Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PktU.Rajarod.book_128

PktU.Rajarod.book_128

Published by ชมรมกัลยาณธรรม, 2021-04-06 16:12:34

Description: PktU.Rajarod.book_128

Search

Read the Text Version

๔๙พระกมั มัฏฐานาจรยิ ะ อู บณั ฑติ าภวิ ังสะ อเนกปรยิ าย “จิตใจของเราเปลี่ยนไปโดยสิน้ เชงิ เปย มไปดว ย ศรัทธา ความแจมใสกระจางชัด และความเบิกบาน มปี ญ ญา รูชัดในสภาวธรรมท้ังหลาย จิตใจของเราเขมแข็งและมั่นคง สามารถเผชญิ กบั ความผนั ผวนของชวี ติ ไดอ ยา งแยบยล” พระอริยบุคคลผูที่เขาถึงฌานระดับตางๆ ก็จะแซ ซอ งสรรเสรญิ ราชรถนีเ้ ชนกัน เชน เดยี วกบั พระอนาคามี และ พระอรหนั ต ผทู ไี่ ดเ ขา นโิ รธสมาบัติ ซ่งึ เปน สภาวะแหง การดับ ไปของจิต เจตสิก และสภาวธรรมที่เก่ียวกับจิตทั้งหมด เมื่อ ออกจากสภาวะเชนน้ีแลว ทานก็จะเปยมไปดวยความสงบสุข และชนื่ ชมยนิ ดใี นราชรถนย้ี ่งิ นกั ปกติเมื่อมีคนตาย ญาติมิตรจะโศกเศราเสียใจและ รอ งไห มีทัง้ ความอาดรู โหยไห ตรอมใจทีไ่ ดเ ห็นคนผเู ปนท่ีรกั จากโลกนี้ไป แตสำหรับพระอรหันตผูชำระกิเลสหมดจดแลว ความตายเปน สิง่ ท่คี วรเฝา รอคอย ทา นอาจกลา ววา “ในทส่ี ดุ กอ นทกุ ขน้ีจะไดถกู ท้งิ ไปเสยี ที นี่เปนชาตสิ ุดทายแลว เรามแี ต ความสุขในพระนิพพาน ไมต องเผชญิ กับทกุ ขอกี แลว” สภาวธรรมอนั สงู สง ของพระอรหนั ต อาจเปน สง่ิ ทเี่ กนิ กวาความสามารถของผูปฏิบัติจะเขาใจได แตผูปฏิบัติอาจพอ

๕๐ ราชรถสูพ ระนิพพาน เขาใจไดวาพระอรหันตรูสึกอยางไร โดยดูจากการปฏิบัติของ ตนเอง ในขณะที่สามารถเอาชนะนิวรณคือความปรารถนา กามสขุ ความอาฆาตพยาบาท ความงว งเหงาหาวนอน ความ ฟุงซาน และความสงสัย และเม่ือผูปฏิบัติสามารถประจักษ ชัดในลักษณะที่แทจริงของอารมณตางๆ เห็นความแตกตาง ระหวางรูปกับนาม หรือเห็นการเกิดดับของสิ่งตางๆ เปน ขณะๆ ภาวะทเี่ หน็ การเกดิ ดบั นก้ี อ ใหเ กดิ ความรสู กึ ทเ่ี ปน อสิ ระ และปลาบปล้ืมย่ิงนัก ปติและความแจมชัดของจิตคือผลของ การปฏิบัตธิ รรม พระพุทธองคตรัสวา “สำหรับบุคคลที่ออกบำเพ็ญ เพยี รภาวนาจนไดบ รรลฌุ าน จะมปี ต ผิ ดุ ขน้ึ ภายในเปน ความ สขุ ทเี่ หนอื กวา ความสุขใดๆ ที่อาจแสวงหาไดในโลกมนษุ ย หรอื แมบ นสวรรค” ฌานในที่นี้อาจหมายถึงการเจริญสมาธิที่ตั้งมั่น หรือ การเจริญขณิกสมาธิอยางตอเนื่องลึกซ้ึงในระหวางการเจริญ วิปสสนาก็ได ดังที่ไดกลาวแลวสมาธิประเภทที่สองนี้มีช่ือ เรียกวา วปิ สสนาฌาน

๕๑พระกัมมัฏฐานาจรยิ ะ อู บัณฑติ าภิวงั สะ รสชาตทิ ี่ไมอาจเทียบได ผูปฏิบัติที่สามารถเจริญสติไดอยางตอเน่ืองจะไดรับ ปติสุขอยางสูงในการปฏิบัติ นี่คือพระธรรมรสที่อาจไมเคยล้ิม ลองมากอน ไมมีรสใดเปรียบได คร้ังแรกท่ีไดลิ้มรส ผูปฏิบัติ จะเปยมดวยความอัศจรรยใจ “พระธรรมน้ีชางประเสริฐล้ำ เลศิ จริงๆ ไมน าเชื่อเลยวาเราจะสงบ ปต ิและสุขไดมากเทา น”ี้ ผูปฏิบัติจะเปยมดวยความศรัทธาและความเช่ือม่ัน พรอมท้ัง ความพึงพอใจและความสมหวัง จิตเริ่มคิดอยากจะแบงปน ประสบการณน้ีใหแกผูอ่ืน บางคนอาจถึงกับเร่ิมวางแผน การรณรงคเพื่อเผยแผพุทธศาสนา นี่คือเสียงที่เกิดขึ้นในจิต เปนเสียงท่ีแซซอ งสรรเสริญคณุ ของราชรถท่ีสงบเงียบ กระนน้ั ยงั มอี กี เสยี งหนงึ่ ทอี่ าจไมก ระตอื รอื รน เทา เปน เสียงกรีดรองของผูปฏิบัติที่โดยสารราชรถท่ีขาดความสงางาม หรอื ความสุข โยคีเหลานนั้ อาจโหนอยูบนราชรถได แตก ็แทบ เกาะไมอ ยู นค่ี อื ผปู ฏบิ ตั ทิ ข่ี าดความเพยี รในการเจรญิ วปิ ส สนา ความเพียรต่ำยอมใหผลนอย ผูปฏิบัติที่ยอหยอนเกียจคราน จะไมม วี นั ไดร บั รสของพระธรรม พวกเขาอาจไดร บั ความสำเรจ็

๕๒ ราชรถสพู ระนพิ พาน ของผอู น่ื พวกเขาอาจเหน็ ผอู นื่ นงั่ นงิ่ ตวั ตรงดปู ระหนง่ึ วา มคี วาม สุขกับสมาธิอันล้ำลึกและวิปสสนาปญญา ขณะที่ตนเองถูก จโู จมดวยส่ิงกอกวนและนิวรณตา งๆ ความสงสยั จะคืบคลาน เขา มาในใจ เกดิ ความสงสัยในวปิ สสนาจารย ในวิธปี ฏบิ ัตแิ ละ ในราชรถเอง “นเี่ ปน พาหนะทใ่ี ชไ มไ ดเ ลย มนั คงไมพ าฉนั ไปถงึ ไหนแน หนทางก็ขรุขระและมีเสียงดังหนวกห”ู บางทีเราอาจไดยินเสียงโอดครวญอยางหมดหวังมา จากทางราชรถอีกเสียงหน่ึง เปนเสียงของผูปฏิบัติท่ีมีศรัทธา ในการปฏิบัตแิ ละกำลังพยายามอยางหนัก แตดว ยเหตุผลบาง อยาง เขาเหลาน้ันยังไมกาวหนามากเทาที่หวัง พวกเขาเร่ิม สูญเสียความเช่ือมั่น เร่ิมสงสัยวาตนเองจะบรรลุจุดมุงหมาย หรือไม ยง่ิ หลงทางเทา ไร ย่งิ ไดขาวมากเทา นน้ั ในประเทศสหภาพพมามีคำกลาวที่จะใหกำลังใจแก คนเหลานี้ คือ “ย่ิงอนาคาริกหลงทางมากเทาไร ก็จะไดขาว มากขึ้นเทาน้ัน” อนาคาริก หมายถึง ผูสละโลกประเภทหน่ึง ในประเทศท่ีนับถอื พระพทุ ธศาสนา ทานเหลานี้ถือศลี ๘ หรอื

๕๓พระกมั มฏั ฐานาจรยิ ะ อู บณั ฑิตาภวิ งั สะ ศีล ๑๐ ครองผาขาวและโกนศีรษะ เม่ือละทิ้งทางโลกแลว เหลา อนาคาริกอาศัยอยูในวัด ดูแลวัด และใหความชว ยเหลือ พระสงฆในดานตางๆ หน่ึงในหนาท่ีนั้นคือการเขาไปในเมือง ทุกๆ สองหรอื สามวนั เพื่อขอรบั บรจิ าค ในพมาสง่ิ ของบรจิ าค สวนใหญมักจะเปนขาวสารอาหารแหง เหลาอนาคาริกจะ เดินไปตามถนน แบกคานไมไผมีกระจาดแขวนอยูท่ีปลายท้ัง สองขาง บางครง้ั พวกอนาคารกิ อาจไมค นุ กบั หนทางในหมบู า น และเม่ือถึงเวลาตองกลับวัดก็หาหนทางไมพบ ผูสละโลกที่ นาสงสารนี้เดินเขาไปเจอซอยตัน พอเดินวกกลับมาตามทาง แคบๆ ก็หลงติดอยูในตรอกขางหลัง แตขณะเดียวกันพวก ชาวบานคิดวาน่ีเปนการเดินเพ่ือขอรับของบริจาคตามปกติ จึงบริจาคขาวสารอยางตอเน่ือง คร้ันพบทางกลับอนาคาริกก็ มีขา วสารอาหารแหง ทรี่ บั บริจาคมากองใหญ สำหรบั นกั ปฏบิ ตั ทิ เ่ี ดนิ หลงทางและเดนิ ออ มเปน ครงั้ คราว ก็อาจคดิ ปลอบใจตนเองวา เรากจ็ ะไดธ รรมะกองใหญ ในท่สี ุด

ความเพยี รทางกายและใจ คอื ลอทงั้ สองของราชรถ

๕๕พระกัมมฏั ฐานาจริยะ อู บณั ฑติ าภิวังสะ ดังท่ีพระพทุ ธองคไ ดต รสั วา ราชรถคนั น้ีมีสองลอ ใน อดีตกาลเกวียนถูกสรางขึ้นอยางนี้ ดังนั้นการอุปมานี้จึงเปน ท่ีเขาใจสำหรับคนในสมัยน้ัน พระพุทธองคทรงอธิบายวาลอ ขางหน่ึงเปนความเพียรทางกาย และอีกขางหน่ึงไดแกความ เพียรทางจิต การเจริญวิปสสนากรรมฐานก็คลายกับการประกอบ การอยางใดอยา งหนึ่ง ซึ่งความเพียรเปนสงิ่ สำคัญ บุคคลตอ ง ทำงานอยางหนักและขยันขันแข็งจึงจะประสบความสำเร็จ หากพากเพียรโดยไมทอถอย ก็สามารถกลายเปนวีรบุรุษหรือ วีรสตรีผูกลาหาญได ความเพียรพยายามอยางกลาหาญ เปนสิ่งท่ีจำเปน ในการเจริญกรรมฐาน ความเพยี รทางกายเปน ความเพยี รในการดำรงรา งกาย ใหอยใู นอาการนง่ั ยนื เดิน นอน สวนความเพียรทางจติ เปน สิ่งท่ีขาดไมไดในการเจริญวิปสสนากรรมฐาน เปนพลังที่ผู ปฏิบัติทุมเทในการรักษาสติและสมาธิเพื่อขับไลกิเลสออกไป ใหหางไกล ลอท้ังสองของความเพียรรวมกันพยุงราชรถแหงการ เจริญวิปสสนากรรมฐาน ในการเดินจงกรมผูปฏิบัติก็ตองยก เทา ข้ึน ยา งออกไปขางหนา แลว เหยียบเทาลงกบั พ้นื การทำ

๕๖ ราชรถสูพ ระนิพพาน อยางน้ีซ้ำแลวซ้ำเลารวมกันเปนอาการเดิน เมื่อผูปฏิบัติเดิน จงกรม ความเพยี รทางกายกอ ใหเ กดิ อาการเคลอื่ นไหว ในขณะ ที่ความเพียรทางจิตกระตุนใหสติกำหนดรูความเคลื่อนไหว อยางตอเน่ืองไมขาดสาย ความเพียรทางกายชวยใหจิตตื่นตัว และมพี ลัง ผูปฏิบัติจะตองไมมองขามความจริงท่ีวาความเพียร เปนองคประกอบพ้ืนฐานที่สำคัญของราชรถที่พระพุทธองค ตรสั ไว เหมอื นกบั เกวยี นในทางโลกทล่ี อ ทง้ั สองจะตอ งตดิ แนน กับตัวรถ ในทางธรรม การขบั เคล่ือนราชรถน้ีไปตามหนทาง แหงอริยมรรคจะตองประกอบดวยความเพียรทางกายและ ทางจิตอยูเสมอ ผปู ฏิบตั ิคงไปไมถ ึงไหน หากไมพ ยายามสราง ความเพียรทางกายในการนั่งกรรมฐาน หรือไมพยายามตาม รูอารมณใหถูกตรง ตอเนื่องและแมนยำ ตราบใดท่ีลอท้ังสอง แหงความเพียรนี้ยังคงหมุนอยู ราชรถก็จะยังคงแลนตรงไป ขางหนา เพียงการรักษาอิริยาบถตางๆ เอาไว ก็ตองใชความ พยายามอยางสูงอยูแลว หากผูปฏิบัตินั่งอยูก็ตองใชความ พยายามไมใหลมคว่ำลงมา ในเวลาเดินก็ตองกาวขาออกไป ผูปฏิบัติตองพยายามรักษาสมดุลระหวางอิริยาบถใหญๆ ทั้ง

๕๗พระกัมมฏั ฐานาจริยะ อู บณั ฑติ าภวิ ังสะ สี่ เพ่ือรักษาดุลยภาพของความเพียรและสุขภาพพลานามัยท่ี สมบูรณ โดยเฉพาะระหวางการอบรมกรรมฐาน ตองใหเวลา กบั การนงั่ และการเดนิ ทเ่ี พยี งพอและลดหลนั่ ลงไปสำหรบั การ ยนื สว นการนอน เวลานอนก็ควรทจ่ี ะจำกัด หากรกั ษาอริ ยิ าบถไมเ หมาะสม ผลคอื ความเกยี จครา น ก็จะเกิดขึ้น ในระหวางน่ังกรรมฐาน ผูปฏิบัติอาจพยายามหา ที่พิง ผูปฏิบัติอาจสรุปเอาเองวาการเดินทำใหเหน่ือยเกินไป หรือการทำงานอดิเรกสบายๆ อาจดีกวาการเจริญกรรมฐาน เดาไดเลยวาความคดิ เหลานน้ั อาตมาไมแนะนำ ความเพยี รทางจติ กท็ ำนองเดยี วกนั ความยอ หยอ นใน การภาวนามิใชสิ่งท่ีดี ผูปฏิบัติตองเขาใจตั้งแตตนวาการเจริญ ความเพียรทางจิตอยางไมยอทอและตอเนื่องเปนสิ่งจำเปน บอกตนเองวาเราจะไมยอมใหมีชองวางในการกำหนดสติ แตจะใหตอเน่ืองใหมากที่สุดเทาท่ีจะทำได ทัศนคติแบบ น้ีเปนส่ิงมีประโยชนมาก เนื่องจากจะชวยใหผูปฏิบัติมี โอกาสบรรลเุ ปา หมายไดจริงๆ ผปู ฏบิ ตั บิ างคนไมช อบการเดนิ จงกรม เหน็ วา เปน การ เหนื่อยและเสียเวลาเปลา แตก็เดินเพราะอาจารยบอกใหเดิน เน่ืองจากการเดินจงกรมตองใชความเพียรท้ังสองดานพรอมๆ

๕๘ ราชรถสูพ ระนพิ พาน กัน การเดินจงกรมจึงเปนส่ิงที่จำเปนในการผลักดันวงลอ ของความเพียรใหหมุนไปขางหนา หากกำหนดการเดินดีๆ ผปู ฏิบตั ิก็อาจบรรลถุ ึงเปา หมายไดโ ดยสะดวกงายดาย ความเพยี รทางจติ ทป่ี รากฏอยอู ยา งตอ เนอื่ งทกุ ๆ ขณะ ทำใหกิเลสไมสามารถคุกคามจิตได กิเลสจะถูกปฏิเสธและ ผลักไสออกไป ผูปฏิบัติบางคนมีความเพียรไมสม่ำเสมอ แตทำเปน ชวงๆ การปฏิบัติเชนนี้ทำใหยากที่จะไปสูเปาหมายได พลัง ความเพียรท่ีสั่งสมขึ้นในการเจริญสติแตละครั้งก็จะสูญเสีย ไปเปลา เพราะในขณะตอมา เม่ือขาดสติ กิเลสก็จะกลับมา เปนเจาเรือนและเม่ือผูปฏิบัติกลับมาเจริญสติอีกก็ตองกลับ ไปเริ่มตนใหม เมื่อพยายามแลวหยุด พยายามแลวหยุดอยู อยางนี้ ผูปฏิบัติยอมไมอาจรวบรวมพลังท่ีทำใหเกิดความ กา วหนาขนึ้ ได บางทผี ปู ฏบิ ตั อิ าจตอ งสำรวมใจตนเองอยา งซอ่ื ตรง วา เรากำลังมสี ตอิ ยูจรงิ ๆ หรือเปลา เรากำลังพยายามทจ่ี ะ สรางความเพียรในการเจริญวิปสสนากรรมฐานอยางตอ เน่ืองและไมยอทอทุกๆ ขณะตลอดเวลาท่ีต่ืนอยางจริงจัง และจรงิ ใจหรอื เปลา

๕๙พระกมั มัฏฐานาจรยิ ะ อู บัณฑติ าภิวังสะ ประโยชนข องความเพยี รอยา งอาจหาญ ผูปฏิบัติท่ีทำใหวงลอแหงความเพียรทางจิตเคลื่อนท่ี ไปอยูเสมอนั้น กลาวไดวาเปนผูประกอบดวยความเพียรกลา พระพุทธองคทรงสรรเสริญบุคคลเหลานี้ และตรัสวา “ผูที่ ประกอบดวยความเพียรอยางอาจหาญจะมีชีวิตท่ีเปนสุข” เพราะเหตุใดก็เพราะความเพียรกลายอมสยบกิเลสลงได กอ ใหเกิดสภาวะทางจิตท่ีสงบเย็น นาพอใจปราศจากความ โลภ ความคิดที่โหดราย ความคิดทำลาย ซ่ึงลวนสรางความ เจ็บปวด ความดีงามของความเพียรอยางอาจหาญน้ีหาที่สุด มิได พระพุทธองคตรัสวา “การมีชีวิตอยูเพียงวันเดียวดวย ความเพียรที่อาจหาญ ยังดีกวาอยูถึงรอย ปโดยปราศจากความเพียร” อาตมา หวังวาผูปฏิบัติคงจะไดรับแรงบันดาล ใจ จากเรื่องของความเพียรนี้ เพียง พอที่จะทำใหหันมาหมุนวงลอแหง ความเพยี รได

หริ ิ คือ พนกั พิงหลงั ของราชรถ

๖๑พระกมั มฏั ฐานาจรยิ ะ อู บัณฑิตาภวิ ังสะ สว นประกอบอกี อยา งหนง่ึ ทพ่ี ระพทุ ธองคท รงบรรยาย ไว คอื พนักพงิ หลัง ซึง่ ก็คือหิริน่นั เอง ในสมัยนัน้ ราชรถมีพนัก พิงเพื่อค้ำยันผูขับ หากไมมีพนักแลว สารถีหรือผูโดยสารก็ อาจตกลงจากรถไดเ มอ่ื รถออกตวั หรอื หยดุ กะทนั หนั นอกจาก นพี้ นกั พงิ กอ็ าจเปน สง่ิ อำนวยความสะดวกได ทำใหผ นู งั่ สามารถ เอนหลงั สบายๆ ราวกบั นงั่ อยใู นเกา อน้ี วมตวั โปรด แลว เดนิ ทาง ไปสจู ดุ มงุ หมาย ในท่นี ้ีจดุ หมายปลายทางกค็ ือพระนพิ พาน หิรแิ ละโอตตัปปะ กอ นอน่ื เราพงึ เขา ใจหนา ทข่ี องพนกั พงิ หลงั ของราชรถ แหงวิปส สนา โดยการวเิ คราะหเจาะลึกลงไปดวู า หริ ิ หมายถึง อะไร พระพุทธองคท รงใชค ำภาษาบาลวี า หิริ สว นโอตตัปปะ น้ันมีความเกี่ยวของโดยออม แตมิไดตรัสไวในพระสูตร สองคำนม้ี กั จะแปลวา “ความละอาย” และ “ความเกรงกลวั ” ตามลำดับ อยา งไรก็ตาม คำเหลานีถ้ กู นำมาใชใหม คี วามหมาย ในทางลบ จงึ ไมถ กู ตอ ง และหากมเี วลากจ็ ะพยายามขยายความ คำวา หริ แิ ละโอตตปั ปะ

๖๒ ราชรถสูพระนพิ พาน พึงจำไววาทั้งหิริ และโอตตัปปะ มิไดมีความหมาย ท่ีสื่อถึงความโกรธหรือเกลียดชังตามนัยความหมายของคำ วา ความละอายและความเกรงกลัว การมีคุณธรรมทั้งสอง ทำใหเราอับอายและเกรงกลัวในเร่ืองของอกุศลกรรมเทานั้น เม่อื บุคคลประกอบดวยหิริ และโอตตปั ปะแลว ยอ มมีสำนึก ในทางศีลธรรมทีแ่ จมชดั บุคคลผเู ปย มดวยสำนกึ ในทางศีล ธรรมยอ มไมม ีสง่ิ ใดทีจ่ ะตอ งอบั อายหรือเกรงกลวั หิริ หรือ “ความละอาย” เปนความรูสึกขยะแขยง ตอ กเิ ลส เมอื่ ผปู ฏบิ ัติพยายามเจริญสติ จะพบวามชี วงท่กี ิเลส สามารถแทรกซึมเขามาและทำใหผูปฏิบัติตกเปนเหย่ือของ กิเลสได เมื่อกลับมีสติอีกคร้ังก็จะรูสึกเกลียดชังหรืออับอาย ทเี่ สียทา ใหก เิ ลสไป ทัศนคติทีม่ ตี อกเิ ลสแบบนคี้ ือ หิริ โอตตัปปะ หรอื “ความเกรงกลวั ” เปนการเกรงกลวั ตอผลของอกุศลกรรม หากผูปฏิบัติปลอยใหตนเองตกอยูใน ความคิดอกุศลเปนเวลานานๆ ระหวางการอบรมวิปสสนา กรรมฐาน ความกาวหนาในการปฏิบัติจะเปนไปไดชา หากผู ปฏิบัติประกอบอกุศลกรรมท่ีครอบงำดวยกิเลส ไมวาเม่ือใด ก็ตาม กจ็ ะเฝา กังวลถึงผลกรรมนนั้ ดว ยความทุกข เม่ือกลวั ผล ของอกศุ ลกรรมกจ็ ะระมดั ระวงั มากขนึ้ ในการตน่ื ตวั ตอ กเิ ลสซง่ึ

๖๓พระกัมมัฏฐานาจรยิ ะ อู บณั ฑิตาภวิ ังสะ จะคอยแทรกซมึ เขามาเสมอ ในระหวางน่ังกรรมฐาน ผูปฏบิ ตั ิ ก็จะมคี วามมุงมัน่ อยูก บั อารมณหลักดวยดี หิริ เกิดจากคุณธรรมและความซื่อตรงสวนบุคคล โดยตรง ในขณะท่ีโอตตัปปะมักจะเกี่ยวเนื่องกับคุณธรรม และชอื่ เสยี งของพอ แม ครอู าจารย และญาติมติ ร หิริ ทำหนาท่ีไดหลายวิธี ยกตัวอยางเชนชายหรือ หญงิ ทไ่ี ดร บั การอบรมสง่ั สอนมาดี ไมว า เขาจะมาจากครอบครวั ที่มีฐานะอยางไร พอแมก็จะอบรมสั่งสอนถึงคุณธรรมของ มนุษย บคุ คลเชนนย้ี อมคดิ หนาคดิ หลังใหดีกอนทจี่ ะประกอบ อกุศลกรรมใดๆ เชนปาณาติบาต พวกเขาจะคิดวา “พอแม สอนใหเรามีเมตตาและรักเพ่ือนมนุษย เราจะทำลายความ เคารพตนเองโดยการยอมพายแพตอความคิดและความรูสึก มุงทำลายอยางน้ีหรือ เราจะยอมฆาสัตวอ่ืนในภาวะท่ีออนแอ โดยปราศจากความเมตตาและความเห็นใจเชนนี้หรือ เราจะ ยอมละทงิ้ คุณธรรมของเราแลวหรือ” หากผใู ดคิดทบทวนเชน นี้ และตัดสนิ ใจที่จะไมฆ าได ก็นบั วาเปนผูป ระกอบดว ยหริ ิ อานสิ งสข องปญ ญาหรอื การศกึ ษากอ็ าจชว ยใหบ คุ คล ละเวนอกุศลกรรมได หากบุคคลใดไดรับการศึกษาและการ อบรมมาดีแลว เขาผูนั้นยอมจะมีมโนธรรมสูง เม่ือถูกย่ัวยุให

๖๔ ราชรถสูพ ระนิพพาน กระทำสง่ิ ผดิ ศลี ธรรม เขาจะเหน็ วา การกระทำเชน นน้ั ตำ่ ทราม เกินไป และเพกิ เฉยตอ การยวั่ ยุนั้น หริ ิยงั อาจเจริญไดเม่ืออายุ มากข้ึน เมื่อมีอายุมากขึ้น บุคคลมักจะระลึกถึงศักด์ิศรีของ ความเปน ผอู าวโุ สวา “ฉันเปนผใู หญแ ลวและรูจ ักผดิ ชอบชวั่ ดี ฉันจะไมทำอะไรที่ไมเหมาะสม เพราะฉันเคารพในเกียรติภูมิ ของตนเอง” หิริยังอาจเกิดจากความเช่ือมั่นอยางกลาหาญ เรา อาจไตรตรองวา อกุศลกรรมเปนการกระทำของคนที่ออนแอ ขลาด และขาดหลักการ คนท่ีมคี วามกลา หาญและศรัทธาเชอ่ื ม่ันจะยืนหยัดอยูกับหลักการเสมอไมวาอะไรจะเกิดขึ้น นี่เปน คณุ ธรรมของวีรบุรษุ ทีไ่ มย อมใหศักด์ศิ รีของตนตองมัวหมอง โอตตปั ปะ หรอื ความสะดงุ กลวั ในเชงิ มโนธรรม จะเกดิ ขน้ึ เมอ่ื เราพจิ ารณาวา พอ แม เพอื่ นฝงู และสมาชกิ ในครอบครวั จะตอ งอบั อายขายหนา จากการทำชวั่ ของเรา คณุ ธรรมขอ นย้ี งั เปน การตง้ั ความปรารถนาทจ่ี ะไมท ำลายคณุ คา สงู สดุ ของความ เปนมนษุ ยดวย กรรมช่ัวไมอาจปด บังได หากไดกระทำไปแลว บุคคล ยอมรูอยูแกใจ และยังมีผูท่ีสามารถอานใจและสามารถมอง

๖๕พระกมั มฏั ฐานาจริยะ อู บณั ฑติ าภิวังสะ เห็นและไดยินสิ่งที่เกิดขึ้นกับผูอ่ืนได หากเรารูวามีผูเปนเชนนี้ อยูจริง ๆ ก็อาจลังเลที่จะกอกรรมช่ัวดวยเกรงวาผูอ่ืนจะลวง รไู ด หิริ และ โอตตัปปะ มี บทบาท ที่ สำคัญ ม าก ใน ชีวิต ครอบครัว ดวยคุณธรรมขอน้ีเองที่ทำใหพอแมพ่ีนอง ชาย หญิงสามารถอยูรวมกันไดอยางบริสุทธ์ิ หากมนุษยปราศจาก มโนธรรมดังกลาว ก็คงมีความสัมพันธที่ไมนับญาติกัน ซ่ึงไม ตางอะไรจากสัตวเ ดรัจฉาน โลกปจจุบันนี้มีปญหามากมายท่ีเกิดจากการขาด คุณธรรมสองขอนี้ ความจริงแลว หิริ โอตตัปปะมีชื่อวาเปน ธรรมคุมครองโลก ลองคิดถึงโลกท่ีทุกคนเปยมดวยคุณธรรม สองขอนี้เอาเถิด นอกจากนี้ หริ แิ ละโอตตปั ปะยงั ไดช อ่ื วา เปน สกุ กฺ ธรรม หรือธรรมที่บริสุทธ์ิ เพราะเปนคุณธรรมที่จำเปนในการรักษา ความประพฤติท่ีบริสุทธิ์ของคนในโลกนี้ สุกฺกธรรม ยังอาจ หมายถึงสีขาวซึ่งเปนสัญลักษณของความบริสุทธิ์ ในทางตรง ขา ม ความไรยางอายและความไมเ กรงกลวั ผลของอกศุ ลกรรม มชี ื่อวา กณหฺ ธรรม หรือธรรมดำ สีดำดูดซับความรอ น ขณะ ท่ีสีขาวสะทอนความรอน ธรรมดำของความไรยางอายและ

๖๖ ราชรถสูพระนพิ พาน ไมเกรงกลัวคำครหาเปนตัวดูดซับตัวกิเลสไดดีที่สุด เมื่อสิ่ง เหลา นีป้ รากฏอยู กแ็ นใ จไดเ ลยวา กิเลสจะถกู ซึมซับอยางชุม โชกเขาสูจติ ใจ ในขณะทีห่ ากเมือ่ ธรรมขาวปรากฏอยู กเิ ลสก็ จะถูกสะทอ นออกไป มีการยกตัวอยางในพระคัมภีรถึงลูกเหล็กสองลูก ลูกหนึ่งเปอนดวยอุจจาระ และอีกลูกหน่ึงรอนแดง เม่ือมี คนใหลูกเหล็กท้ังสองน้ีแกบุคคลใด เขาก็จะปฏิเสธลูกแรก เพราะมันนาขยะแขยง และปฏิเสธลูกที่สองเพราะกลัวไหม มือ การไมยอมรับลูกเหล็กที่เปอนอุจจาระ เปรียบเหมือน คุณสมบัติของหิริ หรือจิตที่มีความละอาย การไรคุณธรรม เปนสิ่งนาขยะแขยงเมื่อเทียบกับการมีคุณธรรม การไม ยอมรบั ลกู เหลก็ รอ น เปรยี บเหมือนโอตตปั ปะ ไดแ ก ความ กลัวการกระทำช่ัว เพราะเกรงกลัวผลกรรมท่ีจะตามมา บุคคลยอมรูวาจะตองตกนรกหรืออยูในสภาวะทุกขยาก ลำบาก ดังนั้น จึงหลีกเล่ียงอกุศลกรรมบถทั้งสิบ ราวกับ วา พวกมันคือลูกเหล็กทง้ั สอง

๖๗พระกมั มัฏฐานาจริยะ อู บณั ฑิตาภวิ ังสะ ความละอายและความกลัวท่ไี รป ระโยชน ความละอาย และความเกรงกลัวบางชนิดไมมี ประโยชน อาตมาเรยี กวา ความอายและความกลัวจอมปลอม บางคนอาจรูสกึ อับอายหรอื ขวยเขนิ ท่จี ะรกั ษาศลี หา ฟงธรรม สนทนา หรือทำความเคารพบุคคลซึ่งควรคาแกการเคารพ บางคนอาจอายทจี่ ะอา นหนงั สอื เสยี งดงั หรอื พดู ในทส่ี าธารณะ บางคนกลัวการตำหนิจากผูอื่น แตถาการตำหนิน้ันมิได เกยี่ วของกับการทำผิดมโนธรรมกเ็ ปนส่งิ ทีไ่ มควรอาย มีการกระทำ ๔ อยาง อันกอใหเกิดประโยชนและ บุคคลไมพึงอายท่ีจะทำ สิ่งเหลาน้ีมิไดระบุไวในพระไตรปฎก แตเปน เร่อื งทางโลกท่ีสามารถนำมาเปนแนวทางปฏิบัตไิ ด ประการแรก บุคคลไมพึงอายในการประกอบ การงานตามหนาที่หรอื ทำงานเพ่ือเลยี้ งชวี ติ ประการทสี่ อง ไมพึงอายในการเขาไปหาครูอาจารยเพ่ือขอความรูหรือ ศึกษาวิชาชีพ หากอายที่จะกระทำแบบนี้เม่ือไรจะไดเรียน รู ประการท่ีสาม ไมพ งึ อายทจ่ี ะรบั ประทานอาหาร หากไม

๖๘ ราชรถสพู ระนิพพาน สามารถทานอาหารไดก จ็ ะอดตาย ประการสดุ ทา ย สามแี ละ ภรรยาไมพงึ อายในการมีความสัมพันธทใ่ี กลชิดตอ กนั ยังมีสิ่งท่ีไมค วรกลัวอยา งอื่นอีก เชน กลวั ที่จะพบปะ บุคคลสำคัญ หากการพบนี้เปนส่ิงท่ีจำเปนในการดำเนินชีวิต เปนตน ชาวบานมักกลัวในส่ิงท่ีไมควรกลัว เม่ือเดินทางโดย รถไฟ รถประจำทาง หรือทางเรือ ในที่นี้อาตมาหมายถึงชาว บานที่อยูชนบทจริงๆ ผูซ่ึงไมเคยขึ้นรถหรือลงเรือโดยสาร ประจำทางเลย บุคคลที่ขาดประสบการณเหลานี้ กลัวแม กระทั่งการใชหองน้ำในระหวางเดินทาง น่ีคือความกลัวท่ีไร ประโยชน บางคนอาจกลวั สตั ว เชน สนุ ขั งู แมลง หรอื กลวั การ ไปในสถานทที่ ่ีไมเ คยไปมากอน บางคนกลวั เพศตรงขา ม หรือ เกรงกลวั พอแม และครอู าจารยมากเสยี จนพดู ไมอ อกหรอื ไม กลาเดินผานหนาทาน ผูปฏิบัติบางคนกลัวการสงอารมณกับ วิปสสนาจารย พวกเขารออยูนอกประตูรูสึกพร่ันพรึงราวกับ กำลงั รอพบหมอฟน เหลา นมี้ ใิ ชห ริ โิ อตตปั ปะทแ่ี ทจ รงิ เลย องคธ รรมทง้ั สอง เกี่ยวเนื่องกับอกุศลกรรมเทาน้ัน บุคคลพึงกลัวเกรงกรรมช่ัว

๖๙พระกัมมัฏฐานาจรยิ ะ อู บณั ฑติ าภวิ ังสะ และกิเลส เพราะหากถูกมันครอบงำแลว จะไมมีโอกาสรูเลย วา มันจะนำพาใหเรากอกรรมช่ัวทเี่ ลวรา ยเพียงใด การระลึกถึงหิริและโอตตัปปะเปนสิ่งที่ดีมาก ยิ่ง คุณธรรมสองขอนี้เขมแข็งเพียงใด ผูปฏิบัติจะกระตุนความ เพยี รในการเจริญสติงา ยขนึ้ เทาน้นั ผปู ฏิบัตทิ ่ีกลวั วาจะปฏิบัติ ไดไ มต อเนือ่ ง ก็จะพยายามมากขน้ึ ในการสรา งความต่ืนตัว ดงั นนั้ พระพทุ ธองคจ งึ ตรสั กบั เทพบตุ รวา “ราชรถแหง อรยิ มรรคอนั งดงามนี้ มหี ริ เิ ปน พนกั พงิ ” หากผปู ฏบิ ตั มิ หี ริ แิ ละ โอตตัปปะเปนพนักพิง ก็จะมีท่ีพึ่ง ที่ยึด ที่นั่งพิง อยางสบาย ในขณะท่ีเรากำลังดำเนินไปสูพระนิพพาน เชนเดียวกับการที่ ผโู ดยสารรถเสยี่ งกบั อบุ ตั เิ หตใุ นการเดนิ ทาง โยคใี นราชรถแหง อริยมรรคก็มีความเสี่ยงจากการปฏิบัติเชนกัน หากคุณธรรม (หิริโอตตปั ปะ) นอี้ อนแอ ผูปฏบิ ัตกิ เ็ สย่ี งภยั ที่เกดิ จากการขาด สติและเผชญิ กับอนั ตรายตางๆ ที่จะพงึ ตามมา อาตมาขอใหผ ปู ฏบิ ตั จิ งเปย มดว ยหริ แิ ละโอตตปั ปะ สามารถกระตนุ ความเพยี รอยา งอาจหาญ จนสามารถเจรญิ สติไดอยางตอเนื่อง ขอใหผูปฏิบัติจงกาวหนาอยางราบรื่น และรวดเรว็ ในอริยมรรคตราบจนบรรลถุ ึงพระนิพพาน

สตเิ ปนเกราะหุมกำบงั ราชรถ

๗๑พระกัมมัฏฐานาจริยะ อู บณั ฑิตาภวิ ังสะ เพ่ือใหการเดินทางสายธรรมะนี้ปลอดภัยราชรถยอม ตองมีตัวถัง ในสมัยพุทธกาล ราชรถทำดวยไมหรือวัสดุแข็ง เพ่ือปองกันหอกและธนู ในปจจุบันประเทศตางๆ ตางทุมเท ทรัพยากรมากมายในการพัฒนาพาหนะหุมเกราะเพ่ือใชใน สนามรบรถยนตเองก็ใชโลหะเปนตัวถังเพ่ือความปลอดภัย ทุกวันน้ีเราสามารถขับรถไปไหนมาไหนไดราวกับอยูในหอง ท่ีสะดวกสบาย ปราศจากลม ความรอน ความหนาว และ แสงแดด เมื่อตัวถังรถคุมครองเราจากธรรมชาติไดเปนอยางดี เราก็สามารถเดินทางไดอยางสะดวก ไมวาฝนหรือหิมะจะตก อยภู ายนอกรถหรอื ไม ตวั อยา งทงั้ หมดนแี้ สดงใหเ หน็ หนา ทขี่ อง สตใิ นการคมุ ครองผปู ฏบิ ตั จิ ากการโจมตอี นั ดเุ ดอื ดของกเิ ลส สติ เปน เกราะปกปอ งจติ ใหป ลอดภยั เปน สขุ และสงบเยน็ ตราบเทา ทส่ี ตยิ ังคงตัง้ มนั่ อยู กิเลสก็จะไมอ าจยางกรายเขา มาไดเลย ไมมีผูใดเดินทางไดอยางปลอดภัยในราชรถแหง อริยมรรคมีองคแปดหากปราศจากเกราะปองกันของสติ เมื่อ ราชรถเขาสูสงคราม เกราะน้ีจะเปนตัวช้ีขาดความปลอดภัย ของผูโดยสาร การเจริญวิปสสนาเปนการทำสงครามกับกิเลส ซึ่งมีอำนาจเหนือความเปนไปของเรามากอนท่ีเราจะจำความ

๗๒ ราชรถสูพระนิพพาน ได ผูปฏิบัติจำเปนตองมีเกราะที่แข็งแกรงเพื่อคุมครองใหพน จากการโจมตีอนั อำมหิตของกเิ ลส การเขา ใจวา กเิ ลสเกดิ ขน้ึ ไดอ ยา งไร จะชว ยใหผ ปู ฏบิ ตั ิ เอาชนะมันไดงายข้ึน กิเลสจะเกิดขึ้นโดยอาศัยอารมณทาง ทวารทั้งหก เมื่อใดขาดสติควบคุมท่ีใดที่หน่ึงในหกทวารน้ี ผู ปฏบิ ัติก็สามารถตกเปน เหยื่อของความโลภ ความโกรธ ความ หลง และกเิ ลสอื่นๆ ไดงา ย เชนเมื่อเกิดอาการเห็นรูปเขามากระทบกับประสาท ตา หากรูปน้ันนาพึงพอใจและผูปฏิบัติขาดสติ ตัณหาก็จะ เกิดข้ึน หากรูปน้ันไมนาปรารถนา ความรังเกียจผลักไสจะ เขาจูโจม หากอารมณนั้นจืดชืดและเปนกลาง ก็จะถูกกระแส ของความหลงพัดพาไป แตเม่ือสติดำรงอยู กิเลสจะไมอาจ เขามาในจิตสำนึกได เมือ่ กำหนดรอู าการเหน็ สติจะใหโ อกาส จิตทำความเขา ใจกบั ลกั ษณะท่แี ทจรงิ ของสงิ่ ท่ีกำลังเกดิ ขึน้ ประโยชนท่ีเห็นไดทันทีของสติก็คือ ความบริสุทธ์ิ แจมใสของจิตและความสุข ผูปฏิบัติสามารถประสบกับส่ิง เหลานี้ไดทันทีท่ีสติปรากฏขึ้น การปราศจากกิเลสคือความ บริสุทธิ์ เม่ือมีความบริสทุ ธ์คิ วามแจมใสและความสุขกต็ ามมา จิตที่มคี วามบริสทุ ธแ์ิ ละสะอาดสามารถนำไปใชงานไดด ี

๗๓พระกมั มฏั ฐานาจรยิ ะ อู บณั ฑติ าภวิ งั สะ ในการปรากฏของสงิ่ ตา งๆ โดยปราศจากความระลกึ รู อกุศลจิตมักเกิดขึ้นบอยกวากุศลจิต ทันทีท่ีความโลภ ความ โกรธ และความหลงเขามาสูจิตสำนึก บุคคลก็เริ่มกอกรรมช่ัว ซ่ึงจะใหผลทั้งในชาตินี้และในชาติตอไป การเกิดเปนผลของ กรรมประการหนึง่ เม่อื มเี กดิ ก็ตองมีตาย ระหวางการเกดิ และ การตาย สัตวโ ลกยอ มกอ กรรมเพ่ิมขึ้น ทงั้ กรรมดีและกรรมชั่ว ทำสังสารวัฏใหดำเนินตอไป ดังน้ัน ความประมาทจึงนำไปสู ความตาย เปน สาเหตขุ องการตายทง้ั ในชาติน้ีและในชาติหนา ดงั นน้ั สตจิ งึ เหมอื นกบั อากาศบรสิ ทุ ธท์ิ จี่ ำเปน ตอ ชวี ติ ทุกชวี ติ ที่หายใจตองการอากาศบรสิ ุทธ์ิ หากตองสูดอากาศทมี่ ี มลพษิ เขา ไปเปน ประจำ ไมชา ก็จะเกดิ โรคและอาจตายได สติ จงึ มคี วามสำคญั พอๆ กนั จติ ทปี่ ราศจากอากาศบรสิ ทุ ธขิ์ องสติ ไมชากจ็ ะเฉา หายใจแผวลง และสำลักกเิ ลสจนหายใจไมออก คนทหี่ ายใจเอาอากาศสกปรกเขา ไปอาจปว ยกะทนั หนั และทุกขทรมานมากกอนเสียชีวิตเม่ือขาดสติ เราก็หายใจเอา อากาศทมี่ พี ิษแหง กองกิเลสเขาไป แลวกเ็ ปน ทุกข เม่ือพบกับ อารมณท่ีนาปรารถนาก็ถูกเสียดแทงดวยความอยาก หาก ประสบอารมณไมนาปรารถนาก็รูสึกหมองไหมดวยความ รงั เกยี จเดยี ดฉนั ท หากพบวา อารมณน นั้ นา อบั อายกจ็ ะรสู กึ วา

๗๔ ราชรถสพู ระนิพพาน ถูกเชือดเฉือนดวยความทรนงในศักดิ์ศรี กิเลสมีหลายรูปแบบ แตเมอ่ื มนั เขาจโู จมเราแลว ใหผ ลเหมอื นกันคือความทุกข ตอ เม่ือผูปฏิบัติสามารถสกัดก้ันกิเลสมิใหเขามาไดเทานั้น ความ สบาย ความสงบ และความเปนสุขอยางบริสุทธ์ิของจิตจึงจะ เกิดขึน้ ได มลพิษบางประเภททำใหส่ิงมีชีวิตที่หายใจเขาไปมี อาการมนึ งง และเสียการทรงตัว บางประเภททำใหตาย กเิ ลส กเ็ ชน เดยี วกนั การจโู จมของกเิ ลสบางครง้ั ไมร นุ แรง แตบ างครง้ั อาจถึงตาย บางคนอาจมีอาการเคลิบเคล้ิมจากความสุขทาง ผสั สะ หรืออาจถึงตายดวยเสน เลือดในสมองแตกเพราะความ โกรธ ความมัวเมาในกามอยางรุนแรงสามารถประหารคนได การปลอยตัวทำตามความโลภเปนเวลานานๆ หลายป ก็อาจ ทำใหเกิดโรครา ย การโกรธหรือกลัวมากๆ กอ็ าจทำใหถึงตาย โดยเฉพาะอยางยิ่งผูที่เปนโรคหัวใจ นอกจากนี้กิเลสยังเปน สาเหตขุ องโรคประสาทของจิตวิปลาสดว ย ความจริงกิเลสมีอันตรายมากกวาสารพิษท่ีอยูใน อากาศ หากมีคนตายเพราะหายใจเอาอากาศที่มีสารพิษ เจือปนเขาไป สารพิษก็จะถูกทิ้งอยูในรางท่ีไรวิญญาณน้ัน แตมลทินของกิเลสแปดเปอนไปถึงภพหนา ไมจำตองเอยถึง

๗๕พระกมั มัฏฐานาจรยิ ะ อู บณั ฑิตาภิวังสะ ผลลบท่ีเกิดข้ึนแกสรรพชีวิตอ่ืนดวย เม่ือจิตหายใจเอากิเลส เขาไปเปน ผลใหก อ กรรมซ่งึ จะสงผลในอนาคต เม่ือจิตมีสติอยูทุกๆ ขณะจิต จะคอยๆ สะอาด ข้ึน เชนเดียวกับปอดของคนท่ีหยุดสูบบุหร่ีที่คอยๆขับขี้เถา และสารนิโคตินที่ติดอยูในปอดออกมา จิตที่บริสุทธ์ิสามารถ ต้ังม่ันเปนสมาธิไดงาย จากนั้นปญญาก็มีโอกาสเกิดขึ้น กระบวนการบำบัดรักษาน้ีเริ่มตนดวยสติ เม่ือการปฏิบัติมี รากฐานมาจากสติและสมาธิที่ตั้งมั่น ผูปฏิบัติก็จะผานญาณ ระดับตางๆ มีปญญาสูงขึ้นตามลำดับ ในที่สุดอาจบรรลุถึง พระนิพพานท่ีซ่ึงกิเลสจะถูกขุดรากถอนโคน ไมมีส่ิงแปลก ปลอมหลงเหลอื อกี คุณคา ของ สติ จะ เขาใจ ได ก็ โดย ผู ที่ ได เคย รับ ประโยชนจากสติมาแลวในการปฏิบัติดวยตนเองเทานั้น เมื่อบุคคลออกแรงพยายามสูดหายใจเอาอากาศท่ีบริสุทธิ์ เขาไป สุขภาพดีท่ีเกิดข้ึนตามมาจะเปนส่ิงพิสูจนคุณคา ของความพยายามนี้ ในทำนองเดียวกันนักปฏิบัติท่ีปฏิบัติ ไดกาวหนามากๆ หรืออาจถึงข้ันพระนิพพาน จะรูไดอยาง แทจ ริงวา สติมีประโยชนเ พยี งใด

สมั มาทฏิ ฐิเปน สารถี

๗๗พระกมั มัฏฐานาจริยะ อู บัณฑติ าภวิ งั สะ ไมวาราชรถจะดีเลอเลิศสักเพียงไร หากปราศจาก สารถีแลว ราชรถน้ันก็คงไปไหนไมได ในทำนองเดียวกัน พระพุทธองคตรัสอธิบายวา สัมมาทิฏฐิจะเปนแรงผลักดัน รวมท้ังกำหนดแนวทางการพัฒนาของจิต พระไตรปฎก แจกแจงสัมมาทิฏฐิ ๖ ประเภท ซ่ึงในพระธรรมเทศนาครั้ง นั้น พระพุทธองคทรงหมายเฉพาะการเห็นชอบที่เกิดขึ้นใน ขณะแหง มรรคจติ การระลกึ รมู รรคญาณนี้ เปน หนง่ึ ในหลายๆ ญาณท่เี กิดขน้ึ จากการปฏบิ ัติ ซึง่ จะไดก ลาวถึงตอไป สัมมาทฏิ ฐวิ าทกุ คนมีกรรมเปนของตนเอง สัมมาทิฏฐิประการแรกคือ กมฺมสกตา ไดแกความ เห็นท่ีวา ทกุ คนมกี รรมเปนของตน กรรมในท่นี ้รี วมท้ังกรรมดี และกรรมชวั่ เรามที ศั นคตใิ นความเปน เจา ของและการควบคมุ วัตถุส่ิงของตางๆ ซึ่งโดยแทจริงแลวเปนเพียงภาพลวงตา เพราะทกุ สง่ิ ทกุ อยา งลวนไมเ ท่ียง ตองเสอ่ื มสน้ิ ไปเปนธรรมดา กรรมจงึ เปน สงิ่ เดยี วในโลกนท้ี เ่ี ราเปน เจา ของไดจ รงิ ๆ ผปู ฏบิ ตั ิ

๗๘ ราชรถสพู ระนพิ พาน พึงทำความเขาใจวา การกระทำไมวาดีหรือไมดีจะติดตามเรา ไปตลอดในสังสารวัฏ กอใหเกิดวิบากท่ีดีและชั่วสอดคลอง กนั นอกจากน้กี รรมยังใหผลทันทีตอ จิตใจ คอื กอ ใหเ กิดความ สุข หรือความทุกข ข้ึนอยูกับวากรรมนั้นเปนกุศลหรืออกุศล ขณะเดียวกันกรรมก็ใหผลในระยะยาวดวย อกุศลกรรมจะนำ ไปเกิดในอบายภูมิ โลกียกุศลกรรมนำไปสูการเกิดในสุคติภูมิ และโลกุตตรกุศลกรรมท่ีสูงสุดทำใหหลุดพนจากสังสารวัฏ โดยสน้ิ เชงิ การมองโลกในลักษณะนี้ ทำใหผูปฏิบัติมีพลังในการ เลือกแนวทางในการดำรงชีวิต ดังนั้น กมฺมสกตา สมฺมาทิฐิ จึงมีช่ือวา “แสงสวางของโลก” เพราะทำใหเรามองเห็นและ ประเมินผลทางเลือกของเราเองได การเขาใจเร่ืองกรรมอยาง ถูกตอง เปรียบเหมือนชุมทางรถไฟซ่ึงมีหลายทิศทางที่รถไฟ สามารถว่ิงไป หรือเหมือนกับสนามบินนานาชาติที่เชื่อมโยง กับจุดหมายปลายทางมากมาย เนื่องจากเราก็เหมือนกับสัตว ทั้งหลายท่ีปรารถนาความสุข ความเขาใจเร่ืองกรรมจะทำให เรามีแรงจูงใจอยางแรงกลาท่ีจะประกอบกรรมดีมากขึ้นๆ รวมทง้ั ปรารถนาทจ่ี ะหลกี เลยี่ งพฤตกิ รรมทจ่ี ะนำมาซง่ึ ทกุ ขภ ยั ในอนาคต

๗๙พระกัมมัฏฐานาจรยิ ะ อู บณั ฑติ าภิวงั สะ การชวยเหลือผูอ่ืนดวยการใหทาน และการรักษาศีล จะชวยใหเราไดไปเกิดในสภาพแวดลอมที่ดี กุศลกรรมน้ียัง ชวยใหสตั วโ ลกสามารถเดนิ ทางไปสพู ระนิพพานดวย สัมมาทิฏฐเิ กย่ี วกบั ฌาน เพื่อกาวขาม กมฺมสกตา สมฺมาทิฐิ ไปอีกข้ันหน่ึง ผูปฏิบัติพึงเจริญสมาธิ สมาธินี้ใหผลทันที กลาวคือ ทำใหผู ปฏิบัติอยูอยางเปนสุข ด่ืมด่ำอยูกับอารมณกรรมฐาน ความ เห็นชอบประเภทท่ีสองน้ีไดแก ฌานสมฺมาทิฐิ เปนความ เห็นชอบเก่ียวกับฌานและสมาธิข้ันตางๆ เปนความรูที่เกิด ในขณะที่ฌานสมาบัติ ๘ ปรากฏ ประโยชนของความเห็น ชอบเกยี่ วกับฌานมี ๓ ประการ คือ หนึ่ง ขณะทีก่ ำลังจะสนิ้ ชีวิต หากผูปฏิบัติสามารถรักษาสมาธิไดอยางเขมแข็งก็จะได ไปเกิดในพรหมโลก และสามารถดำรงอยูในพรหมโลกไดเปน เวลานานๆ หลายกัปหลายกัลป สอง ฌานยังเปนบาทฐาน ของการเจริญวิปสสนาท่ีเขมแข็ง สาม ฌานยังเปนพ้ืนฐาน ของการเจริญอภิญญาอกี ดว ย

๘๐ ราชรถสูพระนิพพาน การปูทางสำหรับญาณสูงสดุ : การเจรญิ วปิ สสนาสมั มาทฏิ ฐิ การที่ผูปฏิบัติทุมเทเวลาและความเพียรมากที่สุด ใหกับการเจริญสัมมาทิฏฐิประเภทท่ีสามใหเกิดในตน คือ วิปสฺสนาสมฺมาทิฐิ เปนความเห็นชอบท่ีเกิดจากวิปสสนา ญาณ เมอ่ื วิรยิ ะ สติ หริ ิ และโอตตปั ปะ มีอยพู รอ ม วปิ สสนา ญาณจะเกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ พึงจำไววา สัมมาทิฏฐิ เปน ส่ิงที่เหนือกวาความคิดเห็นธรรมดา สัมมาทิฏฐิเปนปญญา อันลึกซ้ึงซึ่งเกิดข้ึนเองจากการท่ีผูปฏิบัติเห็นสภาวธรรมตาม ความเปนจริง ปจจุบันน้ีเม่ือผูนำประเทศจะออกจากท่ีพำนัก ตอง มีการเตรียมการมากมายกอนที่ขบวนรถจะเคล่ือนท่ีออกไป กลมุ เจา หนา ทร่ี กั ษาความปลอดภยั จะตรวจสอบวา หนทางโลง และปลอดภัยหรอื ไม เจา หนา ท่บี างคนตรวจดรู ะเบิด วางดาน กนั้ ฝูงชนตามขางถนน มอบหมายใหเจา หนา ทจ่ี ราจรประจำที่ และลากรถทอี่ าจจอดขวางทางออกไป เมอ่ื ทกุ อยา งพรอ มแลว ประมุขจงึ จะออกจากท่ีพำนักมาขนึ้ รถ ทม่ี ีคนขบั คอยทา อยู

๘๑พระกัมมัฏฐานาจรยิ ะ อู บัณฑิตาภิวงั สะ ในทำนองเดียวกัน บนหนทางแหงอริยมรรค วิปสสนาสัมมา ทิฏฐิ เปรียบ เหมือน กับ ตำรวจ ลับ การประจักษใน อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา จะแผวถาง หนทางใหปลอดโปรงจากความยึดม่ันถือม่ันนานาประเภท รวมถึงความเห็นท่ีผิดๆ ทฤษฎีความเชื่อสวนตัว ความเขาใจ ผิดและอื่นๆ การทำลายความยึดม่ันน้ีเกิดข้ึนเปนลำดับขั้น เมื่อการเตรียมการเบื้องตนพรอมแลว การเห็นแจงอริยมรรค ก็จะปรากฏ และขดุ รากถอนกิเลสใหส้ินไป กระบวนการดบั ทกุ ข ในหนทางสมู รรคจติ วปิ ส สนาญาณแตล ะขน้ั จะทำลาย ความเห็นผิดหรือความเขาใจผิดเกี่ยวกับสภาวธรรมที่แทจริง ของธรรมชาติ วิปสสนาญาณขั้นที่หนึ่งแสดงใหเห็นวา รูป และนามมีสภาวธรรมที่แตกตางกัน และชีวิตก็มิใชอะไรอื่น นอกจากรปู และนามทไี่ มห ยดุ นง่ิ ณ จดุ นี้ ผปู ฏบิ ตั ลิ ะสงิ่ ทเ่ี ปน สว นเกนิ ของชวี ติ ชำระความเหน็ ใหบ รสิ ทุ ธข์ิ นึ้ โดยถอดถอน การปรงุ แตง บางอยา งทเี่ คยมี เชน ทศั นะเกย่ี วกบั ชวี ติ วา เทยี่ ง และมีตวั ตน

๘๒ ราชรถสูพระนพิ พาน ในญาณข้ันท่ีสอง ความเขาใจเหตุและผลลบลาง ความสงสัยท่ีวาส่ิงตางๆ อาจเกิดขึ้นโดยบังเอิญ ผูปฏิบัติรู วาความจริงมิใชเชนน้ัน นอกจากน้ียังสามารถประจักษแจง โดยตรงวาสภาวธรรมตา งๆ มไิ ดเกดิ ขึน้ จากเหตุภายนอก เม่ือวิปสสนาญาณมีความลุมลึกข้ึน ผูปฏิบัติเห็น ความไมเที่ยงของอารมณตางๆ และประจักษวาทุกอยาง ที่เคยประสบพบมาและจะประสบตอไปในอนาคต ก็เปน อนิจจังเชนกัน จากพื้นฐานความเขาใจเร่ืองความไมเที่ยง ถาวรและการแปรเปลี่ยนของสิ่งตางๆ ผูปฏิบัติก็จะระลึกได เองวาไมมีท่ีสำหรับหลบภัย ไมสามารถพึ่งพาอะไรไดเลย ดัง น้ันผูปฏิบัติจึงพนจากความคิดผิดๆ ที่วาสามารถแสวงหา สนั ตสิ ขุ และเสถยี รภาพอนั ถาวรไดจ ากวตั ถุสิ่งใดในโลกน้ี การ ถกู กดดันบีบค้นั ดว ยสภาวธรรมอันไมเ ทีย่ งตางๆ นับวาเปน ความทุกขท่ียิ่งใหญ ผูปฏิบัติจะรูสึกเชนน้ีจากกนบึ้งของ หวั ใจเมอ่ื ถงึ ญาณข้นั ที่สาม ความรูสึกท่ีเก่ียวเนื่องและติดตามมาจากความรูสึก กลัวและกดดันอยางลึกซึ้งนี้ก็คือ การระลึกรูวา ไมมีใครที่ สามารถปอ งกนั หรอื ควบคมุ การเกดิ ขน้ึ และดบั ไปของสง่ิ ตา งๆ ทำใหผูปฏิบัติประจักษชัดไดเองวาไมมีตัวตนในสิ่งใดๆ ญาณ

๘๓พระกัมมฏั ฐานาจรยิ ะ อู บณั ฑติ าภิวงั สะ ท้ังสามลำดับหลังน้ี เปนจุดเริ่มตนของวิปสสนา สัมมาทิฏฐิ ซ่งึ เชื่อมโยงกบั อนจิ จัง ทกุ ขัง และอนัตตา โดยตรง การปรากฏของวปิ ส สนาสมั มาทิฏฐิ เม่ือวิปสสนาสัมมาทิฏฐิปรากฏขึ้น ราชรถก็พรอมที่ จะออกเดินทาง ราชรถจะเริ่มขยับและคอยๆ เคลื่อนไปบน หนทางท่ีจะนำไปสูพระนิพพาน ถึงตอนนี้ผูปฏิบัติก็สามารถ บังคับรถใหเคลื่อนไปได รถมีเกราะกำบังแลว พนักพิงหลัง ม่ันคง และคนขับก็เขาที่เรียบรอย ผูปฏิบัติเพียงแตออกแรง บังคับลอทง้ั สองเบาๆ แลว ราชรถก็จะทะยานออกไป ครนั้ ผปู ฏบิ ตั มิ ญี าณหยง่ั รู อนจิ จงั ทกุ ขงั และอนตั ตา แลว ผูปฏิบัติจะเห็นสิ่งตางๆ เกิดข้ึนและดับไปเร็วขึ้นและ ชัดเจนมากข้ึน เห็นการเกิดดับจากขณะหน่ึงสูอีกขณะหน่ึง ละเอยี ดยบิ ย่งิ กวาเศษเส้ียววนิ าที ยิ่งการปฏบิ ตั กิ า วหนาขึน้ กจ็ ะเหน็ การเกดิ ดบั เรว็ ขน้ึ และในทสี่ ดุ ผปู ฏบิ ตั จิ ะไมส ามารถ มองเห็นการเกดิ ไดเลย ไมวา จะมองไปทางไหนกจ็ ะเห็นการ

๘๔ ราชรถสูพ ระนิพพาน ดับไปอยางรวดเร็ว ผูปฏิบัติจะมีความรูสึกเหมือนกับมีคน กระชากพรมใตฝาเทาใหหายไปในพริบตา การดับนี้มิใชส่ิง เลือ่ นลอย แตจะครอบคลุมชีวิตจติ ใจทง้ั หมดในขณะนั้น ผูปฏิบัติจะมีความกาวหนาขึ้นโดยลำดับ มุงเขาใกล จุดมุงหมายไปทุกขณะ หลังจากวิปสสนาญาณขั้นตางๆ ผาน ไปแลว มรรคญาณก็จะเขาแทนที่ และนำผปู ฏบิ ัตเิ ขา สสู ภาวะ ทป่ี ลอดจากภัย คอื พระนิพพาน แมเมื่อวิปสสนาญาณเกิดขึ้นแลว และกิเลสไมอาจ กำเริบข้ึนมาได กิเลสยังมิไดถูกประหารไปโดยสิ้นเชิง กิเลส อาจถูกกดขมเอาไว แตก็ยังรอคอยโอกาสท่ีจะกลับเขามากุม อำนาจอีกครัง้ เครือ่ งหมายสดุ ทา ย : การทำกิเลสใหออนแอและสนิ้ ไป กิเลสจะถูกประหารโดยสิ้นเชิงในขณะท่ีอริยมรรค สมั มาทิฏฐเิ กดิ ขึ้นเทาน้นั

๘๕พระกัมมฏั ฐานาจรยิ ะ อู บัณฑติ าภิวงั สะ ผูปฏิบัติอาจสงสัยวาการประหารกิเลสหมายถึงอะไร กเิ ลสที่ไดเ กดิ ขึ้นแลว นน้ั ไมสามารถอดถอนได เพราะเปน อดตี ไปแลว เชนเดียวกับกิเลสที่ยังไมปรากฏก็ไมสามารถทำลาย ได เนื่องจากยังไมเกิดข้ึนในขณะนี้ แมในปจจุบันขณะ กิเลส เกิดข้ึนแลวก็ดับไป แลวจะประหารกิเลสไดอยางไร อนุสัย กิเลสหรือกเิ ลสที่นอนเนอ่ื งอยูตา งหาก คือ สง่ิ ทจี่ ะถกู กำจัด ออกไป กิเลสมสี องประเภท ประเภทแรกสัมพนั ธก บั อารมณ สว นอกี ประเภทหนงึ่ เกยี่ วกบั ความสบื เนอ่ื งของขนั ธห รอื ของ รปู นาม กเิ ลสประเภทแรก จะเกดิ ข้นึ เมอ่ื มปี จ จยั เอ้ืออำนวย กลาวคือมีความเกี่ยวโยงกับสภาวธรรมทางกายหรือทาง จิตและในขณะท่ีไมมีสติ หากมีอารมณปรากฏขึ้นชัดแตผู ปฏิบัติขาดสติในการกำหนดรูการกระทบของอารมณกับจิต กิเลสซึ่งนอนเน่ืองอยูก็จะปรากฏตัวออกมาใหเห็น แตหาก มีสติ สภาวธรรมขณะนั้นก็จะไมเอ้ืออำนวยใหกิเลสเกิดข้ึน และกเิ ลสก็จะถกู กดี กันใหอยูหางไกล กิเลสประเภทที่สอง เปนกิเลสที่นอนเน่ืองและถูก ฝง อยูใ นกระแสความรสู กึ ของเรา ตลอดการทอ งเทย่ี วไปใน สังสารวัฏ กิเลสประเภทนี้จะสามารถประหารไดดวยมรรค ญาณเทา นนั้

๘๖ ราชรถสพู ระนพิ พาน ในสมัยกอนเวลามีคนปวยเปนไขมาเลเรีย มีการ รักษาดวยยาสองขนาน คนไขที่เปนมาเลเรียจะมีไขขึ้นสูง เปนระยะๆ ประมาณทุกๆ สองวันจะมีไขสูงมากครั้งหน่ึง และตามดวยอาการหนาวสั่นอยางฉับพลัน การรักษาข้ันแรก ตองทำใหอุณหภูมิที่สูงสุดลงกอน ทำใหคนไขมีกำลังข้ึนและ เช้ือโรคออนแอลง ในที่สดุ เมื่อวงจรของไขสงู และอาการหนาว สั่นลดลงบางแลว หมอจะใหยาอีกขนานหนึ่งท่ีทำใหคนไข หายขาด เมื่อคนไขแข็งแรงขึ้นแลวและเช้ือโรคออนแอลง เชอ้ื มาเลเรียก็ถูกกำจัดไปได วิธีรักษาขั้นแรกเปรียบไดกับวิปสสนาญาณซ่ึง ทำใหกิเลสออนกำลังลง สวนยาเผด็จศึกก็คือมรรคญาณที่ ทำหนา ทีป่ ระหารกิเลสอยางเด็ดขาด อีกตัวอยางหน่ึงไดแก กระบวนการรับรองเอกสาร ของทางราชการ ซ่ึงตองผานข้ันตอนมากมาย กระบวนการ นี้ตองใชเวลานานมาก เริ่มดวยประชาชนตองเขาไปติดตอ เจา หนา ทป่ี ระชาสมั พนั ธท ชี่ น้ั แรกของอาคาร จากนน้ั เจา หนา ที่ ก็จะสงบุคคลน้ันข้ึนไปท่ีชั้นสองเพ่ือรับเอกสารและไปติดตอ ขอลายเซน็ อนมุ ตั จิ ากฝา ยหนง่ึ สอู กี ฝา ยหนง่ึ เมอ่ื ไปยนื่ เอกสาร เจาหนาที่อีกฝายหนึ่งก็จะขอใหกรอกแบบฟอรมแลวรอจน

๘๗พระกัมมัฏฐานาจริยะ อู บณั ฑิตาภิวังสะ กระทงั่ เจา หนา ทผ่ี รู บั ผดิ ชอบลงนาม ตลอดทง้ั วนั ประชาชนคน น้ันตองติดตอผานหนวยงานตางๆ จากช้ันหนึ่งไปอีกช้ันหนึ่ง กรอกแบบฟอรมและรอรับลายเซ็น กวาจะไดเอกสารท้ังหมด ครบถวนตองใชเวลานานมาก ในที่สุด บุคคลผูนั้นก็ขึ้นไปหา เจาหนาท่ีสูงสุด และใชเวลาเพียงเสี้ยววินาทีเพื่อใหเจาหนาที่ ผูนั้นลงนามเอกสารไดรับการรับรองเปนเอกสารที่ถูกตอง ตามกฎหมายแลว แตเขาผูน้นั จำตอ งผา นขน้ั ตอนของราชการ ทย่ี าวเหยียดเหลานั้นกอน เชนเดียวกับการปฏิบัติวิปสสนา มีกระบวนการ มากมาย แตมรรคญาณเกิดเร็วกวาเวลาท่ีเจาหนาท่ีระดับสูง ผูน้ันใชในการลงนามเสียอีก ถึงกระน้ันผูปฏิบัติตองทำหนาท่ี ของตนกอน เมื่อทุกอยางพรอม มรรคญาณก็จะปรากฏ และรับรองอยางเปนทางการ วากิเลสไดถูกประหารไป หมดส้นิ แลว ชว งแรกของวปิ ส สนาญาณอาจเรยี กไดว า เปน “หนทาง ของคนทำงาน” ผูปฏิบัติตองทำงานใหเสร็จโดยสมบูรณโดย ไมหลบเลี่ยงมรรคญาณเปรียบเหมือนเจานายสูงสุดทำหนาท่ี ส่ังการ เจานายคงไมอาจลงนามในกระดาษเปลาท่ียังไมได ผา นขน้ั ตอนการทำงานเบ้อื งตนอยางสมบรู ณไ ด

๘๘ ราชรถสพู ระนพิ พาน มรรคญาณและผลญาณ : ดับไฟและชโลมนำ้ ลงบนเถาถา นแหงกิเลส เม่ือวิปสสนาญาณบริบูรณแลว มรรคญาณก็จะเกิด ขน้ึ โดยอัตโนมัติ ตดิ ตามดวยผลญาณ ในภาษาบาลี สภาวจิต นี้เรียกวา มรรคและผล องคประกอบของมรรคญาณ และผล ญาณ ก็คือสัมมาทฏิ ฐปิ ระเภททีส่ แี่ ละหา ในหกประเภท เมื่อเกิดมรรคญาณ อริยมรรคสัมมาทิฏฐิจะทำ หนาที่ประหารกิเลสที่จะนำเราไปเกิดในอบายภูมิอันเปน สภาวะท่ีทุกขทรมาน ภพเหลานี้ไดแก นรก เดรัจฉาน เปรต และอสุรกาย ตอจากน้ันผลญาณก็จะเกิดตอทันที ซ่ึงสวน หน่ึงก็คืออริยผลสัมมาทิฏฐิ ผูปฏิบัติอาจสงสัยวาญาณนี้ หนาที่อะไร เพราะอนุสัยกิเลสไดถูกประหารไปแลว ผลญาณ สัมมาทิฏฐิทำใหกิเลสเย็นลง กองไฟแหงกิเลสอาจจะมอดไป แลว แตก็ยังมีเถาถานอุนๆ เหลืออยู ผลญาณสัมมาทิฏฐินี้ ทำหนา ทช่ี โลมนำ้ ลงบนเถาถา นเหลา นนั้

๘๙พระกัมมัฏฐานาจริยะ อู บณั ฑิตาภวิ งั สะ ปจ จเวกขณสมั มาทฏิ ฐิ ความเห็นชอบประเภททหี่ ก คือ ปจ จเวกขณสัมมา ทิฏฐิ ทำหนาท่ีทบทวนความรูท่ีติดตามมาจากมรรคญาณ ผลญาณและพระนิพพาน ญาณน้ีจะพิจารณาทบทวนธรรม ๕ ประการคือ การเกิดมรรคญาณและผลญาณ นิพพานใน ฐานะท่ีเปนอารมณๆ หนึ่ง กิเลสที่ไดถูกทำลายไปและสวน ทีย่ ังเหลืออยู นอกจากน้แี ลว ไมม ีหนาทสี่ ำคญั อื่นใด สัมมาทิฏฐิประเภทแรก คือ กมฺมสกตาสมฺมาทิฏฐิ กลาววาเปนสิ่งถาวร กลาวคือเปนสิ่งที่จะไมหายไปจากชีวิต โลกนี้อาจแตกสลายถูกทำลายไป แตยังคงมีส่ิงมีชีวิตซึ่งบางที อาจจะอยใู นอีกโลกหน่งึ ก็ได ท่มี ีความเหน็ ถกู วาทกุ คนมกี รรม เปนของของตน บุคคลท่ีไมพยายามแยกแยะความแตกตางระหวาง กุศลกรรมและอกุศลกรรมยอมตกอยูในท่ีมืด เปรียบเหมือน เดก็ ทารกท่เี กดิ มาตาบอด บอดมาต้ังแตในครรภ และมืดบอด เมื่อคลอดออกมาแลว หากทารกน้ีโตข้ึน ก็ไมมีทางมองเห็น พอที่จะชว ยเหลือตนเองได คนตาบอดและขาดผนู ำทาง ยอม จะประสบกบั อุบตั ภิ ยั มากมาย

๙๐ ราชรถสพู ระนพิ พาน ฌานสัมมาทิฏฐิ จะยังคงมปี ราฏอยูเ สมอ ตราบเทา ที่ มผี ูป ฏิบัตธิ รรมและบรรลุฌาน แมใ นชว งท่พี ระพุทธศาสนาไม รงุ เรอื ง ก็ยังจะมผี ูเ จริญสมาธิและเจริญฌานอยเู สมอ อยา งไรกต็ าม สัมมาทิฏฐิอีก ๔ ประเภทท่ีเหลือจะคง อยูไดก็ตอเม่ือพระพุทธศาสนายังต้ังมั่นอยูเทานั้น นับแตสมัย พุทธกาลจนถึงปจจุบัน คำสอนของพระพุทธองคยังคงรุงเรือง อยู ขณะนี้พระพุทธศาสนาเปนที่รูจักทั่วโลก แมในประเทศ ที่มิไดนับถือพระพุทธศาสนา ก็ยังมีองคกรหรือกลุมชนซึ่งมี หลักการที่มีรากฐานมาจากคำสอนของพระพุทธองค บุคคล ท่ีพอใจเพียงความเห็นชอบในเรื่องของกรรมหรือฌานเทานั้น ยังไมอาจไดรับแสงแหงพระธรรมได เขาอาจไดรับความสวาง จากแสงทางโลก แตมใิ ชแ สงของพระพทุ ธองค ความเหน็ ชอบ อีก ๔ ประเภทที่เหลือจากวิปสสนาสัมมาทิฏฐิถึงปจจเวกขณ สมั มาทิฏฐิเทานน้ั ทป่ี ระกอบดว ยแสงแหง พระพทุ ธธรรม เม่ือผูปฏิบัติสามารถแยกรูปและนามออกจากกันได ก็จะหลดุ พน จากทฏิ ฐิวปิ ลาสในเรื่องของความเปน ตวั ตน และ มานของความมดื ชั้นที่หนึ่งกจ็ ะถกู ถอดออกไป กลาวไดวาแสง แหงธรรมะไดเริ่มสองสวางผานเขามาถึงจิตสำนึกของผูปฏิบัติ แลว แตกย็ งั มมี า นชน้ั อน่ื ๆ ทีย่ ังตอ งถอดถอนออกไปอีก มาน

๙๑พระกมั มฏั ฐานาจรยิ ะ อู บัณฑิตาภวิ ังสะ แหงอวิชชาช้ันที่สองก็คือความเห็นที่วาสิ่งตางๆ เกิดขึ้นอยาง ไมมีระเบียบและไมมีเหตุผล มานน้ีจะถูกยกออกไปเม่ือเกิด ญาณหยง่ั รใู นเหตแุ ละผล เมอื่ ผปู ฏบิ ตั เิ หน็ เหตแุ ละผลของสรรพ สง่ิ แสงสวา งในจิตก็จะสวางเพ่ิมข้นึ อีกเลก็ นอย ผูปฏบิ ตั ิไมพ งึ ประมาทในชนั้ น้ี เพราะวา จิตยงั มืดบอดดว ยอวิชชา คือ ความ ไมร ใู น อนจิ จงั ทกุ ขงั และอนตั ตา เพอ่ื กำจดั ความมดื นี้ ผปู ฏบิ ตั ิ พึงทำงานหนักอยางไมย อ ทอ เฝาดูอารมณต างๆ ท่ีเกดิ ขึ้น ลบั สติใหแหลมคม ทำสมาธิใหตั้งม่ัน แลวปญญาก็จะเกิดขึ้นเอง ตามธรรมชาติ ถึงตอนนี้ผูปฏิบัติจะเห็นวา ไมมีที่ใดใหหลบภัยจาก สภาวธรรมท่ีเปนอนิจจังเชนนี้ไดเลย ความเห็นน้ีทำใหเกิด ความผิดหวังอยางแรง แตแสงภายในกลับสวางเพ่ิมข้ึนไป อีก ผูปฏิบัติจะรูสึกไดชดั เจนวา สภาวธรรมทั้งหลายลวนเปน ทุกขและไมมีตัวตน ขณะน้ันเองมีเพียงมานผืนเดียวท่ีเหลือ อยูปดบังไมใหเห็นพระนิพพาน และจะถูกกำจัดไปไดก็ดวย อริยมรรคญาณเทานั้น ตรงน้ีแหละที่แสงแหงพุทธธรรมจะ สองสวา งเจดิ จาอยางแทจรงิ หากผูปฏิบัติสามารถเจริญสัมมาทิฏฐิไดท้ัง ๖ ประการ จะมีความผองใส ผูปฏิบัติจะไมพรากจากแสงของ

๙๒ ราชรถสูพระนพิ พาน ปญญาอีกเลย ไมวาจะเดินไปทางใดในอนาคต ในทางตรง ขาม ปญญาจะสองแสงสวางเจิดจาในตัวผูปฏิบัติตลอดการ ทองเท่ียวท่ีเหลืออยูในสังสารวัฏ ในท่ีสุดจะมีแสงสวางไสว ที่สุดปรากฏขึ้นเม่ือผูปฏิบัติบรรลุอรหัตตมรรคอรหัตตผล ซึ่ง เปนการบรรลุธรรมขั้นสดุ ทาย การครอบครองราชรถ “ใครก็ตาม ไมวาชายหรือหญิงที่ครอบครองราช รถเชนนี้และสามารถขับข่ีไปดวยดี ก็ไมตองสงสัยเลยวาจะ บรรลุถงึ พระนิพพานโดยแนแ ท” กลาวกันวา เมื่อเทพบุตรผูเคยเปนพระภิกษุมากอน องคน้ันไดฟงพระธรรมเทศนาเก่ียวกับราชรถ ทานเขาใจสิ่ง ท่ีพระพุทธองคตรัสสอน และไดสำเร็จเปนพระโสดาบันทันที ทานเขาครอบครองราชรถอันบรรเจิดคืออริยมรรคมีองคแปด ถึงแมว าพุทธดำรสั มเี ปา หมายสงู สุดอยูท ี่อรหตั ตผล ทา นยังไม พรอ มสำหรบั การบรรลุธรรมข้ันสุดทาย บารมีของทา นมเี พยี ง พอทจ่ี ะเปน ผูถึงกระแสแหงโสดาปตติผลเทานน้ั

๙๓พระกมั มฏั ฐานาจริยะ อู บณั ฑติ าภิวังสะ ประโยชนข องการเขาถึงกระแส : การทำมหาสมทุ รแหง สงั สารวัฏใหเหอื ดแหง ในการบรรลุธรรมขั้นที่หนึ่งน้ี ผูปฏิบัติจะพนจาก อนั ตรายทจ่ี ะนำใหต กไปสอู บายภมู ิ พระสตู รกลา วไวว า กเิ ลส ๓ อยางถูกประหารไป คือ มิจฉาทิฏฐิ วิจิกิจฉา และการยึด มั่นในการปฏบิ ตั ทิ ผี่ ิด (สลี ัพพตปรามาส) ในอรรถกถากลา ววา ความอิจฉารษิ ยา และความตระหนี่กถ็ ูกทำลายไปดวย คงจะไมผิดที่จะสมมุติวาเทพบุตรองคน้ีเคยไดญาณท่ี ประจักษในลักษณะของรูปและนามมาบางแลวในชาติที่ทาน เปนพระภิกษุ ในขณะไดดวงตาเห็นธรรมนี้ ทานก็ปราศจาก ความเห็นผิดๆ ท่ีวา มีตัวตนภายในหรืออัตตา อยางไรก็ตาม การละความเหน็ ทผ่ี ดิ นเี้ ปน เพยี งชว่ั คราวจนกวา จะไดเ หน็ พระ นิพพาน เปนครั้งแรกเทาน้ัน ที่ความเห็นจะเปลี่ยนไปอยาง ถาวร ผูทไ่ี ดบ รรลโุ สดาบนั จะไมเ ช่ือเรื่องของอตั ตาอีกตอไป กเิ ลสประเภททส่ี องทถี่ กู ประหารไปเกยี่ วขอ งกบั ความ เห็นผิดโดยตรง เมื่อผูปฏิบัติยังไมเขาใจธรรมชาติของสิ่งตางๆ อยางถกู ตอ ง ก็ยากทจ่ี ะตัดสนิ ไดอ ยางมน่ั ใจ วาอะไรถูก อะไร

๙๔ ราชรถสพู ระนพิ พาน ผิด เหมอื นกบั คนยืนอยบู นทางสองแพรง หรอื เหมือนกบั คนท่ี ระลึกไดในทันทีทันใดวากำลังหลงทาง ก็ตองมีความสงสัยวา จะไปทางไหนดี ความสงสยั น้ีอาจทำใหอ อ นเปลย้ี และหว่ันใจ เมื่อผูปฏิบัติมองเห็นกระบวนการของเหตุและผล ก็ จะละท้ิงความสงสัยไดช่ัวคราว ผูปฏิบัติจะเห็นวาธรรมะเปน ของจรงิ จติ และกายเปน สงิ่ ทต่ี กอยภู ายใตเ งอื่ นไขแหง เหตแุ ละ ผล และไมม อี ะไรเลยในโลกนที้ ไี่ มต กอยภู ายใตเ งอ่ื นไขดงั กลา ว อยา งไรกต็ าม ความส้ินสงสยั น้ีจะตัง้ อยนู านเทา ที่สตแิ ละญาณ ยงั คงอยู ความศรทั ธาทไ่ี มห วน่ั ไหวในอานภุ าพและความจรงิ แท ของพระธรรมจะเกิดขึ้นไดก็ตอเม่ือบุคคลไดเดินไปจนสุดทาง ของอริยมรรคมีองคแปดคือพระนิพพานแลวเทาน้ัน ผูปฏิบัติ ทไี่ ดเ จรญิ รอยตามพระบาทของพระพทุ ธองคจ นสดุ หนทางแลว ก็จะมีศรทั ธาม่ันคงในพระพุทธองคและพระอรยิ บุคคลอนื่ ๆ ที่ ไดไ ปสูจ ุดหมายตามแนวทางเดียวกนั นี้ กิเลสอยา งที่สามทพี่ ระโสดาบันผูถงึ กระแสละไดก็คือ ความเชื่อในการปฏิบัติผิดๆ ความเขาใจน้ีคงพอจะมองเห็น ไดชัดในกรณีทั่วๆ ไป และจะสามารถเขาใจไดอยางสมบูรณ มากข้ึน หากพิจารณาจากอริยสัจสี่ เมื่อผูปฏิบตั ทิ ม่ี ีโอกาสเขา ถึงกระแสพระนิพพาน เริ่มเจริญมรรคมีองคแปดใหเกิดข้ึน

๙๕พระกัมมฏั ฐานาจริยะ อู บณั ฑิตาภิวังสะ ในตนเอง บุคคลเหลาน้ันจะเรียนรูที่จะเขาใจอริยสัจขอแรก กลาวคือทุกส่ิงทุกอยางไมนาพึงพอใจ รูปและนามลวนเปน ทุกข พฒั นาการเบอ้ื งตน ของโยคีจะเริ่มจากการตามดสู ิง่ ตางๆ ที่เปนทุกข เมื่อประจักษแจงอริยสัจขอแรกอยางสมบูรณ ผู ปฏิบัติก็จะประจักษแจงอริยสัจที่เหลืออีก ๓ ประการโดย ปริยาย กลาวคือ การละตัณหาอันเปนอริยสัจประการท่ีสอง การดับทุกขเปนอริยสัจประการท่ีสาม และการเจริญมรรคมี องคแปดเปนอรยิ สัจประการท่ีสี่ การเจริญมรรคในเบื้องตนที่ยังเปนโลกียมรรคจะเกิด ข้ึนทุกขณะท่ีผูปฏิบัติดำรงสติอยู เมื่อถึงจุดหนึ่งท่ีมรรคมี ความแกกลาพอก็จะกลายเปนโลกุตตรมรรค ดังนั้นเมื่อได บรรลุนิพพาน เทพบุตรองคนี้จึงระลึกรูไดวา การปฏิบัติของ ทานเปนวิธเี ดียวเทาน้นั ที่จะเขา ถงึ พระนพิ พาน ทา นประจกั ษ วาทานไดประสบกับการดับทุกขที่แทจริง อันเปนสภาวะที่ ปราศจากสง่ิ ปรงุ แตง และรวู า ไมม พี ระนพิ พานอน่ื นอกเหนอื ไป จากนี้ ผูปฏบิ ตั ทิ ุกคนจะมคี วามรสู ึกเหมอื นกันเม่อื มาถึงจดุ นี้ มรรคมีองคแปดเปนหนทางเดียวเทาน้ันท่ีจะนำไป สูพระนิพพาน ความเขาใจน้ีมีความลุมลึกมากและจะเกิดขึ้น ไดดวยการปฏิบัติเทานั้น เม่ือมีความเขาใจดังนี้ พระโสดาบัน

๙๖ ราชรถสูพระนพิ พาน หรือผูถึงกระแสพระนิพพานยอมละท้ิงความยึดมั่นหรือความ เช่ือในอานุภาพของวิธีปฏิบัติอื่นๆ ซ่ึงมิไดประกอบดวยองค แปดแหง อริยมรรค อรรถกถาไดกลาวไวดวยวา ยังมีกิเลสอีกสองชนิดท่ี ถกู ประหารไปดวย ไดแ ก อิสสฺ า หรือความริษยา ไมต อ งการ เห็นผูอื่นเปนสุขหรือประสบความสำเร็จ และ มจฺฉริย หรือ ความตระหน่ี ซึ่งเปนความไมพึงพอใจที่เห็นคนอ่ืนๆ เปนสุข เสมอตน โดยสวนตัวแลว อาตมาไมเห็นดวยกับอรรถกถา เหลาน้ีสภาวจิตดังกลาวทั้งสองนี้ จัดอยูในหมวดของโทสะ คือความโกรธ หรือความรังเกียจผลักไส มีคำกลาวขององค สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาในพระสูตรวา พระโสดาบัน ประหารกิเลสท่ีมิไดเก่ียวของกับโทสะเทาน้ัน อยางไรก็ตาม เนื่องจากการเปนพระโสดาบันไดปดประตูสูอบายภูมิแลว ความอิจฉาและความตระหน่ียอมไมมีกำลังมากพอท่ีจะทำให พระโสดาบันไปเกดิ ใหมใ นอบายภูมไิ ด มอี รรถาธบิ ายทนี่ า สนใจในวสิ ทุ ธมิ รรค ซง่ึ มไิ ดเ ปน สว น หน่ึงของพระไตรปฎก แตก็เปนที่เคารพอยางสูง กลาวไวโดย อางอิงความในพระไตรปฎกวา พระโสดาบันอาจถูกครอบงำ โดยความโลภ ความโกรธ และความหลง และยังอาจประกอบ

๙๗พระกัมมัฏฐานาจรยิ ะ อู บัณฑติ าภิวงั สะ ดว ยทฏิ ฐแิ ละมานะได อยางไรก็ตาม เนอ่ื งจากอริยมรรคญาณ ไดประหารกเิ ลสซึ่งนำพาไปสูอบายภมู แิ ลว เราอาจพอสรุปได วา พระโสดาบันเปนผูปราศจากกิเลสที่รุนแรงเพียงพอ ท่ีจะ ทำใหไปเกดิ ในภพภมู ทิ ่ตี กต่ำดงั กลาว นอกจากนี้ คัมภีรวิสทุ ธิมรรคยังไดช ีว้ า พระโสดาบัน สามารถทำมหาสมุทรอันกวางใหญแหงสังสารวัฏใหเหือดแหง ลงได ตราบใดที่บุคคลยังไมบรรลุธรรมในขั้นแรก ก็ยังจะตอง ทอ งเท่ยี วไปในสงั สารวัฏอันหาเบอื้ งตน และที่สุดมไิ ด ขอบเขต แหงสังสารวัฏนั้นกวางใหญนัก เราตองเวียนวายตายเกิดครั้ง แลวคร้ังเลา แตพระโสดาบันจะเกิดอีกไมเกินเจ็ดชาติเทาน้ัน ก็จะบรรลุอรหัตตผล เราจึงพอจะกลาวไดวา มหาสมุทรแหง สงั สารวัฏไดเหือดแหง ลงแลว อกุศล กรรม จะ เกิด ข้ึน ได ดวย อำนาจ ของ อวิชชา และตัณหาเทานั้น เม่ืออวิชชาและตัณหาเหือดแหงไปใน ระดับหนึ่ง โอกาสท่ีจะเกิดอกุศลวิบาก หมายถึงการไปเกิด ในอบายภูมิก็ยอมลดลงไปดวย เมื่อถูกจูโจมอยางไรความ ปรานีจากกิเลสอันไดแก มิจฉาทิฏฐิเก่ียวกับอัตตาตัวตนหรือ ความลังเลสงสัยเก่ียวกับมรรคมีองคแปดและกฎแหงกรรม เราไมอาจทราบไดเลยวาบุคคลจะประกอบกรรมชั่วไดมากสัก

๙๘ ราชรถสูพ ระนพิ พาน เพียงใด สิ่งเลวรายท่ีเขาจะกระทำยอมนำเขาไปสูอบายอยาง ไมตองสงสยั เม่ือปราศจากกิเลสเหลาน้ี พระโสดาบนั จะไมก อ กรรมชั่ว ซ่ึงจะนำไปสูอบายภูมิอีกตอไป ย่ิงไปกวานั้น กรรม เกา ในอดตี ของพระโสดาบนั บคุ คลซง่ึ อาจนำไปสอู บายภมู กิ จ็ ะ เปน อโหสกิ รรมทนั ทที บี่ รรลอุ รยิ มรรคญาณ พระโสดาบนั จงึ ไม ตองหวาดกลัวความทกุ ขอ นั รนุ แรงเชน นอี้ ีกเลย อริยทรพั ย คณุ ประโยชนอ กี ประการหนง่ึ ของการเขา สกู ระแสพระ นพิ พาน คือ การไดอรยิ สมบตั ิ ๗ ประการ อรยิ บุคคล คอื ผทู ี่ หมดจดจากความช่ัว เปนบุคคลผูประเสริฐ เปนผูบรรลุธรรม ข้ันใดข้ันหน่ึงในการบรรลุธรรม ๔ ระดับ อริยทรัพยไดแก ศรทั ธา ศีล หริ ิ โอตตปั ปะ พาหุสัจจะ จาคะ และปญญา อริยทรพั ยประการแรก คอื ศรัทธา ไดแ ก ความเช่ือ มน่ั ทย่ี งั่ ยนื และไมห วน่ั ไหวในพระพทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ เปนความเช่ือม่ันท่ีไมหว่ันไหว เพราะเกิดจากประสบการณ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook