแ่ ล้วไม่ทกุ ขก์ ไ็ ด้ ปว่ ยแลว้ ไมท่ ุกขก์ ไ็ ด้ 64 ธรรมกลางป่า สุ ข ก ลา ง ใ จ
พระพุทธเจ้าหรือพระอรหันต์ทั้งหลาย ล้วนเป็นผู้ที่ถูกความ ทุกข์หย่ังเอาแล้ว แต่ท่านก็สามารถพ้นทุกข์ได้ แม้ท่านจะแก่ชรา เจ็บป่วย แต่ท่านก็เป็นสุขได้ เพราะความแก่ ความเจ็บป่วยน้ัน เป็นเร่ืองของกาย ใจไม่จ�ำเป็นต้องทุกข์ตามก็ได้ ส่วนการ พลดั พรากจากของรกั ของชอบใจกเ็ ปน็ เรอื่ งนอกตวั ไมว่ า่ จะเปน็ ทรัพย์สมบัติ ช่ือเสียง ฐานะ ต�ำแหน่ง ภาพลักษณ์ แม้กระทั่ง คนรกั ความพลดั พรากเหลา่ น ี้ ไมส่ ามารถทำ� ใหใ้ จเปน็ ทกุ ขไ์ ด ้ เรา สามารถยกใจใหอ้ ยเู่ หนอื ความทุกขไ์ ด้ มองในแงน่ แี้ มพ้ ทุ ธศาสนาไมไ่ ดม้ องโลกในแงด่ ี แตก่ ม็ องโลก อยา่ งมคี วามหวงั แมค้ วามทกุ ขร์ ออยขู่ า้ งหนา้ มากมายเพยี งใด เรา ก็สามารถก้าวข้ามไปได้ หรือสามารถยกจิตใจให้อยู่เหนือความ ทุกข์เหล่าน้ันได้ คงเหลือแต่ความทุกข์ทางกาย ความเสื่อมสลาย ทางทรัพย์สมบัติ ช่ือเสียงเกียรติยศ ฐานะต�ำแหน่ง ส่ิงเหล่าน้ีคือ โลกธรรมซงึ่ ตอ้ งเปน็ ไปตามกฎไตรลกั ษณ ์ คอื เกดิ ขน้ึ ตงั้ อย ู่ ดบั ไป เม่ือมีทรัพย์ก็ย่อมมีการเสื่อมทรัพย์ มียศก็ย่อมมีการเส่ือมยศ ม ี สรรเสริญก็ย่อมมีนินทา มีสุขก็ย่อมมีทุกข์ ในความหมายของ ความสุขหรือความทุกข์อย่างโลกๆ ท่ีเกิดจากการเสพ ที่เกิดจาก การมีการได้ เพราะมีแล้วมันก็หมด ดังน้ันสุขท่ีเกิดจากการมีจึง ไม่เที่ยง เพราะส่ิงเหล่าน้ันในที่สุดก็ย่อมเส่ือมสลายไป แต่มนุษย ์ 65 พระไพศาล วิสาโล
เรามีศักยภาพท่ีจะยกจิตให้อยู่เหนือสุขทุกข์แบบนี้ได้ เป็นสุขท ่ี ไมต่ อ้ งพ่ึงพิงการเสพ ไมต่ ้องพงึ่ พงิ เวทนา การทคี่ นเราจะยกจติ ใหอ้ ยเู่ หนอื ทกุ ขน์ นั้ ทำ� ไดอ้ ยา่ งไร อยา่ ง แรกก็คอื ต้องรู้จักทุกขก์ ่อน ถ้าเรารู้จักทุกขอ์ ยา่ งแจม่ แจ้ง หนทาง แห่งการพ้นทุกข์ก็จะปรากฏแก่เรา เพราะเมื่อเรารู้จักทุกข์อย่าง ลึกซ้ึงก็จะพบว่า อะไรคือเหตุแห่งทุกข์ การค้นพบว่าทุกข์มีสาเหตุ จากอะไร ก็เป็นการเฉลยอยู่ในตัวแล้วว่าจะไม่ทุกข์ได้อย่างไร ในความทุกข์ก็มีค�ำตอบของการพ้นทุกข์อยู่ เหมือนสวิตช์ไฟฟ้า สวิตช์ไฟฟ้าท่ีใช้ปิดกับเปิดน้ันเป็นอันเดียวกัน สวิตช์ที่ท�ำให้เกิด ความมืดก็สามารถท�ำให้เกิดความสว่างได้ รูกุญแจที่ใช้ล็อคประตู กเ็ ปน็ รเู ดยี วกบั ทใี่ ชเ้ ปดิ ประต ู เปดิ หรอื ปดิ กอ็ ยทู่ ร่ี เู ดยี วกนั มดื หรอื สวา่ งกม็ าจากสวติ ชเ์ ดยี วกนั ความทกุ ขก์ บั ความไมท่ กุ ขก์ อ็ ยดู่ ว้ ยกนั ทนี เี้ ราจะรจู้ กั ทกุ ขไ์ ดอ้ ยา่ งไร ไมม่ ที างอน่ื ตอ้ งเจอทกุ ขเ์ ทา่ นน้ั เราจะไมม่ ที างรจู้ กั ทกุ ขอ์ ยา่ งแจม่ แจง้ รอบดา้ นถา้ เราไมเ่ จอทกุ ขด์ ว้ ย ตนเอง ถ้าคิดแต่จะหนีทุกข์ก็จะไม่มีทางรู้จักทุกข์ได้เลย ดังนั้นจึง ไมส่ ามารถคน้ พบหนทางแหง่ การพน้ ทกุ ขไ์ ด ้ และทแ่ี ยก่ ค็ อื ไมว่ า่ จะ พยายามหนที กุ ขอ์ ยา่ งไร ในทส่ี ดุ เรากต็ อ้ งเจอทกุ ขว์ นั ยงั ค่�ำ แตพ่ อ เจอแล้วหากไม่รู้จักทุกข์ ไม่รู้ว่าจะออกจากทุกข์ได้อย่างไรก็โดน 66 ธรรมกลางป่า สุ ข ก ลา ง ใ จ
ทุกข์นั้นเล่นงาน เช่นเม่ือป่วยกายก็ตามมาด้วยความโศก ความ ร่ำ� ไรรำ� พัน ความไม่สบายใจ ความคบั แค้นใจทนั ที คนทุกวันนี้พยายามหนีทุกข์ คิดว่าหนีแล้วจะพ้น แต่ไม่ได ้ ตระหนักหรือลืมไปว่าทุกข์น้ันอยู่กับตัวอยู่แล้ว ดังข้อความในบท สวดมนตท์ ว่ี า่ “เราทงั้ หลายเปน็ ผทู้ ถี่ กู ความทกุ ขห์ ยง่ั เอาแลว้ ” มนั ตดิ ตามเราไปตลอดเวลา เพราะมนั หยงั่ ลงในตวั เราแลว้ ทง้ั ในยาม ที่เรามีความสุข มีสุขภาพดี มีความส�ำเร็จ พระพุทธเจ้าตรัสว่า “ความแกม่ อี ยใู่ นความหนมุ่ สาว ความเจบ็ ไขม้ อี ยใู่ นความไมม่ โี รค และความตายก็มีอยู่ในชีวิต” ในขณะที่ยังหนุ่มสาวเรามีความแก ่ อยใู่ นตวั แลว้ ในรา่ งกายทม่ี สี ขุ ภาพดกี ม็ คี วามเจบ็ ปว่ ยอยแู่ ลว้ และ ในขณะที่มีชีวิตอยู่ ความตายก็เกิดขึ้นอยู่แล้วทุกวินาทีเพียงแต่ยัง ไมป่ รากฏอาการให้เห็นชดั หรอื แสดงตวั ออกมาอยา่ งเตม็ ทเ่ี ท่านัน้ ในทกุ ขณะรา่ งกายของเรามคี วามแกเ่ กดิ ขนึ้ ตลอดเวลา ทจ่ี รงิ แมก้ ระทง่ั เดก็ แรกเกดิ กถ็ อื วา่ แกเ่ มอื่ เทยี บกบั เดก็ ทอ่ี ยใู่ นทอ้ ง ความ เจ็บป่วยก็เกิดข้ึนกับร่างกายท่ีมีสุขภาพดี เพียงแต่ยังไม่แสดงตัว หรอื ไมม่ อี าการปรากฏใหเ้ หน็ ขณะทเ่ี ราเดนิ เหนิ อยา่ งแคลว่ คลอ่ ง รสู้ กึ วา่ สขุ ภาพดนี นั้ โรคภยั บางอยา่ งอาจจะกำ� ลงั กอ่ ตวั อยแู่ ลว้ กไ็ ด ้ เชน่ โรคหวั ใจ โรคมะเรง็ โรคเบาหวาน โรคเหลา่ นเี้ ปน็ เพยี งตวั อยา่ ง 67 พระไพศาล วิสาโล
อนั นอ้ ยนดิ ทอ่ี าจกำ� ลงั เกดิ ขนึ้ หรอื เกดิ ขน้ึ แลว้ แตย่ งั ไมแ่ สดงอาการ ให้รับรู้ว่าเจ็บป่วย บางคนเป็นมะเร็งแต่ยังไม่รู้ว่าเป็นมะเร็ง ก็ยัง ท�ำงานได้ตามปกติ กว่าจะรู้ว่าเป็นมะเร็งก็เข้าสู่ระยะที่สอง ระยะ ท่ีสามแล้ว อันน้ีเรียกว่าความเจ็บป่วยมีอยู่ในความไม่ป่วย ความ ตายก็เช่นเดียวกัน ทุกขณะที่เรามีชีวิตอยู่มันก็มีความตายเกิดขึ้น ตลอดเวลา มีเซลล์ต่างๆ ในร่างกายของเราตายวันละห้าหม่ืนถึง แสนล้านเซลล์ มีทั้งตายเพราะแก่ และตายเพราะผิดปกติ นี้คือ สิ่งท่ีเกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ความตายเกิดขึ้นกับเราทุกลมหายใจ เพียงแต่มันยังไม่ลุกลามมากพอจนถึงขั้นท�ำให้เราหมดลม หัวใจ หยุดเตน้ หรอื สมองหยุดทำ� งาน แตว่ นั น้นั ก็ตอ้ งมาถงึ ในทส่ี ดุ แมว้ ่าคนเราจะตอ้ งแก่ เจ็บ และตาย แตเ่ รากส็ ามารถรกั ษา ใจไม่ให้เป็นทุกข์ได้ แก่ก็เป็นสุขได้คือสุขใจ ป่วยก็ยังสุขได้ มีใจ เป็นปกติได้ เวลาตายก็เหมือนกัน ถ้าเราศึกษาพุทธศาสนาอย่าง รอบดา้ นกจ็ ะมคี วามหวงั วา่ เราสามารถพน้ ทกุ ขไ์ ด ้ หรอื เราสามารถ เผชญิ กบั ทกุ ขไ์ ด ้ โดยทใี่ จไมท่ กุ ขต์ ามไปดว้ ย การพน้ ทกุ ขเ์ กดิ ขนึ้ ได ้ จากการทเี่ รารจู้ กั ทกุ ข ์ เรารจู้ กั ทกุ ขไ์ ดก้ เ็ พราะวา่ เราเจอทกุ ข ์ ถา้ ไมเ่ จอทกุ ขก์ ไ็ มม่ ที างรจู้ กั ทกุ ข ์ แตเ่ จอทกุ ขก์ ต็ อ้ งเจอใหเ้ ปน็ เพราะ ถ้าเจอไม่เป็นมันก็เป็นทุกข์ พระพุทธเจา้ สอนว่าเมื่อเจอทุกข์ก็ให้ เหน็ ทกุ ข ์ ถา้ ไมเ่ หน็ ทกุ ข ์ แตก่ ลบั ไปเปน็ ทกุ ข ์ อนั นเ้ี รยี กวา่ พลาดทา่ 68 ธรรมกลางป่า สุ ข ก ลา ง ใ จ
คนสว่ นใหญเ่ วลาเจอทุกขก์ เ็ ป็นทกุ ขท์ นั ที ไมไ่ ด้เหน็ ทุกข์ ทุกข์คือส่ิงท่ีต้องก�ำหนดรู้ เป็นกิจในอริยสัจ ๔ ชาวพุทธ จ�ำนวนมากเข้าใจอริยสัจ ๔ เพียงระดับเดียว คือเข้าใจว่า ทุกข ์ สมุทัย นิโรธ มรรคคืออะไร แต่ไม่รู้ว่าพระพุทธเจ้าสอนมากกว่า นั้นว่า กิจท่ีพึงท�ำกับอริยสัจ ๔ คืออะไร กิจในอริยสัจ ๔ เป็นส่ิง ที่ส�ำคัญมาก แค่รู้ว่า ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรคคืออะไร เท่าน้ียัง ไมพ่ อ ตอ้ งรู้วา่ จะเกย่ี วข้องกับความจริงแตล่ ะข้ออยา่ งไรด้วย กิจในอริยสัจ ๔ นั้น ข้อแรกคือ ทุกข์เป็นสิ่งที่ต้องรู้หรือ ก�ำหนดรู้ ค�ำว่าก�ำหนดรู้หมายถึงการรู้ให้ท่ัวถึง ท่านใช้ค�ำว่า “ปริญญา” จะรู้ได้ก็ต้องเห็นก่อน คือเห็นว่ามันเกิดข้ึน นี้คือ ความหมายเบอ้ื งตน้ ของค�ำวา่ รทู้ กุ ข ์ เมอ่ื มคี วามโกรธกร็ วู้ า่ โกรธ ม ี ความเครียดก็รู้ว่าเครียด มีความเศร้าก็รู้ว่าเศร้า คนจ�ำนวนมาก เวลาโกรธ เวลาเครียดจะไม่รู้ตัว บางคนถูกเพื่อนทักว่าเธอก�ำลัง เครียดนะ กำ� ลังโกรธนะ ก็ไม่พอใจ เถียงกลับว่าฉันไม่เครียด ฉัน ไมโ่ กรธ เหมอื นคนเมาทไ่ี มร่ ตู้ วั วา่ เมา แตก่ ย็ งั เถยี งวา่ ฉนั ไมไ่ ดเ้ มา อนั นีเ้ ป็นเพราะความหลง เพราะความไมร่ ตู้ วั เวลาเกดิ ความทุกข์ คนจ�ำนวนมากไม่รู้ว่าทุกข์เกิดข้ึนแล้ว ความโกรธ ความเครียด เกิดขน้ึ แล้ว 69 พระไพศาล วิสาโล
มีนักศึกษาคนหนึ่งโต้เถียงกับอาจารย์เกี่ยวกับเรื่องการฝึก งาน ซึ่งเป็นกิจกรรมท่ีต้องท�ำในปีสุดท้ายของนักศึกษา ตัวเอง อยากไปฝกึ งานกบั องคก์ รชาวบา้ นในภาคอสี าน สว่ นอาจารยอ์ ยาก ให้ไปฝกึ งานกบั หนว่ ยราชการ สดุ ทา้ ยกไ็ ดข้ ้อสรุปวา่ ไปฝกึ งานกบั หน่วยงานท่ีช่วยเหลือชาวเขาในเชียงใหม่ แต่พอไปถึงเชียงใหม ่ กลับพบว่าอาจารย์ใหน้ ักศึกษาไปฝกึ งานกบั กรมประชาสงเคราะห์ ซึ่งผิดข้อตกลง นักศึกษาจึงโกรธมาก ครุ่นคิดถึงแต่เร่ืองนี้ทั้งคืน วันรุ่งขึ้นอาจารย์อีกคนหนึ่งมาเย่ียม นักศึกษาจึงต่อว่าอาจารย์ อาจารย์พยายามอธิบาย นักศึกษาก็ไม่ฟัง ยังต่อว่าไม่หยุด มี ชว่ งหนงึ่ อาจารยพ์ ดู กบั นกั ศกึ ษาวา่ “ตอนนคี้ ว้ิ เธอผกู เปน็ โบวเ์ ลย” ได้ยนิ เชน่ น้นี ักศกึ ษาก็ได้สติ รตู้ วั ว่ากำ� ลังโกรธจนหน้านวิ่ ค้ิวขมวด พอรตู้ วั วา่ โกรธ ความโกรธกห็ ายไปเลย แตก่ อ่ นหนา้ นนั้ ไมร่ ตู้ วั เลย วา่ กำ� ลังโกรธ ถ้ามีทุกข์แล้วไม่รู้ว่าทุกข์เกิดข้ึน ก็จะยิ่งจมอยู่ในความทุกข์ โดยไม่รู้ตัว อย่างน้ีเรียกว่าอัตตกิลมถานุโยค หรือการทรมานตน แบบหนึ่ง เพราะเป็นการซ�้ำเติมตนเอง แถมยังพอใจท่ีจะอยู่กับ ความทุกข์ ไม่ยอมออกมา เวลาโกรธหรือเศร้าก็อยากจมอยู่ใน ความเศร้า ใครมาแนะน�ำให้ให้อภัยก็ไม่พอใจเขา ใครมาชวนไป เทยี่ วจะไดห้ ายเศรา้ กไ็ มพ่ อใจเขา แตพ่ อมสี ตเิ หน็ ทกุ ข ์ รทู้ กุ ข ์ จติ 70 ธรรมกลางป่า สุ ข ก ลา ง ใ จ
กห็ ลดุ จากความทกุ ขท์ นั ท ี นคี่ อื ความหมายเบอ้ื งตน้ ของค�ำวา่ รทู้ กุ ข์ รทู้ กุ ขป์ ระการตอ่ มากค็ อื รวู้ า่ ทกุ ขเ์ กดิ ขนึ้ กบั กายใจ ไมใ่ ชเ่ รา ทกุ ข์แตเ่ ป็นกายทกุ ข์หรือใจทุกข์ คนส่วนใหญ่เวลาโกรธ ก็คิดวา่ ฉันโกรธๆ เวลาเจ็บก็คิดว่าฉันเจ็บๆ เวลาปวดก็คิดว่าฉันปวดๆ คดิ วา่ มตี วั ฉนั เปน็ ผทู้ กุ ข ์ อนั นยี้ งั ไมเ่ รยี กวา่ รทู้ กุ ขอ์ ยา่ งแทจ้ รงิ ถา้ ร้ ู ทุกข์แท้จริงก็จะเห็นว่าท่ีก�ำลังทุกข์อยู่นี้คือกายทุกข์ไม่ใช่ฉันทุกข ์ ที่ก�ำลังโกรธอยู่น้ีคือใจโกรธ ไม่ใช่ฉันโกรธ มันไม่มีตัวเราเป็น ผู้โกรธ แต่เพราะความไม่รู้จึงปรุงตัวเราข้ึนมาเป็นผู้โกรธ เป็น ผปู้ วด อนั นถี้ า้ ไมม่ สี ตกิ ไ็ มเ่ หน็ ถา้ มสี ตกิ เ็ หน็ วา่ ทปี่ วดคอื กายปวด ไมใ่ ช่ฉันปวด ทีโ่ กรธคือใจโกรธ ไม่ใช่ฉันโกรธ การเจริญสติท�ำให้เห็นว่า ไม่มีเราเป็นผู้ทุกข์ ขณะเดิน จงกรม ถ้าไม่มีสติก็จะส�ำคัญมั่นหมายว่าฉันเดิน แต่พอมีสติก็จะ เห็นว่าที่เดินนั้นคือรูป ไม่มีตัวเราเป็นผู้เดิน ท่ีคิดนั้นคือใจ ไม่ใช ่ ฉันคิด ความยึดมั่นว่าเป็นเราเป็นของเราจะเจือจางหรือละลาย หายไป เพราะเหน็ วา่ มแี ตร่ ปู กบั นาม มแี ตก่ ายกบั ใจเทา่ นนั้ ทท่ี �ำกจิ ตา่ งๆ ไมม่ ตี วั เราเปน็ ผกู้ ระทำ� มแี ตร่ ปู เดนิ ไมม่ ฉี นั เปน็ ผเู้ ดนิ ขณะ เดียวกันเวลาทุกข์ก็เห็นว่ากายทุกข์หรือใจทุกข์ เวลาใจเครียด ใจ โกรธกเ็ หน็ วา่ ไมใ่ ชเ่ ราเครยี ด เราโกรธ เรยี กวา่ เหน็ ทกุ ขต์ ามความ เปน็ จริง 71 พระไพศาล วิสาโล
ความคดิ หรอื ความสำ� คญั มนั่ หมายวา่ ฉนั ทกุ ข ์ ยงั ไมใ่ ชก่ าร เหน็ ทกุ ขต์ ามความเปน็ จรงิ ตอ้ งเหน็ ไปถงึ ขนั้ วา่ กายทกุ ขห์ รอื ใจ ทุกข์ เมื่อเห็นไปอีกข้ันก็พบว่าความทุกข์มันเกิดขึ้นกับกาย อาศัย กายเป็นที่เกิด ความทุกข์เกิดขึ้นกับใจ อาศัยใจเป็นท่ีเกิด เช่น เวลาเจ็บปวด ก็เห็นว่าความปวดมันเกิดข้ึนกับกาย ทุกขเวทนา อาศัยกายเป็นที่เกิด ส่วนกายน้ันไม่รู้ร้อนรู้หนาวอะไรด้วย ใน ท�ำนองเดียวกันเวลาเกิดความเครียด ความโกรธ ก็เห็นว่ามัน เกิดขึ้นที่ใจ อาศัยใจเป็นท่ีเกิด แต่มันไม่ใช่อันเดียวกับใจ เราเร่ิม จะเห็นละเอียดข้ึนว่า ความเครียดหรือความโกรธก็อันหน่ึง ใจก ็ อันหนึ่ง หรือเมื่อมีความปวดก็เห็นว่า ความปวดก็อันหนึ่ง กาย ก็อันหนึ่ง ใจก็อันหนึ่ง กายปวด ใจไม่ปวดก็ได้ เร่ิมเห็นขันธ์แยก ออกมาทีละส่วนๆ แต่ก่อนเห็นรวมๆ จนหลงไปว่าฉันปวด ฉัน เครียด แต่พอรู้ทุกข์ได้ละเอียดขึ้น ก็จะเห็นว่า ทุกขเวทนาหรือ ความปวดก็อันหน่ึง กายก็อันหนึ่ง แต่มันไปเกิดกับกาย ความ โกรธ ความเครยี ดก็อนั หนึง่ ใจกอ็ ันหนง่ึ แตม่ ันไปเกดิ กบั ใจ จะเห็นอย่างน้ีได้ต้องอาศัยสติ สติจะท�ำให้เห็นละเอียดข้ึน แยกออกมาเป็นส่วนๆ กายก็อันหน่ึง จิตก็อันหน่ึง อารมณ์ก ็ อนั หนง่ึ เวทนากอ็ นั หนงึ่ พอเหน็ วา่ ความโกรธกอ็ นั หนง่ึ ใจกอ็ นั หนงึ่ คราวน้ีใจก็ไม่ทุกข์แล้ว เวลาเราเห็นความโกรธ เราจะรู้สึกเลยว่า 72 ธรรมกลางป่า สุ ข ก ลา ง ใ จ
เบาและเยน็ ขนึ้ มาทนั ท ี คอื เหน็ ความโกรธเกดิ ขนึ้ แตใ่ จไมท่ กุ ขต์ าม ไปด้วย แต่ถ้าไม่เห็นก็เหมือนกับใจน้ีอยู่ท่ามกลางกองเพลิง ถูก ความโกรธเผาลน แตพ่ อเหน็ ความโกรธกเ็ หมอื นกบั ใจถกู ดงึ ออกมา จากกองเพลงิ เกดิ ระยะหา่ งระหวา่ งใจกบั กองเพลงิ แหง่ ความโกรธ เวลาเราอยใู่ กลๆ้ กองไฟ เราจะรสู้ กึ รอ้ น ยง่ิ ถา้ อยกู่ ลางกอง ไฟกย็ งิ่ รอ้ นมากจนทนไมไ่ ด ้ แตพ่ อเรากา้ วเดนิ ออกมาจากกองเพลงิ อยู่ห่างจากกองเพลิง จะรู้สึกร้อนน้อยลง ในท�ำนองเดียวกันเวลา เราเหน็ อารมณ ์ เหน็ วา่ มนั เปน็ แคส่ งิ่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ใจ แตเ่ ปน็ คนละ สว่ นกบั ใจ เพยี งแคน่ ก้ี ช็ ว่ ยลดความทกุ ขไ์ ปไดม้ าก เพยี งแคเ่ หน็ วา่ ใจโกรธไมใ่ ชเ่ ราโกรธ เหน็ วา่ ความเครยี ดเกดิ ขน้ึ ทใ่ี จ ไมใ่ ชฉ่ นั เครยี ด เพียงแค่นีก้ ช็ ่วยได้เยอะ มีนักปฏิบัติคนหน่ึงเป็นนักศึกษา มาปฏิบัติท่ีสุคะโตได้สอง สามวัน วันหนึ่งก็ไปปรึกษาหลวงพ่อค�ำเขียนว่า “หลวงพ่อ ท�ำ อย่างไรดี หนเู ครียดจงั เลย” หลวงพอ่ ไม่ตอบ แต่บอกวา่ ทีถ่ ามมา ยังถามไม่ถูกให้ถามใหม่ เธอก็หยุดคิดสักพักแล้วพูดข้ึนว่า “หนู เห็นความเครียดมันเยอะเหลือเกิน” ตอบแบบนี้แสดงว่าเร่ิมเข้าใจ แลว้ มนั ตา่ งกนั นะระหวา่ ง “หนเู ครยี ด” กบั “หนเู หน็ ความเครยี ด” ถ้าหนูเครียดแสดงว่าหนูเป็นผู้เครียดแล้ว หนูเป็นตัวเครียดเข้าไป 73 พระไพศาล วิสาโล
แลว้ แตถ่ า้ หนเู หน็ ความเครยี ดกแ็ สดงวา่ เหน็ ทกุ ข ์ รทู้ กุ ข ์ ในระดบั หนึ่ง แต่ถ้าดูต่อไปก็จะเห็นว่าความเครียดมันเกิดข้ึนกับใจ ไม่ใช ่ ใจเครียด ต่อไปก็จะเห็นว่าความทุกข์มันเกิดกับกาย เกิดกับใจ หรอื เกดิ กบั ขนั ธ ์ อาศยั ขนั ธเ์ ปน็ ทเ่ี กดิ เรยี กวา่ เหน็ รปู กบั นาม กาย กับใจ ถ้าเราเห็นตรงนี้การออกจากทุกข์ก็ง่ายข้ึน เพราะจะเห็น ต่อไปว่าที่ทุกข์เกิดข้ึนกับขันธ์ก็เพราะความยึดม่ันถือม่ัน จึงแบก ทกุ ขเ์ อาไว ้ ทกุ ขม์ นั มอี ยกู่ จ็ รงิ แตถ่ า้ ไมแ่ บก กไ็ มเ่ ปน็ อะไร เหมอื น กับก้อนหิน ก้อนหินมันหนักก็จริง แต่ถ้าเราไม่แบกเอาไว้ ก็ไม่ เหนอ่ื ย ไมท่ กุ ข์ 74 ธรรมกลางป่า สุ ข ก ลา ง ใ จ
จะขอใหก้ อ้ นหนิ มนั เบาเปน็ ไปไมไ่ ด ้ เพราะผดิ ธรรมชาต ิ จะไป เรียกร้องว่าหินอย่าหนัก ไฟอย่าร้อน หนามอย่าแหลมก็ป่วยการ สิ่งท่ีเราต้องท�ำก็คือ อย่าไปแบกหิน อย่าไปถือถ่านแดงๆ หรือ อยา่ ไปแตะหนามแหลม มเี สยี งดงั เกดิ ขนึ้ แต่ถา้ ใจเราไมไ่ ปยดึ กบั เสยี งนน้ั เรากไ็ มท่ กุ ข ์ ปญั หาเกดิ ขนึ้ เมอื่ เราไปแบกมนั เอาไว ้ ไป ยดึ มันเอาไว้ “ขนั ธท์ ง้ั หา้ เปน็ ของหนกั เนอ้ การสละของหนกั ทงิ้ ลงเสยี เปน็ ความสขุ ” เปน็ อกี ตอนหนงึ่ ทเ่ี ราไดส้ าธยายตอนทำ� วตั ร เมอ่ื ไมแ่ บก ก้อนหินหนัก ไม่ถือถ่านก้อนแดงๆ ไม่เดินไปเตะหนามแหลม ก ็ ไมท่ กุ ขค์ วามทกุ ข ์ ไมไ่ ดเ้ กดิ จากกอ้ นหนิ แตเ่ กดิ จากการแบกมนั เอาไว ้ ความทกุ ขไ์ มไ่ ดเ้ กดิ จากไฟ หรอื ถา่ นกอ้ นแดงๆ แตเ่ กดิ จากการถอื มนั เอาไว ้ แตผ่ คู้ นมกั จะไมต่ ระหนกั ตรงน ้ี จงึ แบกกอ้ นหนิ ไว ้ แลว้ ก็ บน่ กน่ ดา่ กอ้ นหนิ วา่ ทำ� ไมมนั หนกั ๆ กอ้ นหนิ อยา่ หนกั ไดไ้ หม ขณะท่ี ถือถ่านก้อนแดงๆ ก็บ่นว่าท�ำไมมันร้อนๆ หยุดร้อนเสียที เป็นไป ไม่ได้ เหมือนกับเราบอกร่างกายนี้ว่าอย่าแก่ได้ไหม มันส่ังไม่ได้ อยู่ที่ว่าเราจะแบกมันเอาไว้ไหม ถ้าไม่อยากทุกข์ก็อย่าไปแบกมัน อย่าไปยึดม่ันกับมัน มันแก่ก็แก่ไป มันป่วยก็ป่วยไป แต่ใจเราเป็น อสิ ระ 75 พระไพศาล วิสาโล
ร่างกายของเราเหมือนของหนัก เหมือนหิน เหมือนกองไฟ คอื มนั เตม็ ไปดว้ ยทกุ ข ์ สกั วนั หนง่ึ กต็ อ้ งเสอ่ื มสลายไป มนั เปน็ สง่ิ ท ่ี พรอ่ ง ไมส่ มบรู ณ ์ เตม็ ไปดว้ ยสงิ่ เสยี ดแทง ขดั แยง้ อยภู่ ายใน นคี้ อื สภาวะทเ่ี กดิ ขนึ้ กบั กายของเรา เกดิ ขน้ึ กบั ทรพั ยส์ มบตั ขิ องเรา เกดิ ขน้ึ กบั ทกุ อยา่ งทเ่ี ราเกยี่ วขอ้ ง อยทู่ วี่ า่ เราจะเกยี่ วขอ้ งกบั มนั อยา่ งไร ถ้าเราไปยึดมันเราก็ถูกมันเล่นงาน จะไปเรียกร้องให้มันไม่หนัก ให้มันไม่ร้อน เป็นไปไม่ได้ แต่ถ้าเราเห็นธรรมชาติของมัน รู้ว่า มันเป็นตัวทุกข์ เป็นของหนัก ขืนแบกมัน เราก็ทุกข์ พอรู้เท่านี้ ใจก็ปล่อยให้มันหลดุ ไปเอง ไมอ่ ยากแบกมนั เอาไว้แลว้ ถา้ เหน็ จรงิ ๆ วา่ ทกุ ขเ์ พราะถอื ทกุ ขเ์ พราะแบกของหนกั ทกุ ข ์ เพราะไปยดึ เอาไว ้ กจ็ ะปลอ่ ยมนั ทนั ท ี เหมอื นกบั วา่ เราหลบั ละเมอ แลว้ ไปกำ� สง่ิ หนง่ึ เอาไวเ้ พราะคดิ วา่ เปน็ ทอง แตพ่ อตน่ื มาแลว้ พบวา่ มนั คอื ถา่ นกอ้ นแดงๆ เรากจ็ ะปลอ่ ยทนั ท ี ไมก่ �ำอกี แลว้ หรอื เหมอื น กบั วา่ เราเคยคดิ วา่ หบี ทกี่ ำ� ลงั แบกอยนู่ เ้ี ปน็ หบี ใสธ่ นบตั รนบั รอ้ ยลา้ น แตพ่ อรวู้ า่ ในนนั้ เปน็ แบงคก์ งเตก๊ ทงั้ นน้ั ไมม่ คี า่ อะไรเลย แบกไปก็ หนักเปล่าๆ เท่านี้แหละ เรากจ็ ะวางมันลงหรอื ทุ่มมันท้ิงทนั ที พระอรหันต์ท่านบรรลุธรรมหลุดพ้นจากความทุกข์ก็เพราะ ท่านเห็นความจริงอย่างแจ่มแจ้ง บางท่านต้องผ่านความเจ็บปวด 76 ธรรมกลางป่า สุ ข ก ลา ง ใ จ
อย่างเช่นพระติสสะท่ีป่วยด้วยโรคที่ใครๆ พากันรังเกียจ มีแผล พุพองเต็มตัว น้�ำเหลืองไหลส่งกลิ่นเหม็น จนกระท่ังเพื่อนพระ ดแู ลไมไ่ หว จงึ ทงิ้ ไป พระพทุ ธเจา้ ตอ้ งเสดจ็ มาดแู ลเอง เชด็ เนอื้ ตวั ให้ เอาจีวรไปซัก เช็ดคราบสกปรก อุจจาระ ปัสสาวะ จนกระทั่ง พระตสิ สะสขุ สบายขน้ึ แตท่ กุ ขเวทนากย็ งั มอี ยแู่ ละแรงกลา้ ขน้ึ เรอื่ ยๆ เพราะเป็นระยะสุดท้ายแล้ว พระพุทธเจ้าได้ตรัสเทศนาธรรมสั้นๆ ว่า “ร่างกายนี้ไม่เที่ยง เม่ือปราศจากวิญญาณ และถูกคนละทิ้ง ก็จะนอนทับพ้ืนแผ่นดิน เหมือนท่อนไม้ หาประโยชน์มิได้” อันน ้ี คือบทสวดท่ีพระใช้บังสุกุลเป็น พระติสสะท่านพิจารณาตามท่ ี พระพทุ ธเจา้ ตรสั กเ็ หน็ วา่ รา่ งกายนเ้ี ปน็ ทกุ ข ์ ไมน่ า่ ยดึ ถอื เลย เมอ่ื รู้เช่นนี้ก็ปล่อยวางสังขาร จิตก็หลุดพ้น เป็นพระอรหันต์พร้อมๆ กับท่ีสิ้นใจพอดี เรียกว่าส้ินกิเลสและส้ินใจไปพร้อมๆ กัน ทั้งน้ ี เพราะท่านเห็นแจ่มแจ้งว่าสังขารเป็นทุกข์มาก ไม่น่ายึดถือเลย อันน้ีเรียกว่าเห็นด้วยปัญญา เมื่อปัญญาเกิด จิตก็ปล่อยวางและ หลุดพน้ ในทส่ี ดุ การเห็นนน้ั มสี องระดบั คือเห็นด้วยสติ กับเหน็ ดว้ ยปัญญา เมื่อมีสติเห็นความโกรธ ก็วางความโกรธ ใครก็ตามเมื่อรู้ตัวว่า ก�ำลังโมโห ความโมโหก็จะบรรเทาลง คือวางลงเลย น้ีเรียกว่า ปลอ่ ยวางเพราะเหน็ ดว้ ยสต ิ สว่ นเหน็ ดว้ ยปญั ญา คอื เหน็ วา่ สงั ขาร 77 พระไพศาล วิสาโล
ไมเ่ ทย่ี ง เปน็ ทกุ ข ์ เหมอื นไฟ เหมอื นของรอ้ น เหมอื นสง่ิ ทคี่ รำ่� ครา่ แมข้ า้ งนอกดดู ี แตข่ า้ งในผพุ งั พง่ึ พาอาศยั ไมไ่ ด ้ เหมอื นกบั เสาทดี่ ู แขง็ แรง แตข่ า้ งในกลวงเปลา่ เพราะโดนปลวกกดั กนิ จนพรอ้ มจะพงั ไดต้ ลอดเวลา คนสว่ นใหญไ่ มร่ กู้ ไ็ ปพงิ พอพงิ มนั ไดไ้ มน่ านมนั กห็ กั พงั ครนื ลงมา ลม้ ควำ�่ คะมำ� หงาย กเ็ จบ็ ปวดไปตามระเบยี บ แบบน ้ี แล้วจะไปโทษเสาว่าท�ำไมเสามันเป็นอย่างน้ีได้ไหม ที่จริงมันเป็น เพราะความไม่รู้ของเราต่างหาก ไม่รู้ว่าเสาน้ีมันเปราะ ผุ เป็นที่ พ่ึงพิงใหไ้ ม่ได้ เปน็ ความโง่ของเราเอง เป็นเพราะเราไม่มีปัญญาเห็นความจริงของสิ่งท้ังปวงว่า มนั เปน็ สงิ่ ทพี่ รอ้ มจะผพุ งั ตลอดเวลา ไมส่ ามารถเปน็ ทพี่ ง่ึ พงิ ใหก้ บั ใครได ้ แมแ้ ตต่ วั มนั เองมนั ยงั เอาตวั ไมร่ อด พง่ึ พงิ ตวั เองกไ็ มไ่ ด้ แล้วมันจะเป็นท่ีพึ่งพิงของใครได้อยา่ งไร เมื่อใดท่ีเรามีปัญญา เหน็ ความจรงิ อย่างน้ี ก็ไม่เอาใจไปผูกติดพึ่งพาส่ิงใด ไม่ยึดติด ถือม่นั กบั อะไร เกดิ การปลอ่ ยวางอยา่ งแท้จรงิ การเห็นด้วยปัญญาก็คือการเห็นว่าสิ่งทั้งปวงเป็นทุกข์ ดัง ภาษิตของพระพุทธเจ้าว่า “สัพเพ สังขารา ทุกขา สังขารท้ังปวง เป็นทุกข์” ความหมายหน่ึงก็คือทุกส่ิงล้วนถูกบีบค้ันด้วยความเกิด และความเสื่อมสลาย มีความขัดแย้งในตัว จึงคงอยู่ในสภาพเดิม 78 ธรรมกลางป่า สุ ข ก ลา ง ใ จ
ไม่ได้ อีกแง่หน่ึงคือมันสามารถที่จะบีบค้ันผู้ท่ียึดถือมัน คือถ้าไป ยดึ ตดิ ถอื มนั่ มนั เมอ่ื ไร กจ็ ะเปน็ ทกุ ขเ์ พราะความผนั ผวนเสอื่ มสลาย ของมนั ถา้ ไปยดึ ถอื มนั กจ็ ะทกุ ขใ์ จเมอื่ มนั แปรปรวนไป อนั นเ้ี รยี ก วา่ ถกู มนั บบี คน้ั คอื ตวั มนั เองกถ็ กู บบี คน้ั จนเอาตวั ไมร่ อด แลว้ มนั ยงั บบี คน้ั คนทไี่ ปยดึ ถอื มนั อกี ดว้ ย เมอ่ื เรามปี ญั ญาเหน็ เชน่ น ี้ จติ ก ็ จะปล่อยวาง ไม่ยึดถือมันต่อไป ถึงตอนน้ีแหละเราจะเป็นนายมัน อย่างแท้จริง คือใช้มันให้เกิดประโยชน์โดยท่ีไม่ถูกมันบีบคั้น เล่นงานเอา เช่นใช้ร่างกายน้ีให้เกิดประโยชน์ ถึงเวลาเจ็บป่วยก็ ไม่ทุกข์ เศร้า เสียใจ ขณะเดียวกันทรัพย์สมบัติที่มีอยู่ก็ใช้ให้เกิด ประโยชน ์ ถงึ เวลามนั เสอื่ มหรอื หายไปกไ็ มค่ บั แคน้ ใจ ไมร่ ่�ำไรรำ� พนั แต่ตราบใดที่เราไม่เห็นความจริงเช่นนี้ ก็เรียกว่าไม่รู้ทุกข์ หาก ไม่รทู้ ุกข์อย่างน ้ี การทจ่ี ะมคี วามสขุ อย่ไู ด้ในโลกนีก้ เ็ ป็นไปได้ยาก รู้ทุกข์มีความหมายหลายระดับ ถึงท่ีสุดก็คือรู้ว่าทุกอย่าง เป็นทุกข์ไปหมด ทีแรกก็แค่รู้ว่าทุกข์ก�ำลังเกิดข้ึนกับเรา ต่อมา กร็ วู้ า่ ทกุ ขเ์ กดิ ขนึ้ กบั กายกบั ใจ กายทกุ ข ์ ใจทกุ ข ์ ไมใ่ ชเ่ ราทกุ ข ์ ตอ่ มา กร็ วู้ า่ ทกุ ข ์ ไมว่ า่ ทกุ ขเวทนาหรอื อารมณท์ บี่ บี คนั้ เผาลนใหเ้ ปน็ ทกุ ข์ นนั้ อาศยั กายกบั ใจเป็นท่เี กดิ ทุกขเวทนา กับ กาย และใจน้ันเปน็ คนละอันกัน ต่อไปก็รู้ไปถึงขั้นว่าอะไรๆ ก็เป็นทุกข์ไปหมด ถูก บีบคั้น ทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ ไม่มีอะไรที่จะให้ความสุขแก่เรา 79 พระไพศาล วิสาโล
ได้อย่างแท้จริง และเมื่อรู้ถึงขั้นนี้ใจก็ปล่อยวางทุกสิ่ง เมื่อรู้ทุกข ์ อยา่ งแจม่ แจง้ แลว้ ตณั หาอปุ าทานกห็ มดไป นนั่ แหละกค็ อื หนทาง แห่งการพ้นทกุ ข์ จะเห็นได้ว่าการทำ� กิจในอริยสัจเพียงข้อเดียวก็นำ� ไปสู่สมุทัย มรรค และนโิ รธไดใ้ นทส่ี ดุ หลวงพอ่ คำ� เขยี นพดู อยเู่ สมอวา่ ในทกุ ข ์ มีความไม่ทุกข์ ในทุกข์มีหนทางแห่งการพ้นทุกข์อยู่ ท่านถึงกับ บอกวา่ “เหน็ ทกุ ขก์ พ็ น้ ทกุ ข”์ เพราะรวู้ า่ ทกุ ขค์ อื อะไร รวู้ า่ ทกุ ขเ์ กดิ จากอะไร และเห็นว่าทุกอย่างเป็นทุกข์ทั้งนั้น ก็ปล่อยวางทันที จติ เป็นอิสระ ความพน้ ทุกขบ์ ังเกดิ ขึ้นไดด้ ว้ ยเหตนุ ี้ 80 ธรรมกลางป่า สุ ข ก ลา ง ใ จ
ปญั หาทแ่ี ทจ้ รงิ ของคนเราและนกั ปฏบิ ตั ิ ไมไ่ ดอ้ ย ู่ ท่ีว่ามีอารมณ์ใดเกิดข้ึน หรือมีอะไรมากระทบ แต่อยู่ท่ีเรารู้สึกอย่างไรต่ออารมณ์หรือสิ่งท่ีมา กระทบ
อยู่ก็เป็นสุข ตายก็ไปดี การเจริญสติไม่ใช่ของฟุ่มเฟือย เป็นของส�ำคัญทีเดียวส�ำหรับ การดำ� เนนิ ชวี ติ ไมใ่ ชเ่ พยี งแคใ่ หม้ คี วามสขุ เทา่ นนั้ บางครงั้ ยงั เปน็ ปจั จยั สำ� คญั ในการด�ำเนนิ ชวี ติ ใหอ้ ยรู่ อดได ้ บางครงั้ คนเราจะเปน็ หรอื ตายก็ขนึ้ อยูก่ บั ว่ามีสติหรอื ไม่มีสติ เคยได้อ่านและดูหนังเร่ืองราวของคนๆ หน่ึง ท่ีถูกจับโดย ไม่เป็นธรรม ถูกกล่าวหาว่าฆ่าเมียและถูกลงโทษจ�ำคุกตลอดชีวิต ถูกส่งไปกักขังบนเกาะท่ีไกลโพ้นคล้ายๆ ตะรุเตา อยู่อย่างทุกข ์ 83 พระไพศาล วิสาโล
ทรมานมาก เขาพยายามหนีเกือบจะส�ำเร็จแต่ก็ถูกจับทุกคร้ัง ตอนหลงั โดนลงโทษขงั เดย่ี วในคกุ มดื เปน็ เวลา ๕ ป ี สว่ นใหญไ่ มม่ ี ใครรอด ทไ่ี มร่ อดไมใ่ ชเ่ พราะวา่ ขาดอาหารหรอื วา่ ปว่ ยกาย แตว่ า่ เพราะคลมุ้ คลง่ั เป็นบ้าจนตาย ชายคนนั้นรู้กิตติศัพท์ของคุกมืดนี้ดี ดังน้ันเม่ือเข้าอยู่ไปอยู่ ในคุกซ่ึงแคบขนาดราวสองเมตรคูณสองเมตร ส่ิงแรกๆ ท่ีเขาท�ำ คือ เดินนับก้าวกลับไปมา เหมือนการเดินจงกรม แต่เขาเป็นฝรั่ง ไม่รู้จักการเดินจงกรม เขารู้แค่ว่าจะต้องก�ำกับจิตให้เป็นสมาธิ ไมเ่ ชน่ นนั้ จติ กจ็ ะฟงุ้ ซา่ น สะเปะสะปะ วา้ วนุ่ เกดิ ความกลวั ความ วิตกกังวล ความตื่นตระหนก คิดถึงอดีต คิดถึงอนาคต ความคิด นั่นเองท่ีจะท�ำร้ายเขา เพราะฉะนั้นเขารู้ว่าวิธีท่ีจะอยู่รอดได้ก็คือ รักษาใจให้สงบ ไม่ว้าวุ่น จึงใช้วิธีเดินนับก้าวอยู่ในคุกแคบๆ เดิน กลับไปกลับมา ท�ำอย่างน้ีไม่ใช่เป็นอาทิตย์ แต่ทำ� เป็นเดือนเป็นป ี อันท่ีจริงความเป็นอยู่ทางกายก็ล�ำบากอยู่แล้ว อาหารก็ไม่ค่อย พอเพยี ง บางทหี วิ ถงึ ขนั้ ตอ้ งกนิ แมลงสาบ แตส่ งิ่ ทนี่ า่ กลวั ทส่ี ดุ กค็ อื จิตใจทีว่ า้ วนุ่ ท่ีสามารถท�ำใหเ้ ป็นบ้าและตายได้ ไดพ้ ดู ตง้ั แตว่ นั แรกแลว้ วา่ สง่ิ ทน่ี า่ กลวั ทส่ี ดุ ไมใ่ ชง่ เู งยี้ วเขยี้ วขอ ไม่ใช่สิงสาราสัตว์ แต่คือจิตใจของเรา ในสถานการณ์อย่างน้ัน 84 ธรรมกลางป่า สุ ข ก ลา ง ใ จ
จิตใจพร้อมที่จะเป็นบ้าได้ เขารู้ว่าน้ีคืออันตรายท่ีสามารถเกิดข้ึน กับเขาได้ เขาจึงเดินจงกรมอย่างน้ีตลอดเวลาที่อยู่ในคุก สุดท้าย เมอื่ ครบ ๕ ปเี ขากเ็ อาชวี ติ รอดมาได ้ รา่ งกายผา่ ยผอม ฟนั ฟางหกั เกือบหมดเพราะไม่เจอแสงแดดที่จะให้วิตามินดี ผมขาวโพลน จิตใจก็เกือบจะเป็นบ้า แต่ไม่ถึงกับคลุ้มคล่ัง พัศดีก็ประหลาดใจ เพราะไมเ่ คยมใี ครรอดจากคกุ มดื น้ไี ดเ้ ลย สดุ ทา้ ยเขากด็ นิ้ รนจนเปน็ อสิ ระ มคี นเอาเรอ่ื งราวของเขามา ทำ� เปน็ หนงั พวกเราอาจจะเคยไดด้ ู หนงั เรอื่ ง “ปาปญิ อง” นสี้ รา้ ง จากเรอื่ งจรงิ อาตมาไดด้ หู นงั เรอ่ื งนตี้ อนทยี่ งั เปน็ นกั เรยี น อดนกึ ไมไ่ ดว้ า่ ถา้ ตวั เองอยใู่ นสถานการณอ์ ยา่ งนนั้ จะท�ำอยา่ งไร แคน่ กึ ใจ กก็ ระเพอ่ื มแลว้ เพราะเปน็ คนกลวั ทแ่ี คบ เคยนกึ วา่ ตวั เองถกู ขงั อย่ ู ในกระโปรงรถท่ีปิดมืดสนิท แล้วรถก็แล่นไปไหนไม่รู้ แค่คิดก็ กระสบั กระสา่ ยแลว้ แตเ่ พราะคดิ นนั่ เองจงึ ทำ� ใหก้ ระสบั กระสา่ ย ต้องพาใจกลับมาอยู่กับปัจจุบันจึงจะเป็นปกติ ดูหนังเร่ืองนี้แล้ว ท�ำให้รู้สึกว่า การเจริญสติหรือการท�ำสมาธิเป็นเรื่องความเป็น ความตายเลยทีเดียว จะอยู่หรือตายก็ขึ้นอยู่กับว่าจิตนี้มีสติและ สมาธิหรอื ไม่ จริงอยู่มีน้อยคนท่ีตกอยู่ในสถานการณ์แบบน้ี แต่การตกอยู่ ในสถานการณ์ท่คี บั ขันสามารถเกดิ กับเราไดต้ ลอดเวลา บางกรณี 85 พระไพศาล วิสาโล
ก็กินเวลาไม่นาน แต่สามารถตัดสินชี้ขาดได้ว่าจะอยู่หรือไป เช่น เกิดไฟไหม้ในอาคาร ผู้คนต้องวิ่งหนีหาทางออกจากอาคาร ใคร ท่ีไม่มีสติก็มักวิ่งตามผู้คนไป การว่ิงตามฝูงชนไปน้ันอันตรายมาก เพราะถ้าว่ิงไปเจอทางตันฝูงชนก็จะหันกลับมา พอฝูงชนหันกลับ คนทต่ี ามมาขา้ งหลงั กก็ ลายเปน็ อยขู่ า้ งหนา้ ถา้ หนไี มท่ นั กอ็ าจโดน เหยยี บตายได ้ มคี ำ� แนะนำ� สำ� หรบั คนทเี่ จอเหตกุ ารณอ์ ยา่ งนว้ี า่ อยา่ วิง่ ตามฝงู ชนไป ใหเ้ ขาวง่ิ ไปกอ่ น ถ้าเขาวิ่งแลว้ ไมก่ ลบั มา แสดงวา่ เขาเจอทางออกแลว้ เราคอ่ ยวงิ่ ไปทางนนั้ แตถ่ า้ เขาไมเ่ จอทางออก เขากจ็ ะวง่ิ กลบั มา ระหวา่ งทรี่ อกต็ อ้ งยนื ชดิ กำ� แพงเอาไว ้ อยา่ ไปยนื กลางทาง เพราะอาจโดนเหยยี บได้ หลายคนแมม้ คี วามรเู้ รอื่ งน ้ี แตพ่ อไฟไหมจ้ รงิ ๆ กต็ กใจ ผคู้ น เฮไปไหนกต็ ามไปดว้ ย แลว้ กถ็ กู เหยยี บตาย หรอื บางคนอาจเคยร ู้ มาว่าเวลาไฟไหม้อาคารขณะที่อยู่ในห้อง อย่าจับลูกบิดประตูด้วย มอื เปลา่ เพราะลกู บดิ จะรอ้ นมาก แตเ่ มอื่ เผชญิ เหตกุ ารณจ์ รงิ หาก ไมม่ สี ตกิ อ็ าจเผลอจบั ลกู ปดิ เอาไดเ้ พราะความกลวั อยากจะรบี หนไี ฟ ให้เร็วๆ ในท�ำนองเดียวกันคนท่ีประสบอุบัติเหตุ ขับรถตกลงไปใน คนู ำ้� ขณะทรี่ ถจมลงไปในค ู คนทตี่ กใจกพ็ ยายามดนั ประตอู อกแตก่ ็ 86 ธรรมกลางป่า สุ ข ก ลา ง ใ จ
ดนั ออกไมไ่ ด ้ เพราะความดนั น�้ำขา้ งนอกมนั สงู กวา่ ขา้ งในมาก คน ทไี่ มม่ สี ตกิ พ็ ยายามดนั ดนั ไมอ่ อกกต็ กใจ ผรู้ แู้ นะนำ� วา่ ใหต้ ง้ั สตดิ ๆี แลว้ คอ่ ยๆ ลดกระจก สมยั กอ่ นกระจกรถเปน็ แบบหมนุ ไขลงได ้ พอ ลดกระจก นำ้� กไ็ หลเขา้ มา สกั พกั ความดนั ของนำ�้ ในรถกบั ขา้ งนอก กใ็ กลเ้ คยี งกนั ถงึ ตอนนนั้ ถา้ ดนั ประตอู อกไปกจ็ ะเปดิ ออกได ้ คนท่ ี จะท�ำอย่างนี้ได้ต้องมีสติ หากไม่มีสติก็ตายคารถได้เหมือนกัน เพราะต่นื ตกใจไม่รู้วา่ จะทำ� อย่างไร ท่ีจริงยังมีสถานการณ์ที่ดูน่ากลัวน้อยกว่าน้ี แต่ก็สามารถ ชี้เป็นช้ีตายได้ถ้าหากไม่มีสติ อย่างเช่น เม่ือสองสามปีก่อนม ี นักศึกษาไปกินเหล้าแถวรามอินทราจนเมามาย ขณะขับรถกลับ บ้านปรากฏว่าปวดฉ่ี ก็ออกจากรถไปฉ่ีตรงคูนำ�้ ริมทาง พอดีเกิด อาเจยี นขนึ้ มา ขณะทกี่ ม้ ตวั อาเจยี น พระสมเดจ็ ฯ ทห่ี อ้ ยคออยเู่ กดิ ตกลงไปในคู ด้วยความเสียดายเขากระโดดลงไปในคูเพื่องมหา พระสมเด็จฯ เพื่อนห้ามแต่เขาไม่ฟัง ปรากฏว่าจมน้�ำตาย ถ้า นักศึกษาคนน้ันมีสติ ก็อาจจะยับยั้งช่ังใจไม่ลงไป แต่เพราะความ เมาและความเสียดายพระเคร่ือง จึงไม่ทันย้ังคิด กรณีนี้ถ้าเขา มีสติก็รอดตาย อาจจะเสียพระเครื่องไปหรืออาจจะไม่เสียก็ได้ถ้า งมดีๆ แตเ่ พราะไม่มีสติกเ็ ลยตาย 87 พระไพศาล วิสาโล
มีบางสถานการณ์ท่ีสามัญมากกว่านี้ เช่นขับรถ หากมีหมา วิ่งตัดหน้า ถ้าไม่มีสติรถก็อาจจะคว�่ำ หรือรถแหกโค้ง พุ่งชนเสา ไฟฟา้ ตายได ้ แตถ่ า้ มสี ตกิ จ็ ะรวู้ า่ ในสถานการณน์ นั้ ควรจะตดั สนิ ใจ อย่างไร คงจะเห็นแล้วว่าสติเป็นเร่ืองส�ำคัญมากถึงขั้นช้ีเป็นชี้ตาย ไดท้ เี ดยี ว ทจ่ี รงิ เพยี งแคอ่ ยใู่ นบา้ นไมไ่ ดอ้ อกไปไหน เวลาใชเ้ ครอ่ื ง ไฟฟา้ ถา้ ไมม่ สี ตเิ อามอื เปยี กๆ ไปเสยี บปลก๊ั กอ็ าจถกู ไฟดดู ตายได้ หรอื เดนิ ลงบนั ไดถา้ ไมม่ สี ตกิ อ็ าจตกลงมาหวั ฟาดพนื้ ตายได ้ สตจิ งึ สำ� คญั ตอ่ ความอยรู่ อดของเราทกุ คน มนั ไมใ่ ชส่ ง่ิ ฟมุ่ เฟอื ยหรอื เกนิ จำ� เปน็ ถงึ แมว้ า่ จะมชี วี ติ รอดได ้ แตถ่ า้ อยดู่ ว้ ยความทกุ ข ์ ดว้ ยความ เศร้าเสียใจ ทุกข์เพราะรู้สึกผิด เพราะความโกรธ ความพยาบาท หรอื เพราะความอาลยั อาวรณ ์ อารมณเ์ หลา่ นส้ี ามารถจะทำ� รา้ ยจติ ใจ ทำ� ใหอ้ ยรู่ อ้ นนอนทกุ ข ์ บางคนถงึ กบั ทนไมไ่ หว ตดั สนิ ใจฆา่ ตวั ตาย ชวี ติ ในยคุ ปจั จบุ นั น ี้ การมสี ตสิ ำ� คญั มาก เพราะทกุ วนั นผ้ี คู้ น ทกุ ขเ์ พราะความคดิ มากกวา่ เรอ่ื งอนื่ ไมใ่ ชท่ กุ ขเ์ พราะไมม่ อี าหาร กนิ ไมใ่ ชท่ กุ ขเ์ พราะขาดปจั จยั ส ี่ ไมใ่ ชท่ กุ ขเ์ พราะทำ� งานเหนอื่ ยยาก สว่ นใหญท่ กุ ขท์ ง้ั ๆ ทม่ี ชี วี ติ สะดวกสบาย แตก่ ย็ งั กลมุ้ ใจ วติ กกงั วล กินไม่ได้นอนไม่หลับ นั่นเป็นเพราะความคิดที่ปรุงแต่งไปต่างๆ 88 ธรรมกลางป่า สุ ข ก ลา ง ใ จ
นานา หรือเพราะเสียใจในส่ิงที่ผ่านไปแล้ว หรือวิตกในส่ิงท่ียังมา ไม่ถึง เช่น พอรู้ตัวว่าเป็นมะเร็งก็ท�ำใจไม่ได้ มีพยาบาลคนหน่ึง ไปตรวจรา่ งกาย หมอกอ็ ้�ำองึ้ ทจ่ี ะบอกผล พยาบาลจงึ บอกหมอวา่ บอกมาเลยๆ ฉันรับได้ หมอจึงบอกว่าคุณเป็นมะเร็งตับ จะอยู่ได้ ไม่เกินสามเดือน พยาบาลคนนั้นช็อกเลย ทั้งที่ดูแลคนป่วยมา สามสิบปี แต่พอมันเกิดข้ึนกับตัวเองก็ท�ำใจไม่ได้ หายหน้าไปเลย ไม่มาท�ำงาน ซึมอยู่กับบ้าน อยู่ได้ประมาณย่ีสิบกว่าวันก็ตาย ท่ ี 89 พระไพศาล วิสาโล
ตายไม่ใช่เพราะก้อนมะเร็งในตับมันลุกลามรวดเร็วกว่าที่หมอ พยากรณ์ แต่เป็นเพราะใจทต่ี นื่ ตระหนกวิตกกังวลน่นั เอง มนี กั ธรุ กจิ คนหนง่ึ เปน็ ชายวยั กลางคน เลน่ เทนนสิ เปน็ ประจำ� วนั หนง่ึ ไปตรวจสขุ ภาพประจำ� ป ี หมอบอกวา่ คณุ หวั ใจรวั่ เขาตกใจ มาก เพราะตามความเขา้ ใจของเขา หวั ใจรว่ั กค็ อื หวั ใจเปน็ ร ู เวลา หวั ใจเตน้ เลอื ดจะพงุ่ กระฉดู ออกมา แบบนก้ี ต็ ายส ิ ทจ่ี รงิ หมอตง้ั ใจ จะบอกเขาว่าลิ้นหัวใจรั่ว แต่หมอพูดไม่ครบ อันน้ีเป็นปัญหาการ สอื่ สารของหมอทเ่ี กดิ ขน้ึ ทวั่ ไป เพราะไมเ่ ขา้ ใจความรสู้ กึ ของคนไข ้ ที่จริงคนที่ล้ินหัวใจร่ัวก็ยังสามารถอยู่ได้อย่างปกติสุข สามารถ ออกก�ำลังกายได้ด้วยซ้�ำ ไม่ใช่เร่ืองคอขาดบาดตายทีเดียวนัก แต่ พอนกั ธรุ กจิ คนนเี้ ขา้ ใจวา่ หวั ใจของตวั รวั่ เขากใ็ จเสยี หลงั จากนนั้ แค่สองวันเขาก็ล้มทรุด ต้องเข้าโรงพยาบาล อยู่โรงพยาบาลได้ ไมก่ ว่ี นั กเ็ ขา้ หอ้ งไอซยี ู แลว้ กไ็ มอ่ อกมาอกี เลย อนั นเี้ รยี กวา่ ไมไ่ ดต้ าย เพราะล้ินหัวใจร่ัว แต่ตายเพราะใจที่ต่ืนตระหนก ใจที่หวาดกลัว ซงึ่ เกดิ จากการปรงุ แต่งเกนิ เหตุ ถ้าเขามีสติ อาการจะไม่ลุกลามขนาดน้ี เพราะจิตจะไม่ ปรุงแต่งในทางเลวร้าย สติช่วยให้จิตกลับมาอยู่กับปัจจุบัน แม้ ได้ยินข้อมูลมาผิดๆ สติก็ช่วยให้ใจเป็นปกติ และยอมรับความจริง 90 ธรรมกลางป่า สุ ข ก ลา ง ใ จ
ท่ีเกิดขึ้นได้ แทนท่ีจะตีโพยตีพาย โอดโอย คร�่ำครวญ ก็จะมา พิจารณาว่าเราจะท�ำอะไรได้บ้างเพื่อช่วยบรรเทาผลกระทบ เม่ือ เจบ็ ปว่ ยกต็ อ้ งรกั ษา แตว่ า่ จติ ใจกต็ อ้ งดแู ลดว้ ย จะเหน็ ไดว้ า่ เพยี งแค ่ ไม่มีสติ ความหวาดหว่ัน ตื่นตระหนกก็ครอบง�ำจิตใจได้ง่าย แล้ว ทำ� รา้ ยรา่ งกายเรา หรอื ทำ� ใหม้ พี ฤตกิ รรมทเ่ี ปน็ อนั ตรายตอ่ ตวั เอง สติที่มีอยู่ในชีวิตประจ�ำวันของเราน้ัน ไม่เพียงพอท่ีจะรับมือ กับเหตุร้ายท่ีเกิดข้ึนแบบปัจจุบันทันด่วน คนธรรมดามักคิดว่าฉัน มีสติอยู่แล้ว ท�ำไมต้องฝึกสติอีก สติท่ีมีนั้นพอเพียงส�ำหรับการ ด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันท่ีไม่มีเหตุร้าย ไม่มีเร่ืองมากระทบมาก ถ้า ชวี ติ ราบรนื่ ความสมั พนั ธก์ ลมเกลยี ว ไมม่ เี รอ่ื งรา้ ยเกดิ ขนึ้ สตเิ ทา่ ท ่ี มอี ยขู่ องคนทว่ั ไปกเ็ พยี งพอในการดำ� เนนิ ชวี ติ ใหเ้ ปน็ สขุ ตามอตั ภาพ แต่ชีวิตคนเราใช่ว่าจะราบร่ืนเหมือนทางที่โรยด้วยกลีบกุหลาบ บางชว่ งกข็ รขุ ระ มเี หตรุ า้ ยเกดิ ขนึ้ โดยไมค่ าดคดิ บางทไี มไ่ ดเ้ กดิ ขนึ้ กับตวั เอง แตเ่ กิดขึน้ กับคนทรี่ กั มีแม่คนหนึ่งเล่าให้ฟังว่าหลายปีก่อนลูกชายอายุ ๑๕ ปี ขอ ไปเรียนต่อท่ีประเทศอินเดีย แม้อายุยังน้อยแต่แม่เห็นว่าลูกเป็น คนมีความรับผิดชอบ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน ไปอินเดียน่าจะได้ประโยชน์ อย่างน้อยก็ได้ไปเรียนภาษา จึงอนุญาตให้ลูกไป ลูกไปอินเดียได้ 91 พระไพศาล วิสาโล
ไม่กี่เดือนปรากฏว่าจมน้�ำตาย แม่ท้ังเสียใจท้ังรู้สึกผิด โทษตัวเอง วา่ มสี ว่ นทำ� ใหล้ กู ตาย เพราะวา่ เปน็ คนอนญุ าตใหล้ กู ไป เธอเอาแต ่ ต�ำหนิตัวเองว่าน่าจะห้ามลูก ถ้าวันน้ันฉันห้ามลูกไม่ให้ไป ลูกก็จะ ยังมีชีวิตอยู่ เธอท้ังเสียใจท่ีลูกตายและรู้สึกผิดท่ีอนุญาตให้ลูกไป จนเกือบเสียศูนย์ไปเลย แต่ละวันผ่านไปด้วยความทุกข์ทรมาน จนกระท่งั เพื่อนมาชวนให้ไปปฏิบตั ิธรรม เม่ือได้ฟังธรรม เธอก็เข้าใจความจริงของชีวิตว่า คนเราเกิด มาแลว้ กต็ อ้ งตาย ความพลดั พรากสญู เสยี เปน็ ธรรมดาของทกุ ชวี ติ คนเรามกี รรมเปน็ ของตวั บางคนอายยุ นื บางคนอายสุ นั้ ลว้ นแลว้ แตเ่ ปน็ ผลแหง่ กรรม เมอื่ รเู้ ชน่ นก้ี ท็ �ำใจยอมรบั ความตายของลกู ได้ ขณะเดียวกันการเจริญสติก็ช่วยให้รับมือกับความรู้สึกผิดได้ เมื่อ ความรู้สึกผิดเกิดขึ้นก็ดูมัน ไม่กดข่ม ไม่ผลักไส แต่ก่อนพยายาม กดข่มมัน พยายามไม่นึกถึงความตายของลูก แต่อะไรก็ตามที่เรา พยายามกดขม่ มนั ก็ย่ิงผุดโผล่ พอโผล่มาทีไรกร็ สู้ กึ เสียใจว่าตวั เอง มีส่วนท�ำให้ลูกตาย แต่พอมีสติ ความรู้สึกผิดก็ค่อยๆ บรรเทาลง ไป จนกระทั่งในท่ีสุดมันก็เลือนหายไป ท�ำให้เธอสามารถยอมรับ ความสูญเสียลูกได้ ไม่เพียงเท่าน้ันเธอยังพบกับความสงบ ความ โปรง่ เบา อยา่ งทไี่ มเ่ คยปรากฏมากอ่ น ชวี ติ ของเธอสงบเยน็ เปน็ สขุ กว่าตอนท่ีลกู ยงั มชี วี ติ ด้วยซ้ำ� เธอจงึ รู้สกึ ขอบคุณลูกท่ที �ำใหแ้ ม่พบ 92 ธรรมกลางป่า สุ ข ก ลา ง ใ จ
ธรรมะ เธอพดู วา่ ความตายของลกู เปน็ สงิ่ ทค่ี มุ้ คา่ มาก เพราะทำ� ให ้ แมไ่ ดพ้ บธรรมะ ได้พบกับความสงบอยา่ งที่ไมเ่ คยพบมากอ่ น ความตายของลูกนั้นย่ิงใหญ่เสมอสำ� หรับแม่ทุกคน แต่มันก ็ สามารถจะกลายเป็นส่ิงท่ีทรงคุณค่าได้ เพราะท�ำให้แม่ได้มาพบ ธรรมะ สต ิ สมาธ ิ ภาวนา ทำ� ใหเ้ ธอหลดุ พน้ จากความทกุ ขแ์ ละมา พบกับชีวิตที่ดีกว่าเดิม ตรงกับที่พระพุทธเจ้าตรัสว่า “ผู้มีปัญญา แมป้ ระสบทุกขก์ ย็ งั หาสุขพบ” พบทไ่ี หน พบท่ีใจ ใจทมี่ ีสตปิ ญั ญา ปัญญาก็คือการเห็นความจริง เข้าใจความจริงของชีวิต แต ่ ก่อนเธอไม่อยากนึกถึงความตายของลูก แต่เด๋ียวนี้นึกถึงก็ไม่ได้ เสยี ใจอะไรแลว้ ไมใ่ ชเ่ พราะไมร่ กั ลกู ยงั รกั ลกู อย ู่ แตเ่ มอื่ นกึ ถงึ แลว้ ก็ไม่ได้รู้สึกเสียใจหรือรู้สึกผิดอีกต่อไป และนี่คือส่ิงที่สามารถจะ เกดิ ข้นึ ไดก้ บั คนเราแม้ต้องสญู เสียคนรักกต็ าม คนเปน็ อนั มากแมว้ า่ มชี วี ติ ทรี่ าบรน่ื มาตลอด แตม่ าถงึ บางชว่ ง เวลาก็อาจเกิดเหตุพลิกผันขึ้นได้ ชีวิตของทุกคนสามารถจะเกิด ภาวะเช่นน้ีได้ทุกเวลา ไม่ใช่เพียงแค่ความพลัดพรากสูญเสียคนรัก แตย่ งั รวมถงึ สญู เสยี ของรกั บางคนไฟไหมบ้ า้ นทงั้ หลงั แทบจะกลาย เป็นบ้า ถ้าหากไม่เรียกสติกลับมาใจก็อาจจะเตลิดสุดกู่ คุณยาย 93 พระไพศาล วิสาโล
คนหนงึ่ ทำ� แหวนมรกตหลน่ ลงบนพนื้ คนใชก้ ไ็ มร่ กู้ วาดทงิ้ ลงถงั ขยะ แหวนวงนี้เป็นของรักของหวงมาก พอรู้ว่าหายก็เสียใจจนล้มป่วย อายุแปดสิบปีแล้ว แต่ท�ำใจไม่ได้ เพราะมีความยึดติดถือม่ันมาก คุณยายคงไม่เคยเจอความสูญเสียอย่างน้ีมาก่อน มาเจอตอนแก่ จึงไม่มีประสบการณ์ ไม่รู้วิธีรับมือกับความสูญเสีย ไม่รู้วิธีทำ� ใจ จึงป่วยหนกั จนพระซ่งึ เปน็ หลานตอ้ งมาเยย่ี ม ตอนได้ขา่ วครง้ั แรก นึกว่ายายเป็นโรคร้าย มาถึงจึงรู้ว่าป่วยเพราะเสียใจท่ีสูญของรัก ของหวง 94 ธรรมกลางป่า สุ ข ก ลา ง ใ จ
ความเจ็บป่วยก็เหมือนกันสามารถจะเกิดข้ึนกับใครก็ได ้ สามารถจะเกิดขึ้นกับเราได้ตลอดเวลา คนจ�ำนวนมากมีชีวิต สุขสบายดี แต่พอรู้ว่าป่วยเป็นมะเร็งท�ำใจไม่ได้ ตีโพยตีพายว่า ท�ำไมต้องเป็นฉัน บางคนไม่อยากอยู่ อยากจะตาย เพราะมันเจ็บ มันปวดทรมานเหลือเกิน เพราะฉะนั้นคนท่ีไม่ได้เจริญสติ ไม่ได้ เจริญสมาธิภาวนา พอเจอเหตุการณ์แบบนี้ก็อาจเพลี่ยงพลำ้� หรือ ตกมา้ ตายไดง้ า่ ย นเ้ี ปน็ เพราะความประมาท ไมค่ ดิ วา่ มนั สามารถ เกดิ ขน้ึ กบั ตวั เองกไ็ ด ้ แตถ่ า้ เราฝกึ สตอิ ยเู่ สมอ เจอเหตกุ ารณแ์ บบน ี้ อาจเสยี ศนู ยอ์ ยพู่ กั หนง่ึ ไมน่ านกจ็ ะตง้ั สตไิ ด ้ และแทนทจ่ี ะปลอ่ ยใจ ใหจ้ มอยกู่ บั ความทกุ ข ์ ความเศรา้ โศก กจ็ ะดงึ จติ ออกมาจากอารมณ ์ เหล่านั้น และพิจารณาว่าเราจะรกั ษาร่างกายอย่างไรดี แต่บางคนใจไม่ฟื้นเลย เพราะว่าหลงวนอยู่ในความคิด จม อยู่ในอารมณ์ อย่างพยาบาลคนท่ีเป็นมะเร็งตับ เธอไม่สามารถ ดึงจิตออกมาจากความเศร้าความวิตกกังวลได้ ความทุกข์ใจจึง ซ้�ำเติมความทุกข์กาย ท�ำให้สุขภาพร่างกายย�่ำแย่ จนตายเร็วกว่า ทหี่ มอประเมนิ นเี้ ปน็ ตวั อยา่ งทชี่ ว้ี า่ คนเราทกุ ขเ์ พราะความคดิ มาก กวา่ ทกุ ขเ์ พราะเหตอุ นื่ เสยี อกี แมจ้ ะเจบ็ ปว่ ยแตถ่ า้ มสี ตริ กั ษาใจใหด้ ี ก็สามารถจะมีความสุขได้ เจ็บป่วยก็ยังย้ิมได้ ก็ยังมีความสุขได้ เพราะปว่ ยแตก่ าย ใจไม่ปว่ ย 95 พระไพศาล วิสาโล
เมอ่ื ๒-๓ วนั กอ่ นมคี นมาทอดผา้ ปา่ มผี หู้ ญงิ อายรุ าวสามสบิ ปีเศษ มาสนทนาเรื่องธรรมะ คุยไปคุยมาเธอก็บอกว่าเธอเป็น มะเร็งระยะสุดท้าย แต่เธอดูเหมือนปกติมาก เธอเล่าว่าได้ฟังค�ำ บรรยายของอาตมาในยทู บู กอ็ าศยั ธรรมะนแ่ี หละชว่ ยใหร้ กั ษาใจได ้ ถึงแม้บางคร้ังจะรู้สึกแย่ เวลาไปหาหมอแล้วหมอบอกว่าอาการ ไม่ดีขึ้น หรือไม่ตอบสนองต่อยา เธอก็ใจเสีย แต่สักพักก็ต้ังสติได้ อาศัยธรรมะโดยเฉพาะสติช่วยประคับประคองใจ พอถึงเวลาท ี่ อาการลกุ ลามจนกระทงั่ เกดิ ความเจบ็ ปวด เกดิ ทกุ ขเวทนา บางครงั้ ถึงจุดที่แม้แต่ยาระงับปวดก็เอาไม่อยู่ มอร์ฟีนให้ไปเต็มท่ีก็ยัง รสู้ กึ เจบ็ ปวดอย ู่ อนั นเ้ี ปน็ ปญั หาทเี่ กดิ ขน้ึ กบั คนปว่ ยจำ� นวนมาก ถงึ ตอนนัน้ จะท�ำอย่างไร ก็ต้องอาศัยใจอยา่ งเดยี ว คณุ หมออมราไดพ้ ดู ถงึ คนไขช้ ายคนหนง่ึ ทเ่ี ปน็ อาจารยแ์ พทย ์ อายปุ ระมาณสส่ี บิ ปเี ศษ เปน็ มะเรง็ ลามไปถงึ กระดกู ปวดมาก ตอน ไปเยี่ยม คนไขน้ อนไม่ไดเ้ ลยตอ้ งนัง่ ตลอดเวลานงั่ แบบงอก่องอขิง มีเหง่ือผุดเม็ดโตๆ ปากซีด ความรู้ท่ีมีช่วยอะไรไม่ได้เลย เงินทอง ทมี่ กี ไ็ มส่ ามารถจะชว่ ยบรรเทาความเจบ็ ปวดได ้ เพราะยาระงบั ปวด ท่ีให้ก็เต็มที่แล้ว ให้มากกว่าน้ันไม่ได้ คุณหมออมราจึงแนะให้เขา ท�ำสมาธิ หายใจเข้าลึกๆ หายใจออกยาวๆ บริกรรมพุทโธไปด้วย คนไข้ไม่เคยท�ำสมาธิมาก่อน แต่ก็ท�ำตามที่คุณหมออมราแนะน�ำ 96 ธรรมกลางป่า สุ ข ก ลา ง ใ จ
ทีแรกคุณหมอคิดว่าคนไข้ปวดมากขนาดน้ีแล้วไม่เคยทำ� สมาธิเลย คงท�ำได้ไม่เกินห้านาที แต่ปรากฎว่าห้านาทีก็แล้วคนไข้ก็ยังน่ัง หลับตาท�ำสมาธิ สิบนาทีผ่านไปก็ยังน่ังท�ำสมาธิอยู่ ยิ่งน่ังก็ย่ิงดี น่ังจนกระท่ังหลังตรง พอเปิดตาขึ้นมาครบห้าสิบนาที ปากก็เป็น สีชมพู เหง่ือเม็ดโตๆ ก็หายไป รู้สึกดีขึ้นมาก ความเจ็บปวดทุเลา ไปมาก อันน้ีเป็นเพราะอ�ำนาจของสมาธิที่ท�ำให้ความเจ็บปวด บรรเทาลง เรียกวา่ มอี านภุ าพดกี ว่ายาระงับปวดเสียอีก คุณหมออมราแปลกใจว่าคนไข้คนนี้ไม่เคยนั่งสมาธิเลยแต่ ทำ� ไมนง่ั ไดน้ านขนาดน ้ี ทงั้ ๆ ทป่ี วดมาก กไ็ ดค้ ำ� ตอบวา่ เวลาทำ� งาน เขามสี มาธิมาก กเ็ อาสมาธทิ ใ่ี ชก้ ับงานมาใชก้ บั การตามลมหายใจ ก็ช่วยให้ความปวดบรรเทา ที่ว่าความปวดบรรเทาน้ี ส่วนหน่ึง เป็นเพราะลืมปวด คือปกติถ้าไม่มีอะไรให้จิตท�ำ จิตก็จะปักตรึง กบั บรเิ วณทป่ี วด อยา่ งทเ่ี มอ่ื เชา้ มคี นหนงึ่ พดู วา่ เวลาเหยยี บกอ้ นหนิ มนั เจบ็ จติ กไ็ ปปกั อยตู่ รงเทา้ ทเี่ จบ็ ทกุ ขเวทนามนั มแี รงดงึ ดดู มาก คนไข้คนนี้ปวดกระดูกมาก จิตก็ปักตรึงอยู่ที่ความปวดก็ท�ำให ้ ยิ่งปวด แต่พอท�ำสมาธิ ดึงจิตมาที่ลมหายใจ จิตก็รับรู้ความเจ็บ ปวดนอ้ ยลง จนกระทง่ั ถงึ จดุ หนึ่งกล็ ืมปวด จึงไมร่ ู้สกึ ทกุ ข์ทรมาน 97 พระไพศาล วิสาโล
ทจี่ รงิ สมาธยิ งั มขี อ้ ดอี กี อยา่ งหนงึ่ คอื พอจติ สงบแลว้ รา่ งกาย จะหล่ังสารบางตัวออกมา สารเหล่านี้ เช่น โดพามีน เอ็นโดรฟิน มนั ชว่ ยบรรเทาความปวดได ้ สมาธไิ มไ่ ดช้ ว่ ยใหล้ มื ปวดเทา่ นนั้ แต่ ยังมีผลบรรเทาปวดได้ด้วย มันมีผลต่อระบบประสาทจริงๆ อันน้ ี เรยี กวา่ ใชส้ มาธบิ รรเทาปวด บางคนกใ็ ชส้ ตบิ รรเทาปวด มคี นหนงึ่ เปน็ มะเรง็ ทลี่ �ำไส ้ ปวด มาก ยาก็เอาไม่อยู่ ทรมานมากทีเดียว แต่เน่ืองจากเคยเจริญสต ิ มากอ่ น พอไดส้ ตขิ นึ้ มากเ็ อาสตนิ นั้ มาใชใ้ นการดคู วามปวด คนไข ้ คนนี้บอกว่าสติดึงจิตมาไว้ที่หัวไหล่ แล้วดูท้องที่ปวด จิตเห็น ความปวดท่ีเกิดขึ้นกับกาย ความปวดกายยังมีอยู่ แต่ใจไม่ได้ปวด ตามไปดว้ ย เพราะเหน็ ความปวดโดยไมไ่ ดเ้ ขา้ ไปจมอยใู่ นความปวด แต่พอเผลอสติเมื่อไรจิตเข้าไปรวมกับกายก็ปวดมากจนทรมาน เพราะไปเอาความปวดของกาย หรือความปวดของท้องมาเป็น ความปวดของใจดว้ ย พอมสี ตกิ ด็ งึ จติ ออกมาจากกาย บางคนเรยี ก ว่าแยกกายกับจิตออกจากกัน แต่ที่จริงคือการเห็นกายกับเวทนา น่ันเอง เอาจิตเป็นผู้เห็น เห็นกายท่ีปวด เห็นเวทนาท่ีเกิดข้ึน แต ่ ไม่เป็นผู้ปวด นี่เป็นวิธีหนึ่งในการรับมือกับความปวด ท่ีเราต้อง เรียนรู้หรือฝึกให้มีทักษะในทางน้ีบ้าง เพราะเหตุการณ์แบบน้ี สามารถเกดิ ขึน้ กับเราไดท้ กุ เม่ือ 98 ธรรมกลางป่า สุ ข ก ลา ง ใ จ
การดเู วทนาเปน็ ทกั ษะสำ� คญั ทจี่ ะชว่ ยใหเ้ ราเผชญิ ความเจบ็ ปวดหรอื ทกุ ขเวทนาได ้ อยา่ คดิ วา่ เราจะหนที กุ ขเวทนาไปไดต้ ลอด แมว้ า่ ทกุ วนั นเี้ รามเี ทคโนโลยมี ากมาย แตท่ กุ ขเวทนาทางกายก็ สามารถเกิดข้ึนกับเราได้ บางอย่างเป็นทุกขเวทนาที่พอทนไหว แต่บางอย่างก็สุดที่จะทนได้ แต่ถ้าเรามีสติ ก็ช่วยให้จิตไม่ทุกข์ไป กบั กายได ้ อยา่ งทพี่ ระพทุ ธเจา้ สอนนกลุ บดิ าวา่ “ทา่ นพงึ ส�ำเหนยี ก ว่า ถึงกายของเราจะมีโรครุมเร้า แต่ใจของเราจักไม่มีโรครุมเร้า เลย” น่ันคือแม้กายจะป่วย พึงรักษาใจอย่าให้ป่วยด้วย อันนี้เรา ทกุ คนทำ� ไดถ้ า้ หากวา่ มสี ตหิ รอื มสี มาธใิ นระดบั หนงึ่ ปว่ ยแตก่ าย ใจ ไม่ป่วย การใช้สติในการดูความปวดแต่ไม่เป็นผู้ปวดเป็นสิ่งส�ำคัญ มาก เมื่อเราตกอยู่ในสถานการณ์อย่างน้ันก็จะทุกข์แต่กาย ใจ ไมท่ กุ ขต์ าม เราต้องเรียนรู้ที่จะอยู่กับความทุกข์โดยไม่เป็นผู้ทุกข์ แม้จะ พยายามหนีความทุกข์ตะพึดตะพือก็หนีไม่ได้ตลอด การอยู่กับ ทุกขเวทนาโดยใจไม่ทุกข์นั้นต้องอาศัยการเจริญสติ โดยใช้สติใน การรับมือกับทุกขเวทนาแบบอ่อนๆ เช่นอยู่กับความเบ่ือ เวลาเรา ปฏบิ ตั ธิ รรม มกั จะมคี วามเบอ่ื ความเซง็ มารบกวน พวกนกี้ อ่ ใหเ้ กดิ ทุกขเวทนาเช่นกัน แม้จะไม่ร้ายแรงเมื่อเทียบกับความเจ็บปวด เพราะโรคภยั ไขเ้ จบ็ แตเ่ รากต็ อ้ งเรยี นรทู้ จ่ี ะอยกู่ บั มนั ใหเ้ ปน็ มนั จะ 99 พระไพศาล วิสาโล
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170