๙๙ มีเรื่องในอดีตเกี่ยวกับพระราชาองคหน่ึงในศรีลังกา วนั หน่ึงขณะทพ่ี ระองคก ำลังถอยทพั อยางรวดเรว็ เหลือ เสบียงอยูเพยี งเล็กนอ ย ระหวา งเสดจ็ ผา นไปในปาทรงพบ ภิกษอุ งคหนงึ่ กำลังบณิ ฑบาตอยู ภกิ ษนุ ัน้ เปน พระอรหนั ต และพระราชาไดถวายอาหารสวนของพระองคแกภิกษุน้ัน แมจะเหลืออาหารสำหรับพระองคและผูติดตามนอยเต็มที ตอมาเมื่อพระราชาทรงระลึกถึงทานบารมีที่พระองคไดทรง กระทำมาตลอดพระชนมช ีพ ทานครัง้ น้ันเปน ส่งิ ที่พระองค ภมู ิใจมากท่สี ดุ แมจะไมป ระณีตและมคี า เทา คร้งั อื่นๆ อีกเรื่องหนึ่งเกี่ยวกับการใหทานเกิดขึ้นในสำนัก มหาสสี าสนยิตตา ในกรงุ รา งกงุ หลายปม าแลวเม่อื ศนู ย ปฏบิ ัติธรรมยังพัฒนาไปอยางชา ๆ ผูปฏิบตั บิ างคนไมมีเงนิ คา อาหารและทพี่ กั ผคู นยงั ยากจนอยู แตผูปฏบิ ตั เิ หลานี้ มีความกา วหนา ในการปฏบิ ตั ิ ซึ่งจะเปน ทน่ี า เสยี ดายหาก ปลอ ยใหกลบั ไปเพยี งเพราะขาดทนุ ทรัพย ดังนั้น คณะ วิปสสนาจารยจึงรวบรวมปจจัยเพ่ือสนับสนุนผูปฏิบัติท่ีมี ศักยภาพดี แลว ผูปฏบิ ตั ิเหลานน้ั กม็ ีความกาวหนามาก เมื่อ ผูป ฏิบตั ปิ ระสบความสำเร็จบรรลจุ ดุ มุงหมาย พระวิปสสนา จารยต างเปย มดว ยความปต แิ ละยินดี
๑๐๐ ๖. ระลกึ ถงึ คณุ ของเทวดา วธิ ีทห่ี กในการเจรญิ ปต ิกค็ ือ คดิ ถึงคณุ สมบตั ิของ เทวดาและพรหมซ่ึงอยใู นเทวโลก เมือ่ ทา นเหลานี้เกิดเปน มนุษย ทานเชอ่ื มน่ั ในกฎแหง กรรมอยางสูง ทานเชือ่ วาการ ทำดจี ะไดด ี และการทำชว่ั จะกอ ใหเกิดผลราย ดังนัน้ ทา น เหลาน้ันจึงพยายามทำดีและหลีกเล่ียงความประพฤติท่ีไม เหมาะสม บางทา นกเ็ จริญกรรมฐาน กศุ ลวิบากจงึ นำทา น เหลา นไี้ ปเกิดในภพภมู ทิ ส่ี ูงขน้ึ มชี ีวิตที่รื่นรมยม ากกวา ใน โลกมนษุ ย ทา นท่บี รรลุฌานจิตขั้นสงู ไปเกิดเปน พรหมซึ่งมี ชีวิตยาวนานเปน กัปกลั ป ดังนน้ั เมื่อเราคิดถงึ คณุ ธรรมของ เหลา เทวดา เรากส็ ามารถพจิ ารณาศรัทธา ทาน วริ ยิ ะ และ ความพากเพยี รทท่ี า นไดส ง่ั สมมาตัง้ แตเปน มนษุ ย เปนการ งา ยทจ่ี ะนำทา นมาเปรยี บเทยี บกบั ตัวเรา หากพบวาเรามี คณุ ธรรมใกลเคยี งกบั เทวดาและพรหมเหลาน้ี เราก็จะเปย ม ดวยความพึงพอใจและความยินดี
๑๐๑ ๗. ระลกึ ถงึ คุณพระนพิ พาน วธิ ที เ่ี จด็ ในการเจรญิ ปต กิ ค็ อื การใครค รวญถงึ ความ สงบระงบั จากกเิ ลส โดยนยั ปรมตั ถห มายถงึ การระลกึ ถงึ พระ นิพพาน หากผปู ฏิบัติบรรลถุ งึ ความสงบในระดับนี้แลว เมอื่ ระลึกถงึ ความสงบน้ันก็จะสามารถเจริญปตไิ ดม าก หากผูปฏิบัติยังไมประจักษพระนิพพานดวยตนเอง ก็สามารถระลึกถึงความเยือกเย็นของสมาธิที่หย่ังลึกหรือ ฌานจติ ความสขุ จากสมาธนิ เี้ หนอื กวา ความสุขใดๆ ในโลก มีบุคคลท่ีมีสมาธิเขมแข็งมากเสียจนกิเลสไมสามารถลวงล้ำ ไดแมในขณะที่มิไดเ ขา สมาธิ ดังนน้ั ช่ัวอายุ ๖๐-๗๐ ป ทา น เหลานน้ั ก็สามารถดำรงชีวติ ทส่ี งบสุขได และการคดิ ถงึ ความ สงบเยน็ และความแจม ใส กส็ ามารถทำใหเกดิ ปต อิ ยางวเิ ศษ หากผูปฏิบตั ิยงั มิไดฌาน ใหระลกึ ถงึ สภาวจิตที่ บรสิ ทุ ธ์แิ ละสะอาดในเวลาทปี่ ฏบิ ตั ิ ในเวลาทจี่ ติ ปราศจาก กิเลสไปชัว่ ขณะ จติ จะเกดิ ความสงบเยน็ โดยธรรมชาติ หาก เปรยี บเทียบกับความสุขทางโลกแลว ผูปฏิบตั ิจะพบวาความ สขุ ทางโลกนนั้ หยาบและแฝงดวยความรุม รอ น การเปรยี บ เทยี บเชนนกี้ ็อาจทำใหป ต เิ จรญิ ข้ึน
๑๐๒ ๘.-๙. เวน จากคนพาล คบบณั ฑิต วธิ ที แ่ี ปดและเกา ในการเจรญิ ปต มิ คี วามเชอ่ื มโยงกนั กลาวคือ ใหเวนจากคนพาลที่เต็มไปดวยโทสะและไรเมตตา และใหแสวงหาบณั ฑิตผมู ีเมตตา ในโลกนม้ี ีคนทถี่ ูกครอบงำ ดว ยโทสะมากเสยี จนไมอ าจแยกแยะกศุ ลออกจากอกศุ ลกรรม พวกเขาไมรูจักประโยชนหรือความสมควร การใหความ เคารพตอ ผทู คี่ วรเคารพ หรือในการศึกษาธรรมะหรอื เจริญ กรรมฐาน พวกเขามีอารมณดุราย ถูกครอบงำไดงายดวย ความโกรธและความเกลียดชัง ชีวิตของพวกเขาเต็มไปดวย กิจกรรมทหี่ ยาบคายและนารังเกยี จ การอยูรวมกับคนเหลา นยี้ อมไมชวยใหปตเิ กดิ ขึ้น คนอีกพวกหนึ่งมีความเห็นอกเห็นใจและเอื้ออาทร ตอผูอ่ืน ความอบอุนและความรักในจิตใจจะแสดงออกมา ทางกายและวาจา กลั ยาณชนเชน น้รี กั ษาความสมั พันธอ ยาง ชาญฉลาด ออนหวาน การคบหาบุคคลเชนนี้มีประโยชน การอยูทามกลางกล่ินไอของความรัก ความอบอุนยอม ทำใหปต เิ กดิ ขน้ึ
๑๐๓ ๑๐. พิจารณาพระสูตรท่ีทำใหเกิดความเลือ่ มใส วธิ ที ่สี บิ ในการเจริญปตกิ ค็ อื การพจิ ารณาพระสตู ร พระสูตรบางบทกลาวถึงพระพุทธคุณ หากผูปฏิบัติเปยม ดวยศรัทธา การคิดทบทวนพระสูตรบทใดบทหนึ่งจะทำให เกิดความเบิกบานใจและความสุข สติปฏฐานสูตรเปนพระ สูตรหน่ึงที่กลาวถึงประโยชนที่บุคคลพึงไดรับจากการปฏิบัติ ธรรม พระสตู รอน่ื ๆ กลาวถงึ เรอ่ื งราวของพระสงฆและเหลา อริยบุคคลที่ทำใหเกิดแรงบันดาลใจ การทบทวนพระสูตร เหลา นี้จะสรา งกำลังใจซง่ึ นำไปสูปติและความสุข ๑๑. การนอ มใจ ประการสุดทาย หากผูปฏิบัตินอมใจไปสูการเจริญ ปติอยางมั่นคงและสม่ำเสมอยอมประสบผลดังใจหวัง พึง เขาใจวาปติจะเกิดข้ึนเม่ือจิตสะอาดปราศจากกิเลส ดังน้ัน การจะเขา ถงึ ปต ิ ผปู ฏบิ ตั ติ อ งทมุ เทความเพยี รในการเจรญิ สติ อยา งตอ เนอ่ื ง เพอื่ ใหส มาธเิ กดิ ขนึ้ และปอ งกนั กเิ ลสใหอ ยหู า ง ผูปฏิบัติตองมีความมุงมั่นท่ีจะรักษาสติใหมั่นคงทุกวินาทีไม วาในอริ ยิ าบถนงั่ หรอื นอน เดิน ยืน หรืออิริยาบถอน่ื ๆ
ความสงบ ๕โพชฌงคอ งคทีห่ า จติ ใจของคนสว นใหญ มกั ตกอยใู นความฟงุ ซา นรำคาญใจอยูเสมอ จิตวงิ่ ไปโนน มานี่ สะบัดไหวเหมือนผืนธง ทา มกลางลมแรง กระจดั กระจาย เหมือนขเี้ ถาท่ีถูกกอ นหินขวา งใส ปราศจากความเยอื กเย็น สงบเงยี บ ความฟุง ซาน กระสบั กระสายนอี้ าจเรยี กไดวา เปน คลนื่ ของจิต ทีค่ ลายกบั ผิวนำ้ ยามถูกพดั จิตจะกระเพอ่ื มเปน คลืน่ อยางชัดเจนเมื่อเกดิ ความฟงุ ซา น
๑๐๕ ถึงแมว า จติ ท่ีฟุงซา นนีม้ สี มาธิ แตก เ็ ปน สมาธิทเี่ จอื ดว ย ความกระสบั กระสา ยเหมอื นกบั คนปว ยทพ่ี ลอยทำใหส มาชกิ ในครอบครัวตื่นเตนและกระวนกระวายใจ ดังนั้น ความ ฟงุ ซา นนม้ี ผี ลตอ สภาพจติ อน่ื ๆ ในเวลาเดยี วกนั ความสขุ ทแ่ี ท จรงิ จงึ ไมอาจเกดิ ขน้ึ ไดหากจิตมีความกระสบั กระสา ย เม่ือจิตใจฟุงซานก็ยากท่ีจะควบคุมความประพฤติ บุคคลเริ่มปฏิบัติตนตามอำเภอใจและความปรารถนาโดยไม คำนงึ วาพฤตกิ รรมน้นั เปน กศุ ลหรืออกศุ ล และดว ยความไม ยัง้ คิดน้ี บุคคลอาจแสดงกริ ิยาหรือกลาววาจาทไ่ี มเ หมาะสม อนั จะนำมาซง่ึ ความเสยี ใจ การตำหนติ นเอง หรอื แมแ ตค วาม ฟุงซา นรำคาญใจ “ฉนั ผดิ ไปแลว ฉนั ไมนาพดู อยางนน้ั เลย ถา เพยี งแตฉ นั คดิ กอ นจะทำ” เมอื่ จติ ใจถกู ครอบงำดว ยความ เสียใจและเศราสลด ความสุขก็ไมอาจเกิดขนึ้ ได ธรรมที่เปนองคแหงการตรัสรูคือความสงบน้ีจะเกิด ขนึ้ เมอ่ื ไมม คี วามกระวนกระวายและความเสยี ใจ ภาษาบาลี เรยี กวา ปส สัทธิ หมายถึงความสงบเย็นซง่ึ จะเกิดขน้ึ ไดเ ม่ือ ความปน ปวนหรือความเคลอ่ื นไหวของจิตสงบลง ในโลกปจจุบัน ผูคนมีความทุกขเปนอยางย่ิง คน เปนจำนวนมากหันไปพ่ึงยาเสพยติด ยาระงับประสาท ยา นอนหลับ เพื่อสงบจติ ใจและใหม ีความสขุ บอ ยคร้ังท่เี ดก็ วยั
๑๐๖ รนุ ลองเสพยาเพอื่ ชว ยใหผ า นบางชว งของชวี ติ เมอื่ จติ ใจสบั สน เปนเร่ืองนาเสียดายที่บางคร้ังเยาวชนเหลาน้ีโชคไมดีท่ีเสพ ยาจนตดิ ความสงบสันติท่ีเกิดจากการเจริญกรรมฐานเหนือ กวา ฤทธขิ์ องยาเสพยต ดิ หรอื สารอนื่ ใดทงั้ สน้ิ แนน อนวา จดุ มงุ หมายของกรรมฐานน้ันอยูเหนือความสงบ แตสันติสุขก็เปน ผลจากการดำเนนิ ตามทางสายตรงทถี่ ูกตองของพระธรรม สงบกายและจิต ลกั ษณะของปส สทั ธกิ ค็ อื ทำใหก ายและจติ สงบ ทำให ความฟงุ ซานสงบระงับ การสกดั ความรอ นออกจากจติ หนาท่ีของปสสัทธิคือการสกัดกั้นหรือระงับความ เรารอนในจิตซึ่งเกิดความกระวนกระวาย สับสนหรือเสียใจ เมื่อจิตถูกสภาวะเหลานี้รุกราน จิตจะเรารอนราวกับถูกเผา ปสสทั ธิจะทำหนา ทดี่ บั ไฟนแี้ ลวนำความเย็นสบายมาแทนท่ี
๑๐๗ ความสงบ อาการปรากฏของปส สทั ธคิ อื ความสงบของกายและ จติ เปน สภาวะทน่ี ำมาซง่ึ ความสงบ เยอื กเยน็ ทงั้ ทางรา งกาย และจิตใจ ผปู ฏบิ ตั ทิ กุ คนคงคนุ เคยกบั ความฟงุ ซา นเปน อยา งดี มแี รงผลกั ดนั ใหเ คลอ่ื นไหว ใหล กุ ขน้ึ เพอ่ื ทำอะไรบางอยา งอยู ตลอดเวลา รา งกายกระตกุ จิตแลนไปที่โนนท่นี ี่ เมอื่ อาการ เหลา นดี้ ับไป จติ จะอยูในภาวะทน่ี ง่ิ สงบ ไมก ระเพ่อื ม การ เคล่ือนไหวจะนุมนวลราบร่ืนและสงางาม ผูปฏิบัติสามารถ นั่งอยเู ฉยๆ โดยแทบไมเคลือ่ นไหวเลย โพชฌงค องค นี้ จะ เกิด โดย อัตโนมัติ ตอ จาก ปติ เนื่องจากปติท่ีลึกซึ้งมักสัมพันธกับความสงบท่ีลุมลึก เม่ือ ปติแผซานไปท่ัวรางกาย ผูปฏิบัติก็จะไมปรารถนาท่ีจะ เคลอ่ื นไหวหรือแมแ ตรบกวนความสงบน่ิงของจติ พระพทุ ธองคท รงใชเ วลา ๔๙ วนั หลงั การตรสั รเู สวย วมิ ุติสุข ทรงรกั ษาแตละอริ ยิ าบถไว ๗ วัน ในสถานท่ี ๗ แหง โดยการเขา และออกจากผลญาณ ธรรมปตทิ ี่แผซ า นทวั่ พระวรกายอยูตลอดเวลาทำใหพระพุทธองคประทับนิ่งอยูไม
๑๐๘ ขยบั เขยอ้ื นหรอื แมป ด เปลอื กตาใหส นทิ พระเนตรหรอ่ี ยเู พยี ง คร่ึงเดียวตลอดเวลา ผูปฏิบัติเองก็อาจเคยพยายามหลับตา แลว ดวงตากลบั เบกิ โพลงขนึ้ มาโดยไมไ ดต ง้ั ใจเมอื่ เกดิ ปต อิ ยา ง แรงกลา ในท่ีสุดก็อาจตัดสินใจปฏิบัติตอไปท้ังที่ดวงตาเปด อยู หากผูปฏิบัติประสบอาการเชนนี้ก็อาจพอมองเห็นไดวา ปติของพระพุทธองคและพระธรรมปตจิ ะย่ิงใหญเพยี งใด โยนโิ สมนสกิ าร พระพุทธองคตรัสวา ความสงบ เกดิ จากโยนโิ สมนสิการ กลาวคือ ความแยบคายในการกำหนดจิตท่ี ทำใหเกิดความคิดและสภาวจิตท่ี เปนกุศล และโดยเฉพาะอยางย่ิง สภาวจิตที่เปนสมาธิอันนำมาซ่ึง ความสงบและปต ิ
๑๐๙ วิธีพฒั นาความสงบ ๗ วิธี นอกจากนีพ้ ระอรรถกถาจารย ยงั ไดแ สดงวิธีอกี ๗ วิธี ในการสรา งความสงบ ๑. อาหารทเ่ี หมาะสม วิธีท่ีหนึ่งไดแก การรับประทานอาหารท่ีเหมาะสม และมีคุณคาทางโภชนาการท่ีจำเปนและมีความพอดี คุณคา ทางอาหารเปนสิ่งจำเปนตอรางกาย ไมจำเปนตองประณีต แตเพียงพอตอความตองการของรางกาย หากรางกายไดรับ อาหารไมพอเพียง สุขภาพก็จะออนแอเปนอุปสรรคตอการ ปฏบิ ตั ิ นอกจากน้ี อาหารตอ งมคี วามเหมาะสม คอื ไมย อ ยยาก หากผปู ฏบิ ตั ไิ มช อบอาหารกจ็ ะไมส ามารถปฏบิ ตั ไิ ด เพราะจะ ทำใหไ มส บาย และโหยหาอาหารทอี่ ยากจะรบั ประทาน เราอาจศกึ ษาบทเรยี นทด่ี ใี นสมยั พทุ ธกาล มพี อ คา ท่ี มง่ั คง่ั และอบุ าสกิ าทา นหนงึ่ คอยดแู ลอปุ ฏ ฐากคณะสงฆอ ยใู น บริเวณท่ีพระพุทธองคประทับสอนอยู ซ่ึงหากสองทานนี้ได ชว ยวางแผนและจดั การใหง านตา งๆ กม็ กั จะแกป ญ หาความ
๑๑๐ ขลุกขลกั ไดเ สมอ เคล็ดลบั ของทา นท้ังสองคือการอาศัยหลัก ความจำเปนและความเหมาะสม โดยการดูแลความตอ งการ ของภกิ ษุ ภกิ ษณุ ี หรอื โยคที ไ่ี ดร บั นมิ นตม าฉนั ภตั ตาหารอยา ง ถ่ีถวนอยูเสมอ นอกจากน้ีทานท้ังสองยังพยายามสืบหาวา สิ่งใดเหมาะสมกวา บางทีผูปฏิบัติอาจพอจำไดวาเมื่อไดรับ ประทานอาหารทช่ี อบและเหมาะสมแลว จติ ใจสงบมสี มาธดิ ี ๒. อากาศท่เี หมาะสม วิธีที่สองในการทำใหเกิดความสงบ คือการเลือก ปฏบิ ตั ิกรรมฐานในสถานท่ีท่มี อี ากาศดี เพ่ือความสบายและ สะดวกตอการปฏิบัติธรรม บคุ คลมีความพอใจเฉพาะตน แต ไมวาผูปฏิบัติจะชอบอะไรก็สามารถปรับตัวกับอากาศท่ีแตก ตา งออกไปไดเ สมอโดยการใชพ ดั ลม เครอื่ งทำความรอ น หรอื สวมใสเ ส้อื ผาทหี่ นา บาง ตามสภาพอากาศ ๓. อริ ยิ าบถที่เหมาะสม วิธีที่สามในการสรางความสงบก็คือ การเลือก อิริยาบถที่เหมาะสม สวนใหญเราน่ังและเดินจงกรมในการ
๑๑๑ ปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน อิริยาบถทั้งสองน้ีเปนอิริยาบถท่ี ดีที่สุดสำหรับผูเริ่มปฏิบัติ แตความสบายมิไดหมายความถึง ความหรหู รา การนอนหรือการน่งั พิงเกาอี้อาจพิจารณาไดวา เปน อริ ยิ าบถทสี่ บายเกนิ ไป นอกเสยี จากวา ผปู ฏบิ ตั ปิ ว ยจนตอ ง น่ังพิง ในการนง่ั โดยไมพ งิ หรือการเดินจงกรม ผปู ฏบิ ตั ิตอ งใช ความเพียรเพ่ือไมใหลมลง ในอิริยาบถท่ีสบายเกินไป ความ เพยี รนี้ขาดหายไปและทำใหโ งก งวง งายขนึ้ จิตมีการผอน คลายและสบาย และในไมชาผปู ฏิบัตกิ จ็ ะสงเสยี งกรนออกมา ๔. วางใจใหเปนกลาง วิธีที่ส่ีในการสรางความสงบก็คือ การรักษาความ เพียรใหเปนกลาง ผูปฏิบัติไมควรท่ีจะกระตือรือรนจนเกิน ไปหรือทำตวั เหลวไหล หากความเพียรมากเกนิ ไปผูปฏบิ ัตกิ ็ จะกำหนดอารมณพลาดและเหนื่อยลา แตหากเกียจครานก็ จะไมก า วหนา คนท่กี ระตือรือรนมากเกินไปเปรยี บไดกบั คน ท่ีอยากปนใหถึงยอดเขาโดยเร็ว เขารีบปนแตเนื่องจากภูเขา สูงชนั ทำใหต องหยุดบอยๆ ในทสี่ ดุ ทำใหล าชากวาจะถงึ ยอด เขา ในทางกลับกันคนท่ีเกียจครา นก็เปรียบเหมือนหอยทาก ทคี่ อยๆ คลานไปอยางชา ๆ
๑๑๒ ๕ – ๖. เวน จากคนพาล สมาคมกับบคุ คลผูมีเมตตา การเวน จากคนเจาโทสะ หยาบคาย หรือโหดรา ยก็ สามารถชวยสรางความสงบได เห็นไดชัดวาหากมิตรสหาย ของผปู ฏบิ ตั มิ อี ารมณรอ น มกั โกรธและดา ทออยูต ลอดเวลา ผปู ฏบิ ตั กิ ค็ งจะหาความสงบไดย าก และกม็ ตี วั อยา งมากมาย ที่ความสงบของจิตผูปฏิบัติจะดีขึ้นหากคบหากับบุคคลที่มี ความสงบ สงดั ทัง้ ทางรางกายและจิตใจ ๗. นอมใจไปสคู วามสงบ ประการสดุ ทาย หากผูป ฏิบตั นิ อมใจไปสูการปฏิบัติ เนอื งๆ ต้ังความปรารถนาเพอื่ บรรลถุ งึ ความสงบและสนั ติก็ ยอ มไดร บั ความสงบสมปรารถนา หากผปู ฏบิ ตั ริ ะมดั ระวงั ใน การเจรญิ สติ ปสสทั ธสิ ัมโพชฌงคกจ็ ะเกดิ ขนึ้ โดยธรรมชาติ
สมาธิ ๖โพชฌงคอ งคท่หี ก สมาธเิ ปนองคประกอบของจติ ท่เี พง ลงสูอ ารมณทีก่ ำหนดแลวหย่ังลง แทงตลอดและเคลา อยกู ับอารมณนั้น องคธ รรมนเ้ี รียกวา สมาธิ ในภาษาบาลี
๑๑๔ ความสงบ ลักษณะของสมาธิก็คือ ความไมฟุงซาน สงบนิ่ง มนั่ คง ในท่นี ีห้ มายความวาจิตจดจออยูกบั อารมณทีก่ ำหนด จมสอู ารมณน น้ั หยุดนิง่ และสงบอยูตรงนนั้ สมาธิที่หยดุ นิง่ และสมาธิทเ่ี คลอ่ื นไหว สมาธิมี ๒ ประเภท หน่งึ เปนสมาธทิ ี่ตอเนื่อง ซึ่ง เกิดจากการกำหนดจิตอยูกับอารมณๆ เดียว น้ีเปนสมาธิ ท่ีไดจากการเจริญสมถกรรมฐาน โดยใหจิตกำหนดน่ิงอยูที่ อารมณๆ เดยี ว โดยไมใสใจกบั อารมณอ่นื ใดท้งั ส้นิ ผูป ฏิบัติ ตามแนวทางนจ้ี ะสามารถประสบกบั สมาธทิ ต่ี อ เนอ่ื งไดเ มอื่ จติ หย่งั ลงสูฌ านจิต อยางไรก็ตาม การปฏิบตั วิ ปิ ส สนามงุ ไปท่กี ารเจรญิ ปญ ญาและกระทำญาณปญ ญาใหส มบรู ณ ญาณในทน่ี ห้ี มาย ถงึ การรเู หน็ โดยประสบการณต รง เชน ความแตกตา งระหวา ง
๑๑๕ รูปและนาม ความสมั พนั ธร ะหวา งรปู และนามโดยความเปน เหตแุ ละปจ จยั การประจกั ษค วามไมเ ทยี่ ง ความเปน ทกุ ข และ ความไมใ ชต วั ไมใ ชต นของสภาวธรรมทางกายและจติ เหลา นี้ เปน ญาณขั้นตน และยงั มขี ้ันอ่ืนๆ ทเ่ี ราจะตอ งผานไปกอ นที่ จะบรรลุถึงมรรคญาณและผลญาณซึ่งมีนิพพานหรือการดับ ทกุ ขท ้ังปวงเปน อารมณ ในการปฏบิ ตั วิ ปิ ส สนากรรมฐาน การระลกึ รอู ารมณ เปน สิง่ สำคัญมาก อารมณว ปิ สสนากค็ อื สภาวธรรมทางกาย และจิต เปนส่ิงท่ีสามารถรับรูไดโดยไมตองใชกระบวนการ ความคิด หรืออีกนัยหน่ึงในการปฏิบัติวิปสสนา เรารับรู อารมณต า งๆ โดยมเี ปา หมายทจ่ี ะไดม ญี าณหยงั่ รลู กั ษณะของ สิ่งเหลา นี้ ขณิกสมาธิ สมาธปิ ระเภททส่ี อง เปนส่งิ ทีส่ ำคญั ทสี่ ดุ ในการเจรญิ วปิ ส สนา อารมณว ปิ ส สนานนั้ เกดิ ขน้ึ และดบั ไปตลอดเวลา และขณิกสมาธกิ ็เกดิ ขนึ้ ในแตละวินาทีพรอ มๆ กบั อารมณ แมวาจะมีอายสุ นั้ ๆ แตสมาธแิ บบน้ีสามารถเกดิ ดบั ตอเน่ืองกันไปโดยไมข าดสายได ในกรณีเชน น้ขี ณกิ สมาธิ จะมีคุณสมบัติเหมือนสมาธิแบบตอเนื่องและมีอำนาจในการ ทำใหจิตและกิเลสสงบน่ิงอยู
๑๑๖ สำรวมจติ สมมตุ วิ า ผปู ฏบิ ตั กิ ำลงั กำหนดอาการพองยบุ ของทอ ง ขณะท่ีพยายามรกั ษาสติอยกู ับอาการพองยุบนน้ั ผปู ฏบิ ัตอิ ยู กบั ปจ จบุ นั ขณะ การระลกึ รพู ฒั นาขน้ึ มาดว ยพลงั แหง สตแิ ละ ความเพยี รในแตล ะขณะซง่ึ มลี กั ษณะเหมอื นความเพยี รทหี่ ยง่ั ลกึ ผปู ฏบิ ตั จิ ะรสู กึ ราวกบั วา จติ จดจอ อยกู บั อารมณท ก่ี ำหนด ผูปฏิบัตจิ ะตกหรอื หลนลงสูอารมณ ไมเ พยี งแตจติ จะมคี วาม แหลมคมและแทงตลอดอารมณและสงบน่ิงอยูกับอารมณ ในขณะนั้นเทาน้ัน แตสมาธิเจตสิกยังมีพลังในการทำให เจตสกิ อนื่ ๆ เกิดขึ้นพรอ มกนั ในวินาทที ่ีจติ ระลึกรนู ั้น สมาธิ เปน เจตสิกที่ทำหนาทีร่ วมจติ เขาดว ยกนั สมาธจิ ะควบคุมให เจตสกิ รวมกลมุ กนั ไมก ระจดั กระจายออกไป ดงั นน้ั จติ จงึ จบั นง่ิ อยูกบั อารมณ สันติสุขและความสงบ สภาวะนอ้ี ปุ มาเหมอื นความสมั พนั ธร ะหวา งพอ แมก บั ลกู พอ แมท ด่ี ยี อ มอยากเหน็ ลกู เตบิ โตขน้ึ เปน คนทม่ี มี ารยาทดี
๑๑๗ และมคี ณุ ธรรม เพอื่ บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคน ี้ พอ แมค วบคมุ ลกู ใน ระดับหนึ่ง ลกู ๆ ยังไมมีประสบการณ พวกเขาขาดปญญา และดลุ ยพนิ ิจ ดงั น้นั พอ แมจงึ ดูแลมิใหลกู ๆ ออกไปคบหา กบั เดก็ ๆ ท่ีซกุ ซน เจตสกิ เปรยี บเสมือนเด็กๆ ในกรณนี ้ี เชน เดยี วกบั เดก็ ทไ่ี มม พี อ แมค อยชนี้ ำ อาจทำอะไรใหต นเองและผู อืน่ เดอื ดรอน ในทำนองเดยี วกัน จติ ท่ปี ราศจากการควบคมุ กจ็ ะตอ งทกุ ขท รมานจากอทิ ธพิ ลทไ่ี มด ี กเิ ลสยอ มคอยจบั จอ ง รอดูอยูใกลๆ หากไมสำรวมระวังจิตก็อาจออกไปคลุกเคลา กบั ความเหลวไหล เชน ตณั หา ความไมพ อใจ ความโกรธหรอื ความหลง แลวจติ ก็จะกระสับกระสายและไมสำรวม ซง่ึ จะ แสดงออกทางกายและวาจา จติ กเ็ หมอื นกบั เดก็ ๆ อาจเกลยี ด ชงั วนิ ยั ในชว งแรก แตเ มอ่ื เวลาผา นไปจติ กจ็ ะเรมิ่ ออ นนอ มและ พัฒนาขึ้น มีความสงบและหางไกลจากการโจมตีของกิเลส จิตที่มีสมาธิจะมีความสงบเงียบมากข้ึน มีสันติสุขมากขึ้นๆ ความรูส ึกสงบสันตินเี้ ปน อาการปรากฏของสมาธิ เด็กๆ ก็เชนกัน อาจอบรมใหเชื่อฟงหากไดรับการ ดูแลท่ีเหมาะสม พวกเขาอาจด้ือดึงบางในตอนแรกแตใน ท่ีสดุ เม่ือเตบิ โตขึน้ พวกเขาก็จะเริ่มเขาใจวา เหตใุ ดจงึ ควรเวน จากคนพาลและอาจเร่ิมรูสึกขอบคุณการควบคุมดูแลของพอ แม บางทีพวกเขาอาจเห็นวาเพ่ือนๆ ท่ีขาดการดูแลอยาง
๑๑๘ ระมดั ระวงั จากพอ แมไ ดเ ตบิ โตขนึ้ เปน อาชญากร และเมอ่ื พวก เขามอี ายมุ ากพอทจี่ ะกา วสโู ลกภายนอก พวกเขากจ็ ะสามารถ แยกแยะวาควรคบใครเปนเพ่ือนและหลีกเลี่ยงใคร และเมื่อ อายมุ ากขน้ึ และเปน ผใู หญม ากขนึ้ การอบรมนจ้ี ะชว ยใหพ วก เขาพัฒนาและเจรญิ ขน้ึ สมาธิชวยใหปญญาเกดิ ขนึ้ สมาธิเปนสาเหตุหลักที่ทำใหปญญาเกิดขึ้น ขอเท็จ จรงิ นเี้ ปน สิ่งสำคญั มาก เมื่อจิตสงบน่ิงกม็ ีชองใหป ญญาเกิด ขึ้น สามารถเขาใจสภาวะทแ่ี ทจ ริงของรปู และนาม บางครงั้ อาจมีญาณหย่ังรูความแตกตางระหวางรูปและนาม ตลอด จนความสัมพันธโดยความเปนเหตุ-ผล ระหวางรูปและ นาม ปญ ญานจ้ี ะเจริญขนึ้ ตามลำดบั จนสามารถหยง่ั รูความ เปนจริงในระดับที่ลึกซ้ึงมากข้ึน ผูปฏิบัติจะสามารถเห็นได อยา งชดั เจนในลักษณะของอนิจจงั ทกุ ขงั และอนตั ตา และ ในท่ีสุดถึงญาณที่หย่ังรูการดับทุกข เม่ือการตรัสรูเกิดข้ึน บุคคลผูน้ันจะไมอาจกลับกลายเปนบุคคลท่ีเลวรายไดอีกไม วาสถานการณจะเปน อยางไร
๑๑๙ พอ แมกับลูกๆ พอ แมห รอื ผทู กี่ ำลงั จะเปน พอ แมพ งึ ตง้ั ใจฟง ใหด ี พอ แมจ ำเปน ตอ งมสี มาธใิ นการควบคมุ จติ ของตนกอ นแลว เจรญิ ญาณข้นั ตางๆ ใหสมบรู ณ พอ แมท ่มี ีคณุ สมบตั เิ ชน น้ี จงึ จะ สามารถอบรมเล้ียงดูลกู ไดดี เพราะพอ แมเหลานี้จะสามารถ แยกแยะกุศลและอกุศลกรรมออกจากกัน สามารถส่ังสอน ลกู ๆ ใหรตู ามโดยเฉพาะอยางยง่ิ การเปนตัวอยางท่ีดี พอ แมท่ีไมควบคุมจิตใจของตนเอง พายแพตอการกระทำที่ไม เหมาะสม ไมอ าจชว ยลกู ๆ ใหพ ัฒนาความดีและปญญาได ศิษยของอาตมาบางคนในพมาก็เปนพอคนแมคน เม่ือเริ่มมาปฏิบัติพวกเขาคิดถึงแตความสุขทางโลกของลูกๆ เชน เรื่องการศกึ ษาและการมีอาชพี ทีด่ ี แลว เมือ่ ผูปกครอง เหลาน้ีมาปฏบิ ัติธรรมทส่ี ำนักอาตมา พวกเขาก็ปฏิบตั ไิ ดด ี เม่อื พวกเขากลับไปหาลกู กม็ ีทัศนคติและโครงการใหมๆ พวกเขารสู กึ วาเปน สิ่งสำคญั กวาท่ลี ูกๆ จะตองเรยี นรูในการ ควบคุมจิตและพัฒนาจิตใหมีคุณธรรมมากกวาท่ีจะมุงแต ความสำเรจ็ ในทางโลก เมอ่ื ลกู ๆ โตพอ พอ แมก ็รบเรา ให
๑๒๐ พวกเขาเขา ปฏิบตั ธิ รรม ความจรงิ อาตมาเคยถามพอแมว า ลกู ๆ ที่เกดิ กอ นและหลังการปฏิบัตธิ รรมแตกตา งกนั หรือไม พวกเขาตอบวา “มแี นนอน ลูกๆ ท่ีเกดิ หลงั การปฏบิ ัติธรรม จะมีความเคารพเช่ือฟงและความเกรงอกเกรงใจมากกวา พวกเขามจี ิตใจดเี มอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ลกู คนอื่นๆ” การกำหนดอยา งสมำ่ เสมอ ทำใหเ กิดสมาธิ พระพทุ ธองคต รัสวา โยนโิ สมนสกิ าร การใสใจโดยอุบาย อนั แยบคายและการกระทำใหมาก ปฏบิ ตั ิใหมาก พหลุ กี าโร จะทำใหสมาธิเกดิ ขึ้น เมอ่ื สมาธิเกิดข้นึ แลว กจ็ ะทำใหส มาธเิ กิดข้นึ อยางตอ เน่อื ง
๑๒๑ วิธกี ารเจรญิ สมาธอิ ีก ๑๑ วธิ ี พระอรรถกถาจารย ไดแ จกแจงวิธเี จรญิ สมาธไิ วอกี ๑๑ วธิ ี ๑. ความสะอาด ประการแรกไดแ ก ความบรสิ ทุ ธภิ์ ายในและภายนอก ของรางกายและสภาพแวดลอม ปจจัยน้ีไดกลาวถึงแลวใน หัวขอ โพชฌงคทส่ี อง คอื ธมั มวจิ ยะ ๒. จิตทีเ่ ปนกลาง สาเหตทุ ี่สองของสมาธกิ ค็ อื การรกั ษาอนิ ทรยี ให สม่ำเสมอ กลาวคอื ปญญาและศรัทธาในดา นหนง่ึ กับความ เพยี รและสมาธใิ นอกี ดา นหนึง่ อาตมาไดอ ธิบายเรื่องนแ้ี ลว ในบททีส่ อง (รแู จง ปรมตั ถธรรมดว ยการเจริญพละหา )
๑๒๒ ๓. นิมิตท่ชี ดั เจน วิธีท่ีสามน้ีเก่ียวเน่ืองกับการเจริญฌานมากกวาการ เจริญวปิ สสนากรรมฐาน ดงั น้นั อาตมาจึงขอกลา วถึงเร่ือง นเ้ี พียงยอ ๆ เทานนั้ บคุ คลพึงทำใหเ กิดความชำนาญในการ กำหนดองคบ รกิ รรม กลา วคือการรกั ษานมิ ติ ใหช ดั เจนดงั เชนทป่ี ฏบิ ัติกันในการเจรญิ สมถกรรมฐาน ๔. ยกจติ ท่ีทอถอย ปจ จัยทส่ี ่ไี ดแ กการยกจติ เมื่อรูสึกหนกั ใจ หดหู หรือทอถอย ไมต องสงสัยเลยวา ผูปฏบิ ัตคิ งตองหัวหกกน ขวิดกับการปฏบิ ตั มิ าบางแลวทุกคน ในเวลาเชนนี้ผูปฏิบัติ ควรพยายามยกจติ ของตน เชนการใชวิธีเจรญิ ความเพยี ร ปต หิ รอื ญาณปญญา การยกจิตทที่ อถอยกเ็ ปน หนา ทหี่ นึ่ง ของวปิ ส สนาจารย เม่อื ผปู ฏบิ ัติมาสงอารมณดวยใบหนาที่ เหีย่ วแหง วิปส สนาจารยรวู า ควรจะใหกำลังใจอยา งไร
๑๒๓ ๕. ขมจติ ใหสงบ บางคร้ังก็อาจจำเปนในการขมจิตใจที่เรารอน นี่ เปนสาเหตุที่หาในการเจริญสมาธิ บางครั้งเมื่อผูปฏิบัติมี ประสบการณท่ีตรึงใจในการเจริญกรรมฐานแลวอาจรูสึก ต่นื เตน และกระตอื รอื รน มคี วามเพียรทวมทน เม่ือเปนเชนนี้ วิปสสนาจารยไมควรสงเสริมแตใหคำแนะนำใหปฏิบัติใหถูก ตอง วิปสสนาจารยอาจชวยกระตุนโพชฌงคท่ีหาคือความ สงบ โดยวธิ ที ไี่ ดก ลา วในหวั ขอ ทแ่ี ลว หรอื อาจแนะใหผ ปู ฏบิ ตั ิ ผอนคลายและเฝา ดูโดยไมใชความพยายามมากเกนิ ไป ๖. ใหก ำลังใจแกจติ ที่บอบช้ำเพราะความเจ็บปวด หากจิตใจถดถอยและเหี่ยวเฉาเพราะความเจ็บปวด ก็จำเปนตองใหกำลังใจ น่ีคือวิธีท่ีหกในการเจริญสมาธิ ผู ปฏิบัติอาจรูสึกหดหูจากสภาพแวดลอมหรือถูกรบกวนจาก ปญ หาสขุ ภาพเกา ๆ ในเวลาเชน นจ้ี ำเปน ตอ งยกจติ ขน้ึ และทำ จติ ใจใหส ะอาดสวา งและเฉยี บแหลมอกี ครง้ั โดยวธิ ตี า งๆ หรอื วปิ ส สนาจารยอ าจปลกุ เรา กำลงั ใจ มใิ ชโ ดยการเลา เรอื่ งตลก แตโดยการพดู บำรงุ น้ำใจ
๑๒๔ ๗. การกำหนดอยางสมดุลและตอ เน่อื ง วิธีท่ีเจ็ดในการเจรญิ สมาธิกค็ ือ การพยายามรกั ษา การกำหนดสติทสี่ มดลุ อยตู ลอดเวลา บางคร้ังเมื่อการปฏิบัติ กา วหนา ข้นึ ผูปฏิบตั อิ าจรสู ึกวา ไมตอ งใชความพยายามเลย แตก็ยังมีสติอยูกำหนดอยูกับอารมณขณะที่เกิดข้ึนและดับไป ในเวลาเชนน้ีผูปฏิบัติไมควรรบกวน แมจะรูสึกวากาวหนา ชาเกินไป อยากใหเร็วขึ้น อยากบรรลุธรรมเร็วๆ หากผู ปฏบิ ัติพยายามเรง ก็จะทำใหดลุ ยภาพของจติ สญู เสยี ไป และ การกำหนดสตกิ จ็ ะขาดความคมชัด ในทางตรงขาม หากทกุ อยา งดแี ละราบรน่ื เสยี จนผปู ฏบิ ตั ผิ อ นคลายลงมากเกนิ ไปกจ็ ะ ทำใหก ารปฏบิ ตั ิเสอ่ื มถอยลงไดเ ชน กัน เม่ือมคี วามเพยี รทไี่ ม ตอ งอาศยั ความพยายาม ผปู ฏบิ ตั คิ วรทจี่ ะปลอ ยใหด ำเนนิ ไป โดยพยายามรกั ษาระดับของสภาวะน้ันไว ๘-๙. เวน จากคนฟงุ ซาน สมาคมกบั คนท่ีมีสมาธิ ผปู ฏบิ ตั คิ วรเวน จากบคุ คลทมี่ จี ติ ไมต ง้ั มน่ั และคบหา สมาคมกับบุคคลที่มีสมาธิ ซ่ึงเปนวิธีท่ีแปดและเกาของการ
๑๒๕ เจรญิ สมาธิ บคุ คลที่ไมม ีความสงบหรอื สนั ตสิ ุข ไมเ คยเจรญิ สมาธมิ กั เรา รอ น เดก็ ๆ ทเี่ กดิ ในครอบครวั เชน นกี้ อ็ าจจะขาด ความสงบทางจิตไปดวย ใน ประเทศ พมา มี ขอคิด ท่ี คลายคลึง กับ แนวคิด ของตะวนั ตกเกย่ี วกับ “อิทธพิ ลทีด่ ี” มหี ลายกรณี เชนคน ท่ีไมเ คยปฏิบัติกรรมฐานมากอน แตเมอื่ เขา มาเยีย่ มศนู ย วปิ ส สนาก็เร่ิมรูส กึ สงบและมสี ันติสุข พวกเขาไดรับอิทธพิ ล จากผปู ฏิบัตทิ ก่ี ำลงั ทำความเพยี รอยา งหนกั ผมู าเยอื นบาง คนถงึ กบั ตดั สินใจเขามาปฏิบัติเลย น่เี ปน เรื่องธรรมดา ในสมยั พทุ ธกาล มพี ระราชาองคหน่ึงมีพระนาม วา พระเจาอชาตศตั รู ผปู ลงพระชนมพ ระบิดาเพือ่ ขึน้ ครอง ราชยบ ัลลังก พระองคท รงนอนไมห ลบั หลายตอหลายคนื หลังจากไดท รงกอ อนนั ตรยิ กรรมที่เลวรา ย ในทสี่ ุดพระองค จึงเสดจ็ ไปเฝาพระพทุ ธเจา ระหวา งทางท่ีเสดจ็ ผา นปามา ก็พบหมูสงฆกำลังฟงธรรมจากพระพุทธองคอยางสงบและ มสี มาธิ กลาวกนั วาความทกุ ขเรา รอ นใจของพระองคห าย ไปหมดส้ินและเปยมดวยความสงบเยือกเย็นอยางไมเคย ประสบมากอ น
๑๒๖ ๑๐. พิจารณาฌานและวิโมกข วธิ ีท่สี บิ กค็ อื การพจิ ารณาความสงบและความเยอื ก เยน็ ทเ่ี กดิ จากฌานสมาธิ วธิ นี ีเ้ หมาะสำหรับผูปฏิบตั ิที่เคย เจรญิ สมถกรรมฐานจนไดความสงบลึกมากอน การระลึก ถึงวิธีเขาฌานก็สามารถทำใหจิตเขาสูสมาธิไดเปนชวงส้ันๆ ในทันที สำหรบั ผไู มไดฌานอาจระลึกถึงเวลาทีข่ ณกิ สมาธิ เขมแขง็ มากจนจติ รสู กึ สงบและตั้งมัน่ การระลึกถึงสภาวะ ที่หลุดพนจากนิวรณและสันติสุขของจิตที่ไดมาจากการ เจริญขณกิ สมาธิอยางตอเน่ืองก็จะทำใหสมาธิเกิดขึน้ ไดอีก ๑๑. การนอ มจติ วิธีท่ีสิบเอ็ดและวิธีสุดทายในการสรางสมาธิก็คือ การนอมจติ ไปสกู ารเจริญสมาธิอยางตอเน่ือง ทกุ อยางขนึ้ อยูกับความพยายามที่ทมุ เทลงไปในทุกๆ วนิ าที หากผู ปฏิบตั ิพยายามที่จะมสี มาธิ สมาธกิ จ็ ะเกิดข้ึน
อเุ บกขา ๗โพชฌงคองคท เ่ี จด็ บางทสี ำนกั งานสหประชาชาตินาจะมีชอ่ื ใหม หากองคก ารนี้ชื่อวา องคก ารแหงอุเบกขา บรรดาผแู ทนทัง้ หลาย จะไดร ะลึกไววาควรจะทำอยา งไรเวลาเจรจาตอรอง โดยเฉพาะอยา งย่งิ เวลาเผชิญกบั ปญหาทร่ี อ นแรง ผบู ริหารทุกคนตอ งมคี วามสามารถ ในการรักษาไวซ ง่ึ ความเปน กลาง ในการเผชญิ กับปญหาทีย่ งุ ยากซบั ซอน
๑๒๘ ในภาษาบาลคี ำวา อเุ บกขา แปลวา วางเฉย ซง่ึ หมาย ถงึ ความสมดุลของพลงั งาน เปน สภาวจติ ท่ีต้งั อยตู รงกลาง ไมเบ่ยี งเบนไปขางใดขา งหน่ึง อเุ บกขานี้สามารถเจริญไดใ น ชวี ติ ปกตทิ วั่ ไปทจ่ี ะตอ งตดั สนิ ใจเปน ประจำทกุ วนั เชน เดยี วกบั ในการเจริญกรรมฐาน การประสานความขดั แยงภายใน ในระหวา งการเจรญิ กรรมฐาน สภาวจติ หลายอยา ง แขง ขนั กนั ศรทั ธาพยายามเอาชนะอนิ ทรยี อ น่ื ๆ เชน ความคดิ หรอื ปญญาหรือในทางกลบั กัน วริ ิยะกับสมาธกิ ็เชนเดียวกนั เปนท่ีรูกันในหมูนักปฏิบัติธรรมวาการรักษาอินทรียสองคูนี้ ใหส มดลุ เปน สงิ่ จำเปน สำหรบั ความกา วหนา และรกั ษาทศิ ทาง การปฏบิ ัติใหถ กู ตอง ในระยะแรกของการปฏิบัติ ผูปฏิบัติอาจรูสึก กระตือรือรนและมุง มนั่ ทันทที น่ี ั่งลง จติ ของผูปฏิบตั ิก็จะมุง กำหนดอาการพองยบุ หรอื อารมณอ น่ื ๆ ทอ่ี ยใู นขา ยของการ รบั รู แตด ว ยความเพียรทมี่ ากเกิน มแี นวโนม ทจี่ ิตจะพุงเลย
๑๒๙ อารมณก รรมฐาน หรอื ไมก ห็ ลดุ จากอารมณท ก่ี ำหนด ความ ผดิ พลาดนอ้ี าจทำใหผ ปู ฏบิ ตั หิ งดุ หงดิ เพราะไดพ ยายามอยา ง ดีทสี่ ุดแลว ยงั ไมไ ดผล บางทผี ปู ฏบิ ตั อิ าจพบความผดิ พลาดของตวั เอง แลว สามารถปรบั จงั หวะใหเ ขา กบั สงิ่ ทกี่ ำลงั เกดิ ขนึ้ อยไู ดเ มอื่ เฝา ดู อาการพองยบุ จติ ปรบั เขา กบั กระบวนการพองยบุ และกำหนด ตามไป ในไมช า การกำหนดกจ็ ะงา ยขน้ึ และผปู ฏบิ ตั เิ รมิ่ ผอ น คลายลงเล็กนอย ความเพียรแทบไมมีความหมาย แตหาก ไมร ะวดั ระวงั ความงวงเหงาหาวนอนจะคืบคลานเขา มาและ ครอบงำผูปฏิบัติในที่สดุ บางทผี ปู ฏบิ ตั อิ าจประสบความสำเรจ็ พอควรในการ แยกรปู แยกนามและมองเหน็ ความสัมพันธของรปู นามน้ัน ผู ปฏิบัติจะไดล้ิมรสพระธรรมและพบวาเปนส่ิงนาตื่นเตน เมื่อ ศรัทธาเต็มเปยมผูปฏิบัติอยากจะปาวประกาศสัจจธรรมอัน วเิ ศษทตี่ นไดป ระสบแกม ติ รสหายและพอ แม ดว ยศรทั ธาความ คิดและการวางแผนวิ่งพลาน เมื่อมีความคิดและความรูสึก การปฏิบตั กิ ห็ ยดุ น่งิ ไมก าวหนา ความตอเนอื่ งของเหตกุ ารณ นีเ้ ปนอาการที่เกดิ จากศรัทธามากเกนิ ไป ผูปฏิบัติอีกคนอาจประสบกับญาณสภาวะแบบ
๑๓๐ เดยี วกนั แตแ ทนทจ่ี ะปรารถนาในการเผยแผธ รรมะ ผปู ฏบิ ตั ิ เร่ิมตีความประสบการณของตน อาจกลาวไดวาผูปฏิบัติ ประเภทนี้ขี่ชางจับตั๊กแตน ประสบการณทุกอยางถูกนำมา เทียบเคียงกับหนังสือธรรมะทุกเลมท่ีไดอาน ความคิดเกิด ข้ึนทำใหการปฏิบัติไมกาวหนาอีกเชนกัน น่ีเปนอาการของ ปญ ญาท่มี ากเกนิ ไป ผูปฏิบัติหลายๆ คนมีแนวโนมที่จะใชเหตุผลตรวจ สอบทกุ อยา งทไี่ ดย นิ กอ นทจี่ ะยอมรบั พอเขา อบรมกรรมฐาน พวกเขาพยายามตรวจสอบโดยการคดิ หาเหตผุ ลเพอ่ื ดวู า สง่ิ ที่ ปฏบิ ตั อิ ยถู กู ตอ งหรอื ตอบสนองความเขา ใจของตวั เองหรอื ไม หากเขายงั ตดิ อยใู นแนวคดิ แบบน้ี ผปู ฏบิ ตั กิ จ็ ะถกู หลอกหลอน ดว ยความสงสัยตลอดเวลาเหมือนวนอยูบนมา หมุน พวกเขา ไมม วี ันท่ีจะกาวหนา หากไดย นิ ไดฟ ง เกย่ี วกบั วธิ ปี ฏบิ ตั หิ รอื เคยลองปฏบิ ตั ิ และพบวาไดผลดีพอควรแลว ผูปฏิบัติพึงตัดสินใจทุมเท ตนเองใหกับคำสอนท่ีไดรับนั้น นี่เปนวิธีเดียวที่ทำใหการ ปฏิบตั ิกา วหนาอยา งรวดเร็ว ผปู ฏิบัตเิ ปรยี บเหมือนทหารใน สนามรบแนวหนา ไมม เี วลาทจี่ ะมาโตแ ยง หรอื ตง้ั ขอ สงสยั คำ สั่ง ทุกคำส่ังจากเบ้ืองบนเปนสิ่งตองปฏิบัติตามโดยไมตอง
๑๓๑ สงสัยจึงจะเอาชนะในการรบได แนนอนอาตมามิไดสอนให ผปู ฏบิ ัตเิ ช่ืออะไรอยางงมงาย จนกวาผูปฏิบัติจะสามารถประจักษสภาวธรรมที่ เกิดขน้ึ ต้ังอยแู ละดบั ไปอยา งแจมแจงชดั เจน การปฏิบัตกิ จ็ ะ ยงั ไมม นั่ คงเนอ่ื งจากศรทั ธาและปญ ญา วริ ยิ ะและสมาธยิ งั ไม เสมอกนั แตหากอินทรียเ สมอกัน ผูปฏบิ ตั ิสามารถประจกั ษ สภาวธรรมที่เกิดข้ึนและดับไปอยางรวดเร็ว ความพอดีของ วิริยะและสมาธิ ศรทั ธาและปญ ญา ไดรับการแกไขแลว ณ จุดน้ีอาจกลาวไดวาผูปฏิบัติไดบรรลุถึงสภาวะอุเบกขา ซ่ึง เปนความสมดุลของอินทรียท้ังส่ี ในที่นี้อาจดูราวกับวาการ กำหนดสตเิ กิดขน้ึ โดยตัวของมนั เองโดยไมต องพยายามเลย จิตท่ีสมดุลเปรียบเหมือนกับรถมาท่ีถูกเทียมดวยมา ทม่ี ีพละกำลงั เทา กันสองตวั เมือ่ มาท้ังสองออกวง่ิ การขบั ขี่ รถมา นีก้ ลายเปนของงาย สารถเี พียงแตปลอ ยใหม า ทำงาน แตหากมา ตวั หน่ึงรวดเรว็ ในขณะทีม่ า อกี ตวั หน่ึงแก ทรุด โทรม สารถีตองทำงานหนกั เพอื่ ไมใหร ถตกถนนโดยการดงึ มา ท่เี รว็ ใหชาลงและกระตนุ ตวั ท่ชี า อยตู ลอดเวลา ในทำนอง เดียวกับการเจรญิ กรรมฐาน ตอนแรกจติ ยงั ไมมีความสมดลุ และผูปฏิบัติตองโซซัดโซเซจากความกระตือรือรนไปสูความ สงสัย จากความพยายามมากเกนิ ไปสคู วามเกยี จคราน แต
๑๓๒ เม่ือการปฏบิ ตั ิกา วหนา อุเบกขาสัมโพชฌงคกเ็ กิดขน้ึ และ ดเู หมอื นวาสตสิ ามารถเดนิ หนาไปไดดวยตนเอง เวลาเชน นผี้ ปู ฏิบตั ิจะรสู กึ สบายอยา งยง่ิ หากเทยี บกบั ชวี ติ สมัยใหม ก็เปรียบเสมือนการขับรถยนตหรูหราท่ีแลนไปดวยเครื่อง ควบคมุ ความเรว็ อัตโนมัตบิ นทางดวนทร่ี ถไมต ิด ศรทั ธาเสมอกับปญญา วิริยะเสมอกับสมาธิ ลักษณะของอเุ บกขาก็คือ สภาวจิต ท่ีเสมอกันไมม ีสภาวะใดครอบงำสภาวะอื่น อุเบกขาปรับความพอดใี หแกศ รทั ธาและปญ ญา วิรยิ ะและสมาธิ
๑๓๓ พอดี พอดี หนาทขี่ องอเุ บกขาสมั โพชฌงคก็คอื การเติมในสว น ทีข่ าดและลดในสว นที่เกิน อเุ บกขาทำหนาทปี่ ระคองจติ กอ น ทจี่ ะตกไปสสู ภาวะสดุ โตง ของการขาดหรือเกนิ เมอ่ื อเุ บกขา เขมแขง็ จิตจะเปนกลางไมสุดโตงเกินไป ผูปฏิบตั ิไมต องใช ความพยายามในการรกั ษาสติ สารถีท่ีดจี ะปลอ ยใหมาลากไป ดูเหมือนวาสติที่ทำหนาที่ดูแลทุกส่ิงทุกอยางเหมือน คนขับรถมาทเ่ี อนหลังแลวปลอ ยใหมา พาไป สภาวะทส่ี บาย และเปนกลางนเ้ี ปนอาการของอุเบกขา เมอ่ื อาตมายังเดก็ อาตมาเคยไดยินคนพูดถึงการ หาบตะกรา ๒ ใบดวยคานไมไผ นีเ่ ปน สง่ิ ปรกติในพมา ไม คานพาดไวบนบามีกระจาดท่ีเต็มไปดวยสัมภาระแขวนอยูท่ี ปลายทงั้ สองขา ง เวลาออกเดินครง้ั แรกคนแบกตอ งออกแรง มากและสมั ภาระนน้ั ก็หนัก แตห ลังจากเดนิ ไปได ๑๐ – ๑๕ กา ว ไมค านกเ็ รม่ิ ขยับขึ้นลงตามจังหวะการเดิน คนหาบ ไม
๑๓๔ คาน และกระจาดสามารถเคล่อื นไปไดอ ยางสบายๆ จนคน หาบเองแทบไมรูสกึ หนกั อาตมาเองแทบไมเ ช่ือเหมือนกัน แตพ อไดม าเจริญกรรมฐานกร็ ูว า มนั เปนไปได สตทิ ต่ี อ เนอ่ื งทำใหเกดิ อุเบกขา ตามพทุ ธดำรสั อุเบกขาเกดิ จากโยนโิ สมนสกิ าร การ กำหนดอยางฉลาด กลาวคือการเจรญิ สตอิ ยางตอเนอ่ื งจาก วินาทีหนึ่งไปสูอีกวินาทีหน่ึงไมขาดสายดวยความตั้งใจที่จะ เจรญิ อุเบกขา อเุ บกขาในวินาทีหนึ่งทำใหอเุ บกขาในวนิ าที ตอ ๆ มาเกิดขึน้ และเมอ่ื อเุ บกขาเกิดขึน้ แลว กจ็ ะพัฒนาไป อยางตอเนอื่ งและลกึ ซึง้ ทำใหก ารปฏิบตั กิ าวหนา เลยสภาว ญาณทห่ี ยัง่ รกู ารเกิดดบั ของสภาวธรรม อเุ บกขาไมไดเ กิดขนึ้ งายๆ ในใจของผปู ฏิบัติใหม แม จะขยันกำหนดสตทิ ุกๆ วนิ าที อเุ บกขาเกิดขน้ึ แลวกจ็ ากไป จติ จะเปนกลางในชว งส้ันๆ แลวก็หายไปอกี อเุ บกขาจะเจริญ เปนขนั้ ๆ ชว งเวลาทเ่ี กิดยาวนานขนึ้ เร่ือยๆ และบอยขึน้ ใน ท่ีสุดอเุ บกขากจ็ ะแข็งแกรงพอท่ีจะเปน โพชฌงคองคห นง่ึ ได
๑๓๕ วิธเี จรญิ อเุ บกขาอกี ๕ วธิ ี มีวิธี ๕ วธิ ีในการเจริญ อเุ บกขาดงั กลา วไวใ นอรรถกถา ๑. วางตนใหเปนกลางในสตั วท ั้งหลาย ประการแรกและที่สำคัญท่ีสุด คือ การวางใจให เปนกลางในสัตวท้ังหลาย ไดแก บุคคลผูเปนที่รักรวมถึง สตั วเ ล้ยี ง เราอาจผกู พนั รกั ใครผูคนทรี่ กั และสัตวเลี้ยงจนถึง ขั้น “หลงงมงาย” ประสบการณแ บบนีไ้ มชว ยใหเกดิ อเุ บกขา หรือความเปน กลาง การปรบั พน้ื ฐานใหเ กดิ อเุ บกขานน้ั บคุ คลพงึ ปลกู ฝง ทัศนคติที่ไมยึดติดในคนและสัตวอันเปนท่ีรัก สำหรับปุถุชน ความผกู พนั อาจเปนสงิ่ จำเปน แตหากยึดมัน่ มากเกินไปกจ็ ะ ทำลายตนเองไปจนถงึ คนทร่ี กั ดว ย เราเรมิ่ วติ กเกย่ี วกบั ความ สขุ ทุกข ของคนเหลานั้นมากเกนิ ไป โดยเฉพาะอยา งยิ่งใน
๑๓๖ ระหวา งการปฏบิ ตั กิ รรมฐาน ควรปลอ ยวางความหว งใยมติ ร สหายท่ีมากเกินขอบเขต วธิ กี ารพฒั นาการปลอ ยวางวธิ หี นงึ่ กค็ อื ใหค ดิ วา สตั ว ทั้งหลายมีกรรมเปนของตน บุคคลไดรับความสุขจากกุศล กรรมและไดรับความทกุ ขจากอกศุ ลกรรม พวกเขากอ กรรม ขนึ้ โดยเจตนาของตนแลว ไมม ใี ครสามารถปอ งกนั วบิ ากกรรม นั้นมใิ หเกิดขึน้ ได ในท่สี ดุ ไมม อี ะไรที่เราหรอื ใครจะไปชวยได หากพิจารณาเชน น้เี ราอาจจะวิตกถึงคนทีเ่ รารักนอ ยลง นอกจากนี้ผูปฏิบัติยังอาจเจริญอุเบกขาตอผูอื่นโดย การระลึกถึงปรมัตถสัจจะ เชน ผูปฏิบัติอาจบอกตนเองวา โดยนัยปรมัตถแลวก็มีเพียงรูปกับนาม แลวคนที่เรารักท่ีสุด อยทู ่ไี หน มีเพียงนามและรูป จิตและกายท่เี กิดขึ้นและดบั ไป ทกุ ขณะ แลวขณะไหนละ ท่เี ราหลงรกั โดยวธิ ีนผ้ี ปู ฏบิ ัติอาจ นอ มนำจิตใหเ หน็ ตามความจริงขนึ้ มาไดบา ง บางคนอาจวติ กวา ความคดิ แบบนอี้ าจทำใหเ กดิ ความ รสู กึ เฉยชา และทำใหค นละทง้ิ คคู รองหรอื คนรกั ไป ไมพ งึ ตอ ง วิตกไปเลย อุเบกขามิใชความไรสำนึก ความไมแยแสหรือ ความเฉยเมย แตเปนความเสมอภาค หากมีอุเบกขาบุคคล จะไมผลักไสอารมณที่ไมนาปรารถนาหรือไขวควาอารมณ
๑๓๗ ท่ีปรารถนา จิตจะนิ่งอยูในความพอดีและยอมรับสิ่งตางๆ ตามความเปนจริง เมอื่ อุเบกขาสัมโพชฌงคปรากฏ ผูปฏิบัติ จะละทงิ้ ความผกู พนั ตลอดจนความเกลยี ดชงั ในสตั วท ง้ั หลาย พระไตรปฎกกลาววา อุเบกขาเปน ปจจยั ใหเ กิดการชำระลา ง และยงั ความบรสิ ทุ ธใิ์ นบคุ คลทม่ี ากดว ยตณั หา หรอื ความใคร ซ่ึงตรงขา มกบั อเุ บกขา ๒. วางตนเปน กลางในวตั ถุส่งิ ของ วิธีท่ีสองในการเจรญิ อเุ บกขาสัมโพชฌงคกค็ ือ การ วางตนเปนกลางในวัตถุส่งิ ของ เชนทรพั ยส มบตั ิ เสื้อผา และ แฟชัน่ ลา สดุ ตามความนิยม ตวั อยางเชน เสอื้ ผาอาจขาดวนิ่ และเปรอะเปอ นไดสักวนั มนั จะเปอ ยและผุพังเพราะมนั ไม เที่ยงเชนเดียวกับวัตถอุ ืน่ ๆ นอกจากน้เี ราก็ไมไดเปนเจาของ มนั จริงๆ เน่ืองจากสงิ่ ทัง้ หลายไมมตี ัวตน ไมมใี ครเปน เจาของอะไรได ในการพฒั นาจิตใหเปนกลางและลดความ ยดึ ม่ันถือม่นั การพิจารณาวัตถุสิ่งของโดยความไมเ ท่ยี งอาจ ชวยได เราอาจบอกตนเองวา “ฉันจะใชป ระโยชนจ ากสิง่ น้ี ในชวงส้ันๆ เทา น้นั มนั จะไมค งอยตู ลอดไป”
๑๓๘ คนท่ตี ดิ แฟชน่ั คงคอยตามซื้อผลติ ภัณฑใหมๆ ทอ่ี ยู ในสมยั นยิ มตลอดเวลา และเมอื่ ซอ้ื มาแลว มขี องทที่ นั สมยั กวา ออกตามมา พวกเขากจ็ ะโยนของเกา ทงิ้ เพอ่ื ซอ้ื ของใหม การก ระทำเชนน้มี ิใชอเุ บกขา ๓. เวนจากบคุ คลผยู ดึ มน่ั ถอื ม่ัน วิธีที่สามที่จะเจริญอุเบกขาโดยความเปนโพชฌงคก็ คือ การเวนจากคนท่คี ล่ังไคลในบุคคลหรือวัตถุสิ่งของ คน เหลานี้มีความเปนเจาขาวเจาของ ยึดม่ันในสิ่งท่ีคิดวาเปน ของตนทง้ั ผคู นและสง่ิ ของ บางคนทนไมไ ดท ค่ี นอน่ื พอใจหรอื ใชสอยทรัพยส ินของตน มีพระเถระรูปหนึ่งที่ผูกพันกับสัตวเล้ียงมาก ใน วัดของทานมีสุนัขและแมวออกลูกมามากมาย วันหนึ่งพระ เถระมาที่ศูนยปฏิบัติธรรมในรางกุงเพ่ือปฏิบัติกรรมฐาน ทานเจริญกรรมฐานในสภาพแวดลอมเอื้ออำนวยทุกอยาง แตก ารปฏิบัติไมก า วหนา ในทส่ี ดุ อาตมาคิดอะไรได จึงถาม ทานวาท่ีวัดของทานมีสัตวเล้ียงไหม ใบหนาทานสดใสข้ึน และตอบวา “โอ มคี รบั ผมมีสุนัขและแมวหลายตัว ตงั้ แต
๑๓๙ มาทนี่ ผ่ี มมวั แตก งั วลวา พวกมนั จะมขี า วพอกนิ หรอื เปลา พวก มนั เปน อยา งไรกนั บา ง” อาตมาขอใหท า นลมื สตั วเ หลา นนั้ เสยี และตง้ั ใจเจริญสมาธิ ในไมช า ทานก็ปฏบิ ัติไดก าวหนา โปรดอยาปลอยใหความผูกพันตอคนรักหรือสัตว เลี้ยงมีมากเกินไปจนไมสามารถเขาอบรมกรรมฐาน อัน เปนหนทางพัฒนาจิตและเจริญอุเบกขาใหเปนอุเบกขาสัม โพชฌงค ๔. สมาคมกบั มิตรทสี่ งบเย็น วิธีที่ส่ีในการเจริญอุเบกขา ผูปฏิบัติควรเลือกมิตร ท่ีไมยึดม่ันในสัตวและวัตถุส่ิงของ วิธีนี้ตางจากวิธีขางตน กลาวคือ หากคบมิตรเชนพระเถระในหัวขอที่แลวก็จะกอให เกดิ ปญหาได ๕. นอ มใจใหเปนกลาง สาเหตุประการท่ีหาและประการสุดทายในการ เจริญอุเบกขาสัมโพชฌงคไดแก การนอมใจสูการเจริญ
๑๔๐ อุเบกขา การนอมนำจติ ไปในแนวทางดงั กลาว จิตจะไมแ ลน ออกไปหาสัตวเล้ียงที่บานหรือคนรัก แตจะมีความพอดีและ เปน กลางมากขนึ้ อเุ บกขามคี วามสำคญั อยา งยงิ่ ในการปฏบิ ตั ธิ รรมและ ในชวี ติ ประจำวนั โดยทวั่ ไป เรามกั จะถกู พดั พาไปกบั อารมณ ท่ีนาพอใจ หรือไมก็ถูกเหว่ียงลงสูความกระสับกระสายเม่ือ เผชญิ กบั อารมณอ นั ไมน า ปรารถนา อารมณท ข่ี ดั แยง สบั สนน้ี พบไดใ นเกอื บทกุ คน เมอ่ื เราไมอ าจรกั ษาความพอดแี ละความ หนกั แนน เรากจ็ ะถกู พดั พาไปหาความสดุ โตง ของตณั หาหรอื โทสะไดอยา งงายดาย พระไตรปฎ กกลา ววา เมอื่ จติ หมกมุนอยใู นกามคณุ อารมณ จิตจะกระสับกระสา ย น่ีเปนภาวะปกติของโลกท่ี เห็นได ในการแสวงหาความสขุ คนสว น ใหญเขาใจผิดวาความตื่นเตนเปน ความสขุ ที่แทจ รงิ คนเหลานีจ้ ะ ไมมีโอกาสท่ีจะพบความสุขที่ เกิด จาก สันติสุข และ ความ สงบ
๑๔๑ โพชฌงค : อมตธรรม โพชฌงค ธรรมที่เปนองคแหงการตรัสรูทั้งหมดนำ มาซึ่งคุณอันวิเศษ เมื่อพัฒนาเต็มท่ีจะมีอำนาจในการทำ ที่สุดแหงทุกขในสังสารวัฎใหสิ้นไป น่ีคือคำกลาวท่ีมีในพระ ไตรปฎ ก ในทีน่ ีห้ มายความวา วัฏจกั รของการเกดิ และการ ตายในเหลาสัตวซ่ึงประกอบดวยสภาวธรรมของรูปและนาม ถึงความสิ้นสดุ โดยสิน้ เชิง นอกจากน้ี โพชฌงคยังมีพลานุภาพในการขับไล กองทพั ทงั้ สบิ ของพญามาร กลา วคอื พลงั ลบภายในทผ่ี กู มดั บุคคลใหติดอยูกับวงลอมของความทุกขและการเกิดดวยเหตุ น้ี พระพุทธองคและเหลาพระอรยิ บคุ คลท้ังหลายจึงไดเ จรญิ โพชฌงคจ นสามารถกาวลวงกามภพ รปู ภพ อรปู ภพ ผูปฏิบัติอาจสงสัยวาหากพนจากภพทั้งสามแลวจะ ไปอยูที่ไหน ไมอาจกลาวไดวามีการเกิดในรูปแบบอ่ืนใด เน่ืองจากนิพพานไมม กี ารเกิดและการตาย การเกิดนำมาซง่ึ ทกุ ข ลกั ษณะของทุกข กลา วคอื ความแก ความเจบ็ และใน
๑๔๒ ทีส่ ุดความตายอยา งหลีกเลยี่ งไมได บคุ คลจะพน ทุกขไดต อ ง พน จากการเกิด ความตายจงึ ไมอ าจเกิดขนึ้ ได นิพพานเปน สภาวะท่ีอิสระจากการเกดิ และการตาย เมื่อโพชฌงคเจริญเต็มท่ีแลว จะนำผูปฏิบัติเขา สูนิพพาน ในท่ีนี้โพชฌงคเปรียบไดกับยาที่เขมขนและมี ประสิทธิภาพ โพชฌงคมีอุปการะแกความเขมแข็งของจิตท่ี ตองเผชิญกับความเปล่ียนแปลงของชีวิต นอกจากนี้ยังชวย รักษาโรครา ยทางรางกายและจติ ใจไดดว ย ท้ังนี้มิไดรับประกันวาหากผูปฏิบัติเจริญกรรมฐาน แลวจะหายจากโรคทุกโรค แตก็เปนไปไดวาการเจริญ โพชฌงคส ามารถทำใหอ าการปว ยทเุ ลาลงแมแ ตโ รคทไี่ มอ าจ รกั ษาใหห ายได
๑๔๓ ขจัดความปวยทางจติ โรคทางจิตคือโรคที่เกิดจากความโลภ ความ โกรธ ความหลง ความริษยา ความตระหน่ี ความทอ ถอย เปน ตน เมอื่ อาการเหลา นป้ี รากฏขนึ้ กจ็ ะทำใหจ ติ ใจไมแ จม ใส คลุมเครือ ภาวะจิตเชนนี้เปนเหตุใหรางกายทรุดโทรม ผิว พรรณกลับหมองคล้ำเม่ือจิตใจถูกครอบงำดวยพลังทางลบ เรากลายเปนคนนาเบื่อ ไมมีความสขุ และสุขภาพทรดุ โทรม คลายกบั การหายใจเอาอากาศทมี่ สี ารพิษเขา ไป ในทางตรงขาม หากผูป ฏิบัตพิ ยายามอยางแขง็ ขันในการเจริญสติกำหนดรูอารมณใหคมชัดอยูทุกขณะ เปนธรรมชาติอยูเองท่ีจิตก็จะเกาะอยูกับอารมณน้ันโดยไม ฟุงซา นหรอื ซัดสา ย สมาธิหรือความระลึกรูจ ะปรากฏขึ้น จากนน้ั จิตจะสะอาดปราศจากนิวรณหรืออคตใิ ดๆ และแลว ปญญาก็จะเริ่มเบงบานเม่ือสภาวญาณเกิดข้ึนจิตจะบริสุทธ์ิ มากข้ึนราวกับไดหายใจเอาอากาศบริสุทธ์ิอีกครั้งหลังจากท่ี กลับมาจากเมอื งใหญท ่มี ีความพลุกพลาน สติ วิริยะ และธมั มวจิ ยะ กอ ใหเกดิ สมาธิและสภาว ญาณตามลำดบั สภาวญาณแตละขั้นเปรียบเสมอื นการสดู
๑๔๔ อากาศทบ่ี รสิ ุทธเขาสจู ิต สภาวญาณทปี่ ระจักษก ารเกิดดับ ของสภาวธรรมเปนการเร่ิมตนของการปฏิบัติที่ดีและลึกซึ้ง อุเบกขาสัมโพชฌงคทำใหจิตมีความมั่นคงและสติมีความ ลกึ ซ้งึ มากข้นึ การเกดิ ดบั ของอารมณมคี วามแจม ชัดและผู ปฏิบัติหมดความสงสัยในสภาวธรรมความเปนจริงของสิ่งที่ สามารถสมั ผัสไดโ ดยตรง ในลักษณะนี้ความเพียรท่ีเปยมลนอาจทำใหรูสึก วาการปฏิบัติไมตองใชความพยายามมาก ผูปฏิบัติอาจ เขาใจวาไมมีตัวตนหรือแมแตผูท่ีออกแรงพยายาม ปติและ ความอ่ิมใจเกิดเม่ือผูปฏิบัติประจักษความบริสุทธ์ิของจิต ดวยตนเองรวมท้ังความลี้ลับของสัจจธรรมที่เผยออกขณะ ตอขณะ ความสุขท่ีเปย มลนตามมาดว ยความสงบน่ิงและจติ ท่ีปราศจากความสงสัยและวิตกกังวล ในชวงของความสงบ น้ี จติ สามารถจะมองเห็นไดช ัดเจนยิ่งข้ึน สมาธิยิง่ ม่นั คงเมอื่ ปราศจากสง่ิ รบกวน ในการปฏิบัติที่ลึกซึ้งน้ี ผูปฏิบัติสามารถประจักษ สภาวจิตท่ีเปนกลางไมถูกพัดพาไปตามกระแสของกามคุณ อารมณ แมวาปติและความสขุ ทดี่ มื่ ดำ่ ยงั คงอยู อารมณทีไ่ ม นา พอใจกไ็ มร บกวนจติ ผปู ฏบิ ตั ไิ มร สู กึ รงั เกยี จความเจบ็ ปวด หรอื โหยหาความพอใจ
๑๔๕ ผลตอรา งกาย โพชฌงค ทั้ง เจ็ด มี ผล ตอ รางกาย เชน เดียว กับ จิตใจ เพราะกายกับจติ เชื่อมโยงกันอยา งใกลชิด เม่อื จิตมี ความบรสิ ุทธโิ์ ดยมโี พชฌงคป ระคบั ประคองอยู ระบบการ หมนุ เวียนโลหิตจะทำงานไดดขี นึ้ เมด็ เลอื ดที่สรา งขน้ึ ใหม จะมีความบรสิ ทุ ธแ์ิ ละจะแทรกซมึ ไปตามสวนตางๆ ของ รา งกาย ทำใหอวัยวะสะอาด รางกายมคี วามคลองแคลว ความสามารถในการรบั รสู งู ข้ึน ผวิ พรรณผอ งใส ผูป ฏิบัติ บางคนอาจรูสึกวามีแสงออกจากรางกายของตนจนทำให สวางไสวเวลากลางคืน จติ ก็เชน กนั จะแจม ใสมศี รทั ธา เขมแข็งเชนเดียวกับสัทธาสัมปทาท่ีเกิดจากประสบการณ โดยตรงของผปู ฏบิ ัติ จติ จะเบาและคลอ งแคลว เชน เดยี วกบั รางกายท่ีบางครงั้ รสู ึกเหมือนลองลอยอยใู นอากาศ บอ ย ครง้ั ท่ีรา งกายหายไป และผูปฏบิ ัตสิ ามารถนัง่ ไดน านๆ โดย ไมร สู ึกเจ็บปวด
๑๔๖ หายจากโรคอยา งอัศจรรย ความเจ็บปว ยเร้อื รัง โรคที่รกั ษาไมห ายไดร บั ผล จากพลงั ของโพชฌงค โดยเฉพาะในการปฏิบตั ิข้ันสูง ทศี่ ูนย ปฏิบตั ิธรรมในรา งกงุ การที่โรคเรอื้ รังหายไดอยางอศั จรรย น้เี กิดขึน้ จนเปนปกติธรรมดา เรื่องราวเหลานี้สามารถนำมา เขียนหนงั สือไดเ ปนเลมๆ ในท่นี ้อี าตมาจะเลา ใหฟง เพยี งสอง เร่ืองเทานน้ั วัณโรค คร้ังหน่ึงมีชายคนหน่ึงปวยเปนวัณโรคมาหลายป หลังจากที่ไดเสาะแสวงหาการรักษาจากแพทยรวมถึงการใช สมุนไพรโบราณของพมาตลอดจนเขารับการรักษาในแผนก วณั โรคของโรงพยาบาลรา งกุง แตก็ไมหาย เขาสิน้ หวงั และ
๑๔๗ หมดกำลังใจและคิดวาตองตายแนๆ ดวยความหวังสุดทาย เขาจึงสมัครเขาปฏิบัติกรรมฐาน แตไมยอมบอกถึงการปวย เน่ืองจากเกรงวาจะไมไ ดรับอนุญาตใหเ ขา ปฏบิ ตั ิ ภายในสองสัปดาห อาการปวยเรื้อรังของเขาก็ แสดงออกมาอยางรุนแรง ซึ่งเปนปกติในลำดับขั้นของการ ปฏบิ ตั ิ อาการเจบ็ ปวดของเขารนุ แรง ทรมาน และทำใหห มด แรงจนเขาไมสามารถนอนหลบั ไดแ ตต่นื และไออยูตลอดคืน คนื หนง่ึ อาตมาอยใู นกฏุ แิ ละไดย นิ เสยี งไออยา งรนุ แรง จากทพี่ ักของเขา อาตมาคิดวาเขาเปน หวัดจึงเอาสมุนไพรแก ไอของพมาไปให แตเ มื่อไปถงึ อาตมาพบเขาหมอบอยูกบั พืน้ หอ ง เหนื่อยจนไมสามารถพูดอะไรได กระโถนในหอ งเขามี เลือดท่ีเขาไอออกมาอยูเกือบเต็ม อาตมาถามวาเขาอยากได ยาไหม และเม่ือในท่ีสุดเขาพอพูดไดเขาก็สารภาพถึงอาการ ปว ย ความคิดแรกของอาตมาก็คือ อาตมาไดหายใจเอาเชือ้ โรคเขาไปบา งหรือเปลา ชายคนนนั้ ขอโทษทพี่ าเอาโรคตดิ ตอ เขา มาในศนู ย แต ก็ขอรองใหเขาปฏิบตั ติ อ ไป “หากผมออกไป มีหนทางเดียว
๑๔๘ เทา น้ันสำหรับผม ซ่งึ ก็คอื ความตาย” เขากลาว คำพูดเหลา นท้ี ำใหอ าตมาสงสาร อาตมาจงึ เรมิ่ ใหก ำลงั ใจและกระตนุ ให เขาปฏบิ ตั ติ อ ไป หลงั จากวางมาตรการปอ งกนั โรคติดตอ แลว อาตมาก็ยงั สอนเขาตอไป ภายในหนง่ึ เดอื น ชายคนนนั้ สามารถเอาชนะวณั โรค ไดดวยการปฏิบัติที่กาวหนา เม่ือออกจากศูนยเขาหายขาด จากโรค สามปต อ มาเขากก็ ลบั มาอกี ครงั้ เปน พระทม่ี สี ขุ ภาพ แขง็ แรง อาตมาถามเขาวา รสู กึ อยา งไร อาการวณั โรคกลบั มา บา งหรือเปลา “ไมเลยครับ” เขาตอบ “วณั โรคไมเ คยกลับ มาอกี เลย ผมไอบา งเปน บางครงั้ เวลาคันคอ แตถา ผมมีสติ กำหนดความรูสึกท่ีเกิดข้ึน ผมก็ไมไอ พระธรรมเปนสิ่งที่ วิเศษมหัศจรรย เมอื่ ไดดื่มรสของธรรมะแลว ผมก็หายขาด”
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155