Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore karnchuylua

karnchuylua

Published by ชมรมกัลยาณธรรม, 2021-03-13 08:10:53

Description: karnchuylua

Search

Read the Text Version

ก า ร ช่  ว ย เ ห ล ือ ผู ้ ป่  ว ย ร ะ ย ะ ส ุด ท ้า ย ด ้ว ย ว ิธี แ บ บ พุ  ท ธ พ ร ะ ไ พ ศ า ล                ว ิ ส า โ ล



ก า ร ช่  ว ย เ ห ล ือ Pdf file Book ผู  ้ป่  ว ย ร ะ ย ะ ส ุด ท ้า ย ด้ ว ย ว ิธ ีแ บ บ พุ  ท ธ พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล ชมรมกัลยาณธรรม หนงั สือดอี นั ดบั ที่  ๓๐๑ พิมพ์ครั้งท่ ี ๖   เดอื นมนี าคม  ๒๕๖๓  จำ� นวน  ๓,๐๐๐  เลม่ จัดพิมพโ์ ดย ชมรมกลั ยาณธรรม ๑๐๐ ถนนประโคนชัย  ตำ� บลปากน�้ำ อำ� เภอเมือง จังหวัดสมทุ รปราการ ๑๐๒๗๐   โทรศัพท์ ๐-๒๗๐๒-๗๓๕๓ และ  ๐-๒๗๐๒-๙๖๒๔ ออกแบบปก  /  รูปเล่ม  /  ภาพประกอบ  สวุ ด ี ผอ่ งโสภา   รว่ มดว้ ยช่วยแจม  คนข้างหลัง พสิ ูจน์อกั ษร  ทีมงานกัลยาณธรรม พิมพ ์ บรษิ ทั   สำ� นักพิมพ์สภุ า  จ�ำกัด  โทร.  ๐-๒๔๓๕-๘๕๓๐ สพั พทานงั   ธัมมทานงั   ชนิ าติ การให้ธรรมะเปน็ ทาน  ชนะการให้ทงั้ ปวง www.kanlayanatam.com www.visalo.org Lkainnelaoyfafnicaiatalm: 2 kanlayanatam

พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล ค ํ า ป ร า ร ภ คนเจ็บน้ันไม่ได้ตอ้ งการเพยี งแคก่ ารเยยี วยา  ทางกายเท่านั้น  การเยียวยาทางจิตใจกม็ ีความสำ� คญั   ดว้ ยเช่นกนั   ย่งิ คนทเ่ี จบ็ หนัก  อยู่ในระยะสุดทา้ ย  ของชวี ติ   การเยยี วยาทางกายกลบั มีความสำ� คัญ  น้อยกวา่ การเยียวยาทางจติ ใจด้วยซำ้�   ดังจะเห็นได้  วา่ เม่อื ผปู้ ่วยมีใจสงบ  ยอมรับความตายได้  ก็หาย  ทรุ นทุราย  แมอ้ าการทางกายจะทรุดหนักลงเป็นล�ำดับ  จนยากแกก่ ารเยยี วยารักษาได้แล้วก็ตาม อยา่ งไรก็ตาม  การเยียวยาทางจิตใจแกผ่ ้ปู ว่ ย  ระยะสดุ ท้ายนน้ั   ยังเปน็ เร่ืองท่ีผ้คู นในปจั จบุ นั   ให้ความสนใจกันน้อย  เปน็ ผลใหช้ ีวิตในชว่ งสดุ ท้ายของ 3

ก า ร ช ่ ว ย เ ห ลื อ ผ ู้ ป ่ ว ย ร ะ ย ะ สุ ด ท ้ า ย ด ้ ว ย ว ิ ธ ี แ บ บ พ ุ ท ธ ผ้ปู ่วยเป็นอนั มากเต็มไปดว้ ยความทกุ ขท์ รมาน  จนไมอ่ าจจากไปไดอ้ ยา่ งสงบ   หนังสือเล่มเลก็ ๆ  นี้เปน็ ความพยายามเบ้ืองตน้   ในการนำ� เสนอวธิ กี ารช่วยเหลือทางจติ ใจแกผ่ ปู้ ว่ ย  ระยะสดุ ทา้ ย  โดยอาศยั หลักการทางพทุ ธศาสนา  ทั้งนีโ้ ดยมปี ระสบการณ์ของผู้รมู้ าเป็นตัวอย่าง  ประกอบ  เร่อื งราวดงั กลา่ วชีใ้ หเ้ หน็ เป็นอยา่ งดีวา่   การตายอยา่ งสงบนั้นเปน็ ไปได้  ไม่จำ� เป็นต้องลงเอย ด้วยความทกุ ข์ทรมานหรือทุรนทรุ ายแตอ่ ย่างใด อย่างไรก็ตามการชว่ ยเหลอื ดงั กล่าวจะให้  ผลดีอยา่ งมาก  หากผ้ปู ่วยมีการฝกึ ฝนหรือเตรยี ม  พรอ้ มทางดา้ นจิตใจด้วย  ไม่จ�ำเพาะแตใ่ นช่วงท ่ี เจ็บป่วยเท่านั้น  แต่ควรทำ� ต้งั แต่ยงั มีสุขภาพดีอย่ ู      การเตรียมพรอ้ มที่ส�ำคัญคือการมที ศั นคติท่ีถกู ต้อง  ตอ่ ความตายและด�ำเนินชีวติ ด้วยความไม่ประมาท     กล่าวคือหมั่นท�ำความด ี สรา้ งบุญกศุ ล  ละเว้น  ความชวั่   และฝกึ ใจให้รจู้ กั ปล่อยวาง 4

พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล ขออนุโมทนาชมรมกลั ยาณธรรมทเี่ หน็ ความ  สำ� คญั ของการดูแลจิตใจผ้ปู ่วย  และจัดพิมพ์หนังสือ  เลม่ น้ีให้แพร่หลายเพือ่ ประโยชนท์ ้ังตอ่ ผ้ปู ว่ ย  ญาติผ้ปู ว่ ย  และบุคลากรทางสาธารณสขุ           ๑  มถิ ุนายน  ๒๕๕๗ 5

ค ํ า น ํ า ช ม ร ม ก ั ล ย า ณ ธ ร ร ม ขา้ พเจา้ เป็นศษิ ย์ผหู้ นงึ่ ของพระอาจารยไ์ พศาล  วสิ าโล  ได้ทราบเสมอวา่ พระอาจารยม์ ีภารกจิ งานธรรม มากมายหลายสว่ น  เพราะทา่ นไมไ่ ดท้ อดทิ้งสังคม  แม้จะเปน็ พระมหาเถระผูเ้ คร่งครดั และสอนภาวนา  ซ่งึ นิยมอย่ปู ่า  แตก่ ลับเปน็ หน่งึ ในตน้ ธารแห่งภูมิปัญญา ของสงั คม  ดว้ ยท่านตระหนักว่า  “ธรรมะสามารถเยียวยา  ได้ทุกจุดทกุ ท่ที ี่มปี ญั หา” ธรรมะจึงควรเขา้ ไป  ผสมผสานในทุกส่วนของสงั คมเท่าทีท่ ่านจะมกี ำ�ลังช่วยได้ เพื่อให้สงั คมนรี้ ่มเย็นเปน็ สขุ ด้วยผู้คนมีธรรมเปน็ ท่ีพึ่ง “เครือข่ายพทุ ธกิ าเพ่อื พระพุทธศาสนาและ  สงั คมไทย”  เปน็ แคเ่ สยี้ วส่วนเลก็ ๆ  ของงานเผยแผ่ธรรม  ท่ีพระอาจารยเ์ ป็นทีป่ รึกษาและเครอื ข่ายน้ีเป็นพลงั   6

พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล ขับเคลอ่ื นท่ีปลกุ วิถีแห่งธรรมใหแ้ ผ่ขยายในจิตใจผูค้ น  งานของพุทธิกาฯ  มหี ลายสว่ น  สว่ นหน่ึงทน่ี า่ สนใจมาก  คอื   “โครงการเผชญิ ความตายอยา่ งสงบ”  ซงึ่ ข้าพเจ้า  เหน็ ว่า  เป็นสัจธรรมพน้ื ฐานทท่ี ุกท่านควรตระหนกั   เพือ่ ความไม่ประมาทมวั เมาในชีวติ และจะสามารถ  ช่วยเหลอื ดแู ลผอู้ น่ื ไดต้ ามโอกาสด้วย  ดงั นน้ั เมือ่ ปลาย  เดือนพฤษภาคมทผ่ี ่านมา  ข้าพเจ้าจงึ ใหโ้ อกาสตัวเองเขา้ อบรมในโครงการเผชิญความตายอยา่ งสงบ   ซึง่ เป็นแคเ่ สย้ี วเล็กๆ  ในโครงการดังกล่าว  ได้รบั ความรู้  ความเขา้ ใจมากมาย  เชน่   สจั ธรรมชวี ิต  การเตรียมตวั   เตรียมใจ  เตรียมชวี ิต  ให้ตนและคนอยูห่ ลงั   และการดแู ล  เยยี วยาผู้ใกล้ชิด  ผเู้ ป็นท่รี กั   ท้งั กายใจและจติ วิญญาณ  รวมท้งั การบอกกล่าวขา่ วรา้ ยแก่คนทเี่ รารัก ขา้ พเจา้ ทราบดวี า่   พระอาจารยเ์ หน็ดเหน่อื ย  ตรากตรำ�งานตลอดเวลาแทบไม่ได้พัก  และการอบรม  ในโครงการเผชิญความตายฯ  นี้  กเ็ ปน็ สว่ นท่ที า่ นต้อง  ใช้เวลาสว่ นใหญ่ในแตล่ ะวัน  เดือน  ปี  เมอ่ื ตนเองไดเ้ ข้า  อบรมในคอรส์ ดงั กล่าว  ในวันสดุ ทา้ ยผ้ฝู ึกทุกคนตอ้ งเขา้   7

ก า ร ช ่ ว ย เ ห ล ื อ ผ ู้ ป ่ ว ย ร ะ ย ะ สุ ด ท ้ า ย ด้ ว ย ว ิ ธี แ บ บ พ ุ ท ธ เยี่ยมผปู้ ่วยระยะสุดทา้ ยเพอ่ื ให้กำ�ลังใจ  (เป็นเรื่องจรงิ ทีน่ กั เรยี นทกุ คนต้องเรียนรู้)  รสู้ กึ ประทับใจมาก    ทำ�ให้เขา้ ใจว่างานนใ้ี ห้ความอิม่ เอมใจความประทับใจ  กบั พวกเราเช่นไร  พระอาจารยท์ ่านคงหายเหน่ือยดว้ ย  ความสุขเช่นนนั้ มากกวา่ พวกเราหลายร้อยพนั เท่า ในนามชมรมกัลยาณธรรมของนอ้ มบูชา  อาจรยิ คณุ แด่พระอาจารยผ์ ้เู ปย่ี มเมตตาเกินกวา่ จะ  หาคำ�กล่าวใด  ด้วยธรรมทานอันทรงคณุ คา่ ท่พี วกเรา  กระทำ�แลว้ ดว้ ยดี  เพ่ือเป็นประโยชนแ์ กผ่ ้ทู จ่ี ะต้องตาย  ทุกท่านตลอดไป กราบขอบพระคณุ และอนุโมทนาบุญย่ิง ทพญ.อัจฉรา  กลิน่ สวุ รรณ์ ประธานชมรมกลั ยาณธรรม 8

ก า ร ช ่ ว ย เ ห ล ื อ ผ ู้ ป่  ว ย ร ะ ย ะ ส ุ ด ท ้ า ย ด้ ว ย ว ิ ธ ี แ บ บ พ ุ ท ธ

ก า ร ช ่ ว ย เ ห ลื อ ผ ู้ ป ่ ว ย ร ะ ย ะ สุ ด ท ้ า ย ด้ ว ย ว ิ ธี แ บ บ พ ุ ท ธ ความเจบ็ ปว่ ยเมือ่ เกิดขึ้นแล้ว  มไิ ด้เกดิ ผล  กระทบต่อรา่ งกายเท่านนั้   หากยังมอี ทิ ธพิ ลตอ่   จติ ใจดว้ ย  คนทเี่ จบ็ ป่วยสว่ นใหญแ่ ลว้ จึงไม่ได้ม ี ความเจ็บป่วยทางกายเทา่ นั้น  หากยังมีความ  เจบ็ ป่วยทางจติ ใจอกี ด้วย  ยงิ่ ผูป้ ว่ ยระยะสดุ ท้าย  ดว้ ยแลว้   ความเจ็บปว่ ยทางจติ ใจเป็นสาเหตุแหง่   ความทกุ ข์ทรมานไม่น้อยไปกว่าความเจบ็ ป่วย  ทางกาย  หรืออาจจะมากกว่าดว้ ยซำ�้   เพราะสงิ่ ท ่ี เผชญิ เบ้ืองหนา้ เขา  คอื ความตายและความ  พลัดพรากสูญเสยี อย่างสนิ้ เชงิ   ซง่ึ กระต้นุ เร้า  ความกลัว  ความวติ กกงั วล  และความรู้สกึ อ้างว้าง  โดดเดี่ยวใหผ้ ดุ ขนึ้ มาอย่างเข้มขน้ รนุ แรงอยา่ งท่ ี ไมเ่ คยประสบมาก่อน ดว้ ยเหตนุ ้ีผปู้ ่วยจงึ ต้องการการดแู ลรักษา  ทางจิตใจไมน่ ้อยไปกวา่ การดแู ลทางร่างกาย  และ ส�ำหรบั ผปู้ ่วยระยะสดุ ทา้ ยซง่ึ แพทยห์ มดหวงั ที่จะ รักษารา่ งกายใหห้ ายหรอื ดขี น้ึ กวา่ เดมิ แลว้   การดูแล  ชว่ ยเหลอื ทางจติ ใจกลับจะมคี วามส�ำคัญยง่ิ กว่า    10

พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล เพราะแมร้ า่ งกายจะเสอื่ มถอยลงไปเร่อื ยๆ  แต่  จติ ใจยังมีโอกาสทีจ่ ะกลบั มาดขี ึน้   หายทรุ นทรุ าย    จนเกิดความสงบข้ึนได้แม้กระท่ังในวาระสดุ ทา้ ย  ของชวี ติ   ท้งั นีเ้ พราะกายกับใจแมจ้ ะสมั พนั ธก์ ัน  อยา่ งใกลช้ ิด  แต่เม่อื กายทุกข ์ ไมจ่ ำ� เป็นว่าใจจะ  ต้องเป็นทกุ ข์ไปกบั กายดว้ ยเสมอไป  เราสามารถ  รกั ษาใจไม่ให้ทกุ ข์ไปกับกายได้  ดงั พระพุทธองค ์ ไดเ้ คยตรสั แก่  นกุลปิตาอุบาสกผูป้ ่วยหนักว่า    “ขอให้ทา่ นพจิ ารณาอย่างนวี้ า่   เมื่อกายเรา  กระสบั กระส่าย  จิตเราจะไม่กระสบั กระสา่ ย” ในสมัยพทุ ธกาล  มีหลายเหตกุ ารณท์ ่ีพระพุทธ-  องค์และพระสาวกไดท้ รงมีสว่ นช่วยเหลอื ผทู้ ่กี ำ� ลงั   ป่วยและใกล้ตาย  เปน็ การช่วยเหลือทมี่ ุ่งบ�ำบดั ทกุ ข์  หรือโรคทางใจโดยตรง  ดงั มบี ันทกึ ในพระไตรปิฎกวา่   คราวหนง่ึ ทฆี าวอุ บุ าสกป่วยหนกั   ไดข้ อให้บดิ าชว่ ย  พาเขา้ เฝา้ พระพุทธองค์  และกราบทูลวา่   ตนเอง  ปว่ ยหนัก  เห็นจะอยู่ได้ไมน่ าน  พระพุทธองคท์ รง  แนะใหท้ ีฆาวุอุบาสกตัง้ จิตพจิ ารณาวา่   11

ก า ร ช ่ ว ย เ ห ลื อ ผ ู้ ป ่ ว ย ร ะ ย ะ สุ ด ท ้ า ย ด ้ ว ย ว ิ ธ ี แ บ บ พ ุ ท ธ ๑.  จกั มีความเลอ่ื มใสไมห่ วั่นไหวในพระพทุ ธเจา้ ๒.  จักมีความเลือ่ มใสไม่หวน่ั ไหวในพระธรรม ๓.  จักมีความเลอื่ มใสไมห่ ว่ันไหวในพระสงฆ์ ๔.  จักตั้งตนอย่ใู นศีลท่พี ระอรยิ ะสรรเสริญ เมอื่ ทีฆาวทุ ูลวา่ ได้ประกอบตนอยู่ในธรรม  ทง้ั   ๔  ประการแล้ว  พระพทุ ธองค์กท็ รงแนะให้  ทฆี าวุพิจารณาวา่ สังขารทั้งปวงน้ันไมเ่ ทย่ี ง  เปน็ ทกุ ข์  และเปน็ อนตั ตา  ทฆี าวไุ ดพ้ ิจารณาเห็นตามนน้ั   หลังจากน้ันพระพทุ ธเจ้าได้เสด็จออกไป  ไมน่ านที ฆาวุก็ถงึ แกก่ รรม  พระพทุ ธองคไ์ ด้ตรัสในเวลาต่อมา ว่าอานสิ งสจ์ ากการที่ทฆี าวุพจิ ารณาตามทีพ่ ระองคไ์ ด้ ตรสั สอน  ทฆี าวุไดบ้ รรลเุ ปน็ พระอนาคามี ในอกี ทหี่ นง่ึ พระพุทธเจ้าไดต้ รสั สอนวา่   เมอื่   มีอุบาสกป่วยหนกั   อบุ าสกดว้ ยกนั พึงใหค้ �ำแนะนำ�     ๔  ประการวา่   จงมีความเล่ือมใสอนั ไมห่ วั่นไหวใน  พระพทุ ธ  พระธรรม  พระสงฆ ์ และมีศลี ที่พระอรยิ ะ  สรรเสรญิ   จากน้นั ใหถ้ ามวา่ เขายงั มคี วามหว่ งใยใน  มารดา  บิดา  ในบตุ ร  และภริยา  และในกามคณุ   ๕    12

พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล อย่หู รือ  พึงแนะให้เขาละความห่วงใยในมารดา    บิดา  ในบุตร  และภริยา  และในกามคณุ   ๕  (รปู   รส    กลน่ิ   เสียง  สมั ผสั ทีน่ ่าพอใจ)  จากน้ันกแ็ นะใหเ้ ขา  นอ้ มจิตสภู่ พภูมิท่ีสูงข้ึนไปเรื่อยๆ  จนถึงข้ันละจาก  พรหมโลก  นอ้ มจติ สคู่ วามดบั แหง่ กายตน  (สกั กายนโิ รธ)    อันเป็นความหลดุ พน้   เชน่ เดียวกับการหลดุ พน้ จาก  อาสวะกิเลส กรณขี องพระติสสะเปน็ อีกกรณีหนงึ่ ที่น่าสนใจ    พระตสิ สะไดล้ ม้ ปว่ ยดว้ ยโรครา้ ย  มตี ุ่มขนาดใหญข่ นึ้   เตม็ ตวั   ต่มุ ท่ีแตกก็ส่งกลน่ิ เหมน็   จนผา้ สบงจีวรเป้ือน  ด้วยเลอื ดและหนอง  เม่ือพระพทุ ธองค์ทรงทราบ    จงึ เสด็จไปดูแลรกั ษาพยาบาล  ผลดั เปล่ียนสบงจวี ร    ตลอดจนถสู รรี ะ  และอาบน้�ำให ้ พระติสสะเมือ่ สบายตวั   และร้สู กึ ดขี ้นึ   พระองค์กต็ รัสวา่   “อีกไมน่ าน  กายนจ้ี ะ  นอนทบั แผ่นดนิ   ปราศจากวิญญาณ  เหมอื นทอ่ นไม้ท ี่ ถกู ทงิ้ แลว้   หาประโยชนไ์ มไ่ ด”้   พระตสิ สะพจิ ารณาตาม    เม่ือพระพทุ ธองคต์ รัสเสร็จ  พระติสสะก็บรรลุเปน็   พระอรหันต์  พรอ้ มกบั ดบั ขนั ธไ์ ปในเวลาเดียวกัน 13

ก า ร ช ่ ว ย เ ห ลื อ ผ ู้ ป ่ ว ย ร ะ ย ะ สุ ด ท ้ า ย ด ้ ว ย ว ิ ธี แ บ บ พ ุ ท ธ จากตัวอย่าง  ๓  กรณที ่เี ลา่ มา  มขี ้อพิจารณา    ๒  ประการ  คือ ๑.  ความเจ็บป่วยและภาวะใกลต้ ายนนั้     แม้จะเปน็ ภาวะวิกฤตหรอื ความแตกสลายใน  ทางกาย  แตส่ ามารถเป็น  “โอกาส”  แหง่ ความ  หลุดพ้นในทางจติ ใจ  หรือการยกระดับในทางจิต วญิ ญาณได้  ความเจบ็ ป่วยและภาวะใกล้ตาย  จึงมไิ ด้เป็นสง่ิ เลวรา้ ยในตวั มนั เอง  หากใชใ้ ห้เป็น  ก็สามารถเป็นคุณแก่ผเู้ จบ็ ป่วยได้ ๒.  ค�ำแนะนำ� ของพระพุทธเจา้   สามารถ  จ�ำแนกเปน็   ๒  ส่วนคอื - การนอ้ มจิตใหม้ ีศรทั ธาในพระรตั นตรยั และความมน่ั ใจในศลี   หรอื ความดที ี่ได้ บำ� เพ็ญมา  กล่าวอีกนัยหนงึ่ คือการ นอ้ มจติ ให้ระลกึ ถงึ ส่งิ ทีด่ งี าม - การละความหว่ งใยและปล่อยวางในสง่ิ ท้งั ปวง  เพราะแลเห็นด้วยปัญญาว่าไม่มี อะไรทีจ่ ะยดึ ถือไว้ไดเ้ ลย 14

พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล ค�ำแนะนำ� ของพระพทุ ธเจา้ ดงั กล่าว  เปน็   แนวทางอย่างดีสำ� หรบั การใหค้ วามช่วยเหลอื   ทางจติ ใจแกผ่ ใู้ กลต้ ายในปัจจบุ ัน  ในบทความน้ ี จะน�ำหลักการดังกลา่ วมาประยุกต์สำ� หรบั แพทย์    พยาบาล  และญาติมิตรท่ตี ้องการชว่ ยเหลือผู้ใกล้ตาย  โดยน�ำเอาประสบการณจ์ ากกรณีตวั อยา่ งอ่ืนๆ    มาประกอบเปน็ แนวทางดงั ต่อไปนี้ 15

ก า ร ช ่ ว ย เ ห ล ื อ ผ ู้ ป ่ ว ย ร ะ ย ะ สุ ด ท ้ า ย ด ้ ว ย ว ิ ธี แ บ บ พ ุ ท ธ ๑ ใ ห ้ ค ว า ม ร ั ก แ ล ะ ค ว า ม เ ห ็ น อ ก เ ห ็ น ใ จ 16

พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล ผ้ปู ่วยระยะสดุ ท้ายไมเ่ พยี งถกู ความเจ็บปวด  ทางกายรุมเร้าเทา่ น้ัน  หากยังถกู รบกวนดว้ ย  ความกลวั   เชน่   ความกลัวตาย  กลัวท่ีจะถกู ทอดทง้ิ   กลวั ทจ่ี ะตายอย่างโดดเด่ียวอา้ งวา้ ง  กลัวส่งิ ทร่ี ออยู่  ขา้ งหนา้ หลงั จากสน้ิ ลม  ตลอดจนกลวั ความเจบ็ ปวด  ทจี่ ะเกิดขึ้น  ความกลัวดังกลา่ วอาจสรา้ งความทกุ ข์  ให้แก่เขายิ่งกว่าความเจ็บปวดทางกายดว้ ยซ�ำ้     ความรักและกำ� ลงั ใจจากลูกหลานญาติมติ รเปน็   สง่ิ สำ� คญั ในยามนเ้ี พราะสามารถลดทอนความกลวั   และชว่ ยใหเ้ ขาเกดิ ความมั่นคงในจติ ใจได ้ พึงระลึก  ว่าผปู้ ว่ ยระยะสุดทา้ ยนน้ั มีสภาพจติ ทเ่ี ปราะบาง  อ่อนแออย่างมาก  เขาต้องการใครสกั คนทเ่ี ขา  สามารถพ่งึ พาได้  และพรอ้ มจะอยกู่ บั เขาในยาม  วิกฤต  หากมใี ครสกั คนท่ีพรอ้ มจะใหค้ วามรัก  แก่เขาไดอ้ ยา่ งเตม็ เปยี่ มหรืออย่างไม่มเี ง่อื นไข    เขาจะมีก�ำลังใจเผชญิ กบั ความทุกข์นานาประการ  ทโ่ี หมกระหน�ำ่ เขา้ มา 17

ก า ร ช ่ ว ย เ ห ลื อ ผ ู้ ป ่ ว ย ร ะ ย ะ สุ ด ท ้ า ย ด้ ว ย ว ิ ธี แ บ บ พ ุ ท ธ ความอดทนอดกลน้ั   เหน็ อกเหน็ ใจ  ออ่ นโยน    และให้อภัย  เป็นอาการแสดงออกของความรกั     ความทกุ ขท์ างกายและสภาพจิตท่ีเปราะบาง  มกั ท�ำใหผ้ ู้ป่วยแสดงความหงดุ หงิด  กราดเกร้ยี ว  ออกมาได้งา่ ย  เราสามารถช่วยเขาไดด้ ้วยการ  อดทนอดกลัน้   ไม่แสดงความข่นุ เคอื งฉนุ เฉียว  ตอบโต้กลบั ไป  พยายามให้อภยั และเห็นอกเห็นใจ  เขา  ความสงบและความออ่ นโยนของเราจะช่วย  ให้ผปู้ ว่ ยสงบนง่ิ ลงไดเ้ รว็ ขึ้น  การเตือนสติเขา  อาจเป็นส่ิงจ�ำเปน็ ในบางคร้ัง  แตพ่ งึ ทำ� ด้วยความ  น่มุ นวลอย่างมเี มตตาจติ   จะทำ� เช่นนน้ั ได้ส่งิ หนึง่   ทญ่ี าตมิ ิตรขาดไม่ได้คือมสี ติอยูเ่ สมอ  สติชว่ ยให ้ ไม่ลืมตัว  และประคองใจใหม้ เี มตตา  ความรัก    และความอดกล้นั อยา่ งเตม็ เป่ยี ม แม้ไม่ร้วู า่ จะพูดใหก้ �ำลังใจแก่เขาอย่างไรด ี   เพยี งแคก่ ารใชม้ อื สมั ผัสผูป้ ่วยดว้ ยความออ่ นโยน    ก็ชว่ ยให้เขารบั รูถ้ ึงความรักจากเราได ้ เราอาจ  จบั มือ  จบั แขนเขา  บบี เบาๆ  กอดเขาไว ้ หรอื ใช้  18

พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล มือทงั้ สองสมั ผสั บรเิ วณหน้าผากและหนา้ ทอ้ ง    พร้อมกับแผ่ความปรารถนาดใี ห้แกเ่ ขา  สำ� หรบั   ผทู้ ีเ่ คยท�ำสมาธภิ าวนา  ขณะทส่ี ัมผัสตวั เขา    ให้น้อมจติ อยู่ในความสงบ  เมตตาจากจิตที่สงบ    และเป็นสมาธ ิ จะมพี ลังจนผู้ป่วยสามารถสัมผสั ได้ การแผเ่ มตตาอย่างหนึ่งทีช่ าวพุทธธิเบต  นยิ มใช้กค็ อื   การน้อมใจนกึ หรอื อญั เชญิ   สิ่งศักดิส์ ทิ ธ์ทิ ่ีผูป้ ่วย  (หรือเรา)  เคารพนับถือ  เชน่   พระพทุ ธเจา้   พระโพธิสตั ว ์ หรอื เจ้าแมก่ วนอิม  ให้มคี วามรู้สึกว่าทา่ นเหล่านั้นปรากฏเป็นภาพ  นิมิตอยู่เหนอื ศีรษะของผู้ป่วย  จากนนั้ จินตนาการ  ว่าท่านเหล่านนั้ ไดเ้ ปลง่ รังสแี หง่ ความกรณุ าและการ  เยียวยา  เป็นล�ำแสงอันนมุ่ นวล  อาบรดทว่ั ร่างของ  ผปู้ ่วย  จนร่างของผปู้ ่วยผสานเปน็ อนั หนึ่งอนั เดยี ว  กับลำ� แสงนั้น  ขณะทนี่ อ้ มใจนกึ ภาพดงั กลา่ ว    เราอาจสมั ผสั มอื ของผปู้ ่วยไปด้วย  หรอื น่ังสงบ  อยู่ข้างๆ  เตียงผู้ป่วยก็ได้ 19

ก า ร ช ่ ว ย เ ห ลื อ ผ ู้ ป ่ ว ย ร ะ ย ะ ส ุ ด ท ้ า ย ด ้ ว ย ว ิ ธี แ บ บ พ ุ ท ธ ๒ ช่  ว ย ใ ห ้ ผู  ้ ป่  ว ย ย อ ม รั บ ค ว า ม ต า ย ท่ ี จ ะ ม า ถ ึ ง 20

พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล การรวู้ า่ วาระสุดท้ายของตนใกล้จะมาถงึ   ย่อมช่วยให้ผู้ป่วยมเี วลาเตรยี มตวั เตรียมใจในขณะท่ี  สังขารยงั เอือ้ อำ� นวยอย ู่ แตม่ ีผู้ปว่ ยจำ� นวนมาก  ทีไ่ มค่ าดคดิ มากอ่ นว่าตนเปน็ โรคร้ายท่ีรักษาไมห่ าย    และอาการไดล้ ุกลามมาถึงระยะสุดทา้ ยแล้ว    การปลอ่ ยเวลาให้ลว่ งเลยไปโดยปกปดิ ความจริง  ไมใ่ หผ้ ูป้ ว่ ยรับร ู้ ย่อมทำ� ให้เขามเี วลาเตรยี มตัวได้  น้อยลง  อยา่ งไรก็ตามการเปดิ เผยความจรงิ ซง่ึ เป็น  ขา่ วร้าย  โดยไม่ได้เตรยี มใจเขาไวก้ อ่ น  กอ็ าจทำ� ใหเ้ ขา  มอี าการทรุดหนักลงกวา่ เดมิ   โดยท่ัวไปแลว้ แพทย์จะ  มีบทบาทส�ำคัญในเรื่องนี ้ โดยเฉพาะหลงั จากทไี่ ด ้ สร้างความสมั พนั ธ์ท่ีใกลช้ ิดหรอื ได้รบั ความไว้วางใจ  จากผปู้ ่วยแล้ว  แตแ่ ม้กระนั้นการทำ� ใหผ้ ู้ป่วยยอมรบั   ความตายที่ก�ำลังจะเกิดขนึ้   มักเป็นกระบวนการท ่ี ใชเ้ วลานาน  นอกเหนอื จากความรัก  และความไว้วางใจ แล้ว  แพทย ์ พยาบาล  ตลอดจนญาตมิ ิตร  จ�ำตอ้ งม ี ความอดทนและพรอ้ มทจี่ ะฟังความในใจจากผู้ปว่ ย 21

ก า ร ช ่ ว ย เ ห ลื อ ผ ู้ ป ่ ว ย ร ะ ย ะ สุ ด ท ้ า ย ด ้ ว ย ว ิ ธ ี แ บ บ พ ุ ท ธ แต่บางครั้งหน้าที่ดงั กล่าวกต็ กอยู่กบั ญาต ิ ผปู้ ่วย  เนอื่ งจากรู้จกั จติ ใจผปู้ ว่ ยดกี วา่ แพทย์  ญาติ  นน้ั มักคดิ วา่ การปกปิดความจริงเปน็ ส่งิ ดีกว่า  (จะดี  สำ� หรบั ผปู้ ว่ ยหรือตนเองก็แลว้ แต่)  แตเ่ ท่าทเ่ี คยมี  การสอบถามความเหน็ ของผปู้ ว่ ย  ผ้ปู ว่ ยสว่ นใหญ ่ ตอ้ งการใหเ้ ปดิ เผยความจรงิ มากกวา่ ท่ีจะปกปิด    และถงึ จะปกปดิ   ในที่สดุ ผปู้ ่วยก็ย่อมรู้จนไดจ้ าก  การสังเกตอากัปกริ ิยาของลกู หลานญาตมิ ิตรท่ี  เปลยี่ นไป  เชน่ จากใบหนา้ ท่ไี รร้ อยย้มิ   หรอื จากเสยี ง  ที่พูดคอ่ ยลง  หรือจากการเอาอกเอาใจทมี่ มี ากขนึ้ อย่างไรก็ตามเมอื่ บอกขา่ วรา้ ยแลว้   ใชว่ า่   ผปู้ ่วยจะยอมรบั ความจริงได้ทุกคน  แต่สาเหตุอาจ  จะมีมากกวา่ ความกลวั ตาย  เปน็ ไปไดว้ ่าเขามีภารกิจ  บางอยา่ งที่ยังคงค่ังค้างอยู่  หรอื มีความกังวลกบั   บางเร่อื ง  ญาติมติ รควรชว่ ยใหเ้ ขาเปดิ เผยหรือระบาย  ออกมาเพื่อจะได้บรรเทาและเยยี วยา  หากเขาม่ันใจ  ว่ามคี นทีพ่ รอ้ มจะเข้าใจเขา  เขาจะรสู้ ึกปลอดภัยที่  จะเผยความในใจออกมา  ขณะเดยี วกนั การซกั ถาม  22

พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล ทีเ่ หมาะสมอาจช่วยใหเ้ ขาระลกึ รวู้ ่าอะไรคือสงิ่ ท ่ี ท�ำให้เขามิอาจยอมรบั ความตายได้  หรือทำ� ใหเ้ ขา  ได้คดิ ขน้ึ มาวา่ ความตายเปน็ สง่ิ ที่มอิ าจหลกี เลีย่ งได้  และไม่จ�ำเป็นต้องลงเอยเลวร้ายอย่างที่เขากลวั   สง่ิ ทญ่ี าตมิ ติ รพึงตระหนักในขน้ั ตอนน้ีกค็ ือรบั ฟงั เขา  ดว้ ยใจท่ีเปดิ กวา้ งและเหน็ อกเห็นใจ  พรอ้ มจะ  ยอมรับเขาตามที่เปน็ จริง  และให้ความสำ� คญั กบั   การซักถามมากกวา่ การเทศนาส่งั สอน การช่วยให้เขาคลายความกงั วลเก่ยี วกับ  ลกู หลานหรอื คนทีเ่ ขารัก  อาจชว่ ยให้เขาทำ� ใจรับ  ความตายได้มากขึ้น  บางกรณผี ู้ปว่ ยอาจระบายโทสะ  ใสแ่ พทย์  พยาบาล  และญาติมติ ร  ทง้ั นเี้ พราะโกรธ  ทบ่ี อกขา่ วรา้ ยแก่เขาหรือโกรธทป่ี ดิ บังความจรงิ   เกยี่ วกบั อาการของเขาเป็นเวลานาน  ปฏิกริ ิยาดงั กลา่ ว  สมควรได้รับความเข้าใจจากผเู้ กีย่ วข้อง  หากผู้ปว่ ย  สามารถขา้ มพ้นความโกรธ  และการปฏิเสธความตาย  ไปได ้ เขาจะยอมรับสภาพความเป็นจริงที่เกดิ กับ  ตวั เขาได้งา่ ยข้ึน 23

ก า ร ช ่ ว ย เ ห ลื อ ผ ู้ ป ่ ว ย ร ะ ย ะ ส ุ ด ท ้ า ย ด ้ ว ย ว ิ ธี แ บ บ พ ุ ท ธ ในการบอกขา่ วรา้ ย  ส่งิ ที่ควรท�ำควบคู่  ไปดว้ ยกค็ อื   การใหก้ ำ� ลงั ใจและความมนั่ ใจแกเ่ ขา  ว่าเรา  (ญาติมติ ร)  และแพทยพ์ ยาบาลจะไม่  ทอดทิง้ เขา  จะอย่เู คียงข้างเขาและชว่ ยเหลือเขา  อย่างเต็มท่ี  และจนถึงทส่ี ดุ   การให้กำ� ลังใจ  ในยามวกิ ฤตก็มีประโยชน์เชน่ กนั   ดงั กรณีเดก็   อายุ  ๑๐  ขวบคนหนงึ่   อาการทรุดหนักและ  อาเจยี นเปน็ เลอื ด  ร้องอยา่ งตน่ื ตระหนกวา่     “ผมกำ� ลงั จะตายแล้วหรอื ?”  พยาบาลไดต้ อบ  ไปวา่   “ใช่  แต่ไม่มีอะไรนา่ กลัว  หนูกา้ วไปขา้ งหนา้   เลย  อาจารยพ์ ุทธทาสรออย่แู ลว้   หนูเปน็ คน  กลา้ หาญ  ขา้ งๆ  หนูกม็ คี ุณพ่อคุณแมค่ อยชว่ ยอยู่”  ปรากฏวา่ เดก็ หายทรุ นทรุ าย  และท�ำตามค�ำ  แนะนำ� ของแมท่ ่ีให้บรกิ รรม  “พุทโธ”  ขณะท ่ี หายใจเขา้ และออกไม่นานเด็กกจ็ ากไปอยา่ งสงบ ประโยชนอ์ ยา่ งหนง่ึ จากการบอกความจริง  แกผ่ ู้ปว่ ยกค็ อื   ชว่ ยใหผ้ ู้ป่วยตดั สินใจลว่ งหนา้   วา่ เม่อื ตนมีอาการเพยี บหนัก  ไมม่ คี วามรสู้ ึกตัว  24

พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล แลว้ จะให้แพทยเ์ ยียวยารักษาไปถงึ ข้ันไหน    จะให้แพทย์ยืดชวี ติ ไปใหถ้ งึ ท่ีสดุ โดยใชเ้ ทคโนโลย ี ทกุ อยา่ งเทา่ ทมี่  ี เชน่   ปม๊ั หวั ใจ  ตอ่ ทอ่ ชว่ ยหายใจ    และท่อใส่อาหารฯ  หรือให้งดวธิ กี ารดงั กล่าว    ชว่ ยเพียงแคป่ ระทังอาการ  และปลอ่ ยใหค้ อ่ ยๆ    ส้ินลมไปอย่างสงบ  บอ่ ยคร้งั ผู้ปว่ ยไม่ไดต้ ัดสนิ ใจ  ในเรอ่ื งนล้ี ว่ งหนา้ เพราะไมร่ สู้ ภาพทแี่ ทจ้ รงิ ของตวั     ผลก็คือเม่อื เข้าสภู่ าวะโคม่า  ญาติมติ รจึงไม่มี  ทางเลอื กอ่นื ใด  นอกจากการขอใหแ้ พทย ์ แทรกแซงอาการอย่างถึงที่สุด  ซง่ึ มักก่อให้เกดิ   ความทกุ ข์ทรมานแกผ่ ู้ป่วยโดยมีผลเพียงแตย่ ืด  กระบวนการตายให้ยาวออกไป  และไมช่ ว่ ยให้  คุณภาพชวี ติ ดขี น้ึ เลย  ซ้ำ� ยังสน้ิ เปลืองคา่ ใชจ้ ่าย  เป็นจำ� นวนมาก 25

ก า ร ช ่ ว ย เ ห ล ื อ ผ ู้ ป ่ ว ย ร ะ ย ะ สุ ด ท ้ า ย ด ้ ว ย ว ิ ธ ี แ บ บ พ ุ ท ธ ๓ ช่  ว ย ใ ห ้ จ ิ ต ใ จ จ ด จ ่ อ ก ั บ สิ ่ ง ด ี ง า ม 26

พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล การนกึ ถงึ สง่ิ ดีงามชว่ ยใหจ้ ติ ใจเป็นกุศล  และบังเกดิ ความสงบ  ท�ำใหค้ วามกลัวคุกคามจิต  ไดน้ ้อยลง  และสามารถเผชญิ กบั ความเจบ็ ปวด  ได้ดีขึ้น  วิธีหนง่ึ ที่พระพทุ ธเจ้าและพระสาวกมัก  แนะน�ำใหผ้ ใู้ กล้ตายปฏิบตั ิกค็ ือ  การระลกึ ถงึ และ  มีศรัทธามนั่ ในพระรตั นตรยั   คอื พระพทุ ธ  พระธรรม  และพระสงฆ ์ จากน้นั กใ็ หต้ ั้งตนอยใู่ นศีล  และระลกึ   ถงึ ศีลทไี่ ดบ้ ำ� เพญ็ มา  พระรัตนตรยั น้ันกลา่ วอีก  นัยหน่ึงคอื ส่ิงดงี ามหรอื สงิ่ ศกั ดส์ิ ิทธท์ิ ี่ผู้ปว่ ยนับถอื     สว่ นศลี น้ันก็คอื ความดีงามทีต่ นไดก้ ระท�ำมา เราสามารถน้อมน�ำให้ผปู้ ่วยนกึ ถงึ ส่ิงดีงามได ้ หลายวธิ  ี เช่น  น�ำเอาพระพทุ ธรูปหรือสง่ิ ศักดิส์ ิทธ ์ิ ตลอดจนภาพครูบาอาจารยท์ ีผ่ ู้ป่วยเคารพนบั ถอื   มาติดตง้ั ไวใ้ นห้องเพอื่ เป็นเคร่อื งระลกึ นกึ ถงึ   หรือ  ชักชวนให้ผู้ปว่ ยทำ� วัตรสวดมนต์รว่ มกนั   นอกจาก  การอา่ นหนงั สอื ธรรมะให้ฟังแล้ว  การเปิดเทป  ธรรมบรรยายหรือบทสวดมนต์เปน็ อกี วธิ หี น่ึงท่ ี ชว่ ยน้อมจิตของผ้ปู ่วยใหบ้ งั เกิดความสงบและ  27

ก า ร ช ่ ว ย เ ห ลื อ ผ ู้ ป ่ ว ย ร ะ ย ะ สุ ด ท ้ า ย ด ้ ว ย ว ิ ธี แ บ บ พ ุ ท ธ ความสวา่ ง  การนมิ นต์พระมาเยย่ี มและแนะนำ�   การเตรยี มใจ  ย่งิ เปน็ พระทผ่ี ู้ปว่ ยเคารพนบั ถือ    จะช่วยให้ก�ำลังใจแกเ่ ขาไดม้ าก  อย่างไรก็ตาม  พึงคำ� นึงถงึ วฒั นธรรมและความคุ้นเคยของผู้ปว่ ย  ดว้ ย  ส�ำหรบั ผปู้ ว่ ยที่เป็นคนจนี   ภาพพระโพธิสัตว ์ หรอื เจ้าแมก่ วนอมิ อาจน้อมนำ� จิตใจใหส้ งบ  และมี กำ� ลงั ใจไดด้ ีกว่าอยา่ งอ่นื   หากผปู้ ว่ ยนับถอื ศาสนา  อิสลามหรือศาสนาครสิ ต ์ สัญลักษณข์ องพระเจา้   หรอื ศาสดาในศาสนาของตนย่อมมีผลต่อจิตใจ  ได้ดที ่ีสดุ นอกจากน้นั เรายังสามารถนอ้ มใจผู้ปว่ ยให้  เกิดกุศลดว้ ยการชักชวนใหท้ �ำบุญถวายสังฆทาน    บรจิ าคทรัพย์เพอ่ื การกุศล  และท่ีขาดไม่ไดก้ ค็ อื   ชวนใหผ้ ูป้ ว่ ยระลึกถงึ ความดีท่ตี นเองได้บ�ำเพ็ญ  ในอดตี   ซ่ึงไม่จ�ำเปน็ ตอ้ งหมายถงึ การท�ำบุญกับ  พระหรือศาสนาเท่านั้น  แมแ้ ตก่ ารเลยี้ งดูลกู ๆ    ให้เป็นคนด ี เสียสละ  ดูแลพ่อแมด่ ว้ ยความรกั     ซอ่ื ตรงต่อคูค่ รอง  เอื้อเฟอ้ื ต่อมิตรสหาย  หรือ  28

พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล สอนศิษยอ์ ย่างไมเ่ ห็นแก่ความเหนือ่ ยยาก  เหล่าน้ี  ล้วนเปน็ บญุ กุศลหรอื ความดีท่ีชว่ ยให้เกดิ ความ  ปตี ปิ ลาบปล้ืมแก่ผู้ปว่ ย  และบงั เกดิ ความมั่นใจ  วา่ ตนจะไดไ้ ปสคุ ติ ความภูมใิ จในความดีทีต่ นกระทำ�   และ  มน่ั ใจในอานสิ งส์แห่งความดดี งั กลา่ วเป็นส่งิ ส�ำคัญ  ส�ำหรับผปู้ ่วย  ในยามทต่ี ระหนักชัดว่าทรัพย์สิน  เงนิ ทองต่างๆ  ทสี่ ะสมมาน้นั   ตนไม่สามารถจะเอา  ไปได้  มแี ตบ่ ญุ กุศลเทา่ น้นั ที่จะพง่ึ พาได้ในภพหน้า    คนทกุ คนไม่วา่ จะยากดมี ีจน  หรอื ท�ำตวั ผิดพลาด  มาอย่างไร  ย่อมเคยทำ� ความดีทน่ี า่ ระลึกถงึ ไม่มาก  ก็น้อย  ไมว่ ่าเขาจะเคยทำ� ส่ิงเลวร้ายมามากมาย  เพยี งใด  ในยามทีใ่ กลส้ ้นิ ลม  สิ่งทเี่ ราควรท�ำคือ  ช่วยให้เขาระลกึ ถึงคณุ งามความดีทเ่ี ขาเคยทำ�     ซง่ึ เขาอาจมองไม่เหน็ เนื่องจากความรสู้ ึกผดิ ทว่ มท้น  ในหวั ใจ  ความดีแม้เพยี งเลก็ นอ้ ยกม็ คี วามส�ำคญั   ส�ำหรับเขาในช่วงวิกฤต  ขณะเดียวกันสำ� หรับผู้ปว่ ย  ทที่ ำ� ความดีมาตลอดกอ็ ยา่ ให้ความไม่ด ี (ซ่ึงมีเพียง  29

ก า ร ช ่ ว ย เ ห ล ื อ ผ ู้ ป ่ ว ย ร ะ ย ะ ส ุ ด ท ้ า ย ด ้ ว ย ว ิ ธี แ บ บ พ ุ ท ธ นอ้ ยนดิ )  มาบดบงั ความดีทีเ่ คยท�ำ  จนเกิดความ  รูส้ กึ ไมด่ ีกบั ตนเอง  บางกรณญี าตมิ ติ รจำ� ตอ้ ง  ลำ� ดับความดีท่เี ขาเคยทำ� เพ่อื เป็นการยืนยนั   และตอกย้ำ� ใหเ้ ขามั่นใจในชีวติ ท่ีผ่านมา 30

พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล ๔ ช่  ว ย ป ล ด เ ป ล ื้ อ ง ส ิ่ ง ค ้ า ง ค า ใ จ

ก า ร ช ่ ว ย เ ห ล ื อ ผ ู้ ป ่ ว ย ร ะ ย ะ ส ุ ด ท ้ า ย ด ้ ว ย ว ิ ธ ี แ บ บ พ ุ ท ธ เมื่อผปู้ ว่ ยรวู้ ่าวาระสุดทา้ ยของชีวิตใกล้  มาแลว้   สง่ิ หน่ึงซ่ึงจะท�ำความทกุ ข์ใหจ้ ติ ใจ  และ  ทำ� ใหไ้ มอ่ าจตายอยา่ งสงบ  (หรอื   “ตายตาหลบั ”)  ได ้   ก็คือความรู้สกึ ค้างคาใจในบางส่งิ บางอยา่ ง    สิง่ นน้ั อาจไดแ้ ก่ภารกจิ การงานท่ียงั คั่งค้าง    ทรพั ย์สินทย่ี ังแบง่ สรรไมแ่ ลว้ เสรจ็   ความนอ้ ยเนอ้ื   ต่ำ� ใจในคนใกล้ชดิ   ความโกรธแคน้ ใครบางคน    หรือความรู้สึกผิดบางอย่างท่ีเกาะกมุ จติ ใจมานาน    ความปรารถนาที่จะพบคนบางคนเป็นคร้ังสุดท้าย    โดยเฉพาะคนท่ตี นรัก  หรือคนทีต่ นปรารถนาจะ  ขออโหสิกรรม  ความหว่ งกังวลหรือความร้สู กึ ไม่ดี  ทคี่ า้ งคาใจ  เป็นส่งิ ท่สี มควรได้รับการปลดเปลือ้ ง  อยา่ งเร่งดว่ น  หาไม่แล้วจะทำ� ใหผ้ ูป้ ว่ ยทุรนทรุ าย    หนักอกหนักใจ  พยายามปฏิเสธผลกั ไสความตาย    และตายอยา่ งไมส่ งบ  ซง่ึ นอกจากจะหมายถงึ   ความทกุ ข์อยา่ งมากแลว้   ในทางพทุ ธศาสนาเช่อื ว่า  จะส่งผลให้ผู้ตายไปสู่ทคุ ติด้วยแทนทจี่ ะเป็นสคุ ติ   32

พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล ลูกหลานญาตมิ ติ ร  ควรใส่ใจและฉับไวกบั เร่อื ง  ดังกล่าว  บางครั้งผู้ป่วยไมพ่ ูดตรงๆ  ผ้อู ยูร่ อบขา้ ง  ควรมคี วามละเอยี ดออ่ น  และสอบถามดว้ ย  ความใสใ่ จและมเี มตตา  ไมร่ ้สู กึ ร�ำคาญ  ในกรณี  ทีเ่ ปน็ ภารกิจทย่ี งั คงั่ ค้าง  ควรหาทางช่วยเหลอื   ใหภ้ ารกจิ นนั้ เสรจ็ สิน้   หากเขาปรารถนาจะพบใคร  ควรรีบตามหาเขามาพบ  หากฝงั ใจโกรธแค้นใคร  บางคน  ควรแนะน�ำให้เขาใหอ้ ภัย  ไม่ถอื โทษ  โกรธเคืองอกี ต่อไป  ในกรณีทเี่ ป็นความรูส้ กึ ที่  คา้ งคาใจเนอื่ งจากท�ำส่งิ ท่ไี ม่สมควร  ในยามน ้ี ไมใ่ ช่เวลาทีจ่ ะประณามหรือตดั สินเขา  หากควร  ชว่ ยเขาปลดเปล้ืองความร้สู กึ ผดิ ออกไป  อาทเิ ชน่     ชว่ ยให้เขาเปิดใจ  และรู้สึกปลอดภยั ทจ่ี ะขอโทษหรือ  อโหสิกรรมกบั ใครบางคน  ขณะเดียวกนั การแนะนำ�   ใหฝ้ า่ ยหลังยอมรับคำ� ขอโทษและใหอ้ ภัยผ้ปู ่วย    ก็เปน็ สงิ่ สำ� คัญทีค่ นรอบข้างสามารถช่วยได้   อย่างไรกต็ ามการขอโทษหรอื ขออภยั นัน้ ไม่ใช่  เรือ่ งงา่ ย  โดยเฉพาะกบั ผูน้ อ้ ยหรอื ผู้ทีอ่ ยใู่ นสถานะ  33

ก า ร ช ่ ว ย เ ห ล ื อ ผ ู้ ป ่ ว ย ร ะ ย ะ สุ ด ท ้ า ย ด ้ ว ย ว ิ ธ ี แ บ บ พ ุ ท ธ ท่ตี ่�ำกวา่   เชน่   ลูกน้อง  ลกู   หรือภรรยา  วิธีหนึง่ ท่ีชว่ ย  ได้คือ  การแนะน�ำให้ผูป้ ว่ ยเขยี นค�ำขอโทษหรือ  ความในใจลงในกระดาษ  เขียนทุกอย่างท่ีอยาก  จะบอกแกบ่ คุ คลผูน้ ั้น  ก่อนเขียนอาจให้ผู้ปว่ ยลอง  ทำ� ใจใหส้ งบ  และจนิ ตนาการว่าบุคคลผนู้ ้ันมานง่ั   อยขู่ า้ งหน้า  จากนน้ั ใหน้ ึกถงึ ส่งิ ท่อี ยากจะบอกเขา    พดู ในใจเหมือนกบั ว่าเขากำ� ลงั นัง่ ฟงั อย่ ู ทีนกี้ ็นำ�   เอาสง่ิ ทอ่ี ยากบอกเขาถ่ายทอดลงไปในกระดาษ    เมอ่ื เขยี นเสรจ็ แล้ว  ผูป้ ว่ ยจะขอให้ญาตมิ ติ รนำ�   ไปใหแ้ กบ่ ุคคลผ้นู ้นั   หรอื เก็บไวก้ ับตวั   กส็ ดุ แท้แต่    สิ่งส�ำคัญกค็ ือการเปดิ ใจไดเ้ ริ่มขึน้ แล้ว  แมจ้ ะยงั   ไม่มีการสอ่ื สารให้บุคคลผู้นัน้ ไดร้ ับร ู้ แต่ก็ไดม้ ี  การปลดเปลอ้ื งความรสู้ กึ ในระดบั หนึ่ง  หากผู้ปว่ ย  มีความพร้อมมากข้นึ ก็อาจตัดสนิ ใจพูดกับบุคคล  ผู้นั้นโดยตรงในโอกาสต่อไป บ่อยคร้งั คนทปี่ ่วยอยากขอโทษกค็ อื คนใกล้ชดิ   ทอี่ ยูข่ า้ งเตียงนน่ั เอง  อาท ิ ภรรยา  สามี  หรือลกู     ในกรณีเชน่ นีจ้ ะง่ายกว่าหากผ้ใู กลช้ ดิ เปน็ ฝา่ ยเร่ิมกอ่ น  34

พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล ด้วยการกลา่ วค�ำให้อภยั   ไมถ่ ือโทษโกรธเคือง  ในความผิดพลาดทผี่ า่ นมา  การท่ผี ใู้ กล้ชิดเปน็   ฝ่ายเริม่ ตน้ ก่อนคือการเปดิ ทางให้ผปู้ ว่ ยกล่าว  ค�ำขอโทษไดอ้ ยา่ งไมต่ ะขดิ ตะขวงใจ  แต่จะ  ท�ำเชน่ น้ันไดผ้ ู้ใกล้ชดิ ตอ้ งลดทฏิ ฐมิ านะหรือ  ปลดเปลอ้ื งความโกรธเคืองออกไปจากจติ ใจก่อน มีผู้ป่วยคนหนึ่ง  เมอ่ื ครง้ั ยังมสี ขุ ภาพดี    มีภรรยาน้อยหลายคน  ไมร่ ับผิดชอบครอบครวั     สดุ ทา้ ยทงิ้ ภรรยาหลวงใหอ้ ยกู่ ับลูกสาว  ตอ่ มา  เขาเป็นโรคมะเรง็   อาการทรดุ หนกั เป็นลำ� ดับ    ไม่มีใครดแู ลรกั ษาจงึ ขอมาอยู่บ้านภรรยาหลวง    ภรรยาหลวงก็ไม่ปฏิเสธแตก่ ารดูแลรักษาน้นั ท�ำ  ไปตามหน้าที่  พยาบาลสงั เกตได้ว่าทั้งสองมีทีทา่   ห่างเหนิ   และเมือ่ ได้พูดคุยกบั ผู้ป่วย  ก็แน่ใจวา่   ผู้ป่วยมคี วามรู้สึกผิดกับการกระทำ� ของตน  ในอดตี   พยาบาลแนะนำ� ใหภ้ รรยาเปน็ ฝา่ ยกลา่ ว  คำ� ใหอ้ ภัยแกส่ ามีเพ่ือเขาจะได้จากไปอย่างสงบ  แตภ่ รรยาไมย่ อมปริปาก  สามมี อี าการทรดุ หนกั   35

ก า ร ช ่ ว ย เ ห ลื อ ผ ู้ ป ่ ว ย ร ะ ย ะ ส ุ ด ท ้ า ย ด ้ ว ย ว ิ ธี แ บ บ พ ุ ท ธ เรอ่ื ยๆ  จนพูดไมค่ ่อยได้  นอนกระสบั กระส่าย  รอความตายอย่างเดียว  แตป่ รากฏว่าวนั สดุ ท้าย  สามีรวบรวมกำ� ลงั ทั้งหมดลกุ ขึ้นมาเพ่ือเอ่ยค�ำ  ขอโทษภรรยา  พูดจบกล็ ม้ ตัวลงนอนและหมดสติ  ในเวลาไมน่ าน  สามชว่ั โมงตอ่ มากส็ นิ้ ลมอยา่ งสงบ  กรณนี ี้เป็นตัวอยา่ งวา่ ความร้สู กึ ผิดนนั้   ตราบใดที ่ ยังคา้ งคาอย่กู จ็ ะรบกวนจิตใจเปน็ อยา่ งมาก    ผู้ปว่ ยรู้สกึ ว่าตนไมส่ ามารถตายตาหลบั ได ้ หากยงั   ไมไ่ ด้ปลดเปลอ้ื งความรู้สกึ ผดิ   แต่เมือ่ ได้กลา่ วค�ำ  ขอโทษแล้วกส็ ามารถจากไปโดยไม่ทุรนทุราย ในบางกรณีผ้ทู ีส่ มควรกลา่ วคำ� ขอโทษคือ  ลกู หลานหรือญาตมิ ิตรนนั่ เอง  ไมม่ โี อกาสใดทค่ี ำ�   ขอโทษจะมคี วามสำ� คัญเท่านี้อกี แล้ว  แตบ่ ่อยคร้ัง  แมแ้ ตล่ กู ๆ  เองก็ไม่กล้าท่จี ะเปิดเผยความในใจต่อ  พ่อแม่ทกี่ �ำลงั จะลว่ งลบั   สว่ นหนง่ึ เปน็ เพราะความ  ไมค่ ุ้นเคยท่ีจะพูดออกมา  สาเหตอุ ีกสว่ นหนึ่งก็คือ  คิดวา่ พอ่ แมไ่ ม่ถือสาหรือไมร่ ู้ว่าตนได้ทำ� อะไรที ่ ไม่เหมาะสมลงไป  ความคิดเช่นนอ้ี าจเปน็ การ  36

พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล ประเมินท่ผี ิดพลาดจนแก้ไขไมไ่ ด้ มหี ญิงผหู้ นง่ึ ปว่ ยหนกั ใกล้ตาย  พยาบาล  แนะน�ำให้ลูกจับมือแม ่ และขอขมาแม่  แต่หลงั จาก  ทีล่ กู พูดเสรจ็ แล้ว  แมก่ ย็ งั มีทที า่ เหมือนมอี ะไร  ค้างคาใจ  พยาบาลสังเกตเห็นจงึ ถามลกู ว่า  มีอะไร  ที่ยังปกปิดแมไ่ ว้อยูห่ รือเปล่า  ลกู ได้ฟังก็ตกใจ    สารภาพว่ามเี รือ่ งหน่ึงที่ยังไม่ไดบ้ อกแม่เพราะคิดว่า  แม่ไม่รู ้ น่ันก็คอื เร่ืองทตี่ นได้อยู่กนิ กบั หญิงคนหนึ่ง  จนมีลกู ดว้ ยกนั   สดุ ท้ายลูกไดไ้ ปบอกความจริงแกแ่ ม่  และขอโทษทไี่ ดป้ กปดิ เอาไว้  แม่ไดฟ้ งั กส็ บายใจ    ที่สดุ ก็จากไปโดยไม่มสี ง่ิ ใดคา้ งคาใจอกี การขอโทษหรือขอขมานน้ั   อันทจ่ี ริงไมจ่ �ำเป็น  จะตอ้ งเจาะจงต่อบคุ คลหนงึ่ บุคคลใดกไ็ ด้  เพราะ  คนเราอาจกระท�ำการล่วงเกินหรือเบยี ดเบียน  ใครตอ่ ใครได้โดยไมเ่ จตนาหรอื โดยไม่รู้ตวั   ดังนั้น  เพอื่ ให้ร้สู กึ สบายใจและไมใ่ ห้มีเวรกรรมตอ่ กันอีก    ญาติมิตรควรแนะนำ� ผ้ปู ่วยใหก้ ล่าวค�ำขอขมาตอ่   37

ก า ร ช ่ ว ย เ ห ลื อ ผ ู้ ป ่ ว ย ร ะ ย ะ ส ุ ด ท ้ า ย ด้ ว ย ว ิ ธี แ บ บ พ ุ ท ธ ผูท้ ี่เคยมีเวรกรรมต่อกัน  หรอื ขออโหสิกรรมต่อ  เจา้ กรรมนายเวรทงั้ หลายท่ีเคยล่วงเกนิ กนั มา  ทางดา้ นญาตมิ ติ รกเ็ ชน่ กนั   ในขณะทีผ่ ูป้ ว่ ยยัง  รับรู้ได้  ควรกลา่ วคำ� ขอขมาต่อผปู้ ่วย  น้เี ปน็ การ  เปดิ โอกาสใหผ้ ูป้ ว่ ยกลา่ วคำ� ให้อภัยหรือให ้ อโหสกิ รรมตอ่ ญาตมิ ิตรได้  ในกรณที ่ผี ูป้ ่วย  เป็นพ่อแม่หรือญาติผู้ใหญ ่ ลูกหลานหรือญาตๆิ     อาจร่วมกันท�ำพิธีขอขมา  โดยประชมุ พรอ้ มกัน  ทขี่ า้ งเตียง  และให้มตี ัวแทนเป็นผู้กลา่ ว  เริ่มจาก  การกล่าวถึงคณุ งามความดีของผูป้ ่วย  บุญคณุ ท ่ี มตี อ่ ลูกหลาน  จากนน้ั ก็กล่าวคำ� ขอขมา    ขออโหสิสำ� หรับกรรมใดๆ  ทล่ี ว่ งเกนิ   เป็นตน้ 38

๕ ช่  ว ย ใ ห ้ ผู  ้ ป่  ว ย ป ล ่ อ ย ว า ง สิ ่ ง ต ่ า ง ๆ

ก า ร ช ่ ว ย เ ห ลื อ ผ ู้ ป ่ ว ย ร ะ ย ะ ส ุ ด ท ้ า ย ด ้ ว ย ว ิ ธ ี แ บ บ พ ุ ท ธ การปฏิเสธความตาย  ขัดขนื ไมย่ อมรบั ความจริง  ท่ีอยู่เบอ้ื งหนา้   เป็นสาเหตแุ ห่งความทกุ ขข์ องผปู้ ว่ ย  ในระยะสุดท้าย  และเหตุท่ีเขาขัดขืนด้ินรนกเ็ พราะยัง  ตดิ ยดึ กับบางสง่ิ บางอย่าง  ไมส่ ามารถพรากจากสง่ิ น้นั   ได ้ อาจจะได้แก่ ลกู หลาน คนรกั  พอ่ แม่ ทรพั ย์สมบตั  ิ   งานการ  หรือโลกทัง้ โลกท่ตี นคุ้นเคย  ความรู้สกึ ติดยึด  อยา่ งแนน่ หนานส้ี ามารถเกิดข้ึนได ้ แมก้ ับคนท่ีมไิ ด้  มีความรูส้ ึกผิดค้างคาใจ  เมื่อเกดิ ขนึ้ แลว้ ย่อมทำ� ให้เกดิ   ความกังวล  ควบคู่กบั ความกลวั ท่จี ะต้องพลดั พราก  สิ่งอันเป็นท่รี กั เหล่านัน้   ญาตมิ ติ รตลอดจนแพทยแ์ ละ  พยาบาลควรช่วยใหเ้ ขาปล่อยวางใหม้ ากท่สี ุด  เชน่     ให้ความมน่ั ใจแกเ่ ขาวา่   ลูกหลานสามารถดูแลตนเอง  ได ้ หรอื พ่อแมข่ องเขาจะได้รับการดูแลด้วยด ี หรอื   เตอื นสติแกเ่ ขาว่า  ทรพั ย์สมบตั นิ ั้นเป็นของเราเพยี ง  ช่ัวคราว  เมื่อถงึ เวลาก็ต้องใหค้ นอน่ื ดูแลต่อไป ในการชว่ ยเหลอื ทางจติ ใจแก่ผู้ใกล้ตาย    พระพทุ ธองคท์ รงแนะน�ำว่า  นอกจากการน้อมจิต  ผ้ใู กล้ตายให้ระลึก  และศรัทธาในพระรัตนตรัย    40

พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล ตลอดจนการบ�ำเพ็ญตนอยู่ในคุณงามความดีแล้ว    ขน้ั ต่อไปก็คือการแนะนำ� ให้ผู้ใกล้ตายละความห่วงใย  ในส่งิ ต่างๆ  อาทิ  พอ่ แม่  บุตรภรรยา  รวมท้ังทรัพย์  สมบัติและรปู ธรรม  นามธรรมทนี่ ่าพอใจทง้ั หลาย    ปล่อยวางแม้กระท่งั ความหมายมนั่ ในสวรรค์ทง้ั ปวง    สงิ่ เหล่านหี้ ากยังยึดติดอยู่  จะเหน่ียวรง้ั จิตใจ  ทำ� ให ้ ขัดขนื ฝืนความตาย  ทุรนทรุ ายจนวาระสดุ ทา้ ย    ดังนน้ั เมอื่ ความตายมาถึง  ไม่มอี ะไรดีกว่าการปล่อย  วางทุกสงิ่   แม้กระทัง่ ตวั ตน  ในบรรดาความตดิ ยึดท้ังหลาย  ไมม่ ีอะไรที่ลึกซึง้   แน่นหนากว่าความตดิ ยดึ ในตัวตน  ความตายในสายตา  ของคนบางคนหมายถงึ ความดับสญู ของตวั ตน    ซึง่ เปน็ สิ่งทีเ่ ขาทนไมไ่ ดแ้ ละทำ� ใจยาก  เพราะลกึ ๆ    คนเราตอ้ งการความสบื เน่ืองของตวั ตน  ความเชอ่ื วา่   มีสวรรคน์ ้นั ชว่ ยตอบสนองความตอ้ งการสว่ นลกึ   ดงั กล่าวเพราะทำ� ให้ผคู้ นม่นั ใจว่าตัวตนจะดำ� รงคงอยู่  ต่อไป  แต่สำ� หรบั คนท่ไี ม่เช่อื เรอื่ งสวรรคห์ รือภพหน้า    ความตายกลายเป็นเร่อื งท่นี ่ากลัวอย่างทสี่ ดุ 41

ก า ร ช ่ ว ย เ ห ลื อ ผ ู้ ป ่ ว ย ร ะ ย ะ ส ุ ด ท ้ า ย ด ้ ว ย ว ิ ธ ี แ บ บ พ ุ ท ธ ในทางพทุ ธศาสนา  ตัวตนนน้ั ไมม่ ีอยู่จริง    หากเปน็ สงิ่ ท่ีเราทกึ ทกั ขนึ้ มาเองเพราะความไม่รู้  สำ� หรบั ผปู้ ่วยที่มีพ้ืนฐานทางพุทธศาสนามากอ่ น    อาจมีความเข้าใจในเรอ่ื งนไี้ มม่ ากก็น้อย  แตค่ น  ท่ีสมั ผสั พุทธศาสนาแต่เพียงด้านประเพณีหรอื   เฉพาะเรอื่ งทำ� บญุ สรา้ งกศุ ล  การทจ่ี ะเขา้ ใจว่า  ตัวตนนั้นไม่มอี ย่จู รงิ   (อนัตตา)  คงไม่ใชเ่ รื่องงา่ ย    อยา่ งไรกต็ ามในกรณีทีญ่ าตมิ ติ ร  แพทย ์ และ  พยาบาลมคี วามเข้าใจในเรื่องนด้ี พี อ  ควรแนะน�ำ  ให้ผูป้ ว่ ยค่อยๆ  ปลอ่ ยวางในความยึดถอื ตัวตน  เริ่มจากความปล่อยวางในร่างกายวา่ เราไม ่ สามารถบงั คบั รา่ งกายให้เป็นไปตามปรารถนาได ้ ต้องยอมรับสภาพทีเ่ ป็นจริง  ว่าสกั วนั หน่ึงอวัยวะ  ตา่ งๆ  ก็ตอ้ งเสอ่ื มทรดุ ไป  ขั้นตอนต่อไปก็คอื การ  ชว่ ยแนะให้ผูป้ ว่ ยปลอ่ ยวางความรู้สกึ   ไมย่ ึดเอา  ความร้สู กึ ใดๆ  เปน็ ของตน  วิธนี จ้ี ะช่วยลดทอน  ความทุกข ์ ความเจบ็ ปวดไดม้ าก  เพราะความทกุ ข์  มกั เกดิ ขน้ึ เพราะไปยดึ เอาความเจ็บปวดน้ันเปน็   ของตน  หรือไปสำ� คัญมัน่ หมายว่า  “ฉันเจบ็ ”    42

พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล แทนท่จี ะเหน็ แต่อาการเจ็บเกิดข้นึ เฉยๆ การละความสำ� คญั มน่ั หมายดังกลา่ วจะ  ทำ� ได้ตอ้ งอาศัยการฝึกฝนจติ ใจพอสมควร  แตก่ ็  ไมเ่ กนิ วสิ ยั ทผี่ ้ปู ว่ ยธรรมดาจะท�ำได้  โดยเฉพาะ  หากเร่ิมฝกึ ฝนขณะทเ่ี ริ่มปว่ ย  มีหลายกรณที ่ีผู้ปว่ ย  ด้วยโรคร้าย  สามารถเผชิญกบั ความเจบ็ ปวดอยา่ ง  รนุ แรงไดโ้ ดยไม่ตอ้ งใชย้ าแก้ปวดเลย  หรอื ใชแ้ ต ่ เพยี งเล็กน้อย  ทงั้ น้เี พราะสามารถละวางความส�ำคัญ  มน่ั หมายในความเจ็บปวดได้  กลา่ วอกี นยั หน่งึ คือ  ใชธ้ รรมโอสถเยยี วยาจิตใจ 43

๖ ส ร้ า ง บ ร ร ย า ก า ศ แ ห ่ ง ค ว า ม ส ง บ 44

พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล ความสงบใจและการปลอ่ ยวางสิ่งคา้ งคา  ติดยึดในใจผปู้ ว่ ยน้ัน  จะเกิดข้นึ ไดอ้ ย่างตอ่ เน่อื ง  จำ� ตอ้ งมบี รรยากาศรอบตวั เอื้ออ�ำนวยด้วย  ในห้อง  ท่พี ลุกพลา่ นดว้ ยผู้คนเขา้ ออก  มเี สยี งพูดคยุ   ตลอดเวลา  หรือมีเสยี งเปิดปดิ ประตทู งั้ วนั   ผ้ปู ่วย  ย่อมยากทจ่ี ะประคองจติ ใหเ้ ป็นกศุ ลและเกดิ   ความสงบได ้ กล่าวในแง่จิตใจของผปู้ ่วยแลว้   ส่งิ ท ี่ ญาตมิ ิตร  รวมทง้ั แพทยแ์ ละพยาบาลสามารถ  ช่วยได้เปน็ อย่างนอ้ ยกค็ ือ  ชว่ ยสรา้ งบรรยากาศ  แห่งความสงบ  งดเว้นการพูดคยุ ท่รี บกวนผปู้ ่วย    งดการถกเถยี งในหมู่ญาติพี่น้องหรอื ร้องห่มร้องไห ้   ซึ่งมแี ตจ่ ะเพิ่มความวติ กกังวลและความขุน่ เคืองใจ  แกผ่ ูป้ ว่ ย  เพยี งแคญ่ าติมติ รพยายามรกั ษาจติ ใจ  ของตนใหด้ ี  ไม่เศรา้ หมอง  สลดหดห่ ู ก็สามารถ  ชว่ ยผ้ปู ่วยได้มาก  เพราะสภาวะจติ ของคนรอบตัวนนั้   สามารถสง่ ผลตอ่ บรรยากาศและต่อจิตใจของผู้ปว่ ย  ได ้ จิตของคนเรานนั้ ละเอยี ดอ่อนสามารถรับรู ้ ความรู้สึกของผู้อ่นื ได ้ แมจ้ ะไมพ่ ูดออกมาก็ตาม    ความละเอียดออ่ นดงั กลา่ วมิไดเ้ กิดขึน้ เฉพาะในยาม  45

ก า ร ช ่ ว ย เ ห ล ื อ ผ ู้ ป ่ ว ย ร ะ ย ะ ส ุ ด ท ้ า ย ด ้ ว ย ว ิ ธี แ บ บ พ ุ ท ธ ปกติ  หรอื ยามรู้ตัวเทา่ นน้ั   แมก้ ระทงั่ ผูป้ ่วยท่อี ยู่  ในภาวะโคม่าก็อาจสัมผสั กบั กระแสจติ ของผ้คู น  รอบขา้ งได้  ดังจะไดก้ ลา่ วต่อไป นอกจากน้นั ลูกหลานญาตมิ ิตร  ยงั สามารถ  สรา้ งบรรยากาศแหง่ ความสงบได ้ ด้วยการ  ชักชวนผปู้ ่วยร่วมกันท�ำสมาธิภาวนา  อาท ิ   อานาปานสต ิ หรอื   การเจริญสตดิ ว้ ยการกำ� หนด  ลมหายใจ  หายใจเขา้   นกึ ในใจว่า  “พทุ ”    หายใจออก  นึกในใจวา่   “โธ”  หรือนับทุกครงั้ ท ่ี หายใจออกจาก  ๑  ไปถึง  ๑๐  แล้วเรม่ิ ต้นใหม่ หากก�ำหนดลมหายใจไมส่ ะดวก  ก็ใหจ้ ิต  จดจอ่ กับการข้นึ ลงของหนา้ ทอ้ งขณะทหี่ ายใจ  เข้าออก  โดยเอามือทง้ั สองขา้ งวางบนหนา้ ท้อง    เม่อื หายใจเขา้ ทอ้ งป่องขนึ้   ก็นกึ ในใจวา่   “พอง”    หายใจออก  ทอ้ งยบุ   กน็ กึ ในใจว่า  “ยุบ”  มีผ้ปู ่วย  มะเรง็ บางคนเผชญิ กบั ความเจบ็ ปวดด้วยการ  ทำ� สมาธิ  ให้จติ จดจ่ออยกู่ บั ลมหายใจเข้าออก  46

พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล หรือการพองยบุ ของทอ้ ง  ปรากฏวา่ แทบไม่ต้อง  ใช้ยาแกป้ วดเลย  อกี ทัง้ จติ ยังแจม่ ใส  ตนื่ ตวั กว่า  ผปู้ ว่ ยทใ่ี ชย้ าดงั กลา่ วอกี ด้วย  การชกั ชวนผูป้ ่วย  ท�ำวตั รสวดมนต์รว่ มกัน  โดยมีการจัดห้องใหส้ งบ  และดศู กั ด์สิ ิทธิ์  (เชน่   มีพระพุทธรูปหรือส่ิงทีน่ า่   เคารพสักการะติดอยูใ่ นห้อง)  เปน็ อกี วธิ หี น่งึ ทีจ่ ะ  สรา้ งบรรยากาศแห่งความสงบ  และน้อมจติ ของ  ผู้ปว่ ยในทางทเี่ ปน็ กุศลได้  แม้แตก่ ารเปดิ เพลง  บรรเลงเบาๆ  ก็มปี ระโยชนใ์ นทางจติ ใจตอ่ ผูป้ ่วย  ด้วยเช่นกัน แมค้ วามสงบในจติ ใจจะเปน็ ส่ิงส�ำคญั   แต่ใน  ทางพุทธศาสนาถอื ว่าสงิ่ สำ� คญั ท่สี ดุ ส�ำหรับผ้ปู ว่ ย  ระยะสุดท้าย  (และกบั มนุษยท์ กุ คนไม่ว่าปกต ิ หรือเจบ็ ไข้)  กค็ อื   การมีปญั ญาหรอื ความร ู้ ความเข้าใจแจม่ ชัดในความเปน็ จรงิ ของชวี ิต    อันได้แก่ความไม่คงท่ี  (อนจิ จงั )  ไม่คงตวั   (ทุกขัง)    และไมใ่ ชต่ วั   (อนตั ตา)  ความเป็นจริง  ๓  ประการ    น้หี มายความว่าไม่มอี ะไรสกั อยา่ งทีเ่ ราจะยึดมน่ั   47

ก า ร ช ่ ว ย เ ห ล ื อ ผ ู้ ป ่ ว ย ร ะ ย ะ สุ ด ท ้ า ย ด้ ว ย ว ิ ธ ี แ บ บ พ ุ ท ธ ได้เลย  ความตายเปน็ ส่ิงท่นี า่ กลัวเพราะเรายงั   ยึดตดิ บางส่ิงบางอย่างอย ู่ แต่เมื่อใดเราเขา้ ใจ  กระจา่ งชัดว่าไมม่ อี ะไรท่จี ะตดิ ยึดไวไ้ ด้  ความตาย  ก็ไม่นา่ กลัว  และเมือ่ ใดทเ่ี ราตระหนกั วา่ ทุกสิ่ง  ทกุ อยา่ งย่อมแปรเปลีย่ นไป  ไม่มอี ะไรเที่ยงแท ้   ความตายก็เปน็ เรอ่ื งธรรมดา  และเม่ือใดท่ีเรา  ตระหนักว่าไม่มตี วั ตนทีเ่ ป็นของเราจรงิ ๆ  กไ็ ม่ม ี   “เรา”  ทเ่ี ป็นผู้ตาย  และไมม่ ใี ครตาย  แมค้ วามตาย  กเ็ ปน็ แคก่ ารเปลยี่ นสภาพจากส่งิ หน่งึ ไปเปน็ อีก  สิง่ หน่ึงตามเหตุปัจจัยเทา่ นัน้   ปญั ญาหรอื ความรู้  ความเขา้ ใจในความจรงิ ดังกลา่ วน้ีแหละท่ีท�ำให ้ ความตายมใิ ชเ่ รอื่ งน่ากลัวหรือนา่ รังเกียจผลักไส    และช่วยให้สามารถเผชญิ ความตายไดด้ ว้ ยใจสงบ การช่วยเหลอื ทก่ี ล่าวมาทัง้ หมดน้ี  หลายวธิ ี  สามารถนำ� มาใช้ไดแ้ มก้ ระทั่งกับผู้ปว่ ยท่ีอยู่ใน  ภาวะโคมา่ หรอื หมดสต ิ ผปู้ ่วยดังกล่าวแมจ้ ะ  ไม่มอี าการตอบสนองใหเ้ ราเห็นได ้ แต่ใชว่ า่ เขาจะ  หมดการรับรู้อยา่ งสิน้ เชิง  มผี ู้ป่วยจำ� นวนไม่น้อย  48

พ ร ะ ไ พ ศ า ล  วิ ส า โ ล ที่สามารถได้ยนิ หรือแม้แต่เหน็ สง่ิ ทเี่ กดิ ขึ้นรอบตวั   รวมท้ังสมั ผสั รับรถู้ งึ พลงั หรือกระแสจติ จากผู้ท่ีอย ู่ รอบตัว  ผู้ป่วยบางคนเล่าวา่ ขณะท่อี ยูใ่ นภาวะโคม่า  เนอ่ื งจากครรภเ์ ป็นพษิ   ตนสามารถได้ยนิ เสยี งหมอ  และพยาบาลพดู คยุ กัน  บ้างก็ได้ยนิ เสยี งสวดมนต์  จากเทปทญ่ี าตินำ� มาเปดิ ข้างห ู มกี รณหี น่ึงทหี่ มดสติ  เพราะหวั ใจหยดุ เตน้   ถูกนำ� ส่งโรงพยาบาลเพอ่ื   ใหแ้ พทยช์ ว่ ยเหลอื อยา่ งเรง่ ด่วนด้วยการใช้ไฟฟ้า  กระตนุ้ หวั ใจ  ก่อนท่จี ะใสท่ อ่ ชว่ ยหายใจ  พยาบาล  ผู้หน่งึ ได้ถอดฟนั ปลอมของเขา  ไม่นานเขาก็มีอาการ  ดขี ึน้   สปั ดาห์ต่อมาเม่อื ชายผู้นี้เห็นหน้าพยาบาล  คนดังกลา่ ว  เขาจำ� เธอไดท้ นั ทที ้ังๆ  ท่ตี อนทพ่ี ยาบาล  ถอดฟนั ปลอมนัน้ เขาหมดสติและจวนเจียนจะสนิ้ ชีวติ พ.ญ.อมรา  มลลิ า  เล่าถึงผูป้ ่วยคนหนึ่งซง่ึ ประสบ  อบุ ตั เิ หตอุ ย่างหนกั ระหว่างทน่ี อนหมดสตอิ ยูใ่ นหอ้ ง  ไอซียูนานเป็นอาทติ ย ์ เขาร้สู ึกเหมือนลอยเคว้งควา้ ง    แตบ่ างช่วงจะรสู้ กึ วา่ มีมอื มาแตะทตี่ วั เขา  พร้อมกับ  มีพลงั สง่ เขา้ มา  ท�ำให้ใจท่ีเควง้ ควา้ งเหมอื นจะขาดหลุด  49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook