Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PaiLaeng

PaiLaeng

Published by ชมรมกัลยาณธรรม, 2021-04-08 07:31:14

Description: PaiLaeng

Search

Read the Text Version

คานา เนอื่ งจาก ในขณะนี้กําลงั ประสบภยั แลง้ อย่างหนัก เกดิ จากสภาวะธรรม ชาติที่กําลงั เปลีย่ นแปลง และการกระทําของมนุษย์ที่ไม่ได้ตั้งอยูใ่ นศลี ในธรรม มี การตัดไม้ทาํ ลายปาุ เปน็ ต้น ทาํ ใหเ้ กิดภยั แล้งอยา่ งรนุ แรง ในประเทศไทยและทว่ั โลก ขณะนท้ี างรฐั บาลกําลงั ดําเนนิ การชว่ ยเหลอื ระยะสน้ั ระยะกลาง ระยะยาว ทงั้ ๓ ระยะ สว่ นภาคประชาชนกด็ ี ภาคศาสนาก็ดี ยงั ขาดในการเขา้ ร่วมสู้ภยั แลง้ ถา้ ใหร้ ฐั บาลฝาุ ยเดียวก็สามารถแก้ไขปัญหาได้ระดบั หนงึ่ จะไม่ครบองคร์ วม “บา้ น วัด รัฐบาล” เพราะฉะนนั้ องค์รวมทั้ง ๓ หากทาํ ไดอ้ ยา่ งเต็มท่ีกจ็ ะสามารถ แก้ปัญหาได้ ภาคประชาชน จะต้องลงมือกระทํา ฝุายพระสงฆ์เปน็ ผกู้ ระตนุ้ เตือนให้ ปญั ญา เชิญชวน ชักชวนลงมือกระทํา ฝาุ ยรัฐบาลน้ันได้กระทําลงไปแล้ว ฉะน้ัน ท้ัง ๓ ฝุาย ฝุายบ้าน ฝาุ ยวัด ฝุายรัฐบาล ๓ ประสานทาํ ครบเสร็จสรรพเรียบรอ้ ย คาดวา่ ภยั แล้งคงจะผ่านพ้นไป หากแตใ่ หฝ้ าุ ยรฐั บาลทําเพียงฝาุ ยเดียว ทางฝาุ ย บ้าน ฝาุ ยวัดหรือศาสนจักรไม่มสี ว่ นร่วม ก็ไม่สามารถจะประสบความสําเร็จได้ ทาง “วดั จากแดง” จงึ ขออาสาเปน็ ฝาุ ยวดั หรือศาสนจกั ร ที่จะชักชวน ญาตโิ ยมมาช่วยสู้ภยั แล้งตามแนววิถพี ทุ ธเพ่ือสนับสนุน รว่ มกบั รฐั บาล แล้วทกุ คนจะต้องอยู่รอดทั้งหมด ไม่มีใครต้องสญู เสียในภยั แลง้ น้ี ไม่มใี ครต้องเดือดร้อน เพราะภัยแลง้ น้ี ถ้าทุกคนร่วมแรงรว่ มใจกนั อย่างจริงจัง ผา่ นพน้ ภยั วกิ ฤตภัยแลง้ ไปได้ด้วยดี รวดเรว็ โดยไมย่ ากเยน็ แสนเขญ็ , ณ โอกาสน้ี จึงขอเรียนเชญิ เจรญิ พร ภาคสว่ นประชาชนญาตโิ ยมได้มารว่ มสูภ้ ัยแล้งกับทางวัดจากแดง ขจดั ภยั ท้ัง

๓ อย่าง (ทุพภิกขภยั อมนสุ สภยั โรคภยั ) มวี ิธกี าร เช่น ทาํ บญุ ดว้ ยน้ํา (รจู้ ัก ประหยัดน้าํ อานิสงสก์ ารทาํ บญุ ดว้ ยนาํ้ ), ปลกู ตน้ ไม,้ รกั ษาศลี ๕, สวดพระ ปรติ ร ที่ให้เทวดาท้ังหลายเกิดความพึงพอใจ, แผ่เมตตาใหก้ บั สรรพสัตวท์ งั้ หลาย พร้อมกบั เทวดา วนั อาทิตยท์ ี่ ๒๗ มนี าคม ๒๕๕๙ จงึ ขอเรียนเชญิ เจรญิ พรมารว่ มกจิ กรรม ลงมือปฏบิ ตั ิการเพ่ือสภู้ ัยแล้ง ณ วัดจากแดง ต.ทรงคะนอง อ.พระประแดง จ.สมทุ รปราการ ตงั้ แต่ ๙ โมงเช้า ถึงบ่าย ๓ โมงสบื ต่อไป ขอเจรญิ พร พระมหาประนอม ธมฺมาลงฺกาโร (รองเจ้าอาวาสวดั จากแดง) ปฏิบัติหน้าท่ีแทนเจา้ อาวาส

สู้ภยั แลง้ วิถพี ุทธ วิ ถี ชี วติ ...เปน็ เมอื งพระพุทธศาสนา จงึ ดาํ เนินชีวติ ดว้ ยวถิ พี ุทธกันยาว นาน ชีวติ เรยี บงา่ ย เปน็ อยู่อยู่กบั ธรรมชาติโดยมาก อาศัยการเกษตรและแหล่ง นํา้ ทเี่ ป็นปัจจัยหลกั ปนี ้ีเปน็ ปที ม่ี ีภัยแล้ง คือ ภัยทเ่ี กิดจากการขาดแคลนน้ํา มี ฝนนอ้ ยกว่าปกติ ที่ไม่ตกตอ้ งตามฤดูกาล เปน็ เวลานาน ๆ จงึ สง่ ผลเสียหายต่อ การเกษตร พนื้ ดนิ ขาดความช่มุ ช้ืน พืชขาดนาํ้ ผลผลติ การเกษตรมีคณุ ภาพตา่ํ มปี รมิ าณลดน้อยลง ที่สําคญั อาจขาดแคลนนา้ํ ใช้ น้ําดื่มได้ ปริมาณนํา้ ท่กี ักเกบ็ มกี ารจัดสรรน้ําของกรมชลประทาน ต้องกักเก็บนํ้าไวใ้ ช้ให้พอเพียงเพ่ือให้ระบบ นิเวศสมบูรณ์ สรา้ งวินยั และจติ สานึก เรื่องการอุปโภคบริโภค “นา้ ” หากไมช่ ่วยกนั อาจมีภยั แลง้ มาถงึ ตวั โดย แน่นอน ภัยเหล่านเ้ี ริ่มสรา้ งผลกระทบรอบด้าน อาทิวา่ ขาดแคลนนํา้ ดมื่ นา้ํ ใช้ พชื พนั ธธ์ ัญญาหารเหย่ี วแห้ง ตายลงบ้าง คณุ ภาพด้อย มีปรมิ าณลดลง ระบบ นิเวศของธรรมชาตเิ ปลีย่ นไป คณุ ภาพชีวติ จึงเปล่ยี นแปลงไปมาก สุขอนามัยไม่ ดี เกดิ โรคระบาด อาจมผี ลกระทบกับอุตสาหกรรม อนั จะเป็นเหตุให้ขาดแคลน พลังงาน ภยั ที่เกิดซา้ํ ซ้อนจากภัยแลง้ โดยมาก คือ ไฟปุา มีผลเสยี ต่อทัศนวสิ ัย อากาศแปรปรวน ยิ่งเพ่ิมใหเ้ กดิ ภาวะโรคร้อน

๒ วัดจากแดง ลงมือทาทนั ที เบ้อื งตน้ ชว่ ยกนั ลงมือปฏบิ ัตอิ ยา่ งเป็นรปู ธรรม สรา้ งวินยั และจติ สํานกึ การใชน้ าํ้ อย่างประหยดั แบบมีคณุ คา่ และควรนําน้าํ กลับมาใชห้ มนุ เวียนใหม่ได้ มกี ารเกบ็ น้ําในภาชนะ ทําบ่อน้าํ ไว้ใช้ในครัวเรือน ฝายชะลอน้ํา พร้อมกนั นนั้ ให้ ร่วมกันทําฝายกักเกบ็ นํ้า เพอื่ รวบรวมนาํ้ จากแหล่งน้าํ หรอื หากภาครัฐจัดทําฝน เทยี ม จะได้ตระเตรียมรวบรวมน้าํ ฝนไว้ ไดท้ ันทว่ งที ปูองกนั ยามขาดแคลนนาํ้ ในเบ้ืองตน้ สนบั สนนุ การใช้น้ํารว่ มกัน เพอ่ื ประโยชน์แก่ชมุ ชน อย่างมปี ระสิทธิ ภาพ ด้านการเกษตรและอุตสาหกรรมครัวเรอื น เรียนรูอ้ ย่างถกู ต้อง อยู่ร่วมกบั ธรรมชาติ เพอื่ สรา้ งระบบนิเวศดีขึ้นอย่างสูงสุด ระยะยาว ขุดลอกแหล่งนํา้ สรา้ งฝาย เข่ือน รักษาปาุ ไว้พรอ้ มกบั ปลกู ตน้ ไม้เพ่มิ พัฒนาระบบแจกจ่ายนํ้า ผนั นํา้ ใหท้ วั่ ถงึ สาเหตขุ องภยั แลง้ เกิดภัยจากธรรมชาติ มีการเปลยี่ นแปลงของอุณหภมู ิโลก สภาพอากาศ ระดับนํ้า แผ่นดินไหว วาตภยั และอัคคีภยั เป็นตน้ ภยั จากนา้ มอื ของมนษุ ย์ มีการตัดไม้ทําลายปาุ เร่งพัฒนาดา้ นอตุ สาหกรรมมากข้ึน ภาวะเรือน กระจก ชน้ั โอโซนถูกทําลาย

สู้ภัยแล้งวิถีพุทธ ๓ ภัยแลง้ ในประเทศไทย เกิดจากผลกระทบของธรรมชาติถกู ทําลายไป เป็นผลให้ฝนแลง้ และตก ทง้ิ ช่วง ที่ผา่ นมาภาวะปรมิ าณฝนตกนอ้ ยกว่าปกติ สาเหตุจากการบุกรกุ พื้นท่ีสี เขยี ว และมกี ารลักลอบตดั ไม้ทําลายปุา เป็นต้น คืนสวู่ ิถีพุทธ การสร้างวินัยและจิตสาํ นกึ ชว่ ยกันรณรงค์ให้ความรู้ทุกๆ ภาคส่วน วิถี พุทธกเ็ ป็นส่วนหนง่ึ ถา้ จะกล่าวถงึ หนา้ ท่ีของชาวพุทธทุกๆ คน ควรต้องศกึ ษา หลักคําสอนของศาสนา เน้นเรอ่ื งของศีลธรรมและจรยิ ธรรม ปลกู ฝ่งั กนั ใหเ้ หน็ คณุ คา่ ชีวติ ประโยชน์ของการอย่รู ่วมกันอยา่ งผาสขุ ชาวพุทธ ซงึ่ เปน็ อีกภาคสว่ นหนงึ่ พรอ้ มทจี่ ะทํากิจกรรมร่วมด้วยช่วย กนั ตามแนววิถีพุทธ ใหผ้ ่านพน้ จากวกิ ฤตภัยแล้ง จงึ เป็นโอกาสอนั ดีของเราชาว พุทธท่ีจะมาปฏิบตั ริ ่วมกนั “ วดั จากแดง ” ต. ทรงคะนอง อ. พระประแดง จ. สมทุ รปราการ นาํ โดยอาจารย์ “ พระมหาประนอม ธมฺมาลงกฺ าโร ” พรอ้ ม ด้วยคณะสงฆ์ เหน็ ความสําคัญจึงไดจ้ ัดกิจกรรมข้นึ ไดน้ าํ เรื่องราวและเหตุการณ์ ในพระไตรปิฎก อนั ไดเ้ คยเกิดข้ึนมาก่อนแล้วเกย่ี วกบั ภยั แลง้ และการขาดแคลน นาํ้ นํามาเผยแพร่ให้คณะศิษยานศุ ิษย์ และพุทธสาสนกิ ชนทง้ั หลาย เพ่ือได้เกิด ความรู้ เปน็ แนวทางในการปฏิบัติ เพ่ือแกป้ ัญหาภยั แล้งตามแนววิถีพุทธ ดังมี หลกั ฐานทางพระพุทธศาสนาทีจ่ ะนาํ มาบอกกลา่ ว ตอ่ ไป

๔ วดั จากแดง ศีล แก้ภยั แลง้ กรุ ุธรรมชาดกอรรถกถา พระศาสดา เม่อื ประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภภิกษุผฆู้ ่า หงสร์ ปู หนงึ่ จึงตรสั เรอื่ งนี้ มีสหาย ๒ คนชาวเมืองสาวตั ถี บรรพชาในสาํ นักภิกษุทั้งหลาย แล้วได้ อปุ สมบท โดยมากเท่ียวไปด้วยกัน วนั หนง่ึ ภกิ ษุ ๒ สหายนน้ั ไปยงั แม่น้าํ อจิรวดี อาบนาํ้ นั่งผงิ แดดอย่ทู ี่เนินทราย กลา่ วถอ้ ยคําใหร้ ะลึกกันและกันอยู่. ภิกษุรูปหน่งึ ดดี ตาหงสด์ ว้ ยกอ้ นกรวด ขณะนนั้ หงส์ ๒ ตัวบนิ มาทางอากาศ ลาํ ดับน้นั ภิกษุรูปหนง่ึ จับก้อน กรวดมาแล้วกล่าววา่ “ ผมจะดดี ลูกตาของหงสต์ วั หนึง่ ” ภกิ ษุนอกน้ีกล่าววา่ “ ท่านจกั ไม่สามารถ.” ภกิ ษรุ ูปน้ันกลา่ ววา่ “นัยน์ตาข้างนจ้ี ะยกไว้ ผมจะดีดนัยน์ตาขา้ งโนน้ ” ภกิ ษุนอกน้กี ็กล่าวว่า “แม้นัยน์ตาข้างน้ีท่านกจ็ กั ไม่อาจดีดได้.” ภกิ ษรุ ูปนัน้ กล่าวว่า “ถ้าอยา่ งน้นั ท่านคอยดู วา่ แล้วกห็ ยบิ กอ้ นกรวด ๓ เหลย่ี ม มาดีดไปทางเบื้องหลังของหงส์ หงส์ไดย้ นิ เสยี งกรวดจึงเหลยี วมองดู.” ลาํ ดบั นน้ั ภิกษนุ ้ันก็เอาก้อนกรวดอกี ก้อนหน่งึ ดีดหงสน์ ั้นทีน่ ยั นต์ าดา้ น นอกทลุออกทางนยั น์ตาด้านใน หงสร์ อ้ งมว้ นตกลงมาแทบเทา้ ของภกิ ษุทั้งสองน้ัน

สู้ภยั แลง้ วิถีพุทธ ๕ ภกิ ษทุ ้ังหลายตเิ ตยี นแลว้ ทูลแด่พระศาสดา ภิกษทุ ง้ั หลายท่ยี นื อย่ใู นท่นี ้ันเห็นเข้า จึงพากันมาแลว้ กล่าววา่ “ผ้มู อี ายุ ท่านบวชในพระพุทธศาสนา ทําปาณาตบิ าต ช่อื วา่ กระทํากรรมอนั ไมส่ มควร” แลว้ พาภกิ ษุผดู้ ดี หงส์น้นั ไปแสดงแก่พระตถาคตทนั ที พระศาสดาทรงประทานโอวาท พระศาสดาตรัสถามว่า “ดูก่อนภกิ ษุ ได้ยนิ ว่าเธอกระทาํ ปาณาติบาต จรงิ หรือ ?” เมื่อภกิ ษุนนั้ ทลู รบั วา่ “จริงพระเจา้ ข้า” จงึ ตรสั ว่า “ดูก่อนภิกษุ เพราะเหตุไร ? เธอบวชในศาสนาอันเป็นเครื่องนาํ ออกจากทุกขเ์ ห็นปานนี้ จงึ ได้ กระทําอยา่ งนี้ แม้โบราณกบัณฑติ ท้ังหลาย ระลึกอย่วู ่า เม่ือพระพุทธเจ้ายงั ไม่ ทรงอบุ ตั ิข้ึน การอยู่อย่างเศร้าหมองในทา่ มกลางเรอื น ยังแสดงความรงั เกยี จใน บาปทง้ั หลายแม้กระทาํ เล็กน้อย, ส่วนเธอบวชในศาสนาเหน็ ปานนี้ ไม่ไดก้ ระทํา ความรงั เกยี จแม้สกั เท่าไร ธรรมดาภกิ ษุพงึ เปน็ ผ้สู าํ รวมกาย วาจา และใจ มใิ ช่ หรือ ?” แล้วทรงนาํ เอาเร่ืองในอดตี มาสาธก ดังตอ่ ไปนี้ :- ในอดตี กาล เมื่อพระราชาพระนามว่า ธนญั ชัยโกรพั ย์ ครองราชสมบัติ อยูใ่ นพระนครอินทปัตในแคว้นกุรุ พระโพธิสัตวถ์ ือปฏิสนธใิ นพระครรภ์ของพระ อัครมเหสีของพระราชานนั้ ถงึ ความรู้เดียงสาโดยลําดับ แลว้ เรียนศิลปะทั้งปวง ในเมอื งตักศิลา พระบิดาทรงแต่งตง้ั ใหด้ ํารงอยู่ในตําแหน่งอุปราช ในกาลต่อมา เมอ่ื พระบิดาสวรรคตแลว้ ไดด้ าํ รงอยูใ่ นราชสมบัติ มิได้ทรงกระทําทศพธิ ราช ธรรมใหก้ ําเริบ ทรงประพฤติในศลี คือ กรุ ธุ รรมอยู่.

๖ วัดจากแดง ศีลห้า ชอื่ วา่ กรุ ธุ รรม พระโพธสิ ตั ว์ทรงรักษาศีลหา้ นั้นใหบ้ รสิ ุทธิ์ – พระมารดาของพระโพธิ- สัตว์ – พระอัครมเหสี – พระอปุ ราชผูเ้ ป็นพระอนชุ า – พราหมณผ์ เู้ ป็นปุโรหติ – อาํ มาตยผ์ รู้ งั วดั นา – สารถี – เศรษฐี – มหาอํามาตย์ผู้ตวงขา้ ว – นายประตู – นางวรรณทาสผี ูเ้ ป็นนครโสเภณี กเ็ หมือนพระโพธสิ ัตว์ รวมความว่า ชนเหลา่ น้ี รกั ษาศลี ห้าเหมอื นดังพระโพธิสัตว์ ชนแม้ทัง้ ๑๑ เหล่านี้ รักษาศีลหา้ ใหบ้ ริสุทธ์ิ ดว้ ยประการดังน้ี. พระราชาใหส้ ร้างโรงทาน ๖ แห่ง คอื ทป่ี ระตูพระนครทงั้ ๔ ทก่ี ลาง เมอื ง ที่ประตูพระนิเวศน์ ทรงสละพระราชทรัพยห์ กแสนทกุ วัน ๆ ทรงบรจิ าค ทานกระทําชมพูทวีปทง้ั สน้ิ ให้ไมต่ ้องทําไรไ่ ถนา กค็ วามที่พระโพธิสัตว์นน้ั มีพระ อธั ยาศยั ยินดีในการบรจิ าคทาน ไดแ้ ผ่คลมุ ไปทวั่ ชมพทู วีป. แควน้ กาลงิ คะเกิดฝนแลง้ ในกาลนนั้ พระเจา้ กาลิงคราช ครองราชสมบัติในทันตปุรนคร ในแควน้ กาลงิ คะ ในแควน้ ของพระเจ้ากาลงิ คราชนน้ั ฝนไมต่ ก ก็เกิดความอดอยากไป ทั่วแควน้ กเ็ พราะอาหารวิบัติ โรคจงึ เกิดขึ้นแกม่ วลมนุษย์ ภัย ๓ ประการ คือ ฉาตกภัย ภยั คือความอดอยาก, โรคภัย ภยั คอื โรค, ทพุ ภิกขภัย ภัยคอื ข้าว ยากหมากแพงกเ็ กดิ ขน้ึ มนษุ ย์ท้งั หลายหมดที่ยดึ ถือ ตา่ งพากนั จงู มือเด็กๆ เท่ียว เรร่ อ่ นไป ชาวแว่นแควน้ ท้ังส้ินรวมกันไปยังพระนครทนั ตปุระ พากนั ส่งเสยี งรอ้ ง อยทู่ ปี่ ระตูพระราชวัง พระราชาประทบั ยนื พิงพระแกล(หน้าตา่ ง) ทรงสดับเสยี ง นัน้ จึงตรสั ถามว่า “คนเหลา่ นี้เทย่ี วไปเพราะเหตุอะไรกัน”

สู้ภัยแล้งวิถีพุทธ ๗ พวกอาํ มาตย์กราบทลู วา่ “ขา้ แต่มหาราช ภยั เกิดขน้ึ ท่วั แวน่ แคว้นท้ังส้นิ ฝนไมต่ ก ขา้ วกลา้ วบิ ัตเิ สยี หาย เกิดความอดอยาก มนุษยท์ ง้ั หลายกนิ อยไู่ ม่ดี ถกู โรคภัยครอบงํา หมดทย่ี ึดถือระสํ่าระสาย พากันจูงมือลูกๆ เที่ยวไป ขา้ แต่ มหาราช ขอพระองคจ์ งยังฝนให้ตกเถดิ พระเจา้ ข้า” พระราชาตรัสถามวา่ “พระราชาแต่เกา่ กอ่ นท้ังหลาย เมอื่ ฝนไมต่ ก ทรงกระทาอย่างไร ?” พวกอํามาตย์กราบทลู ว่า “ข้าแต่มหาราช พระราชาแตเ่ ก่าก่อนทัง้ หลาย เม่อื ฝนไม่ตกไดท้ รงบรจิ าคทาน อธษิ ฐานอโุ บสถสมาทานศีล แล้ว เสดจ็ เขา้ ส่หู ้องสริ ิไสยาสน์ ทรงบรรทมเหนอื เครื่องลาดซึง่ ทาด้วยไมต้ ลอด ๗ วัน ในกาลน้นั ฝนก็ตกลงมา” พระราชาทรงรับวา่ “ดลี ะ” แล้วได้ทรงกระทาํ อย่างนัน้ แม้ทรงกระทํา อย่างนน้ั ฝนก็มิไดต้ ก พระราชาตรสั กะอํามาตย์ทง้ั หลายว่า “เราได้กระทาํ กจิ ท่ี ควรกระทําแล้ว ฝนกไ็ มต่ ก เราจะกระทําอยา่ งไรตอ่ ไป พวกอาํ มาตย์กราบทูลวา่ “ข้าแต่มหาราช พระเจ้าธนญั ชัยโกรัพยราช ในนครอนิ ทปัต มีชา้ งมงคลหตั ถชี ือ่ ว่า อัญชนสันนิภะ ขา้ พระพุทธเจา้ ท้ังหลาย จกั นาํ ชา้ งมงคลเชือกนั้นมา เม่ือเปน็ เช่นน้นั ฝนก็จักตก พระราชาตรัสวา่ “พระราชาพระองค์นน้ั ทรงสมบูรณ์ดว้ ยพล พาหนะ ใครๆ จะขม่ ไดย้ าก พวกเราจักนําชา้ งพระราชาพระองค์นนั้ มาได้อยา่ งไร” พวกอํามาตย์กราบทลู ว่า “ข้าแต่มหาราช ไม่มีกจิ ท่ีจะตอ้ งทาํ การรบ

๘ วดั จากแดง กบั พระเจ้าธนัญชยั โกรพั ยราชนั้น พระราชาพระองคน์ น้ั มีพระอัธยาศัยยนิ ดีใน การบริจาคทาน เปน็ ผถู้ ูกเขาขอแมพ้ ระเศียรอันประดบั แลว้ ก็ทรงตดั ใหไ้ ด้ แม้ ดวงพระเนตรอันสมบรู ณ์เสน้ ประสาทก็ทรงควกั ใหไ้ ด้ แม้ราชสมบตั ทิ ั้งสิน้ ก็ทรง มอบให้ได้ ในเรื่องชา้ งมงคลไม่จําตอ้ งพดู ถึงเลย ทลู ขอแล้วจกั ทรงประทานใหแ้ น่ แท”้ พระราชาตรสั ว่า “ใครจะสามารถไปขอชา้ งมงคลนน้ั ” อํามาตย์ทง้ั หลายกราบทูลว่า “ขา้ แต่มหาราช พวกพราหมณพ์ ระเจ้า ข้า” พระราชารับสั่งให้เรยี กพราหมณ์ ๘ คนมาจากที่อยู่ของพราหมณ์ แล้วทรง กระทาํ การเคารพบชู าด้วยความยกย่องนับถือ แลว้ ทรงส่งไปเพื่อให้ขอช้างมงคล พราหมณเ์ หลา่ นนั้ ถือเอาเสบียงเดนิ ทาง ปลอมเพศเปน็ คนเดนิ ทางรีบ เดนิ ทางไปโดยพกั แรมราตรีหน่ึงในทที่ ุกแหง่ บริโภคอาหารในโรงทานประตูพระ นคร บํารงุ รา่ งกายให้อิ่มหนําสิ้นเวลา ๒ – ๓ วัน แลว้ ถามวา่ “เมื่อไรพระราชา จักเสดจ็ มาโรงทาน ?” พวกมนุษย์บอกว่า “พระราชาจะเสด็จมาในวัน ๑๔ คา่ํ , ๑๕ คาํ่ , และ วัน ๘ คํา่ ตลอด ๓ วนั แห่งปกั ษ์หน่ึงๆ ก็พรุง่ น้ีเป็นวันเพ็ญ ๑๕ ค่ํา เพราะฉะน้ัน พระราชาจักเสดจ็ มาในวันพรุ่งน้ี” วันรงุ่ ขึน้ พวกพราหมณร์ บี ไปแต่เชา้ ตรู่ ยืนอย่ทู ีป่ ระตูด้านทิศตะวันออก พระโพธสิ ตั ว์ทรงสนาน และลูบไล้พระวรกายแต่เชา้ ตรู่ ทรงประดบั ดว้ ยเครื่อง อลังการท้ังปวง เสด็จขึ้นคอชา้ งมงคลหตั ถอี ันประดับแลว้ เสด็จไปยังโรงทาน ทางประตูดา้ นทศิ ตะวนั ออกกับด้วยบรวิ ารอนั ย่ิงใหญ่ เสดจ็ ลงจากคอชา้ ง แลว้ ไดท้ รงประทานอาหารดว้ ยพระหตั ถข์ องพระองค์แก่ชน ๗ – ๘ คน แล้วรบั สัง่ วา่

สู้ภัยแลง้ วิถีพุทธ ๙ “พวกท่านจงใหโ้ ดยทาํ นองน้ัน” แล้วไดเ้ สด็จข้นึ ช้างไปยงั ประตดู ้านทิศใต้ พวก พราหมณ์ไม่ได้โอกาสทป่ี ระตูดา้ นทศิ ตะวันออก เพราะมีการอารักขาแข็งแรง จงึ ได้ไปยงั ประตูดา้ นทิศใต้เหมือนกัน ยนื อย่ใู นทส่ี งู ไมไ่ กลเกินไปจากประตู คอยดู พระราชาเสด็จมา พอพระราชาเสด็จมา ประจวบเขา้ ก็ยกมือถวายชยั มงคลว่า “ขอพระมหาราชเจา้ จงทรงพระเจรญิ จงมีชัยชาํ นะเถดิ พระเจ้าข้า” พระราชาทรงเอาพระแสงขอเพ็ชร เหนีย่ วช้างใหห้ นั กลับ เสด็จไปยังท่ี ใกลพ้ ราหมณ์เหลา่ นนั้ แล้วตรัสถามวา่ “พราหมณท์ ง้ั หลายผเู้ จริญ ท่านท้ังหลาย ต้องการอะไร ?” พราหมณท์ ้ังหลายเมอ่ื จะพรรณนาคณุ ของพระโพธิสตั ว์จงึ กลา่ ว คาถาทีว่ ่า :- ขา้ แต่พระองคผ์ เู้ ป็นใหญก่ วา่ ประชาชน ข้าพระองคท์ ้ังหลาย ไดท้ ราบศรทั ธาและศีล ของพระองค์แล้ว จงึ ขอรับพระราชทานเอา ทองคาแลกกับชา้ งมีสดี งั ดอกอญั ชนั นาไป ในแวน่ แคว้นกาลิงคราช. พระโพธิสตั ว์ ได้ทรงสดับดังนน้ั จึงทรงเลา้ โลมให้เบาใจว่า “ ดกู อ่ น พราหมณ์ท้ังหลาย หากทา่ นทง้ั หลายใชจ้ ่ายทรัพย์ เพราะจะแลกเปล่ยี นชา้ งตัว ประเสริฐเชือกน้ี เปน็ การใชจ้ า่ ยไปดแี ลว้ อย่าไดเ้ สียใจเลย เราจกั ใหช้ ้างตวั ประ เสริฐตามทป่ี ระดบั แลว้ ทีเดียวแกท่ ่านทง้ั หลาย แล้วไดก้ ลา่ วคาถา ๒ คาถานอก น้ีว่า :- สตั ว์ทีพ่ งึ เลี้ยงดว้ ยข้าวก็ดี ที่ไมไ่ ดเ้ ล้ียงกด็ ี

๑๐ วัดจากแดง ผู้ใดในโลกนี้ ต้ังใจมาหาเรา สัตว์เหลา่ นั้น ทง้ั หมด เรากม็ ิได้ห้ามเลย นี้เปน็ ถ้อยคา ของทา่ นบูรพาจารย์. ดูกอ่ นพราหมณท์ ั้งหลาย เราจะใหช้ า้ ง- เชอื กน้ี อนั ควรเปน็ ราชพาหนะ เปน็ ราช- บรโิ ภคพระราชาควรใช้สอย ประกอบไปดว้ ย ยศ ประดับตกแตง่ ดว้ ยเครอ่ื งประดับปก- คลมุ ตะพอง ดว้ ยตาข่ายทอง พรอ้ มทงั้ นายหัตถาจารยแ์ กท่ า่ นทง้ั หลาย ขอพวก ท่านจงไปตามปรารถนาเถดิ . พระมหาสตั ว์... กลบั เสดจ็ ลงจากคอช้างทรงดําเนนิ เวยี นขวาไป ๓ รอบ ทรงพจิ ารณาวา่ หากท่ีทีย่ งั ไมไ่ ด้ประดบั ตกแต่ง (ช้าง) ยังมีอยู่ จกั ประดบั ตกแต่ง ก่อนแลว้ จงึ จะให้ คร้นั ไมไ่ ด้ทรงเห็นที่ท่ียงั ไมไ่ ด้ตกแตง่ ช้างนัน้ จึงทรงเอางวงของ ช้างนนั้ วางบนมอื ของพราหมณ์ทง้ั หลาย แลว้ ได้เอาพระสุวรรณภิงคารพระเต้านํา้ ทองหลง่ั น้ําอันอบดว้ ยดอกไม้ และ ของหอมแลว้ พระราชทานไป พราหมณท์ ง้ั หลายรบั ช้างพรอ้ มทัง้ บริวาร แลว้ น่งั บนหลังชา้ งได้ไปยังทนั ตปรุ นคร ถวายช้าง แกพ่ ระราชา ชา้ งแม้มาแลว้ ฝนก็ยังไมต่ ก พระราชาจงึ ทรงคาดคั้นถามว่า มเี หตุ อะไรหนอ ?

สู้ภัยแล้งวิถพี ทุ ธ ๑๑ รักษา ศีลหา้ ฝนจงึ ตก ไดท้ รงสดบั ว่า พระเจา้ ธนัญชัยโกรพั ยราชทรงรักษาศลี หา้ คือกรุ ธุ รรม ด้วยเหตนุ นั้ ฝนจึงตกในแว่นแควน้ ของพระองค์ ทุกกง่ึ เดอื น, ทุก ๑๐ วัน เพราะอานุภาพแห่งคณุ ความดขี องพระราชา “ฝนจงึ ตก” จึงรับส่ังวา่ ถ้าอยา่ ง น้นั ท่านท้งั หลายจงนาํ ชา้ งตามที่ประดับแลว้ น้ีแล พรอ้ มทง้ั บริวาร ถวายคืนแด่ พระราชา แลว้ จดศีลหา้ คือ กุรุธรรม ท่ีพระองค์รักษาลงในแผ่นทองแล้วนาํ มา แล้วทรงสง่ พวกพราหมณ์และอํามาตย์ทงั้ หลายไป พราหมณ์และอาํ มาตยเ์ หล่านั้นไปมอบถวายแด่พระราชา แลว้ กราบทลู ว่า “ขา้ แตส่ มมติเทพ เม่ือช้างนีแ้ มไ้ ปถงึ แลว้ ฝนก็ยงั มิได้ตกในแวน่ แควน้ ของข้า พระพุทธเจา้ ทง้ั หลาย ไดท้ ราบด้วยเกล้าว่าพระองคท์ รงรกั ษากุรธุ รรม พระราชา แม้ของขา้ พระพทุ ธเจ้าทั้งหลาย กท็ รงประสงค์จะรักษากรุ ุธรรมน้ัน จึงทรงส่งมา ด้วยรับส่ังวา่ จงจดใสใ่ นแผ่นทองนาํ มา ขอพระองคจ์ งประทานกรุ ธุ รรมนั้นแก่ ข้าพระพุทธเจา้ ทัง้ หลายเถิด พระเจ้าขา้ ” พระโพธิสตั วร์ ังเกียจในกรุ ธุ รรม พระโพธิสัตวต์ รัสว่า “ดูกอ่ นพอ่ ท้ังหลาย เรารักษากุรธุ รรมนน้ั จรงิ แต่ บัดนี้ เรามีความรังเกยี จในกุรุธรรมนั้นอยู่ กุรธุ รรมน้ัน ไมท่ าํ จิตของเราใหย้ ินดี เพราะฉะนั้นเราไม่อาจให้กรุ ุธรรมน้ันแก่ท่านทั้งหลาย” ถามวา่ ก็เพราะเหตุไร ? ศีลนัน้ จงึ ไมท่ ําใหพ้ ระราชาทรงยินดี

๑๒ วดั จากแดง ตอบว่า นยั ว่าในคร้งั นนั้ พระราชาท้งั หลาย มงี านมหรสพเดอื น ๑๒ ทกุ ๆ ๓ ปี พระราชาทงั้ หลายเมอื่ จะเลน่ มหรสพนัน้ ทรงประดับดว้ ยเครื่อง อลังการท้ังปวงถือเอาเพศเปน็ เทวดา ยืนอยูใ่ นสํานักของยักษ์ ชอ่ื ว่า จติ ตราช แล้วยิงศรอันวจิ ติ รประดบั ด้วยดอกไม้ในทิศท้ัง ๔ พระราชาแมพ้ ระองคน์ ้ีเม่ือจะ ทรงเลน่ มหรสพนนั้ ประทับยืนในสํานักของจติ ตราชยักษ์ ใกลแ้ นวบงึ แห่งหนึง่ แล้วทรงยงิ จติ ตศรไปในทิศท้งั ๔ บรรดาลกู ศรเหลา่ นนั้ พระองค์ทรงเห็นลูกศร ๓ ลูก ท่ียงิ ไปในทิศที่เหลือ แต่ไมเ่ ห็นลูกศรท่ยี ิงไปบนหลังพ้ืนนํ้า พระราชาทรง รังเกยี จว่า ลูกศรทเี่ รายงิ ไป คงจะตกลงในตวั ปลากระมังหนอ ? พระองคท์ รง ปรารภถึงศลี เภท (ความแตกแหง่ ศลี ) เพราะกรรมคอื ทําสัตว์มีชีวิตใหต้ กล่วงไป เพราะฉะน้ัน ศลี จงึ ไม่ทาํ พระราชาให้ยนิ ดี พระโพธสิ ัตว์ นั้น จงึ ตรสั อยา่ งนี้วา่ “ดกู ่อนพ่อท้ังหลาย เรามคี วาม รงั เกียจในกุรธุ รรมอยู่ แต่พระมารดาของเรารกั ษาไว้ได้เป็นอยา่ งดี พวกทา่ นจง ถือเอาในสํานกั ของพระมารดาเราเถิด” ทูตทงั้ หลายจึงกราบทลู ว่า “ขา้ แตม่ หาราชเจ้า พระองค์ไมม่ ีเจตนาวา่ จกั ฆ่าสตั ว์ เพราะเวน้ เจตนานน้ั จึงช่อื วา่ ไม่เป็นปาณาติบาตของพระองค์ จง ให้กรุ ธุ รรมทท่ี รงรักษาแก่ข้าพระพุทธเจา้ ท้งั หลายเถดิ พระโพธิสตั วต์ รสั ว่า “ถ้าอย่างนน้ั จงเขยี นเอาเถิดพ่อ” แลว้ ให้จารกึ ลง ในแผน่ สุพรรณบฏั ว่า... “ปาโณ น หนฺตพฺโพ, ไม่พึงฆ่าสัตว์ ๑ อทนิ ฺน นาทาตพพฺ , ไมพ่ ึงถือส่งิ ของท่ีเจ้าของมิไดใ้ ห้ ๑ กาเมสุมจิ ฺฉาจาโร น จรติ พฺโพ, ไม่พึงประพฤติผดิ ในกาม ๑

สู้ภัยแล้งวิถพี ทุ ธ ๑๓ มุสาวาโท น ภาสิตพฺโพ, ไม่พงึ กล่าวคาเท็จ ๑ มชชฺ ปาน น ปาตพฺพ, ไม่พึงดม่ื น้าเมา ๑ ก็แลครน้ั ใหจ้ ารึกแลว้ จึงตรัสวา่ “แมเ้ ปน็ อยา่ งนี้ ศีลกย็ งั เราใหย้ นิ ดไี ม่ได้ พวกทา่ นจงไปเฝาู พระมารดาของเราเถิด” พระมารดารังเกยี จในกรุ ธุ รรม ทตู เหลา่ น้นั ได้ถวายบังคมพระราชา แลว้ ไปยังสาํ นักของพระมารดาพระ โพธิสัตวก์ ราบทูลว่า “ขา้ แต่พระเทวี ไดย้ นิ วา่ พระองคท์ รงรกั ษากุรุธรรม ขอ พระองคจ์ งประทานกรุ ธุ รรมนั้นแกข่ า้ พระพุทธเจา้ ท้ังหลาย” พระเทวตี รสั วา่ “ดูก่อนพ่อทั้งหลาย เรารกั ษากุรุธรรมกจ็ รงิ แตบ่ ดั นี้ เราเกดิ ความรังเกียจในกรุ ุธรรมนัน้ กุรธุ รรมนน้ั ไมท่ าํ เราให้ยินดี เพราะเหตนุ นั้ เราจึงไม่อาจใหแ้ ก่ทา่ นทัง้ หลาย” ไดย้ ินว่า พระเทวีน้นั มีระโอรส ๒ องค์ คือ พระราชาผ้เู ป็นพระเชษฐา และอปุ ราชผู้เปน็ พระกนิษฐา คร้งั น้ัน มีพระราชา องค์หนง่ึ ทรงส่งแกน่ จันทนอ์ นั มคี า่ แสนหน่ึง และดอกไมท้ องมีคา่ พนั หนึ่งมาถวาย พระโพธิสัตว์ พระองคท์ รงคิดว่าจักบูชาพระมารดา จึงทรงสง่ ของทั้งหมดนัน้ ไป ถวายพระราชมารดา พระราชมารดาทรงพระดาํ รวิ ่า เราจะไมล่ บู ไลแ้ ก่นจนั ทน์ จะไม่ทดั ทรงดอกไม้ จกั ใหแ้ กน่ จนั ทน์ และระเบียบดอกไมน้ ั้น แกส่ ะใภ้ทั้งสอง ลําดับนนั้ พระเทวีได้มีความดาํ รดิ ังนว้ี า่ สะใภ้คนโตของเราเปน็ ใหญ่ ดํารงอยู่ ในตําแหน่งอัครมเหสี เราจักให้ระเบยี บดอกไม้ทองแก่สะใภ้คนโต, ส่วนสะใภค้ น เล็กเป็นคนยากจน เราจกั ให้แกน่ จนั ทน์แก่สะใภ้คนเล็ก พระนางจึงประทานระ- เบียบดอกไม้ทอง แก่พระเทวีของพระราชา, ไดป้ ระทานแกน่ จนั ทน์แก่พระมเหสี

๑๔ วดั จากแดง ของพระอปุ ราช ก็แหละครัน้ ประทานไปแล้วพระราชมารดาไดม้ ีความรังเกียจว่า เรารกั ษากรุ ธุ รรม ความทีห่ ญงิ สะใภ้เหล่านนั้ ยากจนหรือไม่ยากจน ไมเ่ ปน็ ประมาณสําหรับเรา กก็ ารกระทาํ ความเปน็ ผูป้ ระพฤติอ่อนน้อมต่อผใู้ หญ่เท่านนั้ สมควรแก่เรา เพราะความท่เี ราไม่ทาํ ความเป็นผปู้ ระพฤติออ่ นน้อมต่อผใู้ หญ่นน้ั ศีลของเราจะแตกทําลายบ้างไหมหนอ ? เพราะฉะน้ันพระราชมารดาจงึ ตรัสอยา่ ง น้นั , ลาํ ดับนั้นทตู ทั้งหลายจึงกราบทลู พระราชมารดาว่า “ข้นึ ช่อื ว่าของของตน บคุ คลยอ่ มให้ได้ตามชอบใจ พระองคท์ รงกระทําความรังเกยี จด้วยเหตุประมาณ เท่าน้ี จักทรงกระทํากรรม อันลามกอย่างอ่ืนไดอ้ ย่างไร ธรรมดาศีลยอ่ มไม่แตก ทาํ ลายด้วยเหตุเห็นปานน้ี ขอพระองคจ์ งประทานกรุ ุธรรม แก่ขา้ พระพุทธเจ้าท้ัง หลายเถิด” แลว้ ถอื เอากุรุธรรมในสาํ นักของพระราชมารดา แม้น้นั จดจารึกลงใน แผน่ สพุ รรณบฏั ก็แหละพวกทูตอนั พระราชมารดาตรสั ว่า “ดูกอ่ นพ่อทง้ั หลาย เมื่อเป็นอยา่ งน้ัน กรุ ุธรรมก็ยังไมท่ ําใหเ้ รายินดีพอใจได้ แต่พระสุณิสา(สะใภ้) ของ เรารักษากรุ ธุ รรมนัน้ ได้เป็นอยา่ งดี ทา่ นทั้งหลายจงถือเอาในสํานกั ของพระสุณสิ า น้นั เถดิ ” จงึ พากนั ไปเฝูาพระอัครมเหสีทลู ขอกุรธุ รรมโดยนยั กอ่ นน้นั แหละ อคั รมเหสรี งั เกยี จในกรุ ุธรรม ฝาุ ยพระอคั รมเหสีตรสั โดยนยั ก่อนเหมือนกันแล้วตรัสว่า “ช่อื ว่าศีลยอ่ ม ไมท่ ําเราให้ยินดีพอใจ เพราะเหตุนัน้ เราไม่อาจใหพ้ วกท่าน ไดย้ นิ ว่าพระอัคร มเหสีนั้น วนั หนงึ่ ประทบั ยนื ที่สหี บัญชร(หนา้ ตา่ ง) ไดท้ อดพระเนตรเหน็ พระมหา อปุ ราชประทับน่ังบนหลังชา้ งเบื้องหลงั พระราชา ผู้กาํ ลงั ทรงประทักษิณเลียบพระ นครบังเกดิ ความโลภอยากขนึ้ ทรงพระดาํ ริว่า ถ้าเราได้ทําความเชยชดิ กับพระ มหาอุปราชนีไ้ ซร้ เมื่อพระเชษฐาสวรรคตไป พระมหาอุปราชนีไ้ ด้ดาํ รงอยู่ในราช

สู้ภัยแลง้ วิถีพทุ ธ ๑๕ สมบตั จิ ะไดส้ งเคราะห์เรา, ลาํ ดับนัน้ พระอัครมเหสนี ้ันได้มีความรงั เกยี จว่า เรา กําลงั รกั ษากุรุธรรมอยู่ ท้ังเป็นผู้มพี ระสวามีอยู่ ยังแลดูชายอน่ื ดว้ ยอํานาจกเิ ลสศีล ของเราคงจะต้องแตกทําลาย เพราะฉะนั้นพระอัครมเหสจี ึงได้ตรสั อยา่ งนั้นลําดบั นัน้ ทูตทง้ั หลายจงึ กราบทูลพระอัครมเหสีวา่ “ข้าแต่พระแมเ่ จ้า ธรรมดาวา่ การ ประพฤติล่วงละเมิด ย่อมไม่มีด้วยเหตเุ พยี งจติ ตุปบาทเกิดความคดิ ขน้ึ พระองค์ ทรงกระทําความรังเกยี จ แม้ด้วยเหตุเพยี งเทา่ น้ี จกั ทรงกระทําความลว่ งละเมิด อะไรได้ ศลี ย่อมไมแ่ ตกทาํ ลายดว้ ยเหตุมีประมาณเทา่ นี้ ขอพระองค์จงประทาน กุรุธรรมแกข่ ้าพระพุทธเจ้าท้งั หลายเถิด” แล้วถือเอาในสาํ นกั ของพระอคั รมเหสี แมน้ นั้ แลว้ จดจารกึ ลงในแผ่นสพุ รรณบัฏ, ก็แลทูตทั้งหลายผู้อนั พระอัครมเหสตี รสั ว่า “ดูก่อนพ่อท้งั หลาย แมเ้ มอื่ เปน็ อย่างน้ัน ศีลก็ยังไม่ทาํ เราใหย้ ินดีพอใจ ก็ เพราะมหาอปุ ราชทรงรักษาไดอ้ ย่างดี พวกท่านจงถือเอาในสาํ นักของพระมหา อปุ ราชเถดิ พระมหาอปุ ราชรงั เกยี จในกุรุธรรม ทตู ทั้งหลาย จึงพากันเขา้ ไปเฝูาพระมหาอุปราช ทูลขอกุรธุ รรมโดยนัย ก่อนนัน่ แหละ, ก็พระมหาอุปราชนนั้ เม่ือเสดจ็ ไปยังทบี่ ํารุงของพระราชาในเวลา เยน็ เสดจ็ ไปด้วยรถถงึ พระลานหลวงแล้ว ถา้ ทรงพระประสงค์จะเสวยในสํานัก ของพระราชาแลว้ ทรงบรรทมค้างอยูใ่ นทีน่ ั้น ก็จะทรงทงิ้ เชือก และปฏักไว้ ระหวา่ งแอกรถ ดว้ ยสัญญาเคร่อื งหมายนัน้ มหาชนบริวารจะกลับไปต่อเช้าตรู่ วันรุ่งขึ้น จะไปยืนคอยดูพระมหาอุปราชน้นั เสดจ็ ออก ฝุายนายสารถีก็จะนํารถ นัน้ ไปตอ่ เช้าตรู่วนั รุ่งข้นึ จึงจะนาํ รถมาจอดทีป่ ระตูพระราชนิเวศน์ ถา้ ทรงมีพระ

๑๖ วัดจากแดง ประสงคจ์ ะเสดจ็ ในขณะน้นั จะทรงวางเชือกและปฏักไวเ้ ฉพาะภายในรถ แล้ว เสด็จไปเฝาู พระราชาดว้ ยสญั ญาณนน้ั ชนบริวารจะยืนอยู่ท่ปี ระตูพระราชนิเวศน์ นัน่ เอง ด้วยหมายใจว่า จักเสด็จออกมาในขณะนี้ อันพระมหาอปุ ราชนน้ั ทรง กระทาํ อยา่ งนั้น แล้วเสดจ็ เขา้ ไปยงั พระราชนเิ วศน์ เมื่อพระมหาอปุ ราชน้นั พอ เสด็จเข้าไปเทา่ นนั้ ฝนก็ตก พระราชาตรสั ว่า “ ฝนกําลงั ตก จึงไม่ใหพ้ ระมหา อุปราชนนั้ เสด็จออกมา พระมหาอปุ ราชจึงทรงเสวย แลว้ บรรทมอยู่ในพระราช นเิ วศนน์ ้นั นนั่ เอง ชนบรวิ ารคิดว่า ประเด๋ียวจักเสดจ็ ออก จงึ ไดย้ ืนเปยี กฝนอยู่ ตลอดคนื ยงั รงุ่ , ในวนั ทีส่ องพระมหาอปุ ราชจงึ เสดจ็ ออกมา ทรงเหน็ ชนบรวิ าร ยืนเปียกฝนอยู่ ทรงเกดิ ความรังเกยี จว่า เราเม่ือรักษากุรธุ รรมอยู่ ยังทําชนมี ประมาณเท่าน้ใี ห้ลาํ บาก ศีลของเราเหน็ จะพึงแตกทาํ ลาย ด้วยเหตนุ น้ั พระมหา อปุ ราชจงึ ตรสั แก่ทตู เหล่าน้ันว่า “เรารกั ษากรุ ุธรรมอย่กู ็จรงิ แตบ่ ดั นี้ เรามคี วาม รังเกยี จอยู่ เพราะเหตุนั้น เราจึงไม่อาจใหแ้ ก่ท่านทง้ั หลาย” แล้วตรสั บอกเรื่อง ราวนน้ั ให้ทราบ ลําดับนน้ั ทตู ทัง้ หลายจงึ ทูลพระมหาอปุ ราชวา่ “ข้าแตส่ มมติ เทพ พระองคม์ ิได้มีความคดิ ว่า ชนเหล่านจ้ี งลาํ บากกรรมที่ทาํ โดยหาเจตนามไิ ด้ ไม่จัดวา่ เป็นกรรม เมือ่ พระองค์ทรงกระทําความรังเกยี จ แมด้ ้วยเหตุมปี ระมาณ เท่าน้คี วามล่วงละเมิดจกั มีได้อยา่ งไร” แล้วรับเอาศีลในสํานกั ของพระมหาอปุ ราช แม้นน้ั จดจารึกลงในแผน่ สุพรรณบฏั , ก็แหละพวกทูตอันพระมหาอุปราชตรสั วา่ “แมเ้ มื่อเปน็ อยา่ งนน้ั ศลี กม็ ไิ ด้ทําเราให้ปลม้ื อกปลม้ื ใจได้ กป็ ุโรหติ ยอ่ มรักษาได้ ดี พวกท่านจงถือเอาในสาํ นักของปุโรหติ น้นั ดว้ ยเถดิ

สู้ภยั แลง้ วิถพี ทุ ธ ๑๗ ปโุ รหติ รังเกยี จในกุรธุ รรม ทูตทัง้ หลายจงึ พากนั เขา้ ไปหาปุโรหิตแล้วขอกรุ ุธรรม ฝุายปุโรหิตนน้ั วนั หนง่ึ ไปเฝาู พระราชา ระหว่างทางไดเ้ ห็นรถมีสีออ่ น ๆ งดงามเหมือนแสงอาทติ ย์ อ่อน ๆ ซึ่งพระราชาองค์หนึ่งทรงส่งมาถวายพระราชานนั้ จึงถามวา่ “นี้รถของ ใคร” ได้ฟังว่านํามาถวายพระราชาจงึ คิดว่า เราก็แกแ่ ล้วถ้าพระราชาจะพระราช ทานรถคนั น้ีแก่เราไซร้ เราจักข้ึนรถคนั นี้เท่ียวไปอย่างสบายแล้วไปเฝาู พระราชา ในเวลาทปี่ โุ รหิตน้นั ถวายพระพรชยั แลว้ ยืนเฝูาอยู่ ราชบรุ ษุ ตา่ งเมืองกท็ ูลถวายรถ แก่พระราชา พระราชาทอดพระเนตรแล้วตรัสว่า “รถของเราคนั น้ีงามเหลือเกิน พวกท่านจงใหแ้ ก่อาจารย์ของเราเถิด” ปุโรหติ มไิ ดป้ รารถนาจะรบั พระราชทาน แมพ้ ระราชาจะตรสั อยูบ่ อ่ ยๆ กไ็ มป่ รารถนาจะรับพระราชทานเลย ถามวา่ เพราะ เหตไุ ร ?, ตอบว่า เพราะนัยวา่ ปโุ รหติ นั้นไดม้ คี วามคิดอยา่ งนว้ี ่า เรารกั ษา กรุ ุธรรมอย่แู ท้ ๆ ยังได้กระทําความโลภในสง่ิ ของของบคุ คลอนื่ ศลี ของเราจะพึง แตกทาํ ลายไป แลว้ ปโุ รหติ นั้นจงึ บอกเร่ืองราวน้ัน แลว้ กลา่ ววา่ “ดกู ่อนพ่อทง้ั หลาย เรามคี วามรังเกยี จในกุรธุ รรมอยู่ กุรุธรรมนน้ั มิไดย้ ังเราให้ปลมื้ อกปลมื้ ใจ เลย เพราะฉะนัน้ เราไม่อาจให้”, ลาํ ดบั นั้น ทตู ทง้ั หลายจึงกลา่ วกะปุโรหติ ว่า “นาย ศีลยอ่ มไม่แตกทําลายด้วยเหตเุ พยี งเกิดความโลภอยากได้ ท่านเมือ่ กระ- ทําความรังเกยี จแม้ด้วยเหตุมีประมาณเท่าน้ี จกั กระทําความล่วงละเมิดอะไรได้” แล้วรบั เอาศลี ในสํานักของปโุ รหติ แมน้ ัน้ จดลงในแผน่ สุพรรณบัฏ, กแ็ หละ ทตู ท้ังหลายผู้อันทา่ นปโุ รหติ กลา่ ววา่ “แมเ้ มอ่ื เปน็ อยา่ งน้ัน กุรุธรรมก็ไม่ยังเราให้ ยินดพี อใจได้ กอ็ าํ มาตย์ผ้ถู ือเชอื กรังวดั รักษาได้ดี พวกทา่ นจงรับเอาในสาํ นกั ของอํามาตยน์ ั้น”

๑๘ วดั จากแดง อามาตยผ์ รู้ ังวัดนารงั เกียจในกุรุธรรม ทูตทั้งหลาย จึงพากนั เข้าไปหาอาํ มาตย์แม้นน้ั แล้วขอกุรุธรรม ฝุาย อํามาตย์ผรู้ งั วัดน้ัน วนั หน่ึง เมอื่ จะวัดเนอ้ื ที่นาในชนบท จงึ เอาเชือกผูกที่ไม้ให้ เจา้ ของนาจบั ปลายขา้ งหน่ึง ตนเองก็ได้จบั ปลายข้างหน่ึง ไมท้ ี่ผกู ปลายเชือกซึ่ง อํามาตย์ถอื ไปจรดตรงกลางรูปูตวั หน่ึง อาํ มาตยน์ นั้ คิดว่า ถ้าเราจักปักไมล้ งในรูปู ปภู ายในรูจกั ฉิบหาย กถ็ า้ เราจักปกั ล้าํ ไปข้างหน้า เนื้อท่ีของหลวงก็จักขาด ถา้ เราจกั ปักร่นเข้ามา เนื้อท่ีของกุฎุมพีกจ็ กั ขาด เราจะทําอยา่ งไรดหี นอ? ลาํ ดับนั้น อาํ มาตย์ผนู้ นั้ ได้มีความคิดดังนีว้ ่า ปูควรจะมใี นรู ถา้ มีเราจะต้องเห็น จะปักไม้ นนั้ ตรงน้ีแหละ แลว้ กป็ ักทอ่ นไมน้ นั้ ลงในรปู ู ฝาุ ยปูก็สง่ เสยี งดงั กริ๊กๆ ลําดับนนั้ อํามาตยน์ ัน้ ได้มีความคิดดงั น้ีว่า ทอ่ นไมจ้ ักปักลงบนหลงั ปู ปูกจ็ ักตายและเราก็ รักษากรุ ุธรรม เพราะเหตนุ ั้น ศีลของเราคงจะแตกทาํ ลาย อํามาตย์นนั้ จงึ บอก เร่อื งราวน้นั แก่ทตู ทั้งหลายแล้วกล่าวว่า “เพราะเหตุการณ์ดังกลา่ วมาน้ี เราจงึ มี ความรงั เกียจในกุรธุ รรม ดว้ ยเหตุน้ัน เราจึงไม่อาจใหแ้ ก่พวกท่าน” ลําดบั นน้ั ทตู ทัง้ หลายจึงกล่าวกะอํามาตย์นน้ั วา่ “ทา่ นไม่มีจิตคดิ ว่า ปจู งตาย กรรมท่ไี ม่ มเี จตนาความจงใจไม่ชื่อวา่ เป็นกรรม ทา่ นกระทําความรังเกียจ แม้ดว้ ยเหตุมี ประมาณเทา่ นี้ จกั กระทาํ ความลว่ งละเมิดอะไรได้” แล้วรับเอาศีลในสํานักของ อาํ มาตย์ แมน้ น้ั แล้วจดจารึกลงในแผน่ สพุ รรณบัฏ, กแ็ หละ อาํ มาตย์นัน้ พูดว่า “แมเ้ มื่อเป็นอย่างน้ีกรุ ธุ รรมก็มไิ ด้ทําขา้ พเจา้ ใหป้ ลมื้ ใจ ก็นายสารถรี ักษาได้อยา่ ง ดี ท่านทั้งหลายจงรบั เอาในสํานกั ของนายสารถีนนั้ เถิด”

สู้ภยั แล้งวิถพี ุทธ ๑๙ สารถรี งั เกยี จในกรุ ุธรรม ทตู ทง้ั หลาย จงึ เข้าไปหานายสารถีแม้น้ัน แลว้ ขอกุรุธรรม นายสารถี นั้น วนั หน่ึงนาํ เสด็จพระราชาไปยังราชอุทยานดว้ ยราชรถ พระราชาทรงเล่นใน พระราชอุทยานนนั้ ตลอดวัน ในเวลาเย็นจงึ เสดจ็ ออกจากพระราชอทุ ยานเสดจ็ ข้นึ ทรงรถ เม่อื ราชรถนัน้ ยังไมท่ นั ถงึ พระนครเมฆฝนกต็ ้ังข้ึนในเวลาที่พระอาทิตย์ จะอัศดงคต เพราะกลัวว่าพระราชาจะเปยี กฝน นายสารถจี งึ ได้ให้สญั ญาณด้วย ปฏักแกม่ ้าสนิ ธพท้ังหลาย ๆ จึงควบไปดว้ ยความเร็ว ก็แหละตง้ั แต่นั้นมา ม้า สนิ ธพเหลา่ นน้ั ขาไปยงั พระราชอุทยานกด็ ี ขามาจากพระราชอทุ ยานนัน้ ก็ดี พอ ถงึ ท่ตี รงน้นั ก็วิง่ ควบไปดว้ ยความเรว็ , ถามวา่ เพราะเหตุอะไร ? ตอบว่า เพราะ นัยวา่ มา้ สินธพเหลา่ นนั้ ได้มีความคดิ ดังนวี้ ่า ในที่นีจ้ ะพงึ มภี ยั เปน็ แน่ ดว้ ยเหตุ น้ัน นายสารถีของพวกเราจึงได้ใหส้ ัญญาณดว้ ยปฏักในคราวนั้น. แมน้ ายสารถีก็ มีความคิดดงั น้วี า่ ในเม่ือพระราชาจะเปยี กฝนหรือไมเ่ ปียกฝนก็ตาม เราย่อมไมม่ ี โทษ แต่เราได้ให้สัญญาปฏักแก่มา้ สินธพทีฝ่ ึกหดั มาดแี ล้ว ในสถานทอี่ ันไม่ควร ดว้ ยเหตุนัน้ ม้าสนิ ธพเหล่านี้ว่งิ ควบท้ังไปและมา ลําบากอยูจ่ นเดียวน้ี และเรา กร็ ักษากรุ ธุ รรม ด้วยเหตุน้นั ศลี ของเราคงจะแตกทําลายแลว้ นายสารถีน้ันจงึ บอกเรื่องราวนั้นใหท้ ราบแลว้ กลา่ วว่า เพราะเหตุน้ี เราจงึ มีความรังเกียจในกรุ ุ ธรรม เพราะฉะน้ัน เราไม่อาจให้แก่พวกทา่ นได้ ลาํ ดบั นนั้ ทูตทัง้ หลายจงึ กลา่ ว กะนายสารถนี ้ันว่า “ทา่ นไม่มีจติ คิดวา่ ม้าสินธพท้ังหลายจงลําบาก กรรมท่ีไม่ มเี จตนาคือความจงใจ ไม่จัดวา่ เปน็ กรรม อนงึ่ ทา่ นกระทาํ ความรงั เกียจดว้ ย เหตุแมม้ ปี ระมาณเท่าน้ี จกั กระทาํ ความลว่ งละเมดิ ได้อย่างไร”, จงึ รับเอาศีลใน สํานักของนายสารถนี ้ันจดจารึกลงในแผ่นสุพรรณบฏั , กแ็ หละนายสารถีกลา่ วว่า

๒๐ วัดจากแดง “แมเ้ ม่ือเปน็ อยา่ งนน้ั ศีลก็มิได้ทาํ เราให้ปล้ืมใจได้ แต่ทา่ นเศรษฐรี ักษาไดด้ ี พวก ทา่ นจงรบั เอาในสาํ นกั ของทา่ นเศรษฐีนนั้ เถดิ ” เศรษฐรี งั เกียจในกรุ ธุ รรม ทตู จงึ เขา้ ไปหาทา่ นเศรษฐนี ้ันแล้วขอกุรธุ รรม แม้เศรษฐนี ั้น วนั หน่ึงไป นาํ ข้าวสาลีของตนพิจารณารวงขา้ วสาลีท่อี อกจากท้อง เม่อื จะกลบั คดิ วา่ จักผูก รวงข้าวใหเ้ ปน็ พุ่มข้าวเปลือก จงึ ใหค้ นผกู รวงข้าวสาลีกาํ หนึ่งผูกเป็นจกุ ไว้ ลําดับ นั้น ทา่ นเศรษฐีได้มีความคิดดังนี้วา่ เราจะต้องใหค้ า่ ภาคหลวงจากนาน้ี แตเ่ รา กไ็ ด้ให้คนถือเอารวงขา้ วสาลีกําหนง่ึ จากนาผืนทีย่ ังไม่ได้ให้คา่ ภาคหลวง กเ็ รา รักษากรุ ธุ รรม เพราะเหตุน้ัน ศลี ของเราคงจะแตกทําลายแล้ว ทา่ นเศรษฐีน้นั จงึ บอกเรื่องราวน้ันแกท่ ูตทั้งหลายแล้วกลา่ ววา่ “เรามีความรังเกยี จในกุรุธรรม ดว้ ยเหตุนี้ เพราะเหตุน้นั เราไม่อาจใหก้ รุ ุธรรมแก่พวกทา่ น” ลาํ ดับน้ัน ทตู ทั้ง หลายจงึ กล่าวกะท่านเศรษฐีว่า “ท่านไมม่ ีไถยจิตคิดจะลัก เว้นจากไถยจติ นน้ั ใคร ๆ ไม่อาจบัญญัติอทินนาทานได้ ก็ทา่ นกระทําความรังเกียจแมด้ ว้ ยเหตุเพียง เท่าน้ี จกั ถือเอาของของคนอื่นได้อย่างไร” แลว้ รบั เอาศีลในสาํ นกั ของเศรษฐี แม้ นั้นแลว้ จารกึ ลงในแผ่นสพุ รรณบฏั , ก็แหละ ทตู ท้ังหลายอันท่านเศรษฐีกล่าวว่า “แมเ้ มื่อเปน็ อย่างนนั้ ศลี ก็ยงั มิได้ทําใหเ้ ราปล้ืมใจได้ แตท่ า่ นอาํ มาตยผ์ ตู้ วงข้าว หลวงรักษาไดด้ ี พวกท่านจงถือเอาในสํานักของอํามาตยผ์ ู้ตวงข้าวนน้ั เถดิ ”

สู้ภยั แล้งวิถพี ทุ ธ ๒๑ อามาตย์ผู้ตวงข้าวรังเกยี จในกุรธุ รรม ทตู ท้ังหลาย จงึ พากันเขา้ ไปหาทา่ นอาํ มาตย์ผู้ตวงขา้ ว แล้วขอกุรุธรรม ไดย้ นิ ว่าอํามาตยผ์ ตู้ วงขา้ วนัน้ วนั หนึง่ ให้คนนับขา้ วเปลอื กอนั เป็นส่วนของหลวง สว่ นตนเอาข้าวเปลือก จากกองข้าวท่ียงั ไม่ได้นับใส่ ขณะนนั้ ฝนตกมหาอํามาตย์ จึงเพิ่มการตวงนับข้าวเปลือก แล้วกลา่ ววา่ ข้าวเปลอื กทน่ี ับแล้วมีประมาณเท่า น้ี แลว้ โกยข้าวเปลอื กที่นับตวงแล้วใสล่ งในกองข้าวเปลอื กทนี่ ับไว้แล้ว กร็ บี ไป ยนื ทีซ่ ้มุ ประตูแล้วคดิ วา่ เราใสข่ ้าวเปลอื กทต่ี วงนับลงในกองข้าวทน่ี ับแลว้ หรอื ใส่ในกองข้าวท่ียังไม่ได้นับ ลาํ ดับนั้น ท่านมหาอํามาตย์ได้มีความคิดดังนี้วา่ ถ้า เราใส่ในกองขา้ วเปลือก ทน่ี ับไว้แลว้ ของหลวงก็จะเพิ่มข้นึ โดยมใิ ชเ่ หตุ ของคฤห บดที งั้ หลายก็จะขาดไป และเราก็รกั ษากุรุธรรม ด้วยเหตนุ นั้ ศลี ของเราจะต้อง แตกทําลายแล้ว ทา่ นมหาอํามาตยน์ ัน้ จงึ บอกเรื่องราวนนั้ แล้วกลา่ วว่า “เรามี ความรงั เกียจในกุรุธรรมดว้ ยเหตนุ ้ี เพราะเหตนุ ้นั เราไมอ่ าจใหแ้ ก่พวกทา่ น” ลําดบั นัน้ ทูตทัง้ หลายจงึ กล่าวกะท่านมหาอํามาตย์นั้นว่า “ทา่ นไม่มไี ถยจิตคดิ จะลัก เว้นไถยจิตน้ันเสียใคร ๆ ไมอ่ าจบัญญตั อิ ทินนาทานได้ ก็ท่านกระทาํ ความรังเกยี จ ด้วยเหตแุ ม้มปี ระมาณเท่านี้ อย่างไรจักถือเอาส่งิ ของของคนอื่น” แลว้ รับเอาศลี ในสํานักของมหาอาํ มาตย์ผู้ตวงข้าวนน้ั จารกึ ลงในแผน่ สพุ รรณบัฏ, ก็แหละ ทตู ทง้ั หลายผ้อู นั ทา่ นมหาอาํ มาตย์กล่าววา่ “แมเ้ ม่ือเป็นอยา่ งนั้น ศลี ก็ มิไดท้ ําเราให้ปลมื้ ใจยนิ ดีได้ แต่นายประตูรักษาได้ดี ท่านท้งั หลายจงถือเอาใน สาํ นักของนายประตูนัน้ เถดิ ”

๒๒ วดั จากแดง นายประตรู ังเกยี จในกรุ ธุ รรม ทูตทงั้ หลาย จึงพากนั เข้าไปหานายประตูแม้นนั้ แล้วขอกรุ ุธรรม ฝุาย นายประตนู นั้ วนั หน่ึงเวลาจะปิดประตูเมือง ได้ออกเสียงประกาศขึ้น ๓ ครั้ง ครั้งน้ันมีคนเขญ็ ใจคนหนึ่งเข้าปุาหาฟนื และหญา้ กับน้องสาว กําลังกลับมาไดย้ นิ เสยี งนายประตูนัน้ ประกาศ จึงรีบพานอ้ งสาวมาทนั พอดี ลําดบั นน้ั นายประตู กล่าวกะคนเข็ญใจนน้ั ว่า “ทา่ นไม่รูว้ า่ พระราชามีอยู่ในพระนครน้ี หรอื ทา่ นไมร่ ู้ หรอื ว่า เขาจะต้องปิดประตูพระนครนต้ี อ่ เวลายงั วนั ท่านได้พาภรรยาของตน เทย่ี วไปในปาุ เทีย่ วเลน่ ร่ืนเริงตลอดวัน” ครั้นเมื่อคนเข็ญใจกล่าววา่ “ไม่ใช่ ภรรยาฉันดอกนาย หญงิ คนนีเ้ ป็นนอ้ งสาวของฉนั เอง” นายประตนู ้ันจงึ มีความ ปรวิ ติ กดงั น้วี ่า เราเอาน้องสาวเขามาพูดวา่ เปน็ ภรรยา กระทํากรรมอนั หาเหตุ มไิ ด้หนอ และเรากร็ ักษากรุ ธุ รรม ด้วยเหตุนนั้ ศีลของเราจะพงึ แตกทําลายแล้ว นายประตนู น้ั จงึ บอกเรื่องราวนั้นแลว้ กลา่ วว่า “เรามีความรงั เกียจในกุรธุ รรมดว้ ย เหตนุ ี้ เพราะเหตุนั้นเราไมอ่ าจให้แก่พวกท่านได้” ลําดับนัน้ ทูตทั้งหลายจึงกล่าว กะนายประตูน้ีว่า “คํานั้นทา่ นกลา่ วตามความสาํ คญั อย่างน้ันในข้อนี้ ความแตก ทาํ ลายแห่งศลี จึงไม่มีแกท่ ่าน ก็ท่านรังเกียจดว้ ยเหตุมีประมาณเทา่ น้ี จกั กระทํา สมั ปชานมสุ าวาทกลา่ วเทจ็ ทงั้ รู้ในกรุ ธุ รรมได้อยา่ งไร” แล้วถือเอาศีลในสาํ นักของ นายประตูแม้นน้ั จดจารึกลงในแผน่ สุพรรณบฏั , กแ็ หละ ทตู ท้ังหลายอนั นาย ประตูนั้นกลา่ ววา่ “แมเ้ มือ่ เป็นอย่างนนั้ ศีลก็ยังไมท่ าํ ใหเ้ รายนิ ดีปล้ืมใจได้ แต่นาง วรรณทาสรี ักษาได้ดี พวกทา่ นจงถือเอาในสาํ นักของนางวรรณทาสีนั้นเถิด”

สู้ภยั แลง้ วิถีพุทธ ๒๓ นางวรรณทาสผี ้เู ปน็ นครโสเภณรี งั เกยี จในกุรธุ รรม ทตู ทง้ั หลาย จึงพากนั เขา้ ไปหานางวรรณทาสีแม้นัน้ แลว้ ขอกุรุธรรม ฝุายนางวรรณทาสกี ็ปฏเิ สธโดยนัยอนั มีในหนหลังนน่ั แหละ, ถามวา่ เพราะเหตุ ไร ? ตอบว่า เพราะไดย้ นิ วา่ ทา้ วสกั กะจอมเทวดาทรงดาํ รวิ ่า จกั ทดลองศีล ของนาง จึงแปลงเพศเปน็ มาณพน้อยมาพดู ว่า “ฉันจกั มาหาแล้วตง๊ึ ทรัพย์ไวพ้ นั หน่ึง กลับไปยังเทวโลกแลว้ ไม่มาถึง ๓ ป.ี นางวรรณทาสนี นั้ ไมร่ บั สง่ิ ของแม้ มาตรวา่ หมากพลจู ากมอื ชายอ่ืนถึง ๓ ปี เพราะกลัวศลี ของตนขาด นางยากจน ลงโดยลําดับ จงึ คดิ ว่า เม่อื ชายผู้ใหท้ รัพย์พนั หน่ึงแก่เราแล้วไปเสีย ไม่มาถึง ๓ ปี เราจึงยากจนไม่อาจสืบต่อชวี ติ ตอ่ ไปได้ จําเดมิ แต่บัดน้ไี ป เราควรบอกแก่ มหาอาํ มาตยผ์ วู้ ินจิ ฉัยความ แล้วรบั เอาคา่ ใชจ้ ่าย นางจงึ ไปศาลกลา่ วฟูองวา่ “เจา้ นาย บรุ ุษผู้ใหค้ ่าใชจ้ า่ ยแก่ดฉิ นั แล้วไปเสยี ๓ ปี แลว้ ดิฉนั ไม่ทราบวา่ เขา ตายแลว้ หรอื ยังไม่ตาย ดิฉนั ไม่อาจสบื ตอ่ เล้ียงชีวติ อยู่ได้ เจ้านาย ดิฉันจะทํา อยา่ งไร ? มหาอาํ มาตย์ผวู้ ินจิ ฉัยอรรถคดีกลา่ วตดั สินว่า “เมอื่ เขาไม่มาถึง ๓ ปี ท่านจกั ทําอะไร ตอ่ แตน่ ้ีทา่ นจงรับค่าใชจ้ ่ายได้” เมอ่ื นางวรรณทาสนี ้ันไดร้ ับการ วินจิ ฉัยตดั สินแล้ว พอออกจากศาลทว่ี นิ ิจฉยั เท่านัน้ บุรษุ คนหน่งึ กน็ ้อมนําหอ่ ทรพั ย์พันหน่ึงเขา้ ไปให้ ในขณะที่นางเหยยี ดมือจะรบั ทา้ วสักกะก็แสดงพระองค์ ใหเ้ หน็ นางพอเห็นท้าวสักกะนั้นเทา่ นน้ั จงึ หดมอื พร้อมกับกล่าวว่า “บุรุษผู้ให้ ทรพั ย์แกเ่ ราพนั หนึ่งเม่ือ ๓ ปีมาแล้ว ไดก้ ลับมาแล้ว ดกู ่อนพ่อ เราไมต่ ้องการ กหาปณะของท่าน” ท้าวสกั กะจงึ แปลงรา่ งกายของพระองคท์ นั ที ได้ประทับยืน อยใู่ นอากาศเปล่งแสงโชติชว่ งประดุจดวงอาทติ ย์อ่อน ๆ ฉะน้นั พระนครทัง้ สิ้น พากนั ตนื่ เตน้

๒๔ วัดจากแดง พระอนิ ทรใ์ ห้ “รกั ษาศีลห้า” ท้าวสักกะได้ประทานโอวาทในท่ามกลางมหาชนวา่ “ในที่สุด ๓ ปมี า แลว้ เราได้ใหท้ รัพย์พนั หนึ่งเนือ่ งด้วยจะทดลองนางวรรณทาสนี ้ี ทา่ นทั้งหลาย ช่ือว่าเม่ือจะรกั ษาศีล จงเปน็ ผ้เู ห็นปานน้ีรกั ษาเถิด แล้วทรงบรรดาลใหน้ ิเวศน์ ของนางวรรณทาสีเตม็ ดว้ ยรัตนะ ๗ ประการ ทรงอนศุ าสน์พร่าํ สอนนางวรรณ ทาสนี น้ั วา่ “เธอจงเปน็ ผ้ไู ม่ประมาทต้ังแตบ่ ัดน้ีไป แล้วได้เสด็จไปยงั เทวโลกนั่น แล เพราะเหตุนี้ นางวรรณทาสีน้ันจึงปฏเิ สธห้ามปรามทตู ทั้งหลายวา่ “เรายงั มิไดเ้ ปลื้องค่าจ้างท่รี ับไว้ ยื่นมือไปรบั คา่ จ้างที่ชายอืน่ ให้ ดว้ ยเหตนุ ้ศี ลี จงึ ทาํ เรา ใหย้ นิ ดปี ล้มื ใจไมไ่ ด้ เพราะเหตุน้ันเราจงึ ไม่อาจให้แก่ทา่ นทง้ั หลาย” ลําดบั นั้น ทูตท้งั หลายจึงกล่าวกะนางวรรณทาสนี นั้ วา่ “ศลี เภท ศลี แตกทาํ ลาย ย่อมไม่มี ด้วยเหตสุ ักว่าย่นื มอื ช่อื วา่ ศีลยอ่ มบริสทุ ธอ์ิ ยา่ งย่งิ ด้วยประการอยา่ งนี้ แลว้ รับ เอาศลี ในสาํ นักของนางวรรณทาสแี ม้นัน้ จดจารกึ ลงในแผ่นสพุ รรณบฏั จารกึ ศีลห้า ทูตทง้ั หลาย จารึกศีลท่ชี นทัง้ ๑๑ คนน้ันรักษา ลงในแผ่นสุพรรณบฏั ด้วยประการดงั น้ี แลว้ ได้ไปยังทนั ตปรุ นคร นําถวายแผ่นสุพรรณบัฏแก่พระเจา้ กาลงิ คราช แลว้ กราบทลู กรุ ุธรรม ข้อประพฤติเหตนุ ้นั ให้ทรงทราบ พระราชา เมือ่ ทรงประพฤติกุรธุ รรมนนั้ ทรงบาํ เพ็ญศีล ๕ ให้บริบรู ณ์ ในกาลน้ันฝนก็ตก ลงในแว่นแคว้นกาลงิ ครัฐทงั้ ส้ิน ภยั ทั้ง ๓ ก็สงบระงับและแว่นแควน้ ก็ไดม้ ีความ เกษมสําราญ มภี ักษาหารสมบูรณ์ พระโพธสิ ัตว์ทรงกระทําบุญมที าน เป็นต้น ตราบเท่าพระชนมายุ พร้อมทั้งบริวารไดท้ าํ เมืองสวรรค์ให้เต็มบริบูรณ์

สู้ภัยแลง้ วิถีพุทธ ๒๕ พระศาสดา คร้นั ทรงนาํ พระธรรมเทศนาน้ีมาแลว้ ทรงประกาศอริยสัจ ในเวลาจบอรยิ สัจ บางพวกได้เป็นพระโสดาบัน บางพวกได้เป็นพระสกทาคามี บางพวกได้เป็นพระอนาคามี บางพวกไดเ้ ปน็ พระอรหันตแ์ ลว้ ทรงประชุมชาดกว่า นางวรรณทาสีหญิงคณกิ า ไดเ้ ป็นนาง อบุ ลวรรณา นายประตูในครัง้ น้นั ไดเ้ ป็น พระปุณณะ รัชชคุ าหกะอามาตย์ผ้รู ังวดั ได้ เปน็ พระกัจจายนะ โทณมาปกะอามาตย์ผู้ ตวงขา้ ว ไดเ้ ป็นพระโมคคัลลานะ เศรษฐี ในคร้งั น้นั ไดเ้ ป็นพระสารบี ุตร นายสารถี ไดเ้ ปน็ พระอนรุ ทุ ธะ พราหมณ์ ได้เป็นพระ- กัสสปเถระ พระมหาอุปราช ได้เปน็ พระ- นันทะผู้บณั ฑิต พระมเหสีในคร้งั นั้น ได้ เป็นราหลุ มารดา พระชนนใี นครงั้ นนั้ ได้ เปน็ พระมายาเทวี พระเจา้ กุรรุ าชโพธิสัตว์ ไดเ้ ปน็ เราตถาคต ท่านท้งั หลายจงทรงจา ชาดกด้วยประการฉะน้ี.

๒๖ วดั จากแดง พุทธบริษทั ๔ ถา้ ถามวา่ พระพทุ ธองค์ทรงตรสั กะภกิ ษุ หนง่ึ เดียวในพทุ ธบรษิ ทั หรือ ? คงไม่ใช่ ขณะทก่ี ล่าวถึงภกิ ษุบริษัทก็มุ่งหมายพทุ ธบริษัทที่เหลอื อยู่ ก็จึงควรน้อม นาํ ธรรมะไปใช้ ไมม่ ีการจาํ กดั บคุ คลและกาล ทุกคนบําเพ็ญบญุ มีการรักษาศลี ๕ เปน็ ตน้ ไดเ้ หมือนกนั ถามอีกว่า การรกั ษาศีลสู้ภัยแลง้ มีอยา่ งเดียวตามแนววิถพี ุทธหรอื ? ตอบวา่ “ไม่ใช่” บุญกุศลอยา่ งอื่นก็ปฏบิ ัติได้อยู่ จกั ได้ยกตวั อยา่ ง เพื่อประดับความรแู้ ละเปน็ แนวทางนาํ ไปปฏบิ ัติ เป็นเรอื่ งของการถวายนํ้าบชู า พระพุทธเจ้า เป็นเรื่องของ “ทานกศุ ล” ทราบมาว่า ท่านพระอุทกปูชกเถระ ไดก้ ล่าวคาถาเหลา่ น้ี มแี สดงอยู่ในพระสตู ร เรอื่ งมีอยวู่ ่า :- อทุ กปชู กเถราปทาน (ว่าด้วยผลแห่งการถวายนา) ขา้ พระองค์ ไดเ้ ห็นพระสมั พทุ ธเจ้ามพี ระฉวีวรรณดังทอง ผ้รู ุง่ เรืองดงั กองไฟ เหมอื นพระอาทติ ย์ เปน็ ทร่ี องรบั เครอ่ื ง บูชาเสด็จไปในอากาศ. จึงเอามือทั้งสองกอบน้าแลว้ โยนขึ้นไปในอากาศ พระ- พุทธเจ้ามหาวีระมพี ระกรุณาในขา้ พระองค์ ทรงรับไว้. พระศาสดามีพระนามว่าปทุมุตตระ ประทับยนื อยู่ใน

สู้ภัยแล้งวิถพี ุทธ ๒๗ อากาศทรงทราบความดาริของขา้ พระองค์ จึงไดต้ รัสพระคาถา เหลา่ นว้ี า่ ด้วยการถวายน้านแ้ี ละด้วยเกดิ ปตี ิ เขาจะไมเ่ ขา้ ถึงทคุ ติ เลยในแสนกัป ขา้ แตพ่ ระองคผ์ ู้เป็นจอมสตั ว์ เชษฐบุรุษ ของโลกผู้นราสภะ ดว้ ยกรรมน้นั ข้าพระองค์ละความแพ้ และความชนะแลว้ บรรลถุ ึงฐานะอันไมห่ วั่นไหว. ในกัปท่ี ๖,๕๐๐ แตก่ ัปนี้ ได้เปน็ พระเจา้ จักรพรรดิ ๓ ครงั้ มีพระนามว่าสหสั สราช เปน็ จอมชน ปกครอง แผน่ ดนิ มีสมุทรสาคร ๔ เป็นท่สี ดุ . คณุ วเิ ศษเหล่าน้ี คอื ปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ และ อภญิ ญา ๖ เราทาใหแ้ จ้งชัดแล้ว คาสอนของพระพุทธเจ้า เราได้ทาเสรจ็ แล้ว ดังนี้. พระเถระสั่งสมบญุ กศุ ล เปน็ อปุ นสิ ยั แกพ่ ระนพิ พาน พระเถระแม้น้ี ได้สัง่ สมกุศลท่ตี นบําเพ็ญไว้ ในพระพุทธเจ้าองค์กอ่ น ๆ บําเพ็ญบญุ ทงั้ หลายอนั เป็นอุปนิสยั แกพ่ ระนพิ พานในภพนั้นๆ ในกาลแห่งพระผู้ มีพระภาคเจ้าพระนามวา่ “ปทุมุตตระ” บงั เกิดในเรือนมตี ระกลู แหง่ หนง่ึ เจริญ วัยแลว้ รู้ถงึ กศุ ลกรรมและอกุศลกรรม เลอ่ื มใสในพระรัศมีมีวรรณะ ๖ ท่ซี า่ นออก

๒๘ วดั จากแดง ของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามวา่ ปทมุ ตุ ตระ “กอบน้าบูชาด้วยมือทงั้ สอง” ท่านเลอื่ มใสย่งิ บังเกิดในเทพชัน้ ดุสิต เป็นต้น ดว้ ยโสมนสั นัน่ แล เสวยทพิ ย สมบตั ิ และภายหลังเสวยมนษุ ยสมบัติ ในพุทธปุ บาทกาลนี้ บังเกดิ ในเรือนมี ตระกูล บรรลุนิติภาวะแล้ว เล่ือมใสในพระศาสดา บวชแล้วไมน่ านก็ไดเ้ ป็น พระอรหนั ต์. (จบอรรถกถาอุทกปชู กเถราปทาน) “ นา้ ” บูชาพทุ ธคณุ หากปรารถนาถวายนา้ํ บูชาพระพุทธเจา้ ก็จะมแี นวทางประพฤตปิ ฏิบตั ิ ด้วยการถวายน้าํ ดืม่ น้าํ ใช้แด่พระสงฆ์ มีพระพทุ ธเจา้ เปน็ ประมขุ แหง่ สงฆ์ การ ถวายน้ําบูชาพระพุทธเจา้ สามารถนํารูปเหมือนปฏมิ ากรเป็นสัญลักษณ์พร้อมทงั้ น้าํ ใส่ภาชนะบูชาเพื่อเปน็ เครื่องนอ้ มจิต กระทําไวใ้ นใจโดยเปน็ กศุ ลให้สาํ เร็จผล เถิด พร้อมทั้งกล่าวบูชาดว้ ยบทวา่ คาถวายน้า บูชาพระพุทธเจ้า อะระหะตาทีหิ นะวะคุเณหิ สะมนั นาคะตัสสะ สมั มาสัมพุทธัสสะ อมิ ัง อทุ ะกงั เทม.ิ ข้าพเจา้ ขอถวายนาํ้ ฉันนํ้าใชน้ ี้ แด่องค์พระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ ผู้มคี ุณ ๙ ประการ มีความเป็นพระอรหนั ต์ เป็นต้น.

สู้ภยั แล้งวิถพี ทุ ธ ๒๙ คาปรารถนา อิทงั เม ปญุ ญัง นิพพานัสสะ ปจั จะโย โหตุ. ขอผลบญุ น้ีของขา้ พเจา้ จงเป็นปัจจัย แก่พระนิพพาน. คาอทุ ศิ สว่ นกุศล อิทัง ปญุ ญะภาคัง สัพพะสตั ตานงั เทม.ิ ข้าพเจ้า ขออุทศิ ส่วนบุญน้ี ใหแ้ ก่สรรพสตั วท์ ั้งหลาย. อานิสงสก์ ารถวายน้า ๑๐ ประการ ๑. คลอ่ งแคล่ววอ่ งไว ๒. มีชื่อเสียง ๓. มีความสะอาดบริสุทธ์ิ ๔. ปราศจากความกระหาย ๕. มบี รวิ ารมาก ๖. อายยุ ืน ๗. มผี วิ พรรณผดุ ผอ่ ง ๘. มีพละกาลงั ๙. มปี ญั ญามาก ๑๐. มีความสุข

๓๐ วัดจากแดง ปลกู ต้นไม้บญุ ย่อมเจรญิ ทุกเมื่อ เมื่อไม่ตรกึ ถงึ อกุศลวติ ก หรอื เมื่อไมห่ ลับ บุญย่อมเจรญิ พระผมู้ ีพระ ภาคเจา้ ตรัสวา่ “สทา ปุญฺ ปวฑฺฒติ” แปลวา่ “บุญย่อมเจรญิ ทกุ เมื่อ” ทรงหมายเอาเนอ้ื ความน้ีวา่ ก็ในกาลใดยอ่ มระลกึ ถึง ในกาลนนั้ บุญย่อมเจริญ วตั ถใุ ดทท่ี าํ แล้วเจรญิ บญุ ได้ทุกเวลา การปลกู หมู่ไม้ ตน้ ไม้ (ใช้ร่มเงา) ทําโรงให้นาํ้ ด่ืมนาํ้ ใช้ สร้างสะพานทไี่ ม่เสมอกัน มอบเรอื ให้ไป สรา้ งเจดีย์ ทาํ ที่ จงกรม ทาํ มณฑป กฏุ ิ ที่หลกี เร้น และท่พี ักในกลางวันและกลางคนื เป็นต้น ทานกศุ ลเหลา่ นี้ กาลใดระลึกถงึ กาลน้ันยอ่ มเจริญดว้ ยบุญของหมู่ชนทไี่ ด้ใช้ อปุ โภคบรโิ ภคเป็นอันมาก เมื่อบุคคลทําบญุ ทง้ั หลายเห็นอย่างน้ี ก็ช่ือว่า ย่อมบําเพญ็ กุศลธรรม สิบ คอื ได้ตัง้ อยู่แลว้ ในธรรม เพราะความท่ีบุคคลเหลา่ น้ันต้ังอยู่ในกศุ ลธรรมสบิ และชือ่ วา่ สมบรู ณแ์ ลว้ ด้วยศลี ถงึ พร้อมแลว้ ดว้ ยศีลนั้นน่นั แหละ ฉะน้ัน จึง ขอยกพระสูตร ทมี่ าในพระสุตตันตปิฏก สงั ยุตตนกิ าย สคาถวรรค แสดงให้ ชดั เจนตอ่ ไป

สู้ภัยแลง้ วิถพี ทุ ธ ๓๑ วนโรปสตู ร (พระสูตรว่าด้วยการปลูกป่า) เทวดาทลู ถามว่า ชนพวกไหนมบี ญุ เจริญในกาลทุก เมือ่ ท้ังกลางวันและกลางคืน ชนพวกไหน ตั้งอยใู่ นธรรม สมบรู ณ์ด้วยศีลเปน็ ผูไ้ ป สวรรค์. พระผูม้ พี ระภาคเจา้ ตรัสตอบว่า ชนเหล่าใดสรา้ งอาราม (สวนไม้ ดอกไม้ผล) ปลกู หมูไ่ ม้ (ใชร้ ่มเงา) สร้าง สะพาน และชนเหลา่ ใดให้โรงนา้ เปน็ ทาน และบ่อน้าทัง้ บา้ นทีพ่ ักอาศัย ชนเหลา่ น้นั ยอ่ มมีบุญ เจรญิ ในกาลทุกเม่ือทง้ั กลางวนั และกลางคืน ชนเหล่านนั้ ต้ังอยู่ในธรรม สมบูรณด์ ้วยศีล เปน็ ผู้ไปสวรรค์.

๓๒ วัดจากแดง สัจกริ ยิ า “การกระทาสจั กริ ยิ า” พระโพธิสัตว์ถือกําเนิดเป็นพระยาปลา อาศัย สจั ธรรม ทเ่ี ปน็ ผ้แู สวงหาคุณใหญ่แต่กาลก่อน ประพฤติส่ังสมมา ระลึกตนตั้งแต่ รู้ความที่วิญญูชน มี พระพุทธเจ้าในอดีต และคุณธรรมทีพ่ ระพุทธเจา้ เหล่าน้นั รู้แลว้ จงึ สามารถระลกึ ถงึ กายกรรม วจกี รรมทม่ี ีในตน แมม้ จี ิตคิดท่ีจะกนิ สัตว์ อื่น เราก็ไม่เคยฆา่ เพอ่ื ตน ยงั มีความรูส้ กึ ว่า ไมป่ รารถนาจะเบียดเบยี นด้วยซ้าํ จึงถอื เอาสภาพธรรมอนั เป็นสัจจะซ่ึงมีอยู่ แลว้ ประกอบคําพดู ท่ีเป็นความจริงทาํ สัจจกิรยิ า อันมใี จประกอบด้วยมหากรณุ า คิดทีจ่ ะปลดเปล้อื งหมู่ญาติทง้ั หลาย คํานึงถึงทุกข์โศกที่มใี นเบ้ืองหน้า “กระทําสจั กิริยา” อนั เปน็ ประโยชนอ์ ย่างย่งิ ท่ี มสี ภาพไม่วปิ รติ พร้อมดว้ ยความเพียรอย่างสงู สุด ยงั ประโยชน์สุขใหส้ าํ เรจ็ แก่หมู่ ญาติ โดยวธิ ีบําเพ็ญญาตตั ถจรยิ า ดว้ ยการกลา่ วคําสตั ยแ์ ละอาศัยกาํ ลังอานภุ าพ ความสัตย์อย่างประเสริฐ กส็ ามารถยังฝนห่าใหญ่ให้เกดิ ขึ้นได้ ชบุ เลีย้ งชวี ิตให้ พ้นจากทุกข์กายทุกขใ์ จ ดงั มเี รือ่ งใน “จรยิ าปิฎก” มีมาในพระสูตรว่า มัจฉราชจริยา “คาถาขอฝน” คําแปลคาถา; (วา่ ดว้ ยจรยิ าวัตรของพระยาปลา) อกี เรอ่ื งหนง่ึ ในกาลเมอื่ เราเปน็ พระยา ปลาอย่ใู นสระใหญ่ น้าในสระแหง้ ขอด เพราะ แสงพระอาทิตย์ในฤดรู ้อน ท่นี ัน้ กา แรง้ นกกระสา นกตะกรุมและเหย่ยี ว มาคอยจับ

สู้ภยั แลง้ วิถพี ทุ ธ ๓๓ ปลากินทั้งกลางวนั กลางคนื ในกาลนัน้ เรา คดิ อยา่ งน้ีวา่ เรากับหมญู่ าตถิ ูกบีบค้ัน จะพงึ เปลอ้ื งหมู่ญาตใิ ห้พ้นจากทุกข์ ได้ด้วยอบุ าย อะไรหนอ เราคดิ แล้ว ได้เห็นความสัตย์อัน เปน็ อรรถเปน็ ธรรมวา่ เป็นที่พ่ึงของหมู่ญาติ ได้ เราตัง้ อยู่ในความสัตยแ์ ล้ว จะเปลือ้ ง ความพนิ าศใหญข่ องหมู่ญาตินนั้ ได้ เรานกึ ถงึ ธรรมของสัตบุรุษ คดิ ถงึ การไม่เบียดเบียน สัตว์ อันตั้งอย่ใู นเที่ยงแทใ้ นโลก ซง่ึ เป็น ประโยชน์อยา่ งยิ่งได้ แล้วไดก้ ระทาสจั กริ ยิ า วา่ ตง้ั แต่เราระลกึ ตนได้ ตง้ั แต่เรารู้ความมา จนถึงบัดน้ี เราไม่รสู้ กึ วา่ แกล้งเบยี ดเบียน สัตว์แมต้ ัวหนึ่งให้ได้รบั ความลาบากเลย ดว้ ย สัจวาจาน้ี ขอเมฆจงยังฝนให้ตกห่าใหญ่ แนะ่ เมฆ ท่านจงเปลง่ สายฟา้ คารามให้ฝนตก จงทาขุมทรพั ยข์ องกาให้พนิ าศไป ท่านจงยงั กาให้เดือดร้อนดว้ ยความโศก จงปลดเปล้ือง ฝูงปลาจากความโศก พร้อมกับเมื่อเราทา สจั กริ ิยา เมฆส่งเสียงสนั่นครั่นคร้นื ยังฝน ให้ตกครเู่ ดยี ว กเ็ ตม็ เปี่ยมท้ังทดี่ อนและที่ลมุ่ คร้ันเราทาความเพยี รอยา่ งสูงสุด อันเป็นความ สตั ยอ์ ยา่ งประเสริฐเห็นปานนี้ แล้วอาศยั กาลัง

๓๔ วดั จากแดง อานุภาพความสัตย์ จงึ ยังฝนใหต้ กห่าใหญ่ ผเู้ สมอด้วยความสตั ยข์ องเราไมม่ ี น้เี ป็นสจั - บารมขี องเรา ฉะนแ้ี ล. มัจฉราชจริยาอรรถกถา กาลเมอื่ เราเป็นพระยาปลาอยู่ในสระใหญ่ ในอดีตกาล เราเกดิ ในกําเนดิ ปลายินดีอยู่ดว้ ยสงั คหวัตถุ ๔ ประการของปลาทงั้ หลาย ในสระใหญแ่ หง่ หน่ึงซ่งึ ปกคลุมดว้ ยเถาวลั ย์ อันเป็นสระโบกขรณใี กล้พระเชตวนั กรุงสาวตั ถี แคว้น โกศล ครั้งนั้นเราเปน็ พระยาปลาแวดลอ้ มดว้ ยหมปู่ ลาอาศัยอยู่ ณ ทน่ี นั้ ในแควน้ นัน้ ขณะนนั้ “ฝนไม่ตกเลย” ข้าวกล้าเหีย่ วแห้ง นาํ้ ในบงึ เปน็ ตน้ แห้งขอด ปลาและเต่าพากนั เขา้ ไปอาศัยเปือกตม แมใ้ นสระน้นั ปลาทั้งหลาย กเ็ ข้าไปยงั เปือกตมซ่อนอยใู่ นทีน่ ัน้ ๆ กาและนกนอกน้นั เขา้ ไปแอบอยูบ่ นหลัง เปอื กตมน้นั ๆ เอาจะงอยเช่นกับปลายหอกส้ัน จิกกนิ ปลา ซ่งึ เขา้ ไปนอนซ่อนอยู่ ทีเ่ ปอื กตมท้ังๆ ทย่ี งั ดิน้ อยู่. ลําดบั นั้น พระมหาสัตวเ์ ห็นความพินาศของปลาท้งั หลาย เกดิ สงสารคดิ อยู่วา่ นอกจากเราไมม่ ีผ้อู นื่ ที่สามารถจะปลดเปลอ้ื งญาติท้งั หลายของเรา ให้พ้น จากทกุ ขน์ ไ้ี ด้ เราจะปลดเปล้ืองปลาเหลา่ นนั้ จากทุกข์นี้ได้ดว้ ยอุบายอย่างไรหนอ จึงตดั สนิ ใจวา่ ถ้ากระไรเราพงึ ทาํ สัจกริ ิยาอาศยั สจั ธรรมท่ีท่านผู้แสวงหาคุณใหญ่ แตก่ อ่ นประพฤตสิ ะสมมาและที่มีอยู่ในตัวเรา ยงั ฝนใหต้ กและสละชีวติ เปน็ ทาน เพอื่ หม่ญู าตขิ องเรา ด้วยเหตุนนั้ เปน็ อนั เราได้ยงั มหาอปุ การะให้เกิดแกส่ ัตว์โลก ผ้อู าศยั อาหารเล้ยี งชีพ แม้ทั้งสน้ิ ดังทพ่ี ระผมู้ ีพระภาคเจ้าตรัสไวว้ ่า :-

สู้ภัยแล้งวิถพี ุทธ ๓๕ “ในกาลนน้ั เราคิดอยา่ งนว้ี ่า เรากับหมู่ ญาติถกู บีบคน้ั จะพึงเปล้ืองหมญู่ าตใิ ห้พน้ จากทุกข์ไดด้ ว้ ยอบุ ายอะไรหนอ เราคิดแลว้ ได้เหน็ ความสัตย์ อันเป็นอรรถเปน็ ธรรมวา่ เป็นทพี่ ึง่ ของหมู่ญาติได้ เราตง้ั อยใู่ นความ สตั ย์แล้ว จะปลดเปลื้องความพินาศใหญ่ของ หมญู่ าตินั้นได้ เรานกึ ถึงธรรมของสตั บุรุษ คิดถงึ การไม่เบยี ดเบยี นสัตว์อนั ย่งั ยนื เที่ยงแท้ ในโลก ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยง่ิ ได้ แลว้ ได้ ทาสัจกิรยิ า” บัดนี้ พระมหาสัตว์ซึ่งมีร่างเช่นกับสปี ุมแกน่ ไม้อัญชนั ประสงคจ์ ะรบั เอา ธรรมนั้นซึง่ มีอยู่ในตนแลว้ ประกอบคาํ พดู ทเี่ ป็นสตั ย์ จึงคยุ้ เปอื กตมสดี ําออกเปน็ สองขา้ ง ลมื ตาทงั้ สองแหงนมองอากาศ กล่าวคาถาวา่ :- ต้ังแตเ่ ราระลกึ ตนได้ ตั้งแต่เราร้คู วามมา จนถึงบัดน้ี เราไม่รสู้ กึ วา่ แกลง้ เบียดเบียน สัตว์แมต้ ัวหนึ่งใหไ้ ดร้ ับลาบากเลย ดว้ ย สจั วาจานี้ ขอเมฆจงยงั ฝนให้ตกห่าใหญ่. เรากล่าวถึงการไมเ่ บียดเบียนสัตว์ไร ๆ อนั ใด หากการไม่เบียดเบยี นนน้ั เปน็ ความจริง ไมว่ ปิ ริต ด้วยสจั วาจานี้ ขอเมฆจงยังฝนใหต้ กเถิด. พระยาปลากล่าววา่ “ขอเมฆจงปลดเปล้ืองหมญู่ าตขิ องเราจากทุกข์เถิด แลว้ เรียกปชั ชนุ นเทวราชดุจบังคับคนรบั ใชข้ องตนอกี วา่ :-

๓๖ วัดจากแดง “แน่ะปชั ชุนนะ ท่านจงเปลง่ สายฟา้ คาราม ให้ฝนตก จงทาขุมทรัพยข์ องกาให้พินาศไป ท่านจงยังกาใหเ้ ดือดรอ้ น ดว้ ยความโศก จงปลดเปล้ืองฝงู ปลาจากความโศก.” ความว่า ท่านจงปลดเปลอ้ื งสตั วท์ ง้ั ปวง คือ เราและญาติของเราให้พน้ จากความโศก คือ ความตายเถดิ จริงอยูป่ ลาทั้งหลายมีความเศรา้ โศกคือความ ตายอยา่ งใหญห่ ลวงว่า พวกเราจะถึงความเปน็ อาหารของศตั รเู พราะ “ไม่มีนา้ ” ความเศร้าโศกเกดิ ข้ึน ด้วยความกรุณาของพระมหาสัตว์ ผู้เปีย่ มด้วยความกรุณา เพราะอาศัยความพินาศย่อยยับของปลาเหลา่ นน้ั พระโพธสิ ัตว์เรียก “ ปชั ชุนนะเทพบุตร ” เหมือนบงั คบั คนรับใช้ของตน “ให้ฝนหา่ ใหญต่ ก” ทวั่ แควน้ โกศลด้วยเดชแหง่ “ศลี ของพระมหาสตั ว์” ปัณฑุ- กมั พลศลิ าอาสน์ของทา้ วสกั กะ แสดงอาการรอ้ นตลอดกาล ดว้ ยสัจกริ ยิ าน่ันแล ท้าวสักกะทรงรําพึงวา่ อะไรหนอ ? คร้นั ทรงทราบเหตนุ ้ันแล้วจึงรบั ส่งั ให้เรยี ก “วสั สวลาหกเทวราช” มา มีเทวบัญชาว่า “น่ีแนะ่ เจ้าพระยาปลาผู้ เป็นมหาบุรษุ ปรารถนาใหฝ้ นตก เพราะความเศร้าโศก คือ ความตายของญาติ ทง้ั หลาย เจ้าจงทาํ เมฆใหเ้ ป็นกลุม่ เดยี วกนั แล้วให้ฝนตกท่ัวแคว้นโกศลเถดิ . วสั สวลาหกเทวราช รบั เทวบญั ชาแลว้ นงุ่ วลาหกก้อนหน่ึง ห่มกอ้ นหนงึ่ ขับเพลงขับสายฝนบ่ายหนา้ มุ่งไปยังโลกทางด้านทิศตะวันออก ทางดา้ นทศิ ตะวัน ออก ก้อนเมฆก้อนหนงึ่ ประมาณเทา่ บรเิ วณลาน ได้ตั้งขึน้ ร้อยช้นั พนั ชัน้ คําราม เปล่งสายฟูาไหลลงมา เหมือนหมอ้ นา้ํ ที่ควาํ่ หลั่งนํ้าใหญท่ ว่ มแควน้ โกศลท้ังสิ้น “ฝนตกอยไู่ ม่ขาดสาย” ครเู่ ดยี วเท่าน้ัน สระใหญ่นนั้ ก็เต็ม

สู้ภยั แลง้ วิถพี ุทธ ๓๗ ปลาทัง้ หลายก็พ้นจากมรณภยั กาเป็นตน้ ได้หมดท่ีพงึ่ ไมเ่ ฉพาะปลาอย่างเดยี ว เท่าน้ัน แม้มนุษย์ท้งั หลายก็ยังขา้ วกล้าหลายอย่างใหง้ อกงาม แม้สัตว์ ๒ เทา้ เป็นต้นท้ังหมดทอ่ี าศยั ฝนเลย้ี งชวี ิต กพ็ น้ จากทกุ ข์กายและทุกขใ์ จ ดงั ที่พระผู้มี พระภาคเจ้าตรสั ไวว้ ่า :- “พร้อมกับเมอ่ื เราทาสัจกริ ิยา เมฆสง่ เสียงสนน่ั คร่ันครืน้ ยังฝนให้ตกครู่เดยี วก็เตม็ เปยี่ มทั้งที่ดอนและทีล่ มุ่ . ครั้นเราทาความ เพียรอย่างสงู สุด อันเปน็ ความสตั ย์อยา่ ง ประเสรฐิ เห็นปานน้แี ลว้ . อาศัยกาลงั อานุภาพ ความสัตย์จึงยังฝนใหต้ กหา่ ใหญ่. ผู้เสมอด้วย ความสัตยข์ องเราไมม่ ี นเ้ี ป็นสจั บารมีของเรา” ไมช่ กั ชา้ ฝนก็ตกโดยขณะท่ีทาํ สัจวาจาน้นั เอง ทาํ ความเพียรอย่างสงู สดุ คอื “เมอื่ ฝนไมต่ กเราก็ไมเ่ กียจครา้ นมัวคดิ ว่า ควรทําอะไร ?” แลว้ ทําความเพยี ร อย่างสงู สดุ ยังประโยชนส์ ขุ ใหส้ ําเรจ็ แก่หมู่สัตวใ์ หญ่ โดยวิธีบําเพญ็ ญาตัตถจริยา คอื อาศยั กําลงั อานภุ าพความสัตย์ของเรา ยังฝนหา่ ใหญ่ใหต้ กในกาลน้ัน น้ีเปน็ สจั จบารมขี องเรา พระมหาสัตวม์ ใี จเร่งเรา้ ดว้ ยมหากรุณาอย่างนี้ จงึ ได้ปลดเปลื้องมหาชน จากมรณทกุ ข์ ด้วยยงั ฝนห่าใหญใ่ ห้ตกทัว่ แวน่ แคว้น เมื่อส้นิ อายุขัยก็ไดไ้ ปตาม ยถากรรม ปชั ชุนนเทวราช ในครงั้ นั้น ได้เป็นพระอานนทเถระในคร้ังน้ี, ฝูงปลา คอื พุทธบรษิ ัท, พระยาปลา คือ พระโลกนาถ.

๓๘ วัดจากแดง อันตรายของฝนแล้ง ภาวะโลกรอ้ นเกดิ ขน้ึ เป็นผลใหเ้ มฆกระจาย โอโซนถูกทําลาย อากาศ เปน็ มลพิษ ส่งิ เหล่านเี้ กดิ จากความกําเริบของธาตตุ า่ งๆ ท่อี ยใู่ นบรรยากาศโดย ธรรมชาติ และความประมาทของมนษุ ยเ์ ป็นผู้กระทําหรือเป็นเรอ่ื งประมาทของ เทพท่ีมีจิตคดิ แม้ในฤดูกาลฝนก็ไมต่ ก แตถ่ า้ มีจติ คดิ ว่า พวกเราจะเริงฤดีของ ตนฝนยอ่ มตก แมม้ ิใช่ฤดูกาล เป็นต้น ดงั จะไดน้ าํ เรื่องจากพระสูตร ทีม่ าใน “อังคตุ ตรนกิ าย ปญั จกนิบาต” วสั สสตู ร (วา่ ดว้ ยอนั ตรายของฝน ๕ ประการ) ดกู ่อนภิกษทุ ั้งหลาย อนั ตรายของฝน (ฝนแล้ง) ซง่ึ นักพยากรณ์ร้ไู มไ่ ด้ สายตาของนักพยากรณ์หยั่งไม่ถึง ๕ ประการน้ี, ๕ ประการเปน็ ไฉน ? คอื เตโชธาตุเบอื้ งบน อากาศกาเรบิ เมฆทเี่ กิดขึ้นย่อมกระจายไปเพราะ เตโชธาตกุ ําเริบนนั้ นเ้ี ปน็ อันตรายของฝนข้อที่ ๑ ซง่ึ นกั พยากรณ์ร้ไู ม่ได้ สายตา ของนักพยากรณห์ ยงั่ ไม่ถึง วาโยธาตเุ บ้อื งบน อากาศกาเริบ เมฆท่เี กิดขน้ึ ย่อมกระจายไป เพราะ วาโยธาตกุ าํ เรบิ น้ัน น้ีเป็น อนั ตรายของฝนข้อท่ี ๒ ซง่ึ นกั พยากรณ์ร้ไู ม่ได้ สาย ตาของนักพยากรณ์หย่ังไมถ่ ึง อสรุ ินทราหูเอาฝา่ มอื รับนา้ แลว้ ทิ้งลงในมหาสมุทร นี้เป็น อนั ตราย ของฝนขอ้ ท่ี ๓ ซง่ึ นักพยากรณ์รไู้ ม่ได้ สายตาของนกั พยากรณ์หยัง่ ไม่ถึง

สู้ภัยแล้งวิถพี ทุ ธ ๓๙ วัสสวลาหกเทวบตุ รประมาทเสยี น้เี ปน็ อันตรายของฝนข้อที่ ๔ ซง่ึ นกั พยากรณร์ ้ไู ม่ได้ สายตาของนกั พยากรณ์หยง่ั ไมถ่ งึ พวกมนุษยไ์ ม่ตั้งอย่ใู นธรรม นีเ้ ปน็ อันตรายของฝนข้อท่ี ๕ ซง่ึ นกั พยากรณร์ ไู้ ม่ได้ สายตาของนักพยากรณห์ ยง่ั ไม่ถึง ดกู อ่ นภิกษุทัง้ หลาย อันตรายของฝน ๕ ประการน้ีแล ซ่งึ นกั พยากรณร์ ู้ ไมไ่ ด้ สายตาของนกั พยากรณ์หยัง่ ไม่ถึง. ข้อปฏิบตั ิ ไมใ่ หฝ้ นแลง้ “การปลกู ต้นไม้และทาบญุ น้า” บญุ ดว้ ยการปลกู ต้นไมเ้ ป็นการคืนปาุ สู่ ธรรมชาติ, ทาํ บุญนํ้าเปน็ เหตุใหต้ นได้รับผลวบิ ากท่ีมนี ํา้ ใช้ นีเ้ ป็นการปฏิบัตเิ พื่อ ไมใ่ ห“้ อันตรายของฝน” ทีเ่ ป็นไปตามข้อที่ ๑ ข้อท่ี ๒ เกดิ “สวดพระปรติ ร” อานุภาพของพระปริตรมอี ํานาจมาก ยังชว่ ยขจัดภัย ตา่ งๆ ให้สงบลง เทวดาทัง้ หลายเม่อื ได้ฟงั เสยี งสวดสาธยาย ทุกครั้งไปเม่ือผ้สู วด อุทิศบุญใหเ้ ทวดา กจ็ ะไดเ้ ป็นทรี่ ักที่ช่ืนชอบ ของเหล่าเทวดาทั้งหลาย น้ีเป็น การปฏิบตั เิ พ่ือไม่ให้ “อนั ตรายของฝน” ทีเ่ ปน็ ไปตามข้อที่ ๓ ขอ้ ที่ ๔ เกดิ มนุษยร์ ักษาศีล และ ต้ังอยู่ในคณุ ธรรม, การลกั ลอบตัดไม้ทําลายปุา ปลอ่ ยมลพิษของเสีย ทาํ ลายบรรยากาศ เปน็ ตน้ เพราะอาศยั มีศีลธรรมและ จริยธรรม อันตรายของฝนข้อท่ี ๕ จะไม่เกดิ เพราะความมีสมดลุ ของธรรมชาติ.

๔๐ วัดจากแดง รตั นปรติ ร รัตนสูตร พรรณนาคุณอันประเสริฐของพระรัตนตรยั และกลา่ วประกาศ ความยิง่ ใหญ่ และคณุ ลักษณะของพระอริยะเจา้ มีพระโสดาบนั เปน็ อาทิ “รัตนสูตร หรือ รัตนปรติ ร” พระองค์ตรัสพระสูตรนเี้ มื่อกรุงเวสาลีถูก ภัยทง้ั หลายเกดิ ข้ึน มี “ทุพภกิ ขภยั ” คือ ขา้ วยากหมากแพง ฝนแลง้ ขา้ วกล้า ตาย คนจนชาวเมืองมากมายต้องลม้ ตาย ผคู้ นกล็ ้มตายเพิ่มมากขน้ึ ทงั้ ๆ เพราะ ความอดอยาก ต้องนําศพไปทง้ิ นอกเมือง, “อมนสุ สภัย” คอื อมนุษย์ทําร้ายผคู้ น ทาํ ให้ผู้คนเจ็บปุวยล้มตายมคี วาม ปฏิกูลของซากศพ พวกอมนุษยไ์ ด้กลิน่ คนตายกพ็ ากันเข้ามาในนครเพิ่มข้ึน รบ กวนมนษุ ยท์ ี่ยังมชี วี ิตอยู่ แต่นน้ั ผ้คู นก็ตายเพมิ่ มากขนึ้ , “โรคภัย” คือ เกดิ โรคระบาด เพราะความมีส่งิ ปฏิกลู เกดิ ข้ึน จนเกดิ อหิวาตกโรคและโรคภัยเบยี ดเบียน ชาวกรงุ เวสาลกี ็พากนั เขา้ เฝูาพระราชากราบ ทลู ว่า “ขอเดชะ เกิดภยั ๓ อย่าง ในพระนครนแ้ี ล้วพระเจ้าขา้ แต่ก่อนนนี้ บั ได้ ๗ ชั่วราชสกลุ ไม่เคยเกดิ ภัยเชน่ นเี้ ลย ชรอยพระองค์ไม่ทรงต้งั อยใู่ นธรรม บัดน้ีภยั น้นั จึงเกิดขึน้ วธิ ีแก้ไขของพระราชา พระราชาทรงประชุมเจา้ ลิจฉวที ุกพระองค์ ในทว่ี า่ ราชการตรัสวา่ “ขอได้ โปรดพิจารณาตรวจดคู วามไม่ทรงธรรมของพวกเรามีอยู่หรือ เจา้ ลิจฉวเี หล่านน้ั พจิ ารณาทบทวนถึงประเพณีทุกอย่าง ก็ไม่ทรงเห็นขอ้ บกพรอ่ งอะไรๆ แตน่ ั้นก็ไม่

สู้ภยั แลง้ วิถพี ุทธ ๔๑ เห็นโทษ จึงพากันปรึกษาว่า “อยา่ งไรหนอ ภัยของเราจะระงับไปได้ ? เจ้าลิจฉวีบางพวก กลา่ วว่า ภยั ถึงความสงบด้วยการพลีกรรม ดว้ ยการ บวงสรวง ดว้ ยการทาํ มงคล เม่ือร่วมกันทําพีธีกรรม ก็ไมอ่ าจปูองกันได้ พวกอื่นตรสั วา่ ครทู ้ัง ๖ มีอานภุ าพมาก พอเมือ่ ครูท้งั ๖ มาในท่ีนี้ภยั พึงสงบไป บางพวกตรัสว่า ได้ยนิ ว่าพระพุทธเจา้ เสด็จอบุ ัติข้ึนแล้วในโลก พระผมู้ ี พระภาคเจ้านน้ั ทรงแสดงธรรมเพือ่ ประโยชน์เกื้อกูลแกป่ วงสัตว์ ทรงมฤี ทธิ์ มาก มีอานภุ าพมาก พอพระองคย์ ่างพระบาทลงเทา่ นน้ั ภัยทุกอย่างก็จะระงบั ไป สดุ ท้ายบรรดาเจ้าลจิ ฉวี ทรงอาราธนาเชิญเสด็จพระสมั มาสมั พุทธเจ้ามา โปรด เม่อื เจ้าลจิ ฉวจี ากนครเวสาลีได้เข้าเฝูา และกราบทูลความเปน็ ไปแล้วพระ ผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงพิจารณาว่า เมือ่ ตรสั “รตั นสตู ร” ในกรุงเวสาลีการอารักขา จกั แผ่ไปแสนโกฏิจักรวาล จบสตู รน้ีสัตว์ ๘๔,๐๐๐ จกั ตรสั รูธ้ รรม แล้วจงึ ทรงรบั นมิ นต์, ฝาุ ยพระเจ้าพิมพสิ ารผอู้ ปุ ัฏฐากพระศาสดา ได้ทรงทราบสาสน์ ของเจา้ ลจิ ฉวที ่ีสง่ มา ขอให้พระองค์ทรงสง่ พระศาสดาไปยงั พระนครของขา้ พระองค์ พระเจ้าพิมพิสาร ทรงสดบั ข่าวจึงรบั ส่ังใหป้ าุ วร้อง แล้วเข้าเฝูาพระ ศาสดาทูลถาม, พระศาสดาตรัสว่า “ขอถวายพระพร มหาบพิตร” จากน้ันจงึ โปรดใหท้ าํ พ้ืนท่ี ๕ โยชน์ ทางเสด็จพระพทุ ธดําเนนิ ระยะทางจากกรงุ ราชคฤห์ถึง แมน่ ้าํ คงคาใหร้ าบเรยี บ พระผู้มีพระภาคเจ้าพร้อมด้วยภกิ ษุ ๕๐๐ รูปแวดลอ้ มแล้วเสดจ็ ไป พระ ราชาทรงเอาดอกไม้ ๕ สีโปรยหนทาง ๕ โยชน์สงู เท่าเขา่ ใหย้ กธงผา้ หมอ้ นํ้า

๔๒ วัดจากแดง และตน้ กล้วยเป็นต้น ใหก้ นั้ เศวตฉัตร ๒ ชนั้ สําหรบั พระผู้มีพระภาคเจา้ ฉตั รช้นั เดียวสาํ หรับพระภิกษุแต่ละรูป ทรงทําการบูชาด้วยดอกไม้ และของหอมพร้อม ด้วยราชบรพิ ารของพระองค์ ใหพ้ ระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยใู่ นวหิ ารหลงั หนง่ึ ๆ ถวายมหาทาน ทรงนาํ เสด็จส่ฝู ่งั แม่นาํ้ คงคา ๕ วัน ณ ท่ีน้ี ทรงประดบั เรือด้วย เคร่ืองประดับทุกอย่าง แล้วทรงสง่ สาส์นไปถวายเจา้ ลิจฉวีกรุงเวสาลวี า่ พระผู้มี พระภาคเจา้ เสด็จมาแล้ว ขอเจ้าลิจฉวที กุ พระองค์ ตกแตง่ หนทางถวายการรับ เสดจ็ พระผ้มู ีพระภาคเจา้ เถิด... ต่อน้นั พวกเจ้าลิจฉวีก็ทําการบูชาเปน็ ๒ เท่าที่พระเจา้ พิมพสิ ารทรงทาํ การบชู า ออกไปรับเสด็จพระผมู้ ีพระภาคเจา้ ถึงในนา้ํ ประมาณแคพ่ ระศอ. ขณะ น้นั เอง ครนู่ ้นั เอง มหาเมฆมียอดคลุมด้วยความมดื มีแสงฟาู แลบเคลื่อนตัวไป ส่งเสียงคํารามครืนครนั่ ก็ดังขึ้นทั้งส่ีทศิ . ลาํ ดับน้นั พอพระผมู้ ีพระภาคเจา้ ยกพระ บาทแรกวางลงริมฝ่ังแม่น้ําคงคา ฝนโบกขรพรรษก็โปรยเมด็ ลงมา ชนเหล่าใด ต้องการจะเปียก ชนเหล่านนั้ เท่านนั้ ยอ่ มเปียก ผ้ไู ม่ต้องการเปียกก็ไม่เปียก ใน ท่ีทกุ แห่งน้าํ ย่อมไหลไปเพยี งแค่เข่า แคข่ า แคส่ ะเอว แค่คอ ซากศพทงั้ ปวงถกู นํา้ พัดส่งลงสู่แม่นํา้ คงคา พน้ื ดนิ กส็ ะอาดสะอา้ น. พวกเจ้าลจิ ฉวีใหพ้ ระผมู้ ีพระเจ้าประทับอยู่ทุกๆ หนึง่ โยชนใ์ นระหวา่ งทาง ถวายมหาทาน ทรงทําการบูชาเป็นทวคี ณู ๓ วัน จึงนําเสดจ็ สกู่ รุงเวสาลี เม่ือ พระผู้มีพระภาคเจ้าเสดจ็ ถึงกรงุ เวสาลี ทา้ วสักกะจอมทวยเทพ อันหมู่เทพห้อม ลอ้ มกเ็ สดจ็ มาถงึ พระผมู้ พี ระภาคเจ้าประทับยนื ใกลป้ ระตพู ระนครทรง เรยี ก ทา่ นพระอานนทท์ ีม่ าส่งวา่ ดูกอ่ นอานนท์ เธอจงเรียนรตั นสตู รนี้ ถือเคร่ือง ประกอบพลีกรรม เท่ียวเดินไประหว่างปราการ ๓ ชน้ั แหง่ กรงุ เวสาลีกับพวก เจา้ ลิจฉวีราชกุมาร ทาํ พระปริตร แล้วได้ตรัสรตั นสตู ร

สู้ภยั แลง้ วิถีพุทธ ๔๓ ดังนัน้ ในวนั ท่ีพระผูม้ ีพระภาคเจา้ เสดจ็ ถึงกรงุ เวสาลนี นั่ เอง รตั นสตู รน้ีท่ี พระผมู้ ีพระภาคเจ้าตรสั ใกล้ประตกู รุงเวสาลี เพอ่ื กาํ จดั ภัย ทา่ นพระอานนท์ก็ เรียนเอา จงึ เอาบาตรของพระผู้มีพระภาคเจ้าตักนาํ้ มา เดินประพรมไปท่วั พระ นคร พอพระเถระกล่าววา่ “ยงฺกญิ จฺ ิ” เท่าน้ัน พวกอมนุษย์ท่อี าศัยกองขยะและ ทีฝ่ าเรือน เป็นต้น ซงึ่ ยงั ไมห่ นีไปในตอนแรกก็พากันหนีไปทางประตูทงั้ ๔ ประตู ทั้งหลายก็ไม่มีทว่ี ่าง อมนษุ ยบ์ างพวกเมอื่ ไม่ได้ทีว่ า่ งท่ีประตูท้ังหลาย ก็ทลายกาํ แพงเมืองหนีไป พอพวกอมนษุ ย์พากนั ไปแล้ว ท่เี นอื้ ตัวของพวกมนุษยท์ ้ังหลาย โรคกส็ งบไป พวกมนุษย์ท้ังหลายก็พากนั ออกมาบูชาพระเถระ ดว้ ยดอกไมข้ อง หอม เป็นต้นทุกอย่าง มหาชนเอาของหอมทุกอย่างฉาบทาสณั ฐาคาร ทปี่ ระชุม ทา่ มกลางพระนคร ทําเพดานขจิตดว้ ยรตั นะ ประดับดว้ ยเครื่องประดับทั้งปวง ปูพทุ ธอาสน์ลง ณ ทนี่ นั้ แล้วนําเสดจ็ พระผ้มู ีพระภาคเจา้ มา. พระผูม้ ีพระภาคเจ้า เสดจ็ เขา้ สูส่ ัณฐาคาร ประทับนง่ั เหนอื อาสนะที่เขา ปไู ว้ ท้งั ภกิ ษุสงฆ์ คณะเจา้ และมนุษย์ทง้ั หลายก็นง่ั ณ อาสนะท่ีเหมาะที่ควร แมท้ ้าวสกั กะ จอมทวยเทพก็ประทบั นงั่ ใกลก้ บั เทวบริษทั ในเทวโลกท้งั สอง ทัง้ เทวดาอื่นๆ ดว้ ย แม้ทา่ นพระอานนทเถระกเ็ ท่ียวเดินไปท่ัวกรุงเวสาลี ทําอารกั ขา แล้ว ก็มาพร้อมกับชาวกรุงเวสาลี นง่ั ณ ท่ีควรส่วนหนง่ึ ณทีน่ ั้น พระผ้มู ีพระ ภาคเจ้าก็ได้ตรัสรัตนสูตรนั้นนั่นแหละแก่ทุกคนแล.

๔๔ วดั จากแดง รตั นสูตร ๑. ภตู เหล่าใด ประชมุ กันแลว้ ในประเทศน้ีก็ดี หรือภุมมเทวดาเหลา่ ใด ประชมุ กนั แลว้ ในอากาศก็ดี ขอหม่ภู ตู ทัง้ ปวงจงเป็นผู้มีใจดี และจงฟังพุทธ ภาษติ โดยเคารพ ๒. ดูกรภูตทง้ั ปวง เพราะเหตุน้ันแล ท่านท้ังหลายจงตั้งใจฟงั ขอจง แผ่เมตตาจติ ในหมมู่ นุษย์ มนษุ ย์เหลา่ ใด นาํ พลีกรรมไป ทง้ั กลางวนั ท้ังกลางคนื เพราะเหตนุ ้ันแล ทา่ นทั้งหลายจงเปน็ ผไู้ ม่ประมาทรักษามนษุ ยเ์ หลา่ นัน้ ๓. ทรัพยเ์ ครือ่ งปลม้ื ใจอย่างใด อยา่ งหนึ่งในโลกน้หี รือในโลกอ่นื หรอื รตั นะใดอันประณตี ในสวรรค์ ทรพั ย์และรตั นะน้นั เสมอด้วยพระตถาคตไม่มเี ลย พทุ ธรัตนะแมน้ ้ีเป็นรตั นะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดจี งมแี กส่ ัตว์ เหล่าน้ี ๔. พระศากยมนุ มี ีพระหฤทัยดํารงมนั่ ไดบ้ รรลุธรรมอันใดเป็นที่ส้นิ กิเลส เป็นทส่ี าํ รอกกิเลส เป็นอมฤตธรรมอนั ประณตี ธรรมชาตอิ ะไร ๆ เสมอ ด้วยพระธรรมนั้นย่อมไม่มี ธรรมรตั นะแม้น้ีเปน็ รัตนะอันประณตี ด้วยสจั จวาจา น้ี ขอความสวัสดีจงมแี ก่สัตวเ์ หล่านี้ ๕. พระพุทธเจา้ ผ้ปู ระเสรฐิ สดุ ทรงสรรเสรญิ แลว้ ซึ่งสมาธิใด วา่ เปน็ ธรรมอันสะอาด บัณฑติ ทั้งหลายกลา่ วซ่งึ สมาธิใด วา่ ใหผ้ ลในลําดับสมาธอิ ื่นเสมอ ดว้ ยสมาธนิ ัน้ ยอ่ มไม่มี ธรรมรัตนะแมน้ เี้ ป็นรัตนะอนั ประณตี ดว้ ยสจั จวาจานี้ขอ ความสวสั ดจี งมแี กส่ ตั วเ์ หล่าน้ี

สู้ภยั แลง้ วิถีพทุ ธ ๔๕ ๖. บุคคล ๘ จาํ พวก ๔ คู่ อนั สัตบรุ ษุ ท้ังหลายสรรเสริญแลว้ บคุ คล เหลา่ น้นั ควรแกท่ ักษิณาทาน เปน็ สาวกของพระตถาคต ทานทบี่ ุคคลถวายแลว้ ในท่านเหล่านน้ั ยอ่ มมีผลมาก สงั ฆรตั นะแม้น้ีเป็นรัตนะอันประณตี ดว้ ยสจั จ วาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่าน้ี ๗. พระอริยบคุ คลเหลา่ ใด ในศาสนาของพระโคดม ประกอบดแี ลว้ [ด้วยกายประโยคะและวจปี ระโยคะอนั บรสิ ทุ ธ์]ิ มีใจม่ันคง เปน็ ผไู้ ม่มีความห่วง ใย [ในกายและชวี ิต] พระอริยบคุ คลเหลา่ นน้ั บรรลุอรหตั ผลท่คี วรบรรลุหยัง่ ลง สู่อมตนิพพาน ไดซ้ งึ่ ความดับกิเลสโดยเปลา่ เสวยผลอยู่ สงั ฆรตั นะแม้น้เี ปน็ รัตนะอันประณตี ดว้ ยสจั จวาจานี้ ขอความสวสั ดจี งมแี ก่สัตวเ์ หลา่ นี้ ๘. เสาเขือ่ นทฝ่ี ังลงดนิ ไม่หวนั่ ไหวเพราะลมทัง้ ส่ที ิศ ฉนั ใด ผใู้ ด พจิ ารณาเหน็ อริยสจั ทงั้ หลาย เราเรยี กผู้น้ันว่าเปน็ สตั บุรษุ ผูไ้ ม่หว่นั ไหวเพราะ โลกธรรมมีอุปมา ฉนั น้ัน สงั ฆรัตนะน้เี ป็นรตั นะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ ขอ ความสวัสดจี งมแี ก่สตั ว์เหล่านี้ ๙. พระอรยิ บุคคล [พระโสดาบนั ] เหล่าใด ทําใหแ้ จง้ ซ่ึงอรยิ สัจทัง้ หลาย อันพระศาสดาทรงแสดงดแี ล้ว ดว้ ยปัญญาอนั ลึกซงึ้ พระอรยิ บคุ คล [พระโสดาบนั ] เหลา่ นน้ั ยงั เป็นผปู้ ระมาทอย่างแรงกล้าอยกู่ ็จรงิ ถึงกระน้ันทา่ น ย่อมไม่ยึดถือเอาภพท่ี ๘ สังฆรัตนะแม้นเี้ ปน็ รัตนะอันประณีต ดว้ ยสัจจวาจาน้ี ขอความสวสั ดจี งมแี กส่ ตั วเ์ หล่านี้ ๑๐. สักกายทฏิ ฐิและวจิ ิกจิ ฉา หรือแม้สลี ัพพตปรามาส อันใดอนั หน่ึง ยงั มีอยู่ ธรรมเหล่านนั้ อันพระอรยิ บุคคล [พระโสดาบัน] น้ันละไดแ้ ลว้ พร้อมด้วย ความถงึ พร้อมแหง่ การเหน็ นิพพานทเี ดียว

๔๖ วัดจากแดง ๑๑. อนึง่ พระอรยิ บุคคล [พระโสดาบนั ] เป็นผพู้ น้ แลว้ จากอบายทัง้ ๔ ทั้งไม่ควรเพ่ือจะทําอภฐิ านทัง้ ๖[คอื อนันตรยิ กรรม ๕ และการเขา้ รีด] สงั ฆรตั นะ แมน้ ้ีเปน็ รัตนะอัประณีต ด้วยสัจจวาจาน้ี ขอความสวัสดจี งมีแกส่ ตั วเ์ หลา่ น้ี ๑๒. พระอริยบคุ คล [พระโสดาบนั ] นนั้ ยังทาํ บาปกรรมดว้ ยกายด้วย วาจาหรอื ดว้ ยใจก็จริง ถงึ กระน้นั ท่านไม่ควรเพื่อจะปกปิดบาปกรรมอันนน้ั ความ ท่บี คุ คลผมู้ ีธรรมเคร่อื งถึงนิพพาน อันตนเหน็ แล้ว เป็นผ้ไู ม่ควรเพอ่ื ปกปิดบาป กรรมน้นั พระผู้มีพระภาคตรสั แลว้ สงั ฆรตั นะแมน้ ีเ้ ปน็ รัตนะอนั ประณีต ด้วย สจั จวาจานี้ ขอความสวสั ดจี งมแี ก่สัตว์เหลา่ นี้ ๑๓. พ่มุ ไม้ในปุามยี อดอันบานแลว้ ในเดือนตน้ ในคิมหันตฤดู ฉันใด พระผู้มีพระภาคได้ทรงแสดงธรรมอนั ประเสริฐยงิ่ เป็นเครื่องใหถ้ ึงนิพพาน เพื่อ ประโยชนเ์ กื้อกลู มีอุปมา ฉันน้ัน พุทธรัตนะแมน้ ี้เป็นรตั นะอนั ประณีต ด้วยสัจจ วาจาน้ี ขอความสวสั ดจี งมีแกส่ ตั วเ์ หล่านี้ ๑๔. พระพุทธเจา้ ผ้ปู ระเสรฐิ ทรงทราบธรรมอนั ประเสริฐ ทรงประ ทานธรรมอันประเสริฐ ทรงนํามาซงึ่ ธรรมอันประเสริฐ ไมม่ ีผยู้ งิ่ ไปกวา่ ได้ทรง แสดงธรรมอันประเสริฐ พทุ ธรัตนะแม้น้เี ปน็ รัตนะอันประณตี ด้วยสัจจวาจาน้ี ขอความสวัสดีจงมีแกส่ ัตวเ์ หล่าน้ี ๑๕. พระอรยิ บุคคลเหล่าใด ผ้มู ีจิตอันหน่ายแลว้ ในภพต่อไป มกี รรม เก่าส้นิ แล้ว ไมม่ กี รรมใหมเ่ ครือ่ งสมภพ พระอริยบคุ คลเหล่านน้ั มพี ืชอันส้ินแลว้ มีความพอใจไมง่ อกงามแลว้ เปน็ นกั ปราชญ์ย่อมนิพพาน เหมอื นประทีปอนั ดบั ไป ฉะน้นั สงั ฆรตั นะแมน้ เ้ี ป็นรตั นะอนั ประณตี ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดี จงมแี กส่ ัตว์เหล่านี้

สู้ภยั แล้งวิถพี ทุ ธ ๔๗ ๑๖. ภูตเหล่าใดประชุมกนั แล้วในประเทศน้ีก็ดี หรอื ภุมมเทวดาเหลา่ ใดประชมุ กันแลว้ ในอากาศกด็ ี เราทั้งหลายจงนมสั การพระพุทธเจ้าผูไ้ ปแลว้ อย่าง นน้ั ผู้อันเทวดาและมนุษย์ทง้ั หลายบูชาแลว้ ขอความสวสั ดีจงมีแกส่ ัตว์เหล่านี้ ๑๗. ภตู เหล่าใดประชมุ กนั แล้วในประเทศกด็ ี หรือภุมมเทวดาเหลา่ ใด ประชมุ กนั แล้วในอากาศก็ดี เราทง้ั หลายจงนมสั การพระธรรม อนั ไปแลว้ อยา่ ง นั้น อันเทวดาและมนุษยบ์ ชู าแล้ว ขอความสวัสดีจงมแี ก่สตั ว์เหลา่ นี้ ๑๘. ภูตเหล่าใดประชมุ กันแลว้ ในประเทศน้ีก็ดี หรอื ภุมมเทวดาเหลา่ ใดประชุมกนั แลว้ ในอากาศก็ดี เราทงั้ หลายจงนมัสการพระสงฆ์ ผไู้ ปแลว้ อย่างน้ัน ผู้อนั เทวดาและมนุษยบ์ ูชาแล้ว ขอความสวัสดีจงมีแกส่ ัตว์เหลา่ นี้ **********


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook