Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PktU.Rajarod.book_128

PktU.Rajarod.book_128

Published by ชมรมกัลยาณธรรม, 2021-04-06 16:12:34

Description: PktU.Rajarod.book_128

Search

Read the Text Version

๙๙พระกัมมฏั ฐานาจริยะ อู บัณฑติ าภิวงั สะ และการประจักษแ จง ของตนเองโดยตรง อริยบุคคลไมอาจถูก ลวงลอ หรอื ถกู ตดิ สนิ บนใหล ะทง้ิ พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ ได ไมวาจะดวยวิธีการอันละมุนละมอม การใชเลหเพทุบาย หรือการขมขูใดๆ อริยบุคคลจะไมมีวันยินยอมเพิกถอนความ เช่ือมั่นนไ้ี ดเลย อรยิ ทรพั ยป ระการทสี่ อง คอื ศลี ไดแ ก ความบรสิ ทุ ธิ์ ของความประพฤติ ในทีน่ หี้ มายถงึ ศีลหา กลาวกันวา พระ โสดาบันจะไมสามารถจงใจทำใหศีลขาด และไมสามารถคิด หรือกระทำอกุศลกรรมที่จะนำไปเกิดในอบายภูมิได พระ โสดาบนั จะรอดพน จากกายทจุ รติ ทงั้ สาม จะเปน ผเู วน จากการ ประกอบวจีทุจริต หรือการเล้ียงชีวิตมิชอบ อีกท้ังยังพนจาก ความเพยี รในการปฏิบัติธรรมในวถิ ีทางท่ผี ิดอกี ดว ย อรยิ ทรพั ยป ระการทสี่ ามและสี่ คอื หริ แิ ละโอตตปั ปะ เราไดก ลา วถงึ ไปแลว ผถู งึ กระแสพระนพิ พาน จะประกอบดว ย คุณธรรมท้งั สองอยา งแรงกลา และจะไมส ามารถกระทำชั่วได อริยทรัพยประการท่ีหา คือ พาหุสัจจะ (ความเปน ผูไดเรียนรูมาก) หมายถึง ความรูในการเจริญกรรมฐาน และ ความเขา ใจทเี่ กดิ จากการปฏบิ ตั ิ พระโสดาบนั นบั วา เปน ผรู แู จง วธิ ดี ำเนินบนอริยมรรคมีองคแ ปดสพู ระนิพพานอยา งแทจ ริง

๑๐๐ ราชรถสูพระนพิ พาน อริยทรัพยประการที่หก คือ จาคะ มักจะแปลกัน วา การบริจาคทาน แทจรงิ แลวหมายถงึ การละ พระโสดาบัน ไดละกิเลสทั้งหลายที่จะนำไปสูอบายภูมิ นอกจากนี้ พระโสดาบันยังใหทานโดยไมตระหนี่ ทานของทานน้ันเปน ความโอบออ มอารอี ยา งแทจรงิ และตอ เน่อื งอยูเสมอ อริยทรัพยประการสุดทาย คือ ปญญา หมายถึง วิปสสนาปญญา การเจริญกรรมฐานของพระโสดาบันจะ ปราศจากมิจฉาสติและมิจฉาสมาธิอันไดแกการกำหนดสติ และเจริญสมาธิท่ีผิดๆ พระโสดาบันจะเปนอิสระจากกิเลส ท่ีรุนแรงซึ่งอาจจะพลุงพลานออกมาทางกาย วาจา หรือใจ และปราศจากความกลัวการเกดิ ในอบายภมู ิ สันติสุขสวนบุคคลน้ันเปนสิ่งสำคัญอยางสูงสุด สันติสุขนี้จะเกิดไดเนื่องจากเปนอิสระจากความกลัว หาก บคุ คลจำนวนมากสามารถมสี นั ตสิ ขุ เชน นนั้ หากคนทง้ั หลาย สามารถมีสันติสุขภายในใจจริงๆ เราคงพอจินตนาการได วา จะมีผลดีตอ สนั ติภาพของโลกอยา งไร สันตภิ าพของโลก ตองเรม่ิ จากสันติสขุ ภายในจิตใจเทานนั้

๑๐๑พระกมั มัฏฐานาจริยะ อู บัณฑิตาภวิ ังสะ พทุ ธบุตรทแ่ี ทจรงิ ประโยชนอีกประการหน่ึงของการเขาถึงกระแส พระนิพพาน คือ ผูปฏิบัติจะกลายเปนพุทธบุตรท่ีแทจริง คน จำนวนมากอาจมีความศรัทธาทุมเทอยางยิ่ง และสักการ บูชาพระรัตนตรัยเปนประจำทุกวัน แตเม่ือสถานการณตางๆ เปลี่ยนแปลงไป ยอมเปนไปไดเสมอท่ีบุคคลอาจละทิ้งศรัทธา ได เขาผนู ั้นอาจเกดิ ในชาตใิ หมโ ดยปราศจากศรัทธา ในชาตนิ ้ี เราอาจเปนบุคคลท่ีนาเคารพบูชาและมีจิตใจสูงสง แตในชาติ ใหมเราอาจกลายเปนคนเลวทราม ไมมีส่ิงใดจะรับประกันได เลยจนกวาเราจะไดบรรลุธรรมข้ันแรก และไดเปนพุทธบุตร อยา งแทจ ริง คำภาษาบาลีที่ใชในวิสุทธิมรรค คือ โอรสปุตฺต ซึ่ง หมายถึง ลูกผูเปนเลือดเน้ือเช้ือไขท่ีแทจริง คำวา ปุตฺต มัก จะแปลวา ลกู ชาย แตค วามจริงเปนคำทีม่ ีความหมายท่ัวไปถงึ ผูเปน ลกู ซึง่ หมายถงึ ลูกหญิงดวย วิสุทธิมรรคยังไดกลาวดวยวา การเขาถึงกระแส พระนิพพานน้ันมีคุณประโยชนอีกนานัปการอันที่จริงนับไม

๑๐๒ ราชรถสพู ระนิพพาน ถวน พระโสดาบันน้ันจะมีความเช่ือมั่นศรัทธาในพระธรรม อยางไมมีขอแม มีความสนใจอยางยิ่งยวดในการฟงธรรมะ ทแ่ี ทจริง และจะสามารถเขา ใจธรรมะอันลกึ ซ้ึงทผ่ี อู น่ื เขา ใจได ยาก เมื่อพระโสดาบันไดฟงพระธรรมเทศนาที่แสดงไวดี ก็จะ เปยมดวยปต สิ ุข และ เนื่องจาก ได เขา ถึง กระแส พระ นิพพาน แลว หัวใจของพระโสดาบันแนบแนนจึงอยูกับพระธรรม ใน การปฏิบัติหนาท่ีการงานในทางโลก พระโสดาบันจะเปน เหมือนดังแมวัวท่ีกินหญา (ปฏิบัติหนาที่ทางโลก) พลาง เฝาดูลูกวัว (เฝาดูจิต) ไปดวยแมวาจิตใจของพระโสดาบัน นั้นจะนอมไปสูธรรมะอยูโดยปกติ พระโสดาบันก็จะไม ปฏิเสธความรับผิดชอบทางโลก นอกจากนี้ พระโสดาบัน ยังสามารถรวมจิตเปนสมาธิไดงายมากหากมีความเพียรใน การเจริญกรรมฐานอยางเหมาะสม เพ่ือเดินทางตอไปตาม อรยิ มรรค

๑๐๓พระกมั มฏั ฐานาจริยะ อู บณั ฑติ าภิวังสะ พาหนะทไ่ี มม ีวันพังทลายสำหรบั ทุกคน พระพุทธองคทรงสรุปไวอยางชัดแจงวาความสำเร็จ ในการเจริญกรรมฐานนั้นมิไดแบงแยกดวยเพศแตประการใด ไมวาหญิงหรือชาย สามารถมั่นใจไดวาราชรถน้ีสามารถนำ ไปสูพระนิพพานไดอยางแนนอน ราชรถน้ีเคยอยูในอดีตและ ยงั มอี ยใู นปจ จุบนั สำหรบั ทุกๆ คน ในยุคสมัยใหม เรามีพาหนะมากมายหลายประเภท ที่ใชในการเดินทาง มีส่ิงประดิษฐใหมๆ เกิดข้ึนในวงการเดิน ทางขนสงอยูเสมอ มนุษยสามารถเดินทางบนบก ทางทะเล หรือในอากาศ คนธรรมดาๆ สามารถเดินทางรอบโลกไดโดย ไมย ากนกั มนษุ ยไ ดเ ดนิ ทางขน้ึ ไปเหยยี บดวงจนั ทรม าแลว ยาน อวกาศมากมายเดินทางไปสูดวงดาวอ่ืนและไกลออกไปกวา นัน้ อีก แตไมวายานอวกาศเหลานี้จะไปไดไกลสักเพียงไร ก็ คงไมอาจชวยใหเราไปถึงพระนิพพานได หากมียานพาหนะ ใดท่ีไปถึงพระนิพพานได อาตมาก็อยากจะมีไวสักลำ อยางไร

๑๐๔ ราชรถสพู ระนิพพาน ก็ตาม อาตมายังไมเคยไดยินโฆษณาหรือวามีใครรับประกัน วามียานวิเศษท่ีจะนำบุคคลไปสูความสันติอันสมบูรณของ พระนิพพานได ไมวาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีจะมีความกาวหนา สักเพียงไร ก็ยังไมอาจรับประกันไดวา ยานพาหนะที่ประณีต เลิศล้ำที่สุดจะปราศจากอุบัติเหตุโดยส้ินเชิง อุบัติเหตุที่ทำให ถงึ แกช วี ิตเกดิ ขึน้ ท้ังบนบก ในทะเล ในอากาศ และในอวกาศ คนจำนวนมากเสียชีวิตดวยเหตุน้ี อาตมามิไดหมายความ วาการเกิดอุบัติเหตุ ทำใหยานพาหนะตางๆ ไรประโยชน แต หมายเพียงวา เราไมอาจรับประกันความปลอดภัยของยาน พาหนะเหลาน้ีได ยานพาหนะประเภทเดียวท่ีมีประกันภัย รอยเปอรเ ซ็นตม ีเพียงอรยิ มรรคมอี งคแปดเทา น้นั รถยนตสมัยใหมมีมาตรฐานสมรรถนะและความ ปลอดภัยสูงมาก หากทานร่ำรวย ทานสามารถซื้อรถยนตท่ี มีส่ิงอำนวยความสะดวก รวดเร็วและหรูหราท่ีสุด ซึ่งจะพา ทา นเดนิ ทางไปในทตี่ า งๆ เมอื่ ใดก็ได หากทา นไมร่ำรวย ทา น อาจขอกูยืมเงินเพ่ือมาซ้ือรถ หรือเชารถเกง หรือรถสปอรต สักคันไวเปนเวลาสั้นๆ หรือไมก็น่ังรถโดยสารสาธารณะ แม

๑๐๕พระกมั มัฏฐานาจรยิ ะ อู บณั ฑติ าภวิ ังสะ กระท่ังหากทา นยากจน ทา นกอ็ าจยืนขา งถนนและโบกรถเพือ่ ขอรว มทางโดยสารไปกบั รถคันอน่ื อยางไรก็ตาม ไมเปนท่ีรับรองวาการเดินทางน้ันจะ ราบรนื่ แมวารถนนั้ จะเปนรถของเราเอง เราตองนำรถไปเติม นำ้ มนั ดแู ลบำรงุ รกั ษา ซอ มแซมเวลาทร่ี ถเสยี หาย มภี าระตา งๆ มากมาย และยานพาหนะทกุ ชนดิ กต็ อ งถกู ลากไปทงิ้ ทกี่ องขยะ รถเกา ไมวันใดกว็ ันหนึ่ง ยง่ิ เราใชง านมากเพยี งใด รถของเราก็ ใกลว ันถกู ท้งิ เขาไปมากเพยี งน้นั ดงั นนั้ จึงเปนการดกี วา ถา เราจะสรางยานพาหนะไป สูพระนิพพานดวยวิธีการที่ล้ำเลิศและมีมาตรฐานท่ีสูงสงเชน กัน เพราะยานพาหนะน้ีจะไมมีวันเสื่อมสลาย จะเปนการดี สักเพียงไรหากคนทั่วไปสามารถครอบครองยานพาหนะน้ีได โดยงาย หากใครก็ไดสามารถเปนเจาของยานพาหนะสูพระ นพิ พาน ลองคดิ ดวู า โลกจะมสี นั ตสิ ขุ สกั เพยี งใด ยานพาหนะนี้ นำไปสสู ง่ิ ทป่ี ระมาณคา มไิ ด พระนพิ พานไมส ามารถซอื้ หาหรอื เชา มาได ไมว า ทา นจะรำ่ รวยสกั เพยี งใดกต็ าม ทา นตอ งออกแรง ทำความเพยี รเพอ่ื ใหไ ดม า พระนพิ พานนนั้ จะเปน ประโยชนต อ ทานกต็ อ เมอ่ื ทานไดเปน เจาของพระนิพพานเองเทา น้ัน

๑๐๖ ราชรถสูพระนิพพาน ในโลกนี้ ยานพาหนะสวนใหญลวนสรางไวเสร็จ เรียบรอยมาจากโรงงาน แตยานพาหนะสูพระนิพพาน นั้นตองสรางดวยตนเอง เปนอุปกรณที่ตองตอเติมเอง เบื้องตนผูปฏิบัติตองมีศรัทธา พระนิพพานน้ันเปนส่ิงที่ ผูปฏิบัติบรรลุได และตองมีศรัทธาตอหนทางที่จะนำไป สูพระนิพพาน นอกจากนี้ผูปฏิบัติตองมีแรงบันดาลใจอัน ไดแกความปรารถนาอยางจริงใจและมุงม่ันจะเดินทางไปสูจุด หมาย แตแรงบันดาลใจเพียงอยางเดียวจะพาผูปฏิบัติไปไมได ไกล นอกเสียจากผูปฏิบัติจะลงมือปฏิบัติจริงๆ ผูปฏิบัติตอง ลงทนุ ลงแรง ใชค วามพยายามพากเพยี รเจรญิ สตอิ ยา งไมย อ ทอ ยนื หยดั ภาวนาทกุ ๆ ขณะเพอ่ื ใหส มาธเิ กดิ ขน้ึ และปญ ญาเจรญิ งอกงามและแกกลาโดยสมบรู ณ หากอริยมรรคสามารถประกอบไดสำเร็จรูปเหมือน รถยนตท่ีมาจากสายการผลิตท่ีโรงงาน ก็คงจะดีไมนอย ทวา มันมิไดเปนเชนน้ัน ผูปฏิบัติที่นาสงสารอยางเรา ๆ จึงตอง ลงมือสรางยานนี้เอง เราตองติดเครื่องมือใหตัวเราเองดวย ศรัทธาและความปรารถนาอยางแรงกลาที่จะไปใหถึงเปา หมาย เราตองตั้งหนาต้ังตาปฏิบัติในทุกสถานการณ ฝาฟน

๑๐๗พระกัมมฏั ฐานาจริยะ อู บัณฑิตาภวิ งั สะ ความยากลำบาก ความเหนื่อยลา ความเบอ่ื หนาย และความ ตึงเครียดจากการดิ้นรนที่จะประกอบยานของเราขึ้นมาเอง เมอ่ื ประกอบเสร็จแลว เราตองทมุ เทความเพียรเพอื่ ใหลอของ ยานนี้หมุนไป พยายามดำรงเกราะกำบังแหงสติไวใหมั่นคง ตั้งม่ันอยูในหิริและโอตตัปปะ อันเปนเสมือนพนักพิงที่จะให เราองิ อาศยั ได ฝก สมั มาทิฏฐิอนั เปนสารถขี องเราใหข บั เคล่ือน ไปตามทางที่ถูกตอง ในท่ีสุด หลังจากที่ผานญาณลำดับตางๆ ครบถว นแลว เรากจ็ ะไดค รอบครองราชรถแหง โสดาปต ตมิ รรค เม่ือราชรถดังกลาวเปนของเราแลว เราจะสามารถดำเนินสู พระนพิ พานไดอยา งสะดวกและงายดายเปนอยางยงิ่ เมื่อราชรถแหงการเขาสูกระแสพระนิพพานไดบรรลุ เปาหมายแลว ก็จะไมมีวันเสื่อมคาหรือมีสมรรถภาพลดลง ซึ่งแตกตางจากยานพาหนะอ่ืนๆ ที่มีอยูในโลกน้ี เราไมตอง หยอดน้ำมันเคร่อื ง ซอ มแซม หรือเปลย่ี นแปลงชิ้นสวน ย่ิงใช กย็ ง่ิ แขง็ แรงและมีความประณตี ยอดเยยี่ มมากย่ิงข้นึ นอกจาก น้ยี งั เปนยานพาหนะทป่ี ลอดอบุ ัติเหตุอยางสน้ิ เชิง เม่อื เราเดิน ทางบนยานพาหนะนี้ รบั ประกนั ไดว า จะมคี วามปลอดภยั รอ ย เปอรเซ็นตเ ตม็

๑๐๘ ราชรถสพู ระนิพพาน ตราบเทาที่เรามีชีวิตอยูในโลกน้ี เราจะยังตองเผชิญ กับความขึ้นลงและความผันผวนของชีวิตนานัปการ บาง ครั้งอะไรๆ ก็ดำเนินไปอยางราบรื่นดวยดี แตบางครั้งกลับ ตองประสบกับความผิดหวังความทอถอย ความทุกข และ โทมนัสตางๆ อยางไรก็ตาม ผูท่ีไดครอบครองยานพาหนะสู พระนิพพานแลวจะสามารถขับเคลื่อนผานเวลาแหงความ ทุกขยากไปไดอยางราบร่ืน และไมเสียสมดุลจนเกินไปในยาม ท่ีมีความสุข ประตูสูอบายไดปดตายลงแลว และบุคคลผูน้ัน สามารถดำเนินไปสูพระนิพพานอันเปนที่ท่ีปลอดจากทุกขภัย ทั้งปวงไดตลอดเวลา เปนไปไมไดท่ีจะกลาวสรรเสริญความเลิศล้ำของราช รถสูพระนิพพานไดทั้งหมด แตขอใหแนใจไดวา หากผูปฏิบัติ สามารถสราง และครอบครองยานน้ีไดโดยบริบูรณ จะไดพ บกบั ความเต็มเปยมทแี่ ทจริงของชวี ิต ไมพ ึงคิดยอมพา ยแพเปนอนั ขาด ขอเพยี ง ทมุ เทกำลงั และความเพยี รทงั้ หมดทม่ี ี พยายาม ประกอบ และมยี านพาหนะนไ้ี วใ นครอบครอง ใหจ งได

ปด ประตอู บาย

๑๑๐ ราชรถสพู ระนพิ พาน เมื่อประมาณกวา สองพันหารอยปมาแลว พระพุทธ องคไ ดประกาศใหโลกไดร ูจกั ราชรถสพู ระนิพพาน อันเปนราช รถแหง พระธรรมเปนครัง้ แรก ในคราวทท่ี รงแสดงปฐมเทศนา “ธมั มจกั กัปปวตั ตนสูตร” หลงั จากทไี่ ดตรัสรู กอนที่พระพุทธองคจะเสด็จมาอุบัติข้ึนในโลก สัตว โลกทั้งหลายตกอยูในความมืดมิดแหงอวิชชาไมรูจักอริยมรรค มอี งคแ ปด ผูปลีกตัวจากโลก อนาคารกิ นักพรต นกั ปราชญ ท้ังหลายลว นมคี วามคดิ เห็น คาดคะเน และตั้งทฤษฎเี ก่ียวกบั สจั จธรรมของตนเองไปตางๆ นานา ในเวลานั้น เชนเดียวกับในขณะนี้ บางคนเช่ือ วา พระนิพพานคือความสุขทางผัสสะทั้งหลายจึงพยายาม บำรุงบำเรอตนเองดวยกามสุข บางพวกมองพฤติกรรมดัง กลาวดวยความดูหมิ่นเหยียดหยามและตอตานดวยการ ทรมานหรือทำรายตนเอง พวกเขาละทิ้งความยินดีและความ สุขสบายทางรางกาย โดยมองวาน้ีคือความเพียรอันประเสริฐ โดยรวมแลวสัตวโลกมีชีวิตอยูในความหลง ไมมีหนทางเขา ถึงสัจจธรรม ทำใหความเชื่อและการกระทำเปนไปตาม ยถากรรม ตางคนตางมีความคิดเห็นของตัวเอง และดวย ความคิดเหน็ เชน น้นั กท็ ำอะไรไปตา งๆ กนั มากมาย

๑๑๑พระกัมมฏั ฐานาจรยิ ะ อู บัณฑิตาภิวังสะ พระพุทธองคทรงปฏิเสธการบำเรอตนเองดวยกาม สุข หรือการทำรายเบียดเบียนตนเอง วิถีทางของพระองคต้ัง อยูระหวางทางอันสุดโตงทั้งสอง เมื่อทรงประกาศอริยมรรค มีองคแปดตอเวไนยสัตว ศรัทธาท่ีแทจริงอันมีรากฐานอยูบน สัจจธรรมแหงชีวิตจึงปรากฏขึ้นได กลาวคือ เปนศรัทธาท่ีต้ัง มน่ั อยูบนความเปน จริง มิใชเพียงแนวความคิด ศรัทธามีพลานุภาพย่ิงใหญตอจิตสำนึกของแตละ บุคคล ศรัทธาจึงเปนหน่ึงในอินทรียท้ังหา เม่ือมีศรัทธา วิรยิ ะก็จะเกดิ ขน้ึ ได ศรทั ธากระตุนใหเกิดแรงบันดาลใจในการ เจรญิ กรรมฐาน และเปนบาทฐานของธรรมะอื่นๆทง้ั หมด เชน สมาธิ และปญญา เม่ือพระพุทธองคทรงประกาศอริยมรรค มีองคแปด พระองคทรงจุดประกายใหอินทรียทั้งหาเจริญ ขึ้นในหมูชน ความเขาใจในสัจจธรรมก็เริ่มปรากฏข้ึนใน หัวใจของชาวโลก ทำใหสามารถเขาถึงอิสรภาพและสันติสุข อันแทจริง อาตมาขอใหศรัทธาในการปฏิบัติของทุกทาน จง เปนศรัทธาท่ีจริงใจ และลึกซึ้ง และเปนรากฐานใหทุกทาน บรรลคุ วามพนทกุ ขโดยส้ินเชงิ

รายนามผูพมิ พห นงั สือราชรถสูพระนิพพาน ลำดับ ช่อื สกลุ จำนวนเงนิ ลำดับ ชอ่ื สกลุ จำนวนเงิน ๑ คณุ วาสนา กุลรัตน ๒๘,๐๐๐ ๑๘ คณุ วิทยา หวังกติ ติกาล ๒ คุณแนงนอย ภิญโญชนม ๒๔,๐๐๐ และครอบครัว ๓,๑๒๐ ๓ คณะจากรฐั ฟอริดา สหรัฐอเมริกา ๑๔,๖๐๐ ๑๙ คณุ กรรณกิ าร สุริยะ ๓,๐๐๐ ๔ คณุ ปารดมณ ลกี ุลพิทกั ษ ๑๒,๐๐๐ ๒๐ คณุ ชลาวลั ย นพวงศ ณ อยธุ ยา ๓,๐๐๐ ๕ คุณศนติ ดุษฎีวิโรจน ๑๐,๐๐๐ ๒๑ คุณบัณฑติ ปน มงคลกุล ๓,๐๐๐ ๖ คณะปฏบิ ัตธิ รรม ๒๒ คุณวิเนต เลิศวีระศริ ิกลุ ๓,๐๐๐ วดั พระธาตุทรายทอง ๗,๒๐๐ ๒๓ ภญ.วารณุ ี เจือสนั ตกิ ลุ ชยั ๓,๐๐๐ ๗ คุณเกียรสถาน ๖,๕๐๐ ๒๔ คณุ นริ นาม ๘ คุณบรรพจน จันทรง าม ๖,๐๐๐ จาก บรษิ ทั เทคโนพระนครเหนือ ๒,๖๐๐ ๙ พญ.สง แสง ริวทอง ๕,๐๔๐ ๒๕ คณุ อรนันท เอื้อชัยกุล ๒,๔๒๒ ๑๐ คุณควรนบ ดารุณี ๕,๐๐๐ ๒๖ คุณบุญเรือง-ด.ญ.สปุ ระภา- ๑๑ บรษิ ทั อยูเจริญวสิ าหกิจ จำกดั ๕,๐๐๐ ด.ช.พิชาญ-ด.ช.อนภุ ัทร แซกวย ๑๒ คณุ กิตพิ งษ สวางวงษ ๔,๐๐๐ และคุณศระกุณา คานพรม ๒,๒๖๐ ๑๓ พญ.ศรนั ยา สุคนั ธไชยงค ๔,๐๐๐ ๒๗ คณุ เสาวนิตย ชนิ ะธิมาตรม งคล ๒,๒๐๐ ๑๔ แมชปี ย ะพันธุ นนทพันธุ ๓,๗๐๐ ๒๘ คุณผกายมาศ ปณ ฑะดิน ๒,๑๐๐ ๑๕ นพ.ชัยวัฒน จันทนเ นือ้ ไม ๓,๕๐๐ ๒๙ คณุ อวยพร ธรรมาวุธ ๒,๐๐๐ ๑๖ โรงพยาบาลสัตวน ครักษ ๓๐ คุณอำนวย-คณุ อไุ ร แสงสวาง หมอสวา ง ๓,๔๐๐ และครอบครวั ๒,๐๐๐ ๑๗ คณุ เสย้ี มฮั้ว แซล ้ี ๓,๑๖๐ ๓๑ คณุ พรปวณี  เกษมสวัสด์ิ ๑,๖๕๐

๑๑๓รายนามผรู ว มจัดพิมพห นังสือ ฯ ลำดบั ชอื่ สกลุ จำนวนเงิน ลำดบั ช่อื สกลุ จำนวนเงนิ ๓๒ คณุ บุญสง วีรวงศน ริ นั ดร ๑,๔๐๐ ๕๒ คุณอเนก มธั ยม ๑,๐๐๐ ๓๓ คุณอไุ ร พมุ โพธิ์ ๑,๓๒๐ ๓๔ อ.ทวี บญุ ศรี ๑,๓๐๐ ๕๓ คณุ อภวิ ัฒน มานติ ยกุล ๑,๐๐๐ ๓๕ คุณภิญญดา พรอปุ ถัมภ ๑,๒๐๐ ๓๖ คณุ เพ็ญสนี ี จรัสสรุ ยิ งค ๑,๑๗๐ ๕๔ คณุ อปั สร ต้งั มโนกุล ๑,๐๐๐ ๓๗ คณุ ประยุทธ ปยะกาโส ๑,๑๖๐ ๓๘ คุณประภาพรรณ อุนเรอื น ๑,๑๒๐ ๕๕ ด.ต.เผด็จ รตั นรอดและครอบครัว ๑,๐๐๐ ๓๙ คุณพรต ธีรพจนี ๑,๑๑๐ ๔๐ คุณอดิศกั ดิ์ ๑,๑๐๐ ๕๖ นพ.สมคิด เพญ็ พธิ นกุล ๑,๐๐๐ ๔๑ MICEDREAM ๑,๐๐๐ ๔๒ คณุ จนิ ตนา อยคู งศักดิ์ ๑,๐๐๐ ๕๗ พล.ตต.ปญญา เอง อวน ๑,๐๐๐ ๔๓ คุณเดช แสงภู ๑,๐๐๐ ๔๔ คุณเตีย่ ง ๑,๐๐๐ ๕๘ คณุ มยรุ ี กมลบตุ ร ๘๙๐ ๔๕ คณุ บญุ ย่ิง รตั นกิตตกิ ลุ ๑,๐๐๐ ๔๖ คุณปราณี ฉัตรสมพร ๑,๐๐๐ ๕๙ บจก.มนั ตรีนี บตู ิค รีสอรท ๘๒๔ ๔๗ คุณเพียงทิพย แซจ วิ ๑,๐๐๐ ๔๘ คุณรชต ชอบธรรมสกุล และ ๑,๐๐๐ ๖๐ พตท.หญิงวรวิภา วรินทร คุณเฌอรนิ ณณ นนั ทพลู ทรพั ย ๑,๐๐๐ และคณะ ๘๐๐ ๔๙ คณุ สุกัญญา ศีลนาถ ๑,๐๐๐ ๕๐ คุณสดุ ารัตน โตวิวัฒน ๖๑ คณุ สุภาพร ปานุวฒั นวาณชิ ๗๗๐ ๕๑ คณุ สปุ รีดา พฒั นรชั ต ๑,๐๐๐ ๖๒ คุณพรทิพย ไชยณรงค และคุณพรทิพย ศังวณชิ และครอบครวั ๗๐๐ ๖๓ คณุ พรรณี ลนั ตะยานนท ๗๐๐ ๖๔ คณุ ศิริพรรณี นักรอ ง ๗๐๐ ๖๕ คณุ ศริ ิวรรณ หตั ถเสรพี งษ ๖๕๐ ๖๖ คุณกลุ นท แสงชนา ๖๐๐ ๖๗ คุณธญั พร ภบู งั บอน และครอบครวั ๖๐๐ ๖๘ คณุ กรชาล กวินภูมเิ สถยี ร ๕๐๐ คุณบุหลัน กวินภูมเิ สถียร, คุณนกเทศ-คุณชอ เพชร ยคุ สูงเนนิ

๑๑๔ ราชรถสพู ระนพิ พาน ลำดับ ชือ่ สกุล จำนวนเงิน ลำดบั ชือ่ สกุล จำนวนเงนิ ๖๙ คุณเครือวรรณ วงศชัยสรุ ิยะ ๕๐๐ ๙๐ คณุ พรทิพย ไชยณรงค ๗๐ คุณจติ นา ธัญดารกั ษ ๕๐๐ ๗๑ คุณธนากร พนั ธนรา ๕๐๐ และครอบครวั ๔๐๐ ๗๒ คณุ นันทวรรณ วงษปญ ญา ๕๐๐ ๗๓ คณุ บปุ ผา เบ็ญจรัยพร ๙๑ คณุ สมชาย เปลย่ี นศรี ๔๐๐ ๕๐๐ และครอบครัว ๕๐๐ ๙๒ คณุ สรลั พร พุทธา ๔๐๐ ๗๔ คุณเบ็ญจวรรณ ปริญญากร ๕๐๐ ๗๕ คุณพวงทพิ ย นลิ ประดบั แกว ๕๐๐ ๙๓ คุณอำนาจ สมบรู ณทรพั ย ๔๐๐ ๗๖ คณุ พนั ธเ ทพ แซเ ฮง ๕๐๐ ๗๗ คุณไพบูลย ดรณุ พนั ธ ๕๐๐ ๙๔ คุณสทุ ธนิ ี ศรีตุลา ๓๕๐ ๗๘ คุณแมพรรณี สหสนุ ทรวุฒิ ๕๐๐ ๗๙ คณุ วมิ ล ชนิ กลุ นิวฒั น ๕๐๐ ๙๕ คณุ มาลวี รรณ บุญวงศ ๓๓๐ ๘๐ คณุ สุดา แซลมิ่ ๕๐๐ ๘๑ คณุ อโธทยั งดงาม ๕๐๐ ๙๖ พ.ต.อ.สมศกั ดิ์ จติ ติรตั น ๓๓๐ ๘๒ ดร.โสภณ ขำทับ ๕๐๐ ๘๓ แมชีวนิดา ยม้ิ แยม ๕๐๐ ๙๗ คณุ สุรรี ตั น เรอื งมณี ๓๒๐ ๘๔ ร.ศ.ดร.สมชาย ประการเจริญ ๔๔๐ ๘๕ คุณสุพตั รา กาบตมุ ๔๓๐ ๙๘ คณุ กมล ศรนี เิ วศน ๓๐๐ ๘๖ คณุ เจมิ เพชรสงค ๔๓๐ ๘๗ ผไู มป ระสงคออกนาม ๔๒๐ ๙๙ คณุ ดารุณี สม เกลี้ยง ๓๐๐ ๘๘ คณุ ธติ ิมา บญุ เจริญ ๔๐๐ ๘๙ คุณฉวี แกว ปะละ ๑๐๐ คณุ ธนะผล-คณุ สณุ ี- คุณกมลชนก-คุณสรรเสรญิ ขำดี ๓๐๐ ๑๐๑ คุณธนยั เทียนใส ๓๐๐ ๑๐๒ คณุ นนทกร สกั กะพลางกูร ๓๐๐ ๑๐๓ คณุ รัตนา สาคร ๓๐๐ ๑๐๔ คุณวรวุฒิ อนิ ทนนท ๓๐๐ ๑๐๕ คุณวาสินี สักกะพลางกรู ๓๐๐ ๑๐๖ คุณวิภาพร สวยสำโรง ๓๐๐ ๑๐๗ คณุ อรรถพล พันสด และครอบครวั ๓๐๐ ๑๐๘ ด.ญ.ปวณี กร สกั กะพลางกรู ๓๐๐

๑๑๕รายนามผูรว มจัดพมิ พหนงั สือ ฯ ลำดับ ช่ือ สกุล จำนวนเงิน ลำดบั ชื่อ สกลุ จำนวนเงิน ๑๐๙ วาทรี่ อ ยตรี วิฑรู ย โยชาวงษ ๓๐๐ ๑๓๑ คุณจารึก สุวรรณรตั น ๑๖๐ ๑๑๐ คุณปทมาภรณ องั สกลุ วงศ ๒๕๐ ๑๓๒ คุณประทุม พลู เพ่ิมคลาย ๑๕๐ ๑๑๑ คณุ สวุ ทิ ย แซจิง ๒๕๐ ๑๓๓ คณุ ปราณี มหารำลกึ ๑๕๐ ๑๑๒ คณุ วลีพร เจรญิ วัฒโนภาส ๒๓๐ ๑๓๔ พ.ต.อ.บุญเสริม ศรชี มภู ๑๕๐ ๑๑๓ คุณทัศนีย ม่ิงเจรญิ ๒๒๐ ๑๓๕ คุณอารียา พนั ธสุ ุริยานนท ๑๔๐ ๑๑๔ คุณทวิ า โรจนก ิตติชัย ๒๒๐ ๑๓๖ คุณกาญจนา ธงชยั รตั น ๑๒๐ ๑๑๕ คณุ สมนึก นิลจองหอ ๒๒๐ ๑๓๗ คุณนภางค ตกึ ปากเกลด็ ๑๒๐ ๑๑๖ คณุ ทรรศนยี  แซตึ้ง ๒๑๐ ๑๓๘ คุณจนั ทรก นก กรประเสริฐวทิ ย ๑๑๐ ๑๑๗ คณุ วนิ ยั เรอื งสุวรรณ ๒๑๐ ๑๓๙ คุณศริ ธิ ร แกวพิจติ ร ๑๑๐ ๑๑๘ คุณฉลองชัย คงบันเทิง ๒๐๐ ๑๔๐ คุณจไุ รณ เจิมศริ ิ ๑๐๐ ๑๑๙ คุณดาริณี ๒๐๐ ๑๔๑ คณุ ดวงนภา สมสรุ วณิชย ๑๐๐ ๑๒๐ คณุ ทอ -คณุ สนุ นั ทา แหลมไพศาล ๒๐๐ ๑๔๒ คณุ ดวงรตั น ดวี าจา ๑๐๐ ๑๒๑ คุณนริ มล ๒๐๐ ๑๔๓ คุณนพรัตน ปณุ ยางกรู ๑๐๐ ๑๒๒ คณุ พพิ ฒั น รงุ พริ ิยะเดช ๒๐๐ ๑๔๔ คุณนนั ทนา แซเลา ๑๐๐ ๑๒๓ คุณพสิ ิษฐ จารวุ ิจติ รรตั นา ๒๐๐ ๑๔๕ คุณมยรุ ี ทองใบ ๑๐๐ ๑๒๔ คณุ วลั ลภ สมบตั ิพูลภาส ๒๐๐ ๑๔๖ คุณโรจนนิ ทร ชาวชิ เวยี งวเิ ศษ ๑๐๐ ๑๒๕ คุณศนติ ดษุ ฎวี ิโรจน ๒๐๐ ๑๔๗ คณุ ลดั ดาวัลย วิสุทธิบณั ฑิต ๑๐๐ ๑๒๖ คณุ สักพงศ โพธวิ ิทย ๒๐๐ ๑๔๘ คณุ วิชยั สมโอชา ๑๐๐ ๑๒๗ คุณสพุ ร ทองอัม ๒๐๐ ๑๔๙ คุณวิไล บญุ เต็ม ๑๐๐ ๑๒๘ นต.ชชั ชยั ทองชื่น ๒๐๐ ๑๕๐ คุณววิ รณ ยอดน้ำคำ ๑๐๐ ๑๒๙ รานแฮรไทม ๒๐๐ ๑๕๑ คุณสายใจ สขุ ภพ ๑๐๐ ๑๓๐ คุณปญ จรตั น ชมเชย ๑๘๐ ๑๕๒ คุณสพุ ตั รา กลนิ่ ระคนธ ๑๐๐

๑๑๖ ราชรถสูพระนิพพาน ลำดบั ชื่อ สกุล จำนวนเงิน ลำดบั ชือ่ สกุล จำนวนเงนิ ๑๕๓ คุณอรจิรา ลกั ขณาภิรกั ษ ๑๐๐ ๑๗๕ คุณวรรณอนงค จำปาทอง ๕๐ ๑๕๔ คุณอารยา ปฏิภาณทวี ๑๐๐ ๑๗๖ คณุ วลัยลกั ษณ โตวิลัย ๕๐ ๑๕๕ คุณอำนาจ ปลอดโปรง ๑๐๐ ๑๗๗ คณุ ศริ ินภา อินอวม ๕๐ ๑๕๖ คณุ เอกชยั นาพาณิชย ๑๐๐ ๑๗๘ คณุ สทิ ธิชยั ปญ คิวจณาณ ๕๐ ๑๕๗ คุณกานตมิ า ผลศรแี กว ๘๐ ๑๗๙ คุณเอกชยั สบายใจ ๕๐ ๑๕๘ คณุ บญุ แตง จาติกานนท ๘๐ ๑๘๐ คณุ เทวรกั ษ จงจติ ร ๔๐ ๑๕๙ คณุ ศรวี ิไล บศุ ยศ รี ๘๐ ๑๘๑ คณุ นพรตั น วรรณปพณิ ท ๔๐ ๑๖๐ คุณศภุ สัณห แฉงศิริ ๘๐ ๑๘๒ คณุ พิมพก มน สนิ มงคลพงศ ๔๐ ๑๖๑ คณุ ณภ วิชชานนท ๗๐ ๑๘๓ คุณสจุ ินต-คุณธนกร สุวรรณทมิ ๔๐ ๑๖๒ คณุ ชใู จ มานะกิจ ๖๐ ๑๘๔ คุณอดสิ รณ อมตะสนุ ทร ๔๐ ๑๖๓ คณุ ธิดา สขุ ใจ ๖๐ ๑๘๕ คณุ อารี พึ่งตา ๔๐ ๑๖๔ คุณพริ ิยา รอดโพธ์ิทอง ๖๐ ๑๘๖ คุณเชอร่ี ๓๐ ๑๖๕ คณุ สมถวิล บุญเตม็ ๖๐ ๑๘๗ คุณปราณี สขุ จำลอง ๓๐ ๑๖๖ คณุ สมพร จกั รหวัด ๖๐ ๑๘๘ คุณสันติ พรมบุตร ๓๐ ๑๖๗ คุณสายณั ห แสงวงศ ๖๐ ๑๘๙ คณุ สุวรรณ ๓๐ ๑๖๘ คณุ สุวภา สมะจติ ต ๖๐ ๑๙๐ คุณอภิชาต แกวพันธอ ่ำ ๓๐ ๑๖๙ คณุ อำพล ทยาองคณา ๖๐ ๑๙๑ คุณจิรัญบูรณ เภตราพูนสินไชย ๒๐ ๑๗๐ คุณกญั ญาชญั พมุ สะอาด ๕๐ ๑๙๒ คณุ ธนาภา เชอ้ื อินทร ๒๐ ๑๗๑ คณุ นิตย เปย มรัศมี ๕๐ ๑๙๓ คุณนรารตั น ไชยไพธร ๒๐ ๑๗๒ คณุ เบญญาภา จงหอมขจร ๕๐ ๑๙๔ คุณสายสมร ลอ มเมตตา ๒๐ ๑๗๓ คุณพณิ ธยิ า เครอื ไธสงค ๕๐ ๑๙๕ คุณอภชิ าภา วัชภาศนิ กลุ ๒๐ ๑๗๔ คณุ ภญิ ญดา โกคนรนิ ทร ๕๐ ยอดรวม ๒๔๑,๘๗๖


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook