Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PochChong

PochChong

Published by ชมรมกัลยาณธรรม, 2021-04-05 07:15:22

Description: PochChong

Search

Read the Text Version

๔๙ ลำดบั ข้นั ของความเพยี ร : การแยกตัวออกจากกองกิเลส พระพทุ ธองคตรสั วา องคทั้งสามของความเพียรคอื ความเพยี รในการปลดปลอย (จากฐาน) ความเพยี รในการปลดเปลอื้ ง (ใหเปน อิสระ) และความเพียรในการยืนหยัด (ใหตอเนอื่ ง)

๕๐ ความเพียรในการปลดปลอย มีความจำเปนในชวง แรกของการปฏบิ ตั ิ โดยเฉพาะอยา งยง่ิ ในการอบรมวปิ ส สนา กรรมฐาน จติ จะถกู ครอบงำดว ยความรสู กึ ทบี่ บี คน้ั โดยสถาน การณใ หมๆ และอาจโหยหาถึงสง่ิ ท่ที ิ้งไวเบอ้ื งหลัง เพื่อที่จะ ใหการปฏบิ ตั ิกา วหนา ผปู ฏบิ ตั พิ งึ ใครค รวญถงึ ประโยชนท จ่ี ะไดร บั จากการ ปฏบิ ตั ิ แลวเร่ิมสรา งความเพยี รในการเจรญิ สติ เมือ่ ผปู ฏิบัติ เร่ิมการเจริญวิปสสนากรรมฐานในระยะแรก ขอแนะนำ วาใหกำหนดอารมณพ้ืนๆ กอน ใหผูปฏิบัติใสใจกำหนด อารมณห ลกั เปน เกณฑแ ลว จงึ หนั ไปกำหนดอารมณอ น่ื ๆ เมอื่ มีอารมณอ ่นื มาแทรก ความเพียรอยางพืน้ ฐานงายๆ น้ีเปน ความเพยี รประเภททหี่ นึง่ กลา วคอื การปลดปลอยซง่ึ เปรียบ เสมือนข้ันตอนแรกของการยิงจรวดขึ้นจากพืน้ ดิน ครั้นผูปฏิบัติสามารถรักษาสติใหอยูกับอารมณหลัก เปนเวลานานพอสมควรแลว ก็จะเร่ิมมีอุปสรรคที่ทำใหการ ปฏิบัตไิ มร าบร่นื นิวรณธรรมเร่ิมปรากฏ เชนความเจบ็ ปวด หรอื ความงวงเหงาหาวนอน ผปู ฏบิ ตั จิ ะพบวา ตนเองตกเปน เหยอ่ื ทไี่ มร อู โิ หนอ เิ หนข องความเจบ็ ปวด ความรำคาญ ความ หวิ ความงวงและความสงสยั

๕๑ บางคร้ังผูปฏิบัติอาจพอใจกับความสงบและความ สบายระดับหน่ึงเพราะวาสามารถกำหนดอารมณหลักไดดี และมนั่ คง แตท ันใดนนั้ อารมณท ่ียากตอการกำหนดกบ็ กุ รุก เขามา สถานการณเชนนี้เองท่ีจิตใจโนมไปสูความทอถอย และเกียจครา น ความพยายามแบบปลดปลอ ยไมเพียงพออกี ตอ ไป ผปู ฏบิ ตั ติ อ งเพมิ่ แรงกระตนุ ในการเผชญิ หนา กบั ความ เจ็บปวดและความงวง และเพ่ือกาวขามอุปสรรคกีดขวาง เหลา น้ี ความเพียรข้ันท่ีสองนี้ไดแก ความเพียรในการ ปลดเปล้ือง ซ่ึงเปรียบเสมือนการยิงจรวดข้ันที่สองที่ดันให จรวดแหวกผา นชนั้ บรรยากาศของโลกไป การใหก ำลงั ใจจาก วิปสสนาจารยอ าจชวยได ณ จุดนี้ หรอื ผูปฏบิ ตั อิ าจชวยตัว เองดว ยการใครค รวญถงึ เหตผุ ลดๆี ทจ่ี ะชว ยเรง ความเพยี รที่ ปลดเปลอ้ื งนเี้ มอ่ื ไดร บั กำลงั ใจทงั้ จากภายในและภายนอกแลว ผูปฏิบัติก็สามารถรวบรวมความเพียรในการกำหนดอาการ เจ็บปวดได หากผูปฏิบัติสามารถเอาชนะความยากลำบาก ไดกจ็ ะมคี วามรสู ึกเบกิ บานมาก ความเพียรกจ็ ะยิง่ สูงขนึ้ ผู ปฏบิ ตั พิ รอ มทจ่ี ะเผชญิ กบั อารมณต า งๆ ทเี่ ขา มากระทบ เชน อาจเอาชนะอาการปวดหลงั หรอื กำหนดอาการงว งนอนทเี่ ขา มาคุกคามจนเห็นความงวงน้ันอันตรธานไปเหมือนกลุมควัน

๕๒ เลก็ ๆ จติ ใจกจ็ ะรสู กึ สดชนื่ สวา ง และสดใส ผปู ฏบิ ตั อิ าจรสู กึ วา มคี วามเพยี รอยา งแรงกลา นคี้ อื ประสบการณโ ดยตรงของ ความเพยี รทีป่ ลดเปล้อื ง หลัง จาก น้ัน การ ปฏิบัติ อาจ คืบ หนา ไป ได อ ยาง ราบร่ืน และเกิดความพึงพอใจ แตโปรดอยาประหลาดใจ หากพระวปิ สสนาจารยใหการบานเพิม่ ในชวงเวลาน้ี เชนขอ ใหผูปฏิบัติเคลื่อนจิตไปกำหนดการสัมผัสที่จุดตางๆ ของ รางกาย การแนะนำเชนน้ีก็เพื่อสนับสนุนใหเกิดความเพียรที่ ยั่งยืนซึ่งเปนพลังแหงความเพียรประเภทที่สาม ความเพียร ที่ยั่งยืนเปนสิ่งท่ีจำเปนตอความกาวหนาของการปฏิบัติซ่ึง จะโนมนำผูปฏิบัติไปสูเปาหมาย เปรียบเสมือนการยิงจรวด ขั้นท่ีสามซ่ึงปลดปลอยพลังผลักดันใหจรวดหลุดพนจากแรง โนมถวงของโลกไปอยางส้ินเชิง เมื่อผูปฏบิ ัติสามารถพัฒนา ความเพยี รทีต่ อเนอ่ื ง ผปู ฏิบัติก็จะเร่ิมกาวสูป ญญาญาณขนั้ ตางๆ เปนเรื่องงายที่ผูปฏิบัติจะลืมวาความสุขช่ัวขณะที่ กำลังประสบอยใู นขณะปฏบิ ตั นิ ี้ จะหายไปเมือ่ กลบั ไปสโู ลก

๕๓ ปรกติ นอกเสียจากวา ผูปฏบิ ตั จิ ะเขา ถึงระดับของความสงบ ทล่ี ึกซ้ึงทสี่ งู ยิง่ ขน้ึ ไปอกี ผูป ฏิบัตอิ าจตอ งยำ้ เตือนตนเองวา เรามาปฏบิ ตั เิ พือ่ อะไร อาตมาคิดวาอยางนอยท่ีสุดก็ควรท่ีจะมุงการบรรลุ โสดาบัน หรือเพ่ือถึงความเปนผูเขาสูกระแสแหงการบรรลุ ธรรมขั้นท่ีหน่ึง ซ่ึงปองกันมิใหผูปฏิบัติไปเกิดในอบายภูมิท่ี ประกอบดวยอันตรายและความเจ็บปวดในอุณหภูมิที่ต่ำกวา แตไมวาเปาหมายของผูปฏิบัติคืออะไร ผูปฏิบัติก็ไมควร ประมาทจนกวาจะบรรลเุ ปาหมายน้นั ในการทจ่ี ะทำเชนนนั้ ได ผปู ฏบิ ัติจะตอ งพฒั นาความเพยี รที่ยงั่ ยนื ไมใ หลดลงหรอื ถดถอย แตเ ขม แข็งมากขึ้นๆ จนกระทงั่ สามารถนำผปู ฏบิ ตั สิ ู จดุ มงุ หมายได เม่อื ความเพียรมีความแกกลาถึงระดับ ภาษา บาลีเรยี กวา พหุลีกะตา ในที่สุด ความเพียรก็จะบรรลุถึงขั้นที่ส่ี ท่ีเรียกวา ความเพียรท่ีสมบูรณแบบ เปนความเพียรที่นำผูปฏิบัติให หลุดพนจากแรงโนมถวงของโลกียสุขเขาสูอิสรภาพของพระ นิพพานโดยสมบูรณ ผูปฏิบัติอาจจะสนใจวาสภาวะน้ีเปน อยา งไร ถา อยากทราบกข็ อใหเพยี รพยายามก็จะไดพ บ

๕๔ เหตุท่ีทำใหเ กิดวิรยิ สัมโพชฌงค ๑๑ วิธี พระอรรถกถาจารย แสดงวธิ กี ระตนุ ความเพียรไว ๑๑ วธิ ี คือ ๑. พิจารณาภยั ในอบายภมู ิ ๔ วิธี แรก ไดแก การ ใครครวญ ถึง ความ นา สะ พรึง กลัวของอบายภูมิ หรอื ความทุกขท ี่เราอาจตกลงไป หาก เกยี จครา น คำวา อป แปลวา “ปราศจาก” สวน อย หมาย ถงึ กศุ ลกรรมทีน่ ำมาซง่ึ ความสุข โดยเฉพาะอยา งยงิ่ ความ สุขท่สี ามารถประสบไดใ นโลกยี ภูมิ และโลกตุ ตรภมู ิ ดงั นั้น หากไมไ ดปฏบิ ตั วิ ปิ ส สนากรรมฐานเรากอ็ าจ ตกลงสูสภาวะและภพท่ีอำนวยโอกาสใหส รางแตก รรมชว่ั มี ภูมิแบบนี้อยหู ลายช้นั ทีเ่ ห็นและยอมรับไดงายทส่ี ุดก็คือ ภพ ภูมิของสัตวเดรจั ฉาน ขอใหพิจารณาดสู ัตวต า งๆ ทอ่ี ยบู น ดิน อยูใ นทะเล และในอากาศ มสี ตั วประเภทใดบางที่มี โอกาสสรางความดี มีกายกรรมทบ่ี ริสทุ ธ์ิ

๕๕ สัตวเดรัจฉานมีชีวิตอยูในมานหมอกของความหลง ถูกครอบงำดว ยความมืดบอด ความเขลาที่หนาทบึ ตัวอยาง เชน แมลง มลี กั ษณะเหมอื นเครอ่ื งจกั รซง่ึ ถกู จดั ระเบยี บไวโ ดย สายใยแหงพันธุกรรมที่มีหนาท่ีเฉพาะอยางโดยไมมีโอกาส แมแ ตน อ ยในการเลอื ก เรยี นรู หรอื แยกแยะ กระบวนการทาง ความคดิ ของสตั วส ว นใหญจ ำกดั อยเู พยี งการสบื พนั ธแุ ละการ อยรู อดเทา นน้ั ในโลกของสตั ว บทบาทการดำเนนิ ชวี ติ กำหนด ไวง า ยอยา งไมน า เชอื่ ไมเ ปน ผลู า กเ็ ปน ผถู กู ลา หรอื ไมก ท็ งั้ สอง อยา ง มนั เปน ภพภมู ทิ โี่ หดรา ยซง่ึ ผเู ขม แขง็ เทา นน้ั จงึ จะอยรู อด ลองคดิ ถงึ ความกลวั และความหวาดระแวงในใจของสง่ิ มชี วี ติ ท่ี ตอ งตกอยใู นสภาพแวดลอ มทไ่ี รค วามปราณเี ชน น้ี ลองคดิ ดถู งึ ความกังวลและความทุกขทรมานที่สัตวพวกหน่ึงตองตายไป เพอ่ื เปน อาหารของสตั วอ กี พวกหนงึ่ และหากตอ งตายลงดว ย ความทุกขทรมานมากมายขนาดน้ีแลว สัตวเหลานี้จะหา โอกาสทไี่ หนไปเกดิ ในภพภูมิทดี่ กี วา เมื่อสภาพจิตขณะที่ตาย เปนตัวกำหนดภพภมู ใิ นชาตติ อๆ ไป แลว สัตวเหลานจ้ี ะหลดุ พนจากสภาวะความเปน อยทู ่ีนากลวั เหลา นไ้ี ดอ ยางไร สัตวมีความสามารถที่จะใหทานไดหรือไม พวกมนั มีคุณธรรมไดไหม จะรักษาศีลหาไดหรือเปลา ไมจำตอง กลาวถึงสิ่งที่สูงสงและยากลำบากอยางการปฏิบัติวิปสสนา

๕๖ กรรมฐาน แลวสัตวจะเรียนรูการควบคุมการพัฒนาจิตของ ตนเองใหมีคุณภาพไดอยางไร น่ีเปนส่ิงท่ีนาสะดุงหวาดกลัว ทจี่ ะคดิ ถงึ สภาวะทกี่ ารดำเนนิ ชวี ติ ไมม ที างเลอื กนอกจากการ ทำชัว่ การใครครวญเชนน้ีอาจชวยเปนกำลังใจใหผูปฏิบัติ มีความเพียร “ขณะนี้ฉันเปนโยคีผูปฏิบัติแลว นี่เปนโอกาส ของฉัน จะมานงั่ เสียเวลาเกยี จครานอยไู ดอยางไร หากชาติ หนาตองเกิดเปนสัตวเดรัจฉาน ฉันคงหมดโอกาสที่จะเจริญ ความเพียรเพ่ือการตรัสรูธรรม ฉะน้ันฉันจะตองไมเสียเวลา ตอ งรีบเรง ปฏบิ ัตใิ นตอนน”้ี ๒. พจิ ารณาเหน็ อานสิ งสของความเพยี ร วธิ ที ีส่ อง ในการกระตุนความเพียรกค็ ือ การระลึก ถึงประโยชนข องความเพียรซง่ึ ไดกลาวมาบา งแลว ขางตน ผู ปฏบิ ตั มิ โี อกาสอนั ลำ้ คา ทไ่ี ดม าสมั ผสั กบั พระธรรมคำสง่ั สอน ของพระพุทธองค และเมื่อไดกาวเขามาสูโลกของธรรมะท่ี ไมมีสิ่งใดเปรียบแลว จึงไมควรปลอยใหโอกาสในการท่ีจะ ดำเนนิ ตามทางทจ่ี ะนำไปสหู วั ใจแหง คำสอนของพระพทุ ธองค

๕๗ ใหหลุดลอยไป ผูปฏิบัติสามารถเอาชนะทุกขและบรรลุถึง โลกุตตรภาวะ กลาวคือ การตรัสรูธรรม ๔ ระดับของ มรรคผลและนพิ พานดวยการปฏบิ ัตขิ องตนเอง ถึงแมวาผูปฏิบัติจะมิไดมุงหวังการหลุดพนในชาติน้ี แตก็จะเปนท่ีนาเสียดายหากพลาดการบรรลุโสดาบัน หรือ ความเปนผูถึงกระแสซ่ึงปด อบายภูมิ การดำเนนิ ตามทางน้มี ิ ใชใครๆ ก็ทำได ผูปฏิบัตจิ ะตองมีความกลาหาญและมคี วาม เพยี รอยา งสงู ตอ งเปน บคุ คลทพี่ เิ ศษ เมอ่ื มคี วามเพยี รพยายาม อยางขยันขันแข็งแลว ผูปฏิบัติก็จะสามารถบรรลุเปาหมาย ที่ยิ่งใหญได ดังนั้นจึงไมควรพลาดโอกาสในการที่จะดำเนิน ตามทางท่ีจะนำไปสูแกนของพุทธธรรม หากเราพิจารณา ใครครวญดังนี้ บางทีความเพียรและแรงบันดาลใจก็จะเกิด ขน้ึ แลวผปู ฏิบตั กิ ็จะเรง ความเพยี รในการปฏบิ ตั มิ ากข้ึน ๓. พิจารณาถงึ ทางดำเนินของพระอรยิ บุคคล สาม ผูปฏิบัติอาจเตือนตนเองใหระลึกถึงพระ อริยบุคคลผูซ่ึงดำเนินตามทางน้ีมากอนแลว หนทางนี้มิใช ทางสายรอง พระพทุ ธเจา ในอดตี พระปจ เจกพทุ ธเจา พระ

๕๘ อริยสาวก พระอรหนั ต และพระอริยบคุ คลท้ังหลาย ลว นได ดำเนนิ ตามทางน้ี หากผปู ฏบิ ตั มิ คี วามประสงคจ ะเขา รว มเดนิ บนเสน ทางอนั ประเสรฐิ น้ี พงึ เพม่ิ ความแขง็ แกรง ใหก บั ตนเอง อยางมีศักดิ์ศรีดวยความขยันขันแข็ง ไมมีท่ีสำหรับบุคคลผู ขลาดหรือเกียจคราน หนทางนี้เปนหนทางของวีรบุรุษและ วรี สตรีเทาน้ัน บรรพชนผเู ดนิ บนหนทางนมี้ ไิ ดเ ปน ผปู ลกี แยก ละทง้ิ โลกเพอ่ื หนจี ากปญ หาหนสี้ นิ และความผดิ หวงั พระพทุ ธองค และเหลาพระอริยสาวกเปนผูท่ีมาจากครอบครัวท่ีร่ำรวย และมีความสุข หากทานเหลาน้ันยังคงใชชีวิตในทางโลกตอ ไป ไมตองสงสัยเลยวาทานจะอยูไดอยางสุขสบาย ในทาง ตรงขามทานเห็นความไรสาระของชีวิตทางโลกและมีสายตา ท่ียาวไกลพอท่ีจะมองเห็นความสุขและความสมปรารถนา ท่ีเหนือกวาความสุขทางโลก ยังมีบุคคลอีกจำนวนมากท่ีมี พ้นื เพธรรมดาๆ ทีไ่ ดร ับแรงกดดันทางสังคม หรือจากผูน ำ หรือจากการตอสูกับปญหาสุขภาพแลวเกิดทัศนคติที่แหวก แนว มีความมุงหวังที่จะขุดรากถอนโคนความทุกข แทน ความปรารถนาท่ีจะใหค วามทุกขน น้ั เพียงทเุ ลาเบาบางลงใน ระดับของทางโลก หรือพยายามแกแคนตอผูที่ไดกอใหเกิด ความยากลำบาก บุคคลเหลานีก้ ลบั เขารว มเดินบนหนทางสู

๕๙ ความหลดุ พน พระพทุ ธองคต รสั วา อริยสมบัติท่ีแทจริงอยทู ี่ ความบรสิ ทุ ธ์ิภายใน มใิ ชส ถานภาพทางสงั คม พระพุทธเจา ทกุ พระองคแ ละเหลา พระอรยิ สาวกลว นมจี ติ ใจทส่ี งู สง ในการ แสวงหาและปรารถนาความสุขท่ีเหนือกวาและย่ิงใหญกวา โดยการละความเปนผูครองเรือนเพื่อเดินบนหนทางนี้ท่ีจะ นำไปสูพระนิพพาน นเ่ี ปน หนทางของพระอรยิ ะไมใชห นทาง สำหรับผทู มี่ ีจติ ใจโลเลหรอื ยอมพายแพ ผูปฏิบตั ิอาจกลา วกบั ตัวเองวา “บคุ คลที่โดดเดนได เดินบนหนทางเสนน้ีมาแลว และฉันจะตอ งพยายามเพื่อท่จี ะ สามารถอยรู วมกับทานได ฉนั จะมิอาจปฏบิ ัติอยางฉาบฉวย ไดในที่นี้ ฉันจะตองเดนิ อยา งระมัดระวงั ใหม ากทส่ี ุดเทา ท่ีจะ ทำได โดยปราศจากความกลัวเกรง ฉันมโี อกาสจะไดเ ปน สมาชิกของอริยวงศซึ่งเปนครอบครัวของอริยบุคคลผูซ่ึงเดิน บนหนทางแหง อริยมรรคน้ี ฉนั ควรที่จะแสดงความยินดกี บั ตนเองทไ่ี ดม โี อกาสปฏบิ ตั ิวปิ ส สนากรรมฐาน ทา นเหลาน้นั ไดเคยเดินบนทางสายนแ้ี ละไดบรรลุธรรมขน้ั ตา งๆ มากมาย ดงั นน้ั ฉันกม็ โี อกาสทีจ่ ะเขา ถึงธรรมเชนเดียวกัน” ดวยการพจิ ารณาใครครวญเชนนี้ ความเพียรก็ สามารถเกิดข้ึนและนำผูปฏิบัติใหบรรลุถึงจุดมุงหมายคือ พระนิพพานได

๖๐ ๔. พิจารณาคุณของผูเก้อื หนนุ ปจจยั ท่ี ๔ ในการเจริญความเพยี รก็คอื ความ เคารพและรูสกึ ขอบคณุ ตออาหารบณิ ฑบาต ตลอดจนปจ จยั ตา งๆ ที่จำเปนในการดำรงชวี ติ สำหรบั พระสงฆและแมช นี ี่ หมายถึงการเคารพตอ ส่งิ ของบรจิ าคของอุบาสก อบุ าสิกา มใิ ชเ ฉพาะขณะที่รับสง่ิ ของทบี่ ริจาคเทา นัน้ แตด ว ยการ ระลึกอยูตลอดเวลาวาความศรัทธาของผูอ่ืนน้ีทำใหการ ปฏิบตั ิของเราสามารถดำเนินตอ ไปได ผูปฏิบัติเองก็ตองพึ่งพาอาศัยความเกื้อหนุนจาก ผอู นื่ ในดา นตางๆ จากบิดามารดาและมติ รสหาย ซึ่งอาจ ใหการชวยเหลือไมวาในทางการเงินหรือในการแบงเบา ภาระทางการงานเพ่ือใหผูปฏิบัติสามารถเขาอบรมวิปสสนา กรรมฐานได ถึงแมวาผปู ฏบิ ัติจะออกเงินเอง แตกย็ ังมอี ีก หลายสิง่ หลายอยา งที่ตองอาศยั การบรกิ ารจากผูอ่นื อาคาร ท่ีใชเ ปนท่พี กั พิงกส็ รา งไวพ รอมแลว นำ้ และไฟฟากม็ ีผูจดั หา ให อาหารมีอาสาสมคั รหงุ หาให และความตอ งการอื่นๆ ของผูปฏิบัติก็ไดรับการอำนวยความสะดวกและดูแลเปน อยางดี ผปู ฏบิ ตั ิพึงมคี วามเคารพและขอบคุณอยางลึกซง้ึ ตอ

๖๑ บริการที่ไดรับจากบุคคลผูท่ีไมไดมีความเก่ียวของอะไรกับผู ปฏิบัตเิ ลย แตเปนผูทม่ี ีจติ ใจดแี ละใจบุญสุนทาน ผูป ฏิบัติอาจกลาวกับตวั เองวา “ฉนั ควรจะปฏบิ ัติให หนกั ทส่ี ดุ เทา ทจี่ ะทำได เพอื่ ใหส มกบั คณุ ความดขี องผบู รกิ าร เหลา นี้ นคี่ อื วธิ ที จ่ี ะตอบแทนและตอบสนองตอ คณุ ความดขี อง ผูที่มีศรัทธาเก้ือหนุน อยาใหความพยายามของทานเหลานี้ สญู เปลา เลย ฉนั จะใชส งิ่ ของทกุ อยา งทไี่ ดร บั มาอยา งมสี ตเิ พอ่ื ลดิ รอนและทำลายกเิ ลสอยา งชา ๆ เพอื่ ใหก ศุ ลกรรมของทา น เหลานเี้ กิดอานิสงสส มความมุงหมาย” พระพุทธองคทรงกำหนดพระวินัยไวเพ่ือรักษา ระเบียบของภิกษุ และภกิ ษุณี หนึง่ ในพระวินัยน้ันกค็ อื ทรงมี พทุ ธานุญาตใหร บั ของบริจาคจากผูมจี ิตศรัทธา แตมิใชเพือ่ ใหพระสงฆและแมชีมีชีวิตอยูอยางหรูหราฟุมเฟอย ปจจัยนี้ สามารถรับไดและนำไปใชในการดูแลความเปนอยูของพระ สงฆและแมชีอยางเหมาะสม เพื่อใหทานมีสภาวะพ้ืนฐานที่ เอ้อื อำนวยตอการทำลายลางกิเลส เม่อื ไมตอ งวติ กเร่ืองการ กินอยู ผูปฏิบัติก็สามารถทุมเวลาใหกับการปฏิบัติทั้งสาม อยา ง คือ ศลี สมาธิ และปญญา เพื่อใหพ นทุกขไดใ นที่สดุ

๖๒ ๕. พิจารณาถงึ มรดกอันยงิ่ ใหญ ทพ่ี ระพุทธเจา ทรงประทานไว วธิ ีท่หี า ในการเจริญวริ ิยะไดแ ก การพจิ ารณาวา เปน ผไู ดร บั มรดกอนั ยง่ิ ใหญ กลา วคอื อรยิ สมบตั ซิ งึ่ ประกอบดว ย คณุ สมบัติ ๗ ประการ คือ ศรัทธา ศลี หิริ โอตตัปปะ สุตะ จาคะ และปญญา เนื่องจากอริยทรัพยเหลานี้มิใชรูปธรรม จึงม่ันคง ถาวร ในทางตรงกันขาม มรดกที่ผูปฏิบัติไดรับจากบิดา มารดา เปนวตั ถุจึงอาจสูญหาย เนา เปอ ย และแตกสลายได นอกจากนมี้ รดกทางโลกอาจเปน เหตแุ หง ทกุ ขน านปั การ เชน บางคนก็ถลุงสมบตั ใิ หห มดไปอยางรวดเร็ว ขณะท่บี างคนไม พอใจกบั สง่ิ ทีไ่ ด แตอริยสมบัตินี้มีแตคุณ เพราะชว ยคมุ ครอง และยกระดบั จิตใหส ูงขน้ึ อริยสมบตั จิ ะตดิ ตามเจาของไปทกุ ภพทุกชาติตลอดการเวียนวา ยในวฏั ฏสงสาร ในทางโลก หากลกู หลานเกเร พอ แมอ าจตดั ออกจาก กองมรดก เชน เดยี วกบั ในทางธรรม หากผปู ฏบิ ตั เิ ปน คนเหลว ไหลและเกียจคราน กจ็ ะไมไดร ับอรยิ สมบัติทัง้ เจ็ดเชนกนั ผู ปฏบิ ตั ทิ อี่ ดทนและมคี วามเพยี รพยายามอยา งตอ เนอื่ งเทา นนั้ ที่จะคูค วรกบั การไดรับอรยิ สมบัติ

๖๓ ความเพียรจะพัฒนาเต็มท่ีก็ตอเม่ือผูปฏิบัติเกิด ญาณปญญาท่ีสูงขึ้นตามลำดับจนถึงมรรคญาณและผล ญาณ ความเพยี รที่สมบรู ณเชนน้ีเองท่ีทำใหผูปฏิบัติคคู วร กับอรยิ สมบัตอิ ยา งแทจ ริง หากผูปฏิบัติพยายามขวนขวายพัฒนาความเพียร อยางตอ เนอ่ื ง คณุ สมบัตเิ หลา นีก้ ็จะเกิดข้นึ คงอยอู ยา งถาวร หากพิจารณาดังนี้ผูปฏิบัติก็จะมีกำลังใจเขมแข็งมากข้ึนใน การปฏบิ ัติ ๖. พจิ ารณาถึงความยง่ิ ใหญ ของพระศาสดาผปู ระเสริฐ การพิจารณาขอท่ีหกในการพัฒนาความเพียร คือ การระลึกถึงความย่ิงใหญและพระปญญาคุณของพระพุทธ องคผูทรงคนพบและสั่งสอนสัจจธรรมนี้ ความยิ่งใหญนี้ สามารถเห็นไดจากการที่แผนดินสั่นสะเทือนถึงเจ็ดคร้ังใน พุทธสมัย คร้ังแรกเมื่อพระโพธิสัตวปฏิสนธิเปนพระชาติ สุดทายในพระครรภของพุทธมารดา ครั้งท่ีสองเมื่อเจาชาย สิทธัตถะเสด็จหนีออกจากวังเพื่อออกบวช และอีกคร้ังเมื่อ

๖๔ ตรัสรู ครั้งที่ส่ีเมื่อทรงแสดงปฐมเทศนา คร้ังท่ีหาเมื่อทรง เอาชนะมารได ครั้งที่หกเม่อื เสดจ็ ลงจากดาวดึงส หลงั จาก ทรงแสดงพระอภิธรรมแกพ ทุ ธมารดาแลว และครง้ั ที่เจ็ดเมือ่ พระพทุ ธเจา ทรงดับขันธปรินิพพาน ผูปฏิบัติพึงพิจารณาถึงพระมหากรุณาธิคุณ พระ ปญ ญาคณุ ของพระพทุ ธองค มเี รอื่ งราวมากมายเกย่ี วกบั การ สรา งบารมขี องพระองค ระยะเวลาและความทมุ เททพ่ี ระองค ทรงอุทิศใหเพ่ือบรรลุจุดหมาย บารมีท่ีพระองคทรงสราง และพระเมตตาที่มีตอมวลมนุษย พึงระลึกวาหากผูปฏิบัติ พากเพียรตอไปก็อาจบรรลุคุณสมบัติที่ย่ิงใหญเหลานี้ไดเชน เดยี วกัน กอนที่พระพุทธองคจะตรัสรู สิ่งมีชีวิตท้ังหลายตาง ตกอยูในเมฆหมอกแหง โมหะและอวิชชา ทางแหงความหลดุ พน ยงั ไมม ใี ครคน พบ ทกุ ชวี ติ ลว นตะเกยี กตะกายอยใู นความ มืด หากชนเหลานั้นปรารถนาความพนทุกขก็ตองแสวงหา หนทางเอาเอง หรือปฏิบัติตามวิธีที่มีผูประกาศเอาไว แตก็ ยงั ไมใชห นทาง มวี ิธีตางๆ มากมาย นบั ตัง้ แตการบำเพญ็ ตบะทรมานตนเองไปจนถึงการหมกมุนอยูในกามคุณอยาง ไมมีขดี จำกัด

๖๕ ความตงั้ ใจเพอื่ โปรดสัตว ครง้ั หนง่ึ พระพทุ ธองคเ กดิ เปน ฤๅษชี อื่ สเุ มธดาบส ใน สมัยของพระทปี งกรสมั มาสัมพทุ ธเจา ทา นสุเมธดาบส เหน็ วา ชนทงั้ หลายตอ งทนทกุ ขอ ยใู นความมดื ไมม ที างปลดเปลอื้ ง ตนเองไดหากไมมีผูตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจาเสด็จ มาโปรด ทา นจงึ ตดั สนิ ใจทจ่ี ะไมต รสั รู (เปน พระอรหนั ตสาวก) ในชาตนิ ้ัน ซึ่งหากมพี ระประสงคก็สามารถจะทำได แตทาน กลบั อธษิ ฐานในการสรา งบารมเี พอ่ื เปน พระสมั มาสมั พทุ ธเจา ไมวาจะใชเวลาอีกกี่อสงไขยกัปปก็ตาม ดวยปรารถนาท่ีจะ ชว ยสตั วใ หพนจากทกุ ข มิใชเฉพาะพระองคเอง เมื่อบารมีเปยมลนพระพุทธองคทรงมีความโดดเดน เปน เลศิ ในเวลาตรสั รพู ระพทุ ธองคท รงประกอบดว ยองคส าม คอื พระบารมที างเหตุ ผล และความเปนอปุ การะเกอื้ กลู พระพุทธคุณประการแรกไดแกการสั่งสมบารมี มาหลายภพหลายชาติ ทัง้ จาคะ เมตตา และคณุ ธรรม พระพุทธองคทรงสละพระองคเองเพื่อผูอื่นจนตรัสรูท่ีใตตน พระศรมี หาโพธแ์ิ ละถึงพรอมดวยพระสพั พญั ตุ ญาณ ญาณ ซงึ่ เปน ความสำเร็จ เรียกวา พทุ ธบารมีท่ีใหผล อนั เน่ืองมา จากการสรางบารมีในทางเหตุ กลาวคือการสรางวสิ ุทธิคณุ

๖๖ ในทางจติ สวนพระพทุ ธคุณประการทีส่ ามของพระพุทธองค คือพระมหากรุณาธิคุณในการสั่งสอนเวไนยสัตวเปนเวลา นานหลายป มใิ ชเพราะความภาคภูมใิ นพระโพธิญาณ แต ดวยพระเมตตาและพระกรุณาท่ีมีตอหมูสัตวท่ีสามารถฝกได จึงทรงสั่งสอนนับแตตรัสรูโดยไมเห็นแกความเหน็ดเหน่ือย ทรงแบงปนพระธรรมแกผูท่ีพรอมจนกระท่ังเสด็จดับขันธ ปรินิพพาน การพิจารณาใครครวญถึงพุทธบารมีท่ีย่ิงใหญนี้จะ ชวยใหผูป ฏบิ ตั ิมกี ำลงั ใจในการปฏบิ ัตติ อ ไป ความเมตตานำสกู ารปฏิบัติ ความเมตตาเปนแรงบันดาลใจเพียงประการเดียว ของพระโพธิสัตวสุเมธดาบสในการเสียสละการตรัสรูธรรม ของทา นเอง เพ่ือสรา งบารมเี ปนพระพุทธเจา ดว ยพระเนตร ทีเ่ ปยมดว ยพระมหากรุณา เมื่อทรงเห็นวาหมูส ัตวตองตกอยู ในความทกุ ขเ พราะดำเนินทางผดิ จงึ ทรงอธิษฐานทจ่ี ะสราง ปญญาบารมีในการชว ยเหลอื มวลมนุษย

๖๗ แตความเมตตาจะตองนำสูการปฏิบัติดวย และ การปฏิบัติตองประกอบดวยปญญาจึงจะสัมฤทธิ์ผลเพราะ ปญ ญาสามารถแยกแยะหนทางทถ่ี กู และผดิ ออกจากกนั หาก ประกอบดวยเมตตาแตขาดปญญา อาจกอใหเกิดผลราย มากกวาผลดี และในทางกลับกันหากถึงพรอมดวยปญญา จนบรรลุโลกตุ ตรธรรมแลว แตป ราศจากความเมตตา บาง ทานก็อาจไมทำอะไรเลยในการท่จี ะชว ยเหลอื ผอู นื่ ดังนน้ั ทัง้ พระปญ ญาคุณและพระกรณุ าคณุ ทมี่ ีพร่งั พรอม ทำใหพ ระพทุ ธองคทรงยอมเวียนวา ยอยูในสงั สารวัฏ อยางอดทนแมจะถูกดูหมิ่น ถูกทำรายก็ทรงอดทนและอด กลน้ั กลา วกนั วา หากจะรวมความเมตตาของมารดาทงั้ หลาย ในโลกทม่ี ตี อ บตุ ร ยงั ไมอ าจเปรยี บไดก บั พระมหากรณุ าธคิ ณุ ของพระพุทธองค แมวามารดาจะสามารถใหอภัย แตการ เลยี้ งดบู ตุ รจนเติบใหญม ใิ ชเรอ่ื งงา ยเลย เด็กบางคนกา วราว และสามารถทำรา ยมารดาของตนได และไมว า ความผดิ นนั้ จะ รา ยแรงเพยี งใด หวั ใจของแมพ รอ มเสมอทจ่ี ะใหอ ภยั แกล กู แต นำ้ พระทยั ของพระพทุ ธองคใ นการใหอ ภยั เหนอื ชน้ั กวา เพราะ เปนการใหอภยั อยา งไรข อบเขต อภยั ทานน้ีเปน การแสดงถงึ พระมหากรณุ าธคิ ุณทีย่ ง่ิ ใหญประการหน่ึง

๖๘ ครั้งหนึ่งพระโพธิสัตวเสวยพระชาติเปนพญาวานร ขณะกำลังหอยโหนอยูในปาก็ไดพบพราหมณคนหน่ึงตกอยู ในหลมุ ชวยตัวเองไมได จึงเกดิ ความสงสารเนอื่ งจากพระ โพธสิ ตั วไ ดเจริญเมตตาบารมีมาหลายชาติ พระโพธิสัตวเตรียมท่ีจะกระโดดลงไปในหลุมเพื่อ ชวยพราหมณ แตยังไมแนใจวาพระองคจะมีแรงพอที่จะอุม พราหมณข้ึนมาหรือไม แลวพระองคก็เกิดปญญาวาควรจะ ทดสอบกำลังโดยการยกกอนหินที่วางอยูขางๆ กัน เมื่อได ลองดูทานก็แนใจวามกี ำลังพอท่ีจะชวยเหลอื พราหมณไ ด พระโพธิสัตวปนลงไปในหลุมอยางกลาหาญแลวอุม พราหมณนั้นข้ึนมาสูท่ีๆ ปลอดภัย เสร็จแลวก็หมดแรงลม ลง พราหมณน น้ั แทนทจี่ ะระลกึ ถงึ บญุ คณุ กลบั ยกกอ นหนิ ขน้ึ แลว ทบุ หวั พญาวานรเพอ่ื เอาเนอื้ กลบั ไปเปน อาหาร พอตนื่ ขนึ้ พญาวานรก็พบวากำลังอยใู กลความตาย จงึ รูไดว า เกดิ อะไร ขน้ึ แตก ม็ ไิ ดถ อื โกรธเนอ่ื งจากไดส รา งบารมใี นการใหอ ภยั มา ดแี ลว จงึ กลา วกบั พราหมณว า “สมควรแลว หรอื ทที่ า นจะฆา เรา เม่อื เราเพิ่งชว ยชวี ิตทา น” พระโพธิสัตวระลึกไดวาพราหมณนั้นหลงปามาและ คงไมอ าจกลบั บา นเองไดโ ดยปราศจากผนู ำทาง ความเมตตา ของทานไมส้ินสุด พญาลิงกัดฟนพยายามพาพราหมณออก

๖๙ จากปา แมจ ะมเี ลอื ดออกมามากมาย พญาวานรบอกทางให พราหมณห าทางออกจากปา จนสำเร็จ แคเพยี งเสวยพระชาติเปนพญาวานร พระพุทธองค ยงั ทรงมพี ระเมตตาและพระปญญาถงึ ปานน้ี ลองพจิ ารณา ดูเถิดวาเมื่อพระพุทธองคไดทรงสรางสมบารมีจนบริบูรณ และไดตรสั รูแลว จะทรงมพี ระเมตตาคุณและพระปญ ญาคุณ ทีย่ ิง่ ใหญสักปานใด พระสพั พัญุตญาณ หลังจากเสวยพระชาติเปนพระโพธิสัตวจนนับไม ถว น ในพระชาตสิ ดุ ทายทรงเกดิ เปน มนุษย เมือ่ บารมีเปยม ลน พระองคก ็ทรงเริม่ แสวงหาทางสูค วามหลดุ พน หลงั จากไดท ดลองวธิ ีตา งๆ มามากมาย ในท่สี ดุ ก็ทรงคนพบ อรยิ มรรคทีท่ ำใหพ ระองคแทงตลอดในความไมเทย่ี ง ความ เปนทกุ ข และความไมใชตัวไมใ ชต นของสภาวธรรมท้ังปวง เมอื่ การปฏิบัตกิ าวหนาข้ึน พระพทุ ธองคท รงบรรลุญาณ ขั้นตางๆ และบรรลเุ ปนพระอรหันตใ นท่สี ดุ ทรงพน จาก ความโลภ ความโกรธ และความหลงโดยส้นิ เชงิ จากนั้น

๗๐ พระสัมมาสัมโพธิญาณก็ปรากฏขึ้นพรอมดวยปฏิสัมภิทา ญาณแหงพุทธวสิ ัย พระสัมมาสมั โพธิญาณหมายถงึ หาก พระพุทธองคมีพระประสงคจะรูเรื่องหนึ่งเรื่องใดเพียงแตนึก คำถาม คำตอบก็จะปรากฏขนึ้ เองโดยปกติ เพราะเหตแุ หงการตรสั รู พระพทุ ธองคจ ึงทรงถึง พรอมดวย “พระสัพพัญตุ ญาณ” สมดงั พระนามเต็มอนั เปนท่รี ูจักกนั ดวยเหตแุ ละบารมีที่ไดทรงสรา งไวในอดตี ชาติ เม่ือตรัสรูแลวพระพทุ ธองคท รงรำลึกถงึ คำอธิษฐาน ท่ีไดตั้งปฏิญญาไวเมื่อครั้งเสวยพระชาติเปนสุเมธดาบสใน อนั ท่ีจะชวยรอื้ ขนสตั วขามมหาสมทุ รแหง วัฏฏทุกข เพราะ เหตแุ หงการตรสั รู พระมหากรุณาและพระปญ ญาจึงเปย ม ดวยพลงั และประสิทธิภาพอนั ประมาณมไิ ด พระพุทธองคจึง ทรงเริม่ สั่งสอนธรรมอยางตอเนือ่ งเปนเวลา ๔๕ พรรษา จน กระท่งั เสด็จดับขนั ธปรินิพพาน พระพุทธองคท รงพักผอ น เพียงวันละ ๒ ชวั่ โมง ทรงทมุ เทเวลาท่มี ีอยใู หก บั การเผยแผ ธรรม เพ่ือชว ยใหเ วไนยสตั วไดร บั ผลและประสบแตค วาม ผาสุกดวยวธิ ีตางๆ แมใ นเวลาทอ่ี าพาธหนักใกลปรนิ พิ พาน พระพุทธองคย งั ไดตรัสสอนสภุ ทั ทะ นักบวชจากศาสนาอื่น จนบรรลุธรรมซง่ึ นบั เปน พระสาวกองคส ุดทา ย

๗๑ พระนามท่ีสามของพระพุทธบารมี คือ “พระพุทธ คุณในการดแู ลใหสตั วโ ลกอยเู ยน็ เปน สขุ ” ซงึ่ เปน ผลจากสอง ขอ แรก มคี ำถามวา เมื่อพระพทุ ธองคต รสั รแู ละประหารกเิ ลส ไดโ ดยสนิ้ เชงิ แลว เหตใุ ดจงึ ยงั ดำรงพระชนมอ ยใู นโลก เหตใุ ด จงึ ทรงสมาคมกบั หมคู น ผปู ฏบิ ตั พิ งึ ระลกึ วา พระพทุ ธองคน น้ั ปรารถนาที่จะนำสตั วโ ลกใหพนจากวฏั ฏทุกขแ ละดำเนินชีวิต ในทางทถี่ ูกตองดวยพระมหากรณุ าธคิ ณุ และพระปญ ญาคุณ ดวยพระปญญาคุณพระพุทธองคสามารถจำแนก ประโยชนออกจากโทษได หากบุคคลไมสามารถแยกแยะได อยางชัดเจนแลว จะเกื้อกูลผูอ่ืนไดอยางไร แนนอนวาผูมี ปญ ญายอ มรูห นทางแหงความสขุ และความทุกข แมก ระนนั้ ก็ตามหากบุคคลปราศจากความกรุณา ก็ยอมจะไมรูสึก รูสมกับชะตากรรมของสัตวท้ังหลาย ดวยพระมหากรุณา พระพุทธองคทรงแนะนำใหพุทธบริษัทหลีกจากอกุศลกรรม อันจะนำมาซึ่งทุกขโทษ และดวยพระปญญาคุณพระพุทธ องคท รงสามารถเลอื กสรรพระธรรมในการสง่ั สอนพทุ ธบรษิ ทั อยา งชัดเจนและสัมฤทธิ์ผล พระเมตตาและพระปญญาคุณนี้ ทำใหพระพุทธองคเ ปนพระบรมครทู เ่ี หนอื กวาครทู ัง้ ปวง

๗๒ พระพทุ ธองคมไิ ดกระทำเพือ่ ลาภ ยศ สรรเสรญิ หรอื เพอ่ื การมบี ริวารมากมาย หรอื เพือ่ ประโยชนท างสังคม พระพุทธองคทรงกระทำแตเพียงเพื่อชี้หนทางท่ีถูกตองให สัตวท้งั หลายสามารถรธู รรมไดตามกำลงั ของตน นค่ี ือพระ มหากรุณาธคิ ณุ เม่อื เสร็จพทุ ธกิจ พระพทุ ธองคก ็จะเสด็จ เขาไปอยใู นปาทีส่ งบวิเวก มไิ ดอยูท ามกลางฝูงชน สรวลเส เฮฮาอยูกบั หมูช น พระพุทธองคทานมไิ ดท รงแนะนำลูกศิษย ใหรูจ กั กนั (เหมอื นศูนยบ ริการตดิ ตอ ) การมชี วี ติ ที่สงบวเิ วก มิใชเรอ่ื งงาย ปุถชุ นคนธรรมดาคงไมอาจมคี วามสุขอยกู ับ ความวิเวกโดยลำพังได แตพระพทุ ธองคกม็ ิใชบคุ คลธรรมดา คำแนะนำสำหรับวปิ ส สนาจารย สำหรับผูที่ประสงคจะเปนธรรมกถึกหรือวิปสสนา จารย พงึ ระมัดระวงั ในความสัมพนั ธกบั ศิษย ความสมั พนั ธ ใดๆ ควรอยูบนพ้ืนฐานของความเมตตาตามเบ้ืองพระ ยุคลบาทของพระผูมีพระภาคเจาเทานั้น ทั้งนี้เพราะความ สมั พนั ธก บั ศษิ ยท ใี่ กลช ดิ เกนิ ไปอาจกอ ใหเ กดิ ผลเสยี เนอ่ื งจาก อาจทำใหข าดความเคารพและความนบั ถือได

๗๓ วิปสสนาจารยควรดำเนินรอยตามอยางพระพุทธ องคในการใหกำลังใจที่เหมาะสมและในการแสดงธรรม มไิ ดมุงเพอื่ ความมชี ่อื เสยี ง แตมงุ ใหประโยชนอยา งแทจริง พระพุทธองคท รงใหห ลักการในการทำใหกาย วาจา ใจ สงบเพื่อกอใหเกิดสนั ติสขุ วปิ ส สนาจารยพ งึ หมั่นตรวจสอบ แรงจูงใจของตนอยเู สมอๆ มีผูถามวาจะสอนกรรมฐานอยางไรจึงไดผลดีที่สุด อาตมาตอบวา “ประการแรกสุด ผสู อนจะตองปฏบิ ัตจิ นเกิด ความชำนาญกอน จากนัน้ จงึ แสวงหาความรูทางทฤษฎจี าก พระไตรปฎ ก สดุ ทา ยจงึ นำความรทู งั้ สองนน้ั มาผนวกกนั โดย มพี น้ื ฐานอยบู นความเมตตาและกรณุ าอยา งแทจ รงิ หลกั การ สามประการนี้จะทำใหก ารสอนไดผลดี” ในโลกนบ้ี คุ คลจำนวนมากพอใจกบั ชอื่ เสยี ง เกยี รตยิ ศ และความสำเร็จจากโชควาสนา บุคคลเหลานั้นอาจยังมิได ประพฤตปิ ฏบิ ตั โิ ดยการสรา งเหตใุ หส ำเรจ็ ดงั ทพ่ี ระพทุ ธองค ไดทรงปฏิบัติมาแลว บุคคลเหลานั้นอาจยังมิไดทำงานหนัก แตประสบความสำเร็จหรือความร่ำรวยดวยความบังเอิญ พวกเขามักถูกวิพากษวิจารณวา “ไมนาเช่ือวาคนพวกนั้น ประสบความสำเร็จไดอ ยางไร เหลวไหลและเกียจครา น ไม สมควรท่ีจะไดรบั สิ่งเหลา นี้เลย”

๗๔ หลายๆ คนอาจทำงานหนัก แตอ าจเปนเพราะขาด ปญญา หรอื พรสวรรค จึงทำใหประสบความสำเรจ็ ชา หรอื ไมส ำเร็จเลย บคุ คลเหลา น้ีจึงไมอ าจกระทำผลใหสำเรจ็ แต ก็ไมพน การครหาเชนกัน “นายคนนัน้ นา สงสารจัง ทำงาน หนกั เหลอื เกนิ แตไ มค อ ยมีสมอง” นอกจากน้ียังมีกลุมบุคคลที่ทำงานหนักแลวประสบ ความสำเรจ็ เมื่อบรรลุจุดมุงหมายแลว สามารถนอนหลบั พัก ผอ นอยบู น “บลั ลังก” แหงความสำเรจ็ ได ตา งจากพระพทุ ธ องคท่ีพระองคทรงนำความสำเร็จอันยิ่งใหญน้ีชวยเหลือ เกอื้ กลู แกม วลมนษุ ย บคุ คลทก่ี ลา วมาไมย อมชว ยเหลอื สงั คม หรอื ผอู น่ื เขาเหลา นน้ั กจ็ ะตอ งไดร บั คำครหา “ดซู วิ า พวกนน้ั เหน็ แกต ัวแคไ หน มีทรพั ยสมบัติ เงินทอง และความสามารถ พิเศษมากมาย แตไ มมเี มตตาหรือนำ้ ใจเลย” เปนการยากที่จะหลีกหนีคำครหาหรือคำวิพากษ วิจารณในโลกน้ี คนสวนใหญมักซุบซิบนินทา คำวิจารณ เปนแคค ำครหานนิ ทา แตบางอยางกเ็ ปนเร่ืองจรงิ ทช่ี ใ้ี หเ หน็ ขอ บกพรอ งในตวั บคุ คลนน้ั พระพทุ ธองคจ งึ ทรงเปน พระมหา บรุ ษุ ทวี่ เิ ศษ สามารถกระทำความสำเรจ็ ใหบ งั เกดิ ขน้ึ ดว ยการ สรา งเหตทุ ใี่ หผ ล และนำมาใชป ระโยชนอยางแทจรงิ

๗๕ เราอาจเขียนหนงั สอื ไดเปนเลม ๆ ในการพรรณนา พระพุทธคุณของพระบรมศาสดาผูทรงเปนท้ังผูคนพบและ บรมครแู หง ทางหลุดพน ในทีน่ อ้ี าตมาปรารถนาเพยี งเปด ประตูใหผูปฏิบัติไดระลึกถึงพระพุทธคุณอันยิ่งใหญของ พระพุทธเจา เพอื่ จะไดมีกำลงั ใจในการปฏบิ ตั ิ เมื่อระลึกถึงพระพุทธคุณ ผูปฏิบัติอาจเปยมไปดวย ความยำเกรง ความช่ืนชม และเกิดความรูสึกซาบซ้ึงถึง โอกาสอนั ยง่ิ ใหญใ นการทจ่ี ะไดเ ดนิ บนหนทางทพี่ ระมหาบรุ ษุ ไดทรงคนพบและนำมาส่ังสอน บางทีผูปฏิบัติอาจรูแกใจได วาการเดินบนหนทางสายน้ี ผูปฏิบัติไมอาจทำตัวเหลวไหล เฉ่ือยชา หรือเกยี จครา นได อาตมาหวงั วา ผปู ฏบิ ตั จิ ะไดร บั แรงบนั ดาลใจ มคี วาม กลาหาญ เขม แข็งและอดทน และสามารถเดินตามหนทางน้ี ไปจนถงึ ที่สุด ๗. พจิ ารณาถึงชาติอนั ประเสรฐิ การพิจารณาประการที่เจ็ดในการเจริญความเพียร คือ การพิจารณาถงึ ชาติอนั ประเสรฐิ ขณะนเ้ี รากำลงั ปฏิบตั ิ

๗๖ วิปสสนากรรมฐานตามหลักของสติปฏฐานสูตร ซึ่งเปนคำ สอนของพระพุทธองคเกี่ยวกับฐานท้ังส่ีของสติ ดังน้ันอาจ กลา วไดว า เราเปน เชอ้ื สายของพระพทุ ธองค ผปู ฏบิ ตั คิ วรภาค ภมู ิใจทจ่ี ะเรียกตนเองวา ธรรมทายาท เมือ่ เราเจรญิ วปิ สสนากรรมฐาน เราไดร บั สายเลือด ของพระธรรม ไมส ำคญั วาเราจะหางไกลจากสถานทีป่ ระสตู ิ ของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา เพยี งใด หรอื มเี ชอื้ ชาติ ศาสนา หรอื ประเพณตี า งกนั อยา งไร ความแตกตา งนไ้ี มม คี วามสำคญั เลย ตราบใดที่เรายงั ยึดม่นั ตอ ไตรสิกขา อันไดแก ศลี สมาธิ และ ปญ ญา เราทง้ั หลายตา งกเ็ ปน สมาชกิ ครอบครวั ของพระธรรม เหมือนๆ กัน พระธรรมเปนสายเลอื ดของเรา เชน เดยี วกับ สายเลอื ดทแี่ ลน อยใู นกายของพระอรยิ บคุ คลในสมยั พทุ ธกาล ผซู ง่ึ ผา นการฝก ฝนเชน เดยี วกนั นี้ พงึ ปฏบิ ตั อิ ยา งเขม แขง็ ดว ย ความเคารพและเชอ่ื ฟง เรากส็ ามารถมชี วี ติ ทค่ี คู วรกบั ชาตอิ นั ประเสริฐน้ี พ่ีนองนักปฏิบัติธรรมในสมัยพุทธกาลลวนมีวิริยะ อุตสาหะและความกลาหาญที่ย่งิ ใหญ ไมย อมพา ยแพ มงุ มน่ั ปฏิบัตจิ นกระท่งั บรรลุถงึ ความพน ทกุ ข ในเม่อื เราเปน ธรรม ทายาท เราจะตอ งไมคิดที่จะยอมพายแพเชนกัน

๗๗ ๘. พจิ ารณาถงึ เพื่อนพรหมจรรย ผูมคี วามขยันหม่นั เพยี ร ขอควรพิจารณาประการท่ีแปดในการเจริญความ เพยี ร คอื การระลกึ ถึงอรยิ ชนผูล ว งมากอนแลว ในภาษาบาลี เรียกวา พรหมจริยา หมายถงึ ผูท ด่ี ำเนินชีวติ อันประเสรฐิ ในสมยั กอ นมีภิกษุ ภกิ ษณุ ี สิกขมานาหรือสตรีผู เตรียมบวชเปน ภิกษุณี และสามเณร สามเณรี เม่อื เวลาลวง ไป ภกิ ษณุ ีในลัทธิเถรวาทกห็ มดลง หากจะพดู ใหถกู แลว ปจจุบนั คณะสงฆป ระกอบดว ยภิกษุ และสามเณร ผูป ฏบิ ัติ ตามพระวนิ ัยของพระศาสดา นอกจากน้ียงั มอี นาครกิ ชาย หญิง และศีลจารณิ ี หรอื แมชี ผูท ่ถี งึ แมวาจะรกั ษาศลี นอ ย กวา แตก ย็ ังนบั วา เปน ผทู ี่ใชชีวติ อนั ประเสรฐิ อยางไรกต็ าม ผปู ฏบิ ตั ิธรรมทกุ คนไมว า จะบวช อยางเปน ทางการหรอื ไม ยอ มมีคณุ สมบัติแหงความบริสุทธิ์ ศลี สมาธิ และปญญาเหมอื นกัน ในฐานะผปู ฏิบตั ธิ รรม ทกุ ทา นมีคุณสมบัตเิ หลา นี้เชนเดียวกับพระสารบี ุตร และพระ โมคคลั ลานะ พระอคั รสาวกฝา ยขวา ฝายซาย และพระ มหากัสสปะ ฝายภกิ ษุณสี งฆก ม็ ีพระนางมหาปชาบดีโคตมี

๗๘ เถรกี ับบรวิ าร ตลอดจนเหลาพระภิกษุณผี ยู ่ิงใหญแ ละกลา หาญในการปฏิบัตธิ รรมทั้งหลาย บรุ ุษสตรีท่ีมีชอ่ื เสยี งเหลา นีล้ วนเปนสหธรรมมิกของเรา เราสามารถศึกษาประวัติ และรำลกึ ถึงความยิง่ ใหญ ความกลา หาญและความมงุ ม่ัน ของทาน ในการคิดใครค รวญน้นั เราพึงถามตนเองวา เราได ประพฤตติ นจนถึงมาตรฐานอนั สงู สง นแี้ ลวหรือยงั เราอาจ มีกำลังใจเมื่อคิดวาทานเหลานั้นเปนกำลังใจใหเราในความ พากเพียรในแตละวัน

๗๙ ไมเ ปน ทร่ี กั ท่ีปรารถนา : เร่อื งของพระโสณาเถรี มีพระภกิ ษณุ ีผูมีช่อื เสยี งทา นหน่งึ ชอ่ื พระโสณา เถรี กอ นบวชเปนภิกษุณี ทา นเคยแตง งานและมลี ูก ๑๐ คน นบั เปนครอบครัวใหญสำหรับยุคปจจบุ นั พอลูกแตละคน เติบโตขึน้ กอ็ อกจากบานไปมคี รอบครวั ของตนเอง เมอื่ ลกู คนสุดทา ยแตงงาน สามขี องนางโสณากต็ ดั สินใจออกบวช ตอมานางโสณาจึงรวบรวมทรัพยสมบัติที่ไดสรางสมรวมกับ สามีแจกจา ยใหแ กล ูกๆ แลว ขอใหพวกเขาดูแลนางเปนการ ตอบแทน ในระยะแรก นางโสณากม็ ีความสขุ ดี ไปอยกู บั ลกู คนนั้นทคี นน้ที ี และดเู หมือนวานางโสณาจะเปนหญงิ สงู วยั มอี ายรุ าว ๖๐ หรือ ๗๐ แตแ ลว ลูกๆ ก็เริ่มรสู ึกรำคาญ พวก เขาวุน วายอยูก ับครอบครวั ของตนเอง พอนางมาถงึ พวกเขา กร็ ำพงึ วา “โอ แมย าย/แมส ามมี าอีกแลว ” นางสงั เกตเหน็ ความเฉอื่ ยชาน้ันจงึ เร่มิ รูสกึ หดหู และเรมิ่ ตระหนักวา นีม่ ใิ ช ชีวติ ที่ประเสริฐในการถูกมองวา เปนตวั กอ กวน ไมเปนทรี่ กั ทปี่ รารถนา พอ แมในสมยั ปจ จบุ นั บางคนกค็ งรูสกึ คลายๆ กัน

๘๐ โสณาพิจารณาทางเลือกตางๆ การฆาตวั ตายไม เปน การสมควร นางจงึ ไปยงั สำนักภกิ ษณุ แี ละขอบวชซ่ึง กไ็ ดรับอนุญาต เวลานน้ั นางชรามากจนไมส ามารถออกไป บิณฑบาตหรือทำภาระหนา ที่ใดๆ ในสำนกั ได โสณาทำได เพียงอยา งเดยี วคือตมนำ้ ใหเ พอื่ นๆ อยา งไรก็ตาม โสณา เปน คนมีไหวพริบ เมือ่ พิจารณาดฐู านะของตนแลว นาง จึงบอกกบั ตัวเองวา “เวลาของฉนั เหลือนอยเต็มที ฉันตอง ฉกฉวยโอกาสในการปฏิบตั ิอยางแขง็ ขัน ฉนั ไมม เี วลาที่จะ เสยี ไดแมเพยี งวินาทีเดียว” โสณาชราและออนแอมากเสียจนกระทั่งตองเกาะ ผนังกำแพงรอบสำนกั ในการเดนิ จงกรม ดังนัน้ นางจงึ เดนิ เกาะกำแพงเปน วงกลม หากจะเดนิ ในปา นางกต็ อ งเลือกเดิน เกาะราวไมท ี่ขนึ้ ชดิ กนั ดว ยความขยัน อดทน และมใี จมงุ มัน่ ไมชา นางก็บรรลอุ รหตั ตผล เราอาจมองไดว า ความอกตัญขู องบรรดาลูกๆ กลับเปน ผลดแี กโ สณา หลงั จากบรรลุอรหตั ตผลแลว พระ โสณาเถรีอุทานวา “โอ ดโู ลกนี้สิ คนท้งั หลายผูกพันอยูกบั ชวี ิตครอบครวั และพอใจกับความสขุ ทางโลก แตส ำหรับฉนั เพราะฉันถูกลกู ๆ ทอดทิง้ ฉันจงึ ละทงิ้ ครอบครวั ออกบวช บดั นฉี้ ันไดพบสัจจธรรมของการออกบวชแลว ”

๘๑ ในสมัยนั้นเปนเรื่องสะดวกและงายดายท่ีจะไปยัง สำนกั ภิกษณุ ีแลวขอบวช ปจ จบุ นั นแี้ มส ตรไี มม โี อกาสบวช เปนภิกษณุ ี เพราะภิกษณุ ีสงฆห มดไปแลว ก็ตาม สตรที ี่ ปรารถนาออกบวชยังมีโอกาสทำไดโดยการปฏิบัติตามพุทธ โอวาทท่ีแสดงไวใ นพระสุตตนั ตปฎกวา บคุ คลพงึ ปฏบิ ตั ิโดย การขัดเกลาจิตใจใหบริสุทธ์ิตามหนทางแหงอริยมรรคมีองค แปดดวยความจริงใจ ดว ยวธิ นี ี้ ไมมีใครเสียสิทธิประโยชน แทจ ริงแลว วธิ ีนเ้ี หมาะกบั ยคุ สมยั ของเรา ซึง่ หากทกุ คนเปน ภิกษุ ภกิ ษณุ ี (โดยการบวชใจ) กจ็ ะไมม ีปญ หาเรือ่ งความ เหลื่อมล้ำ ๙. เวนจากบุคคลผูเ กยี จคราน วิธีท่ีเกาในการเจริญความเพียรก็คือ การเวนจาก บุคคลผูเกียจคราน มีบุคคลจำนวนหน่ึงที่ไมเคยสนใจใน การพัฒนาจิต ไมเคยพยายามชำระจิตใจใหบริสุทธ์ิ เอาแต กนิ นอน และหาความสุขตามใจปรารถนา บคุ คลเหลา นนั้ เปรยี บเหมอื นงเู หลอื มทกี่ ลนื เหยอ่ื แลว นอนนง่ิ เปน เวลานานๆ การคบหาสมาคมกับบุคคลเหลาน้ีจะทำใหผูปฏิบัติเกิดแรง

๘๒ บันดาลใจในการเรงความเพียรไดอยางไร ผูปฏิบัติพึงเวน จากการสมาคมกบั บคุ คลเหลา นนั้ ซง่ึ จะเปน กา วสำคญั ในการ เจริญความเพียร ๑๐. สมาคมกับบุคคลผูปรารภความเพยี ร กา วตอไปทีผ่ ูปฏิบัตพิ ึงดำเนนิ คือ การเลือกสมาคม กับผูปฏิบัติที่มีความอดทนและยืนหยัดในการพัฒนาความ เพยี รอยา งเขม แขง็ นเี่ ปน วธิ ที ส่ี บิ ในการเจรญิ ความเพยี ร โดย เฉพาะอยางย่ิงในระหวางการอบรมวิปสสนากรรมฐานซึ่ง ผูปฏิบัติจะไดอยูรวมกับผูท่ียึดมั่นในพระธรรม อดทน เด็ด เดยี่ ว พยายามเจรญิ สตติ ลอดเวลาและรกั ษาความเพยี รทเี่ ขม แข็งไวอยางตอเนื่อง ผูที่ใหความสำคัญกับการดูแลสุขภาพ จิตน้ีแหละเปนมิตรท่ีดีที่สุด ในการอบรมกรรมฐานผูปฏิบัติ จะสามารถเรยี นรไู ดจ ากผปู ฏบิ ตั ทิ เี่ ปน โยคตี วั อยา ง พยายาม เลยี นแบบการกระทำและการปฏบิ ตั ทิ จี่ ะทำใหต นเองกา วหนา ขน้ึ พงึ ปลอ ยใหค วามขยนั หมนั่ เพยี รเปน เสมอื นโรคตดิ ตอ พงึ ดดู ซบั พลงั ความเพียรท่ดี ีและปลอยใหต วั เองโหมตามไป

๘๓ ๑๑. นอ มใจไปในการเจริญความเพยี ร วธิ สี ดุ ทา ยและดที ส่ี ดุ ในการเจรญิ ความเพยี รกค็ อื การ นอมใจไปสูความเพียรอยางตอเนื่อง กุญแจสำคัญของการ ปฏิบัตคิ ือความเดด็ เดี่ยว “ฉันจะมีสติมากเทาท่ีจะทำไดท กุ ๆ วินาทีในอริ ยิ าบถ นง่ั ยนื และเดนิ จากท่หี นง่ึ ไปสูอกี ทห่ี นึ่ง โดยไมย อมใหจ ติ มชี อ งวา ง ฉนั จะไมใ หส ตขิ าดหายไปแมเ พยี ง ขณะเดียว” แตใ นทางตรงขาม หากผปู ฏบิ ตั ไิ มร ะมัดระวัง มี เจตคตทิ ี่ทอ ถอย การปฏบิ ตั ิก็จะลมเหลวต้ังแตตน ทุกๆ วนิ าทจี ะเปย มดว ยความเพยี รทีก่ ลา หาญดว ย พลงั ทตี่ อ เนอ่ื งและอดทน และหากความเกยี จครา นยา งกราย เขา มา ผปู ฏิบัตกิ จ็ ะสามารถกำหนดรูและขบั ไลมนั ออกไปได ทันที โกสัชชะ ความเกียจครานเปนอุปสรรคที่สำคัญที่สุด ประการหน่ึงที่ขัดขวางและทำลายลางการปฏิบัติ ผูปฏิบัติ สามารถขจัดความเกียจครานไดดวยความเพียรท่ีกลาหาญ ไมย อทอ มงุ มัน่ และอดทน อาตมาหวงั วา ผปู ฏบิ ตั จิ ะเจรญิ ความเพยี รโดยวธิ กี าร ใดวิธีหนง่ึ หรอื ทั้ง ๑๑ วิธีทีก่ ลาวมาเพ่ือความกา วหนา และ บรรลุถึงญาณปญญาท่ีจะขุดรากถอนโคนกิเลส ความเศรา หมองใหห มดไปอยา งถาวรโดยเรว็

ปต ิ ๔โพชฌงคอ งคท ี่ส่ี ปต ิ หรือความอมิ่ ใจ ประกอบดว ยลกั ษณะของความสุข ความยนิ ดแี ละพอใจ ปตเิ ปนสภาวะในจติ อันหนึง่ ท่ีประกอบดวยคณุ สมบตั ดิ งั กลา ว แลวยงั ประกอบดวยความสามารถ ในการแทรกซมึ เขาไปในสภาวจติ อื่นๆ ทำใหเกิดความรูส กึ ยนิ ดเี ปนสขุ และความพอใจอยา งลกึ ซ้งึ

๘๕ ความเบาและความวองไว ปต ิทำใหก ายและจติ เบาและวอ งไว นค่ี อื หนา ท่ีของ ปต ทิ ี่จำแนกโดยอภธิ รรมนัย (classical analysis) จติ จะ เบาและมพี ลงั เชนเดียวกับรางกายท่รี สู กึ คลอ งแคลว เบา และคคู วรแกการงาน อาการปรากฏของปติแสดงออกมาใน รูปของความเบากายและอาการตามรางกายอื่นๆ เมอ่ื ปต เิ กดิ ขนึ้ ความรสู กึ ทห่ี ยาบกระดา งไมส บาย ถกู แทนทีด่ วยความนมุ นวลและออ นโยน ราบร่นื และเบา สบาย ผูปฏบิ ัติอาจรูสึกเบากายราวกับกำลังลอ งลอยอยูใน อากาศ บางคราวความเบานเ้ี คลื่อนไหวไมอยนู ิ่ง ผูปฏบิ ตั ิ อาจรสู กึ เหมือนถูกผลกั ถกู ดงึ รา งกายโยก แกวงไปมา เหมือนกำลังลุยผานน้ำเช่ียว อาจสญู เสยี การทรงตวั แตก็เปน ความรูส กึ ท่ีดี

๘๖ ปต หิ า ประเภท ปติมี ๕ ประเภท หนึ่ง “ปติเลก็ ๆ นอ ยๆ” (ขทุ ทฺ กาปต ิ) เกิดขนึ้ ในตอนเรมิ่ ปฏบิ ตั ิเมอ่ื จิตปลอดนวิ รณไ ปไดสัก ระยะหนึง่ ผูปฏิบตั อิ าจรสู กึ เย็นซา บางคร้ังขนลุก นี่เปน ปต ิ ขนั้ ตน ประเภทท่ีสองไดแ ก “ปตชิ ัว่ ขณะ” (ขณิกาปต)ิ เปน ปตทิ เี่ กดิ ข้นึ เปน ชว งส้นั ๆ เหมอื นฟาแลบ และรุนแรงกวา ประเภททีห่ นึ่ง ประเภททส่ี ามไดแก “ปต ทิ ว มทน ” (โอกกฺ นฺ ตกิ าปต ิ) ตัวอยา งที่ใชบอ ยๆ ก็คือ ความรูสึกเหมอื นคนน่งั อยูริมชายหาด แลว ทนั ใดนน้ั ก็เหน็ คลืน่ ยกั ษโ ถมลงมาใสตวั หรืออาจรูสกึ คลายกบั ถูกพัดขึน้ จากพน้ื หวั ใจเตน เร็ว รสู กึ ถูกทวมทน และสงสัยวา เกดิ อะไรขนึ้ สำหรับปต ปิ ระเภททีส่ ไ่ี ดแ ก “ปต ิโลดโผน” (อุพฺเพง คาปต)ิ ปต ิประเภทน้ีผูป ฏิบัตจิ ะรสู กึ ตวั เบาจนดูเหมอื นตวั ลอยขึ้นจากพืน้ ๒-๓ ฟุต หรอื รสู กึ วากำลังลอ งลอย เหนิ บนิ มากกวาการเดินอยบู นพนื้ ดนิ

๘๗ ประเภทที่หา “ปต ซิ าบซาน” (ผรณาปติ) เปน ปติทีม่ ีความรนุ แรงมากที่สุด ปตปิ ระเภทน้จี ะแผซา นไปใน รา งกายทุกขมุ ขน หากผปู ฏบิ ตั กิ ำลังนงั่ กรรมฐานอยู จะ รสู กึ สบายอยา งนาอัศจรรยจ นไมอ ยากลุก อยากนง่ั ตอไป นานๆ ปตสิ ามประเภทแรกเรยี กวา ปราโมทย หรอื ปติ อยา งออ น สว นปติสองประเภทหลังสมควรแกช ่ือปติหรือ ความอ่ิมใจอยางแรงกลา โดยปติ ๓ ประเภทแรกเปนสาเหตุ หรือทางผา นไปสปู ต ิทแี่ รงกวา ๒ ประเภทหลงั การกำหนดอยางชาญฉลาดกอ ใหเกิดปติ เชนเดียวกบั ความเพยี ร พระพทุ ธองคต รัสวา มีเพยี ง วธิ ีเดียวที่จะทำใหเ กิดปต ไิ ดคอื การกำหนดอยา งฉลาด โดย เฉพาะอยางย่ิงการกำหนดน้ีกอใหเกิดปติในกุศลธรรมที่ เก่ียวกับพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ

๘๘ วธิ พี ัฒนาปติอกี ๑๑ วิธี พระอรรถกถาจารยไ ดใหแ นวทาง ไว ๑๑ วธิ ีในการเจริญปต ิ ๑. ระลกึ ถึงคณุ ของพระพทุ ธเจา วธิ ีแรก คือ พทุ ธานุสติ รำลกึ ถงึ คุณของพระพทุ ธเจา พระพทุ ธองคมีคณุ มหาศาล แตผปู ฏิบัตไิ มจำตอ งแจกแจง พระพุทธคณุ ท้งั หมดเพอ่ื ใหเ กดิ ปติ ตัวอยางเชน พระพทุ ธคุณ ขอ แรก อรหงั หมายความวาพระพุทธเจา เปนผูท ่ีสมควรแก การกราบไหวโ ดยมนษุ ย เทวดาและพรหมทงั้ หลาย จาก ความบรสิ ทุ ธ์ทิ ไ่ี ดท รงทำลายกิเลสใหหมดสิน้ เมื่อระลกึ ถึง พระวิสุทธิคุณเชนน้ี ผปู ฏบิ ตั กิ จ็ ะเกิดความยินดี นอกจาก น้ีผูปฏิบัติยังอาจรำลึกความสำเร็จของพระพุทธองคสาม ประการ ดังไดก ลา วแลว ภายใตห ัวขอการเจรญิ ความเพียร

๘๙ อยางไรกต็ าม การใครครวญ ทองบน พระคาถา มใิ ชว ธิ เี ดียวในการรำลกึ ถึงพระพทุ ธคุณ แทจรงิ แลวการ เจรญิ พระพทุ ธคณุ ยงั ดอ ยกวา วปิ สสนาปญ ญา เม่ือผปู ฏิบัติมี ญาณหย่งั รูค วามเกดิ ดบั ปต จิ ะเกดิ ขึ้นเองโดยธรรมชาติ รวม ถึงความซาบซงึ้ ในพระพทุ ธคณุ ดวย พระพทุ ธองคต รสั ไวว า “ผูใ ดเห็นธรรม ผูนนั้ เห็นเรา” ผปู ฏิบตั ิทไี่ ดญ าณปญญาจะ มีความซาบซ้ึงถึงความย่ิงใหญของพระบรมศาสดาของเรา อยา งแทจ รงิ และจะปรารภกบั ตนเองวา “หากเราสามารถ ประสบกับความบริสทุ ธ์ิของจติ ไดถึงเพียงน้ี พระพุทธวสิ ุทธิ คุณจะยิ่งใหญสกั เพียงใด” ๒. รื่นเริงในธรรม วิธีท่ีสองในการเจริญปติก็คือการระลึกถึงพระธรรม และคณุ ของพระธรรม พระธรรมคณุ ขอแรกกค็ ือ “เปน ธรรม ที่พระผมู ีพระภาคเจาตรสั ไวดแี ลว ” พระพุทธองคทรงส่งั สอนธรรมอยางชัดเจนแจมแจงเสียจนวิปสสนาจารยทุกทาน ก็ยงั คงเจริญรอยตามเรื่อยมา นี้เปนเหตใุ หเ ราสมควรท่ีจะ ช่ืนชมยนิ ดี

๙๐ พระพุทธองคตรสั ย้ำเรื่องไตรสิกขา กลาวคอื ศีล สมาธิ และปญญา ในการปฏบิ ตั ติ าม เรม่ิ ดวยการรกั ษา ความประพฤติใหบรสิ ทุ ธ์ิโดยการรกั ษาศีล และพยายาม พัฒนาคณุ ธรรมใหเ จรญิ ขน้ึ โดยการควบคุมกายและวาจาซง่ึ จะกอใหเกิดประโยชนมากมาย คือหนง่ึ ทำใหเ ราปราศจาก มลทินและความเศรา หมอง ไมถกู ตำหนโิ ดยปราชญแ ละถกู ลงโทษโดยกฎหมายบานเมอื ง จากนั้นหากปฏิบัติตามคำสอนของพระพุทธองค เราก็จะเจริญสมาธิ และหากมศี รทั ธา มีความมัน่ คงและ อดทนแลว ก็จะพบกับจิตใจที่เปนสุข สดใส สวา ง และสงบ นค่ี ือสมถสขุ ความสุขที่เกดิ จากสมาธิและความสงบของจิต ผูป ฏิบตั ิจะสามารถเขาถงึ ฌานชน้ั ตางๆ อนั เปน สภาวจิตที่ กเิ ลสจะถูกกดขมไวช ่วั คราว ทำใหเ กิดความสงบอยางวิเศษ แลวเม่ือเจริญวิปส สนากรรมฐาน ความสุขแบบที่ สามกจ็ ะเกิดขนึ้ เมือ่ ผปู ฏิบตั เิ กดิ มีญาณหย่ังรูท่ีลกึ ซงึ้ จน ประจกั ษการเกิดดบั ของสภาวธรรมตางๆ ผูปฏิบัตจิ ะรสู ึก ไดถ ึงปตอิ ยา งสงู เปน “ความสขุ ท่ีนา ต่ืนเตน” ติดตามดว ย “ความสขุ จากความแจมชดั ” และในทส่ี ดุ เม่ือผูปฏิบัตบิ รรลุ สงั ขารุเบกขาญาณ ญาณปญ ญาท่หี ยง่ั รูความวางเฉยตอ สง่ิ

๙๑ ทงั้ ปวง ผูป ฏบิ ัตจิ ะประสบกบั “ความสขุ จากอุเบกขา” อนั เปนความสขุ ท่ีลึกซึ้ง ปราศจากความเรา รอนและตน่ื เตน แต เปน ความสุขท่ลี ะเอียดและสขุ ุม ดังนน้ั สมดงั ที่พระพุทธองคต รสั รับรองไวว า ผูท ี่ ปฏบิ ัติตามหนทางนี้จะไดรบั ความสุขตา งๆ เหลา นจี้ นเกิด ความซาบซงึ้ ในพระพุทธวจนะ ผูป ฏบิ ตั ิก็จะกลาวออกมา เองวา “พระธรรมเปนสิง่ ทพี่ ระผูมีพระภาคเจา ตรสั ไวด ีแลว ” ในที่สดุ เมื่อกาวขามความสุขเหลา นกี้ ็จะพบ “ความ สุขจากการหลดุ พน ” เหนือกวา ความสุขจากอเุ บกขา ผูปฏิบัติ จะสามารถหย่งั ลงสูพ ระนิพพานเมื่อจิตเขา สอู รยิ มรรค หลัง จากน้ันผูปฏิบัติจะยิ่งรูสึกซาบซึ้งในพุทธธรรมที่ไมเคยรูมา กอนยิ่งข้นึ ไปอีก พระพุทธองคตรัสไววา “หากปฏิบัติตาม หนทางน้ี กจ็ ะสามารถบรรลุถึงการดบั ทุกขได” น่เี ปนความ จริง มบี คุ คลจำนวนมากไดประสบมาแลว และในทีส่ ุดเมอ่ื ผปู ฏบิ ัติประสบดว ยตนเอง จิตกจ็ ะเปย มดว ยความปต แิ ละ ความระลกึ ในพระคณุ ของพระรัตนตรยั เปนอยางย่ิง

๙๒ ความเปน ไปไดท ีย่ ่ิงใหญ ใหผลจากการปฏบิ ตั ิ ดังน้ัน มีสามวิธีในการตระหนักถึงความเปนจริงที่ วา พระธรรมเปน ธรรมทพ่ี ระผมู พี ระภาคเจา ตรสั ไวด แี ลว ขอ แรกหากผูปฏิบัติใครครวญอยางลึกซ้ึงถึงความเปนไปไดใน การไดรับสิ่งท่ียิ่งใหญจากการปฏิบัติกรรมฐาน จิตจะเปยม ไปดวยปติและความชื่นชมตอพระธรรม บางทีผูปฏิบัติอาจ ประกอบดว ยศรทั ธาเปนพนื้ ฐานอยูแลว ดงั น้ัน เมอื่ ไดย ินคำ เทศนาหรืออานเก่ียวกบั พระธรรม ผูปฏิบตั กิ ็จะเปย มลนดวย ปต ิและความสนใจ (ในพระธรรมนน้ั ) ขอสอง หากไดป ฏิบัติ ธรรมดว ยตนเอง พระดำรสั ทพ่ี ระพทุ ธองคต รสั รบั รองกจ็ ะเรม่ิ ปรากฏใหเหน็ จรงิ ศลี และสมาธิ จะทำใหชีวิตผปู ฏิบัตดิ ีขึ้น ซ่ึงจะเห็นไดเองวา พระธรรมที่พระผูมีพระภาคเจาตรัสไวดี เพยี งใด เพราะนำมาซง่ึ ความแจม ใสและความสขุ อยา งลกึ ซงึ้ และประการสุดทายความยิ่งใหญของพระธรรมสามารถเห็น ไดจ ากการเจรญิ ปญ ญาซงึ่ จะนำไปสพู ระนิพพานในที่สุด ซง่ึ ณ จดุ นี้ชีวิตของผปู ฏบิ ัติจะเปล่ียนไป เหมอื นกบั การเกดิ ใหม ซ่ึงคงจะจินตนาการไดถึงปติและความซาบซึง้ ที่พงึ รสู กึ ได

๙๓ ๓. ระลึกถึงคณุ ของพระสงฆ การรำลึกถึงพระคุณของพระสงฆ เปนวิธีที่สามใน การเจรญิ ปต ิ ดงั ทพี่ ระอรรถกถาจารยไ ดก ลา วไวว า พระสงฆ คอื คณะอรยิ บคุ คลผอู ทุ ศิ ตนเพอื่ พระธรรม ดว ยความพยายาม อยา งสดุ ความสามารถและอดทนในการเดนิ ตามทางสายตรง และถกู ตอ งเพอ่ื ใหถ ึงจุดหมายปลายทาง หาก ผู ปฏิบัติ ได เขา ถึง ความ บริสุทธิ์ ของ จิต ใน การปฏิบัติบางแลว ก็อาจนึกถึงความรูสึกของบุคคลอื่น ที่ไดรับประสบการณในลักษณะเดียวกันนี้หรือลึกซึ้งกวา ประสบการณของผูปฏิบัติเอง ผูปฏิบัติที่ไดบรรลุธรรมใน ระดับใดระดบั หนง่ึ แลว จะมคี วามศรัทธาที่แกกลา ในอริยชน ทง้ั หลายผมู คี วามบรสิ ทุ ธแ์ิ ละหมดจดทไ่ี ดด ำเนนิ ผา นหนทาง นมี้ าแลว

๙๔ ๔. ระลกึ ถงึ ศีลของตน วธิ ที สี่ ใี่ นการเจรญิ ปต กิ ค็ อื การระลกึ ถงึ ความบรสิ ทุ ธ์ิ ในความประพฤตขิ องตน ความหมดจดทางกายคอื คณุ ธรรม ท่ีมีพลังในการนำมาซึ่งความพอใจและความเบิกบานแกผู ปฏบิ ตั ิ บคุ คลตอ งมคี วามพากเพยี รอยา งสงู ในการรกั ษาความ บรสิ ทุ ธ์ิ และในความเพยี รนนั้ ผปู ฏบิ ตั อิ าจรสู กึ อมิ่ เอมและเบกิ บานใจ แตห ากไมอ าจรกั ษาความบรสิ ทุ ธไิ์ วไ ด ผปู ฏบิ ตั กิ อ็ าจ ถกู ยำ่ ยดี ว ยความรสู กึ เสยี ใจและการตำหนติ นเอง ไมส ามารถ รกั ษาสมาธิกบั สงิ่ ท่กี ำลงั ทำอยู ทำใหการปฏิบตั ไิ มกาวหนา ศีลเปนรากฐานของสมาธิและปญญา มีตัวอยาง มากมายจากบคุ คลทบี่ รรลธุ รรมโดยการกำหนดสตอิ ยกู บั ปต ิ ทเี่ กดิ จากการระลกึ ถงึ ความบรสิ ทุ ธใ์ิ นการรกั ษาศลี ของตนเอง สลี านุสตินม้ี ปี ระโยชนม ากในสถานการณท ่ฉี กุ เฉิน

๙๕ ปต ใิ นสถานการณท ีฉ่ ุกเฉนิ : เรอ่ื งของตสิ สะ มีชายหนมุ ชอ่ื ติสสะ เมื่อไดฟ ง พระธรรมเทศนาจาก พระพทุ ธองคแลว กเ็ กดิ ความรูสกึ สลดสังเวชเปนอยา งย่ิง แม เขาจะเปน คนทมี่ ีความทะเยอทะยาน แตก ็รูสกึ ไดถ งึ ความไร สาระของโลก เขาจึงหันความทะยานอยากมงุ ไปสูก ารเปน พระอรหนั ต ไมน านเขาก็ละทงิ้ ชวี ิตฆราวาสออกบวช กอ นบวช เขาไดย กสมบัติใหนอ งชายชือ่ จูลติสสะ ทำใหน อ งชายร่ำรวยมาก ภรรยาของจลู ติสสะเกดิ ความ โลภเกรงวา พระภกิ ษจุ ะเปล่ียนใจ ลาสกิ ขาแลว มาทวงทรพั ย สมบัตคิ นื นางจงึ หาทางปกปองทรพั ยสมบัติทพ่ี ึ่งไดมาใหม โดยการวาจา งคนมาทำรา ยทานพระติสสะ โดยสัญญาวาจะ ใหรางวัลอยา งงามหากฆาพระภิกษนุ นั้ ไดสำเรจ็ คนรายตกลงแลวออกเดินทางหาพระภิกษุในปา เม่ือพบพระภิกษุกำลังปฏิบัติธรรมอยูก็เขาลอมและเตรียม ลงมือฆา พระภิกษุกลาววา “โปรดรอสักหนอ ยเถิด อาตมา ยังทำหนาท่ไี มเสร็จเลย”

๙๖ “เราจะรอไดอยางไร” คนรา ยตอบ “เราเองก็มงี าน เหมอื นกนั ” “ขอแคห นง่ึ คืนเทานน้ั ” พระภิกษตุ ิสสะขอรอ ง “แลว ใหท านกลับมาฆา อาตมาได” “เราไมเ ช่ือหรอก! ทานคงคิดจะหนลี ะสิ ใหห ลกั ประกนั สวิ าทา นจะไมห นีไปไหน” พระภกิ ษไุ มมีสมบัตอิ ะไรนอกจากบาตรและจวี ร จงึ ไมอ าจใหอะไรเปนหลักประกันแกคนรายได แตแลว ทานก็ ควา กอนหินข้ึนมาทุบขาทัง้ สองขางของตนเองใหหกั เม่ือ คนรา ยเหน็ พระภิกษไุ มอ าจหนไี ดแ นแลว พวกเขาจึงพากนั หลกี ไปกอไฟนอนทีต่ น ทางเดนิ จงกรม (ของทาน) ปลอยให ทานปฏบิ ตั ธิ รรมตอไป เรา คง พอ มอง เห็น แลว วา ภิกษุ หนุม มี ความ ปรารถนาอยางแรงกลา เพยี งใดในการขุดถอนกิเลส ทา นไม เกรงกลัวความตายหรือความทุกขทรมานเลย แตท านกลับ เกรงกลวั กิเลสซงึ่ ยังคุกรนุ อยใู นตัวทาน ทานยงั มชี วี ิตแตย งั ทำงานไมเสร็จและทานกลัวที่จะตองตายกอนที่จะทำลาย กเิ ลสใหส น้ิ ลง เพราะ พระ ภิกษุ หนุม ได ละท้ิง โลก มา ดวย ความ

๙๗ ศรทั ธาอยางแรงกลา ทานจงึ มีความขยันหมน่ั เพียรมาก ในการเจรญิ สติ การปฏิบัตขิ องทานคงตอ งเขมแขง็ มากจน กระทั่งสามารถทนตอความเจ็บปวดจากการทุบกระดูกขา ตนเอง เพราะสามารถเฝา ดูความเจบ็ ปวดอยางแสนสาหสั นน้ั โดยไมย อมพา ยแพ ขณะทท่ี า นเฝาดอู ยูก พ็ ิจารณาถึงศีล ของตนเอง ทานถามตนเองวา ทา นไดท ำศีลขอใดของพระ ภกิ ษใุ หข าดลงหรือไมน บั ตง้ั แตท่ีออกบวช ดวยความยินดี ทา นพบวา ทานไดรักษาศีลมาอยา งบรสิ ทุ ธ์ิ ไมดางพรอย แมแตข อเดยี ว ความรนู ้ที ำใหท านเกิดปตแิ ละยนิ ดี ความเจ็บปวดที่ขาลดลงและความปติอยางแรงกลา บงั เกิดขนึ้ แทนทใี่ นจิตของภกิ ษหุ นุมอยางชดั เจน ทานตัง้ สตไิ วที่ปตนิ ั้นแลวกำหนดรูปติ ความสุข และความพอใจ เม่ือกำหนดอยูอยางนั้นญาณของทานแกกลาและเรงตัวขึ้น ทนั ใดน้นั ทานก็บรรลุธรรม ประจกั ษใ นอรยิ สัจส่ีและสำเรจ็ เปน พระอรหนั ตใ นเวลาอนั รวดเรว็ เร่ืองนส้ี อนใหร ูวา เราควรจะกอศลี ใหเ ปนพืน้ ฐาน ที่มัน่ คง หากปราศจากศลี แลว การนั่งเจริญกรรมฐานกไ็ ม ตางอะไรจากการเช้ือเชิญความเจ็บปวดใหเรงสรางพ้ืนฐาน หากศลี ของเรามั่นคงแลว ความเพยี รในการปฏบิ ัตธิ รรมก็ จะใหผ ลโดยเร็ว

๙๘ ๕. รำลึกถึงทานทต่ี นไดบ รจิ าคแลว วิธที ี่หา ในการเจรญิ ปต กิ ็คอื การระลึกถงึ ความ โอบออ มอารีของตน การใหทานโดยปราศจากความเห็นแก ตัว แตปรารถนาใหผ อู ่ืนเปนสุข หรอื หลุดพน จากทกุ ข ทาน นั้นจงึ จะเปนทานท่สี มบูรณและมีผลมาก นอกจากน้ีทาน ยงั ทำใหเ กดิ ความสขุ และความยินดแี กผ ูก ระทำดวย เจตนา เปนปจจัยสำคัญท่ีบงบอกวาทานนั้นจะใหผลมากนอยเพียง ไร การทำบุญไมควรแฝงไวดวยความเหน็ แกต ัว การใหท านในยามยาก การใหทานมไิ ดจำกัดเฉพาะเรอ่ื งเงิน ทานหมายถึง การใหก ำลงั ใจแกเ พอ่ื นท่กี ำลงั ตองการความชว ยเหลือ การ ใหทานในยามยากจงึ เปนสิ่งสำคัญท่ีสุด และอาจนับเปนชว ง เวลาท่ใี หความพึงพอใจสูงสุดในการแบงปน สิง่ เลก็ ๆ นอยๆ ทีเ่ รามี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook