Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Jariyahdhama

Jariyahdhama

Published by ชมรมกัลยาณธรรม, 2021-03-18 07:25:55

Description: Jariyahdhama

Search

Read the Text Version

50 จ ร ิ ย ธ ร ร ม สํ า ห ร ั บ ผ ู้ บ ร ิ ห า ร แ ล ะ ธ ร ร ม า ภ ิ บ า ล บริวาร  แล้วทั้งสองต่างออกบวช  และบรรลุธรรมเป็นพระ อรหันต์ด้วยกันท้ังคู่ สรุปลงได้วา่  ผู้มีดวงตาเห็นธรรมระดับ พระโสดาบัน  ยังมีโอกาสสร้างวัดหรือสร้างศาสนสถานถวาย ไวใ้ นพทุ ธศาสนาได ้ แตเ่ มอ่ื มสี ภาวธรรมในดวงจติ สงู กวา่ พระ โสดาบนั จะไมท่ �ำ

ทางเลือกสงู สดุ ของชีวติ ทำ�ไดด้ ้วยการพัฒนาจติ (วิปสั สนาภาวนา) ให้เกดิ ปัญญาเห็นแจ้ง



บริหารลูกน้อง การบริหารคนอื่นนั้นต่างจากการบริหารตัวเอง  การ บริหารคนอ่ืนหรือบริหารลูกน้อง  ให้มีความรับผิดชอบ  ตรง ต่อเวลา ลกู นอ้ งตอ้ งเปน็ คนตรงเวลา ผเู้ ขยี นจะเลา่ เร่อื งจริง ใหฟ้ งั วา่  งานบรรยายธรรมทกี่ รงุ เทพฯ เราเปดิ ใหล้ งทะเบยี น ตง้ั แตต่ หี า้  และพอตหี า้ ทมี งานกพ็ รอ้ มจรงิ ๆ เรมิ่ งานบรรยาย แปดโมงเช้า  ไปจนถึงสี่โมงเย็น  ส่วนท่ีเชียงใหม่  ลงทะเบียน หกโมงเชา้  คนหลง่ั ไหลกนั มาลน้ หลามโดยไมไ่ ดเ้ กณฑม์ า เพราะ ทีมงานของเราตรงเวลา

54 จ ร ิ ย ธ ร ร ม สํ า ห ร ั บ ผ ู้ บ ร ิ ห า ร แ ล ะ ธ ร ร ม า ภ ิ บ า ล ผเู้ ขยี นไปบรรยายธรรมทไี่ หน มกั เนน้ อยเู่ สมอวา่  ตอ้ ง ตรงเวลา  เป็นผู้ใหญ่  ถ้าไม่ตรงเวลาก็เสียหาย  เพราะฉะนั้น การบริหารผู้อ่ืนให้เป็นคนมีความรับผิดชอบต้องตรงเวลา นอกจากน้ยี งั ตอ้ งบริหารให้เปน็ คนเกง่ และด ี แล้วการด�ำเนิน ชีวติ ย่อมพบกบั ความสำ� เรจ็ ค�ำว่า  “เก่ง”  หมายความว่า  มีความรู้มีความสามารถ ความรทู้ างโลกตอ้ งทนั สมยั  ความสามารถคอื  ทำ� เปน็  รแู้ ลว้ ต้องท�ำได้  นี่คือเก่ง  ส่วนค�ำว่า  “ดี”  คือมีคุณธรรม  อย่างท่ี บอกว่าใช้ความเก่งเพียงร้อยละย่ีสิบ  แต่ใช้ความดีถึงร้อยละ แปดสิบ  จึงต้องผลักดันลูกน้องให้ไปพัฒนาตัวเอง  เรียนก็ เรียนให้สูงสุด  เพราะความรู้ทางโลกเราต้องน�ำมาใช้พัฒนา งาน  แก้ปัญหางาน  ผู้ใหญ่ต้องสนับสนุนลูกน้อง  ให้เรียนให้ สงู สดุ เทา่ ทที่ ำ� ได ้ และขณะเดยี วกนั  ตอ้ งเนน้ คณุ ธรรม สรา้ ง ให้เขาเป็นคนมีความรับผิดชอบ  มีทัศนคติในการท�ำงานท่ีถูก ต้อง  คือ  มุ่งแก้ปัญหาให้สังคม  มุ่งท�ำให้สังคมเจริญ  ใช้วิธี การอันเลิศโดยไม่หวังผลเลิศ  ตรงกันข้ามกับคนที่เรียนจบ ระดบั สงู เพยี งอยา่ งเดยี ว มอี ตั ตามาก อตั ตาตวั ใหญ ่ ทำ� อะไร มักคิดอยู่เสมอว่าตัวเองจะได้อะไร  ถ้าไม่ได้อะไรก็ไม่ท�ำ  อันนี้ เป็นทัศนคตใิ นการทำ� งานที่ผิดพลาด

ด ร . ส น อ ง  ว ร อ ุ ไ ร 55 ผเู้ ขยี นไดร้ บั การทาบทามใหไ้ ปสอนทม่ี หาวทิ ยาลยั สงฆ์ มจร. วทิ ยาเขตลา้ นนา ทว่ี ดั สวนดอก ตงั้ แตเ่ รมิ่ ตน้ มาจนถงึ บัดนี้  ได้ถวายความรู้แก่พระสงฆ์  โดยใช้วิธีการอันเลิศ  แต่ไม่ หวังผลเลิศ  การท�ำงานเป็นการเรียนรู้คน  เรียนรู้งาน  น่ีคือ ทัศนคติที่ถูกต้อง  ดูลูกน้องของเราว่า  ท�ำงานหวังเงินเดือน หรอื หวงั ตำ� แหนง่ อะไรหรอื เปลา่  อยา่ งนตี้ ง้ั ทศั นคตไิ วผ้ ดิ  เพราะ ทำ� งานแลว้ ทำ� ใหช้ วี ติ ดอ้ ยคณุ คา่  แตถ่ า้ ใครมที ศั นคตวิ า่ ทำ� งาน เพื่อเรียนรู้คน  เรียนรู้งาน  นั่นดี  ท�ำงานเพื่อให้  ไม่ใช่ท�ำงาน เพอื่ เอา ท�ำงานเพื่องาน น่ีคอื ทัศนคตทิ ถี่ ูกตอ้ ง สรปุ วา่  ผบู้ รหิ ารตอ้ งบรหิ ารคนในปกครองใหเ้ ปน็ คนที่ ๑) มคี วามรบั ผดิ ชอบ ๒) มคี วามเก่งและดี ๓) มที ศั นคตใิ นการทำ� งานที่ถูกต้อง ๔) ทำ� งานได้ผลส�ำเร็จโดยใชอ้ ทิ ธบิ าท ๔ สนบั สนนุ ก. อิทธิบาท ๔ ปัจจัยทีท่ �ำให้ท�ำงานไดส้ ำ� เร็จคือ อทิ ธบิ าท ๔ ได้แก่ ๑) ทำ� งานด้วยใจรัก ๒) ทำ� งานดว้ ยความพากเพยี ร ๓)  ท�ำงานด้วยใจจดจ่อ

56 จ ร ิ ย ธ ร ร ม สํ า ห ร ั บ ผ ู้ บ ร ิ ห า ร แ ล ะ ธ ร ร ม า ภ ิ บ า ล ๔) ทำ� งานโดยใชป้ ัญญาไต่สวน อิทธิบาท  ๔  เป็นหัวใจแห่งความส�ำเร็จในทุกเรื่อง  ทั้ง การท�ำงานทางโลก  ทั้งการปฏิบัติธรรม  ตัวผู้เขียนเองฝึก ทำ� งานจากเรอ่ื งทย่ี ากมามาก จนบดั นกี้ ลายเปน็ ของงา่ ยไปแลว้ เวลาจะไปบรรยายธรรมทไ่ี หน เขาก็ก�ำหนดหวั ขอ้ ใหพ้ ูด เมื่อ กอ่ นยาก แตเ่ ดย๋ี วนเี้ พยี งดจู รติ ของผฟู้ งั  แลว้ บรรยายใหต้ รง จริตเท่านั้นเอง  ไม่ใช่พูดเร่ืองท่ีเราอยากพูด  ผู้ฟังอุตส่าห์เสีย สละเวลามาแล้ว  เขาฟังแล้วต้องได้อะไรกลับไป  น่ันคือส่ิงท่ี ผเู้ ขียนมอง เชน่ เดยี วกนั  คำ� ถามทถ่ี ามเขา้ มาทางเวบ็ ไซต ์ ผเู้ ขยี นตอ้ ง ใชเ้ วลามากในการตอบปญั หา ปญั ญาทางโลกใชไ้ มไ่ ด ้ ตอ้ งใช้ ปัญญาพระพุทธเจ้า  และต้องตื่นข้ึนมากลางดึก  เพ่ือตอบ ปญั หาเหล่านน้ั เปน็ พนั ๆ ขอ้  แตไ่ มเ่ คยหงดุ หงิด ไมเ่ คยคดิ วา่ เขาทำ� ใหเ้ ราเดอื ดรอ้ น ทำ� ใหเ้ ราไมไ่ ดห้ ลบั ไมไ่ ดน้ อน ไมเ่ คยคดิ คดิ อยเู่ สมอวา่  เขาผถู้ ามปญั หามบี ญุ คณุ ตอ่ เรา เปน็ ครสู อนเรา ทำ� ใหเ้ ราไดเ้ จรญิ งอกงามในสตปิ ญั ญา เดย๋ี วนไ้ี มม่ ปี ญั หาอะไร ท่ีตอบไมไ่ ด้

ด ร . ส น อ ง  ว ร อ ุ ไ ร 57 ขอยกตัวอย่าง  เมื่อสองสามวันที่ผ่านมา  มีคนหนึ่งไป ศกึ ษาตอ่ ระดบั ปรญิ ญาเอกอยทู่ อี่ เมรกิ า สง่ ขอ้ ความเขา้ มาใน เวบ็ ไซตข์ องชมรมกลั ยาณธรรม ซง่ึ ผเู้ ขยี นมหี นา้ ทต่ี อบปญั หา แตค่ นนเี้ ขาบอกวา่ เขาไมไ่ ดถ้ าม ไมต่ อ้ งการคำ� ตอบ เขาเพยี งแค่ “คิดดังๆ”  เขาเขียนว่าอย่างนั้น  เขาก�ำลังท�ำปริญญาเอกอยู่ และได้ไปฝึกปฏิบัติธรรมที่ศูนย์วิปัสสนากรรมฐานของท่าน โกเอ็นก้า  ที่รัฐโคโลราโดและจอร์เจีย  เขาบอกว่าดีมากๆ  จน คิดว่า  เม่ือเรียนจบกลับมา  จะไปกู้เงินมาสร้างสถานปฏิบัติ ธรรม เร่ืองนี้พระพุทธเจ้าโคดมสอนว่า  การเป็นหน้ีเป็นทุกข์ อยา่ งยงิ่  ตอ่ มาเขากเ็ ขยี นวา่  เขาคดิ ใหมแ่ ลว้  เขาไมก่ เู้ งนิ แลว้ เมอ่ื เรยี นจบแลว้  จะทำ� งานเกบ็ เงนิ สกั กอ้ นหนง่ึ  และเมอื่ ปฏบิ ตั ิ ธรรมจนไดด้ วงตาเหน็ ธรรมแลว้  จงึ จะสรา้ งสำ� นกั ปฏบิ ตั ธิ รรม เขาคดิ อยา่ งนนั้  เขาไมไ่ ดถ้ าม ผเู้ ขยี นกไ็ มไ่ ดต้ อบเขา แตเ่ ขยี น ใหค้ นทเี่ ขา้ มาอา่ นเวบ็ ไซตไ์ ดเ้ ขา้ ใจวา่  คำ� วา่  “มดี วงตาเหน็ ธรรม” ซง่ึ มคี วามหมายวา่  เหน็ สรรพสง่ิ เกดิ  และเหน็ สรรพสง่ิ ดบั  นนั่ คือ  ดวงตาเห็นธรรม  หากมีดวงตาเห็นธรรม  ระดับโสดาบัน ยงั สรา้ งสถานปฏบิ ตั ธิ รรมได ้ แตห่ ากเปน็ อรยิ บคุ คลทสี่ งู กวา่ น้ี จะไมส่ ร้างศาสนสถานใดๆ

58 จ ร ิ ย ธ ร ร ม สํ า ห ร ั บ ผ ู้ บ ร ิ ห า ร แ ล ะ ธ ร ร ม า ภ ิ บ า ล ข. ผลงานเข้าตา ย้อนกลับมาพูดถึงการบริหารผู้อื่น  การบริหารผู้อื่นก ็ ไดแ้ ก่ ๑) ท�ำให้ผู้อน่ื มีความรับผิดชอบ ๒) สอนผ้อู ่ืนให้เกง่  มีความรู้ มคี วามสามารถ ๓) ปลกู ฝงั ใหผ้ ู้อน่ื มีทศั นคตใิ นการทำ� งานท่ถี กู ตอ้ ง ๔) สอนใหผ้ อู้ น่ื ทำ� งานใหส้ ำ� เรจ็  เสรจ็ ตรงเวลา งานจะ เสร็จตรงเวลาต้องเวน้ อบายมขุ ๕) ฝกึ ใหผ้ อู้ น่ื สรา้ งผลงานใหเ้ ขา้ ตา เปน็ ทเ่ี รยี กหาเรยี กใช้ เจ้านายท่ีฝึกลูกน้องได้อย่างน้ี  ต้องเป็นคนเก่ง  ผู้ใช้ บรกิ ารจงึ จะพึงพอใจ และมีผลงานเปน็ ทเี่ รยี กหาเรียกใช้ ผเู้ ขยี นทำ� งานมาตง้ั แตป่  ี พ.ศ. ๒๕๐๓ จนบดั นยี้ งั ทำ� งาน ไมจ่ บ ยงั ไมเ่ ลกิ ทำ� งาน และไมต่ อ้ งไปแสวงหางานทไ่ี หนมาทำ� มงี านใหท้ ำ� อยตู่ ลอดเวลา นค่ี อื  “ผลงานเขา้ ตา เปน็ ทเี่ รยี กหา เรียกใช้”  ดังน้ันจึงต้องฝึกตัวเอง  รวมถึงฝึกลูกน้องให้ได้รับ อานิสงส์อย่างน้ี  สมัยก่อน  ผู้เขียนถูกเจ้านายเรียกใช้งานอยู่ เสมอ คนอน่ื ท่ีไมท่ ำ� งานกลับไดส้ องขนั้  จนคดิ วา่ จะไมท่ ำ� งาน แล้ว  แต่แล้วก็กลับคิดได้ว่า  ยังจะต้องท�ำงานต่อไป  ในท่ีสุด เมื่อกรรมดีให้ผล  ก็มีงานให้ท�ำมาตลอด  ท�ำงานมากกว่าคน

ด ร . ส น อ ง  ว ร อ ุ ไ ร 59 อื่น สรปุ ไดว้ า่  เม่ือความดสี ่งผล เราก็ไดร้ บั สิ่งตอบแทนดังน้ี ตวั อยา่ งของคนทมี่ ผี ลงานเขา้ ตาอกี คนหนงึ่  คอื  คณุ ลงุ ผมู้ ดี วงตามดื บอด เปน็ คนเปา่ แคน อยทู่ างภาคอสี าน ตาบอด ท้งั สองข้าง แตท่ ั่วภาคอสี านไมม่ ีใครเทยี บเพลงแคนของคุณ ลุงได้  ด้วยมีแคนอันเดียวให้เป่า  คุณลุงมีงานให้ท�ำอยู่ตลอด จนบดั น ี้ และสามารถเกบ็ เงนิ สรา้ งบา้ นได ้ นคี่ อื  “ผลงานเขา้ ตา” ฉะน้ันจงดูตัวเองให้ออก  แล้วคัดเอาจุดเด่นของตัวเอง ออกมา  จะเป็นอะไรก็ตาม  เช่น  ถ้าเราเป็นคนท�ำกับข้าวเก่ง ใครพูดเรื่องท�ำกับข้าว  ให้เขาชี้มาท่ีเราเสมอ  ให้เขานึกถึงเรา เสมอ อยา่ งนแ้ี สดงวา่  ผลงานของเราเขา้ ตาเขาแลว้  นคี่ อื สงิ่ ท่ีผู้เขียนสอนเยาวชน  ดูตัวเองให้ออก  คัดเอาจุดเด่นออกมา แล้วพัฒนาให้โด่งไปเลย  ให้เขายกนิ้วช้ีมาท่ีเรา  ยังมีอยู่อีก ตัวอย่างหนึ่งนักเป่าแซกโซโฟนท่ีไว้ผมทรงประหลาด  มีแซก โซโฟนอนั เดยี ว มงี านเขา้ อยตู่ ลอดเวลา นน่ั เปน็ เพราะมผี ลงาน เข้าตา ผบู้ รหิ ารตอ้ งถามตวั เองวา่  เรามผี ลงานอะไรเขา้ ตา เปน็ ทเี่ รียกหาเรียกใช้ ผูบ้ รหิ ารตอ้ งฝกึ ตัวเองและฝกึ ลูกนอ้ งให้ได้ อยา่ งนี้

60 จ ร ิ ย ธ ร ร ม สํ า ห ร ั บ ผ ู้ บ ร ิ ห า ร แ ล ะ ธ ร ร ม า ภ ิ บ า ล ค. มจี รยิ ธรรมกำ� กับชีวิต จรยิ ธรรมของผบู้ รหิ ารเปน็ สง่ิ สำ� คญั  “จรยิ ธรรม” คอื จรยิ าทค่ี วรประพฤต ิ ประพฤตแิ ลว้ ด ี เปน็ คณุ ธรรม ผบู้ รหิ าร ต้องมจี ริยธรรม คนเรามีหลายบทบาท  หลายหน้าท่ี  แต่ละบทบาทก็ ต้องมีจริยธรรมท่ีตัวเองต้องประพฤติให้ได้  เช่น  จริยธรรม ของการเปน็ ภรรยา ไดแ้ ก ่ จดั งานบา้ นใหเ้ รยี บรอ้ ย สงเคราะห์ ญาตทิ ง้ั ของตนและของสาม ี ไมน่ อกใจสาม ี รกั ษาทรพั ยท์ ห่ี า มาได ้ ขยนั ในหนา้ ทก่ี ารงาน สว่ นสามที ดี่ ตี อ้ งยกยอ่ งใหเ้ กยี รติ ภรรยา ไมด่ หู มนิ่  ไมน่ อกใจ มอบความเปน็ ใหญใ่ นบา้ นให ้ ให้ ของขวัญตามโอกาส จรยิ ธรรมสำ� หรบั พอ่ แม ่ กต็ อ้ งหา้ มปรามปอ้ งกนั ลกู ไม่ ใหท้ ำ� ชวั่  ดแู ลอบรมลกู ใหเ้ ปน็ คนด ี ใหก้ ารศกึ ษา จดั หาคคู่ รอง ท่ีเหมาะสม  มอบทรัพย์ให้เม่ือถึงโอกาส  น่ีคือหน้าที่ของพ่อ แม ่ ทจ่ี ะตอ้ งประพฤตใิ หไ้ ด ้ กจ็ ะเปน็ พอ่ พมิ พ ์ แมพ่ มิ พท์ ดี่ แี ลว้ ลกู จะไม่เหลวไหลไม่น�ำความเดือดร้อนมาให้ เวลามคี นตดิ ตอ่ ใหผ้ เู้ ขยี นไปบรรยายใหเ้ ยาวชนในสถาน พินิจฟัง  ผู้เขียนบอกว่า  ต้องน�ำพ่อแม่มาน่ังฟังด้วย  ไม่ใช่ให้

ด ร . ส น อ ง  ว ร อ ุ ไ ร 61 เยาวชนฟังฝ่ายเดียว  เพราะเหตุที่เด็กมีความประพฤติไม่ดี มคี วามประพฤตวิ บิ ตั  ิ เปน็ เพราะพอ่ แม ่ ในฐานะทเ่ี ปน็ พอ่ พมิ พ์ แม่พิมพ์ขาดจริยธรรมและคุณธรรม  แล้วลูกที่เกิดมาจะดีได้ อย่างไร  พ่อแม่บางคนใช้ลูกให้เป็นคนส่งยาบ้า  ลูกแม้จะรู้ว่า ผดิ กฎหมายไมด่ แี ละไมอ่ ยากทำ�  แตเ่ มอ่ื ถกู ดา่ วา่  ถกู ต ี กจ็ ำ� ตอ้ งทำ� ทกุ ครงั้ ทบี่ รรยายใหเ้ ดก็ ฟงั  เดก็ มคี วามตง้ั ใจฟงั อยา่ งมาก แต่ พอบรรยายให้พ่อแม่ฟัง  พ่อแม่นั่งก้มหน้า  ไม่ยอมสบตากับ ผเู้ ขยี น นน่ั แหละเปน็ ตวั บง่ ชวี้ า่  ความผดิ มาจากพอ่ พมิ พ ์ แมพ่ มิ พ์ ทไ่ี มป่ ระพฤตจิ ริยธรรม คุณธรรมจงึ ไมม่ ีกบั พอ่ พิมพแ์ มพ่ ิมพ์ แล้วความวิบัตจิ งึ ได้เกดิ ขึ้นกับครอบครวั ลกู ทดี่ ตี อ้ งจำ� ไวว้ า่  เราทกุ คนไมม่ ใี ครเกดิ มาจากกระบอก ไม้ไผ่  มีพ่อมีแม่กันทุกคน  ฉะนั้น  ไม่ควรท้ิงพ่อแม่  ลูกท่ีทิ้ง พอ่ แมค่ อื ลกู อกตญั ญ ู แลว้ จะนำ� ความวบิ ตั มิ าสตู่ วั  ไปสงั่ สอน อะไรใคร  ก็ไม่มีใครเขาเชื่อฟัง  ลูกน้องก็จะไม่เชื่อฟัง  ความ กตญั ญเู ปน็ ยอดของความดงี าม เป็นคุณธรรมท่ีสุดยอด ลกู ทดี่ ตี อ้ งเลย้ี งพอ่ แมต่ อบแทน ชว่ ยแบง่ เบาการงานในบา้ น ดำ� รง วงศส์ กลุ ไม่ใหเ้ สือ่ มเสีย ท�ำตนเปน็ ทายาทท่ีด ี เมอ่ื พอ่ แม่เสีย ชวี ติ ไป ตอ้ งทำ� บญุ อทุ ศิ ให ้ นค่ี อื จรยิ ธรรมของการเปน็ ลกู ทดี่ ี เปน็ การแสดงความกตญั ญตู อ่ พ่อแม่

62 จ ร ิ ย ธ ร ร ม สํ า ห ร ั บ ผ ู้ บ ร ิ ห า ร แ ล ะ ธ ร ร ม า ภ ิ บ า ล นานมาแลว้  สมยั ทผี่ เู้ ขยี นทำ� งานในโครงการพระราชดำ� ริ มีแม่ทัพท่านหนึ่ง  สมัยที่ยังมีชีวิตอยู่  ท่านให้ความไว้วางใจ แก่ผู้เขียนให้เป็นท่ีปรึกษาอยู่นานถึง  ๖  ปี  ท�ำงานถวาย พระเจ้าอยู่หัว  เม่ือท่านเสียชีวิตลง  ทางครอบครัวของท่าน ขอใหผ้ ูเ้ ขียนเขยี นคำ� ไว้อาลยั  ผเู้ ขยี นไดเ้ ขยี นโดยสรปุ ประเดน็ ความดีงามของทา่ นฯ ได ้ ๓ ประการ คือ ๑)  ท่านมีความเห็นถูกตามธรรม  เวลาท่ีผู้เขียนเป็นที่ ปรกึ ษาใหท้ า่ นจะชท้ี างแกป้ ญั หาเปน็ สองแนวคอื  ทางโลกเขา คิดแบบน้ี  แต่ทางของพระพุทธเจ้าท่านคิดแบบน้ี  จงตัดสิน ใจเลอื กเอง ปรากฏวา่ ทา่ นเลอื กถกู ทกุ ครงั้  ทำ� ใหก้ ารแกป้ ญั หา ทุกอย่างลุล่วงด้วยดีตลอดเวลา  ๖  ปีท่ีผู้เขียนไปท�ำงานร่วม กบั ท่าน ๒)  ท่านมีความกตัญญูกตเวทีต่อแผ่นดินเกิด  ความ กตัญญูกตเวทีนี้คือยอดของคุณธรรมท่ีน�ำพาชีวิตและการ ท�ำงานไปสู่ความเจริญรงุ่ เรอื ง ๓) ทเี่ หน็ เดน่ ชดั มากคอื  ทา่ นมคี วามกตญั ญกู ตเวทตี อ่ องคพ์ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และราชวงศ์

ด ร . ส น อ ง  ว ร อ ุ ไ ร 63 จากการมีคุณสมบัติอันเลิศ  ๓  ประการนี้  ท่านฯ  จึงได้ เป็นแม่ทัพ  ในฐานะท่ีเป็นผู้ใหญ่  ต้องมีความกตัญญูกตเวที อนั เปน็ สดุ ยอดของคณุ ธรรม ทง้ิ พอ่ แมไ่ มไ่ ด ้ และตอ้ งตอบแทน คณุ แผน่ ดนิ  คนทเ่ี นรคณุ พอ่ แม ่ จะทำ� ใหเ้ กดิ เปน็ ความวบิ ตั ใิ น ชีวิตและอาชีพการงาน เชน่ เดียวกนั  คนท่ีเนรคณุ ต่อแผน่ ดิน ทต่ี นมาอาศยั เกดิ  อาศยั ทำ� มาหาเลย้ี งชพี อยทู่ กุ วนั  จะพบกบั ความวิบัติ  ความกตัญญูกตเวทีเป็นยอดของคุณธรรม  ใคร ทำ� ไดน้ บั วา่ มชี วี ติ เจรญิ รงุ่ เรอื ง ผเู้ ขยี นทอี่ อกทำ� หนา้ ทเี่ ผยแผ่ ธรรมะของพระพทุ ธเจา้ อยทู่ กุ วนั น ้ี กเ็ พราะความกตญั ญฯู  ตอ่ พระพุทธองค์  ตั้งแต่ได้รับของดีคือ  ธรรมและวินัย  มาจาก การบวชสามสบิ วนั แลว้  กบ็ อกกบั ตวั เองวา่  จะตอ้ งตอบแทน คณุ ของพระพทุ ธโคดม ดว้ ยการออกเผยแพรธ่ รรมของพระองค์ ตราบนานเท่าทีย่ งั มีชีวิตเหลืออย ู่ นี่คอื ความกตัญญ-ู กตเวที ผใู้ ดทำ� ไดน้ บั วา่ สดุ ยอด โดยเฉพาะผบู้ รหิ ารตอ้ งมคี วามกตญั ญฯู ตอ่ บพุ การ ี กตญั ญฯู  ตอ่ แผน่ ดนิ เกดิ  กตญั ญฯู  ตอ่ หนว่ ยงาน ที่เราเข้าไปมสี ่วนร่วม ฯลฯ เช่นเดียวกัน ผู้หวงั ความสวัสดีของชีวิต ตอ้ งประพฤติ จรยิ ธรรมพลเมอื งของประเทศชาต ิ ดว้ ยการทำ� ตนใหม้ ศี ลี ธรรม ไมพ่ รา่ เวลาใหส้ ญู เปลา่  มนี ำ�้ ใจสงเคราะห ์ ทำ� หนา้ ทใ่ี หส้ มบรู ณ์ นำ� ชวี ติ ดว้ ยสตปิ ญั ญา มคี วามสภุ าพ ออ่ นโยน รกั ษาความสะอาด ประณีต  เผ่ือแผ่แบ่งปัน  บ�ำรุงพระสงฆ์ผู้ทรงศีล  อ่านมาก

64 จ ร ิ ย ธ ร ร ม สํ า ห ร ั บ ผ ู้ บ ร ิ ห า ร แ ล ะ ธ ร ร ม า ภ ิ บ า ล ฟังมาก  ค้นคว้าหาความรู้อยู่เสมอ  เหล่าน้ีต้องท�ำ  เพราะให้ ผลเป็นคณุ ธรรมเกดิ ขึ้นกบั ตัวเอง ผู้ที่เป็นข้าราชการ  ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบ  เช่น เขา้ งาน ๘.๓๐ น. ผทู้ ำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ หวั หนา้  เราตอ้ งมากอ่ น ตอ้ ง มาใหท้ นั ทกุ ครงั้  หากหวั หนา้ มาสาย ลกู นอ้ งกจ็ ะเลยี นแบบ แลว้ เรา  จะตำ� หนลิ กู นอ้ งไมไ่ ด ้ เพราะเราทำ� ผดิ เสยี เอง นอกจากน้ี ตอ้ งมี เมตตากรณุ าตอ่ ผมู้ าตดิ ตอ่ และผรู้ ว่ มงาน ซง่ึ จะมผี ลทำ� ใหเ้ กดิ บรรยากาศในการทำ� งานทสี่ งบเยน็  มมี นษุ ยสมั พนั ธด์  ี พดู จา ไพเราะ มถี อ้ ยทถี อ้ ยปราศรยั เหมอื นญาตมิ ติ ร สจุ รติ  สนั โดษ น่ีคอื จริยธรรมของข้าราชการ ผูใ้ ดประพฤติแลว้ คณุ ธรรมก็ จะเกดิ ขึน้  และส่งั สมเปน็ ความดงี ามอยู่ในจิตของผู้ประพฤติ ลกู นอ้ งทด่ี ตี อ้ งมาทำ� งานกอ่ นเจา้ นาย เลกิ ทหี ลงั เจา้ นาย ครง้ั หนง่ึ เคยมคี นโทรศพั ทน์ ดั พบผเู้ ขยี นตอนหา้ โมงครง่ึ แตจ่ นหกโมงแลว้ กย็ งั ไมม่ า ผเู้ ขยี นไดโ้ ทรศพั ทไ์ ปถามวา่ ทำ� ไม ยงั ไม่มา เขาตอบวา่  “เจ้านายผมยังไมเ่ ลกิ ครบั ” ผ้เู ขียนสาธุ เลย เดยี๋ วนคี้ นนเ้ี ปน็ พลเอกแลว้  จรยิ ธรรมของผทู้ เี่ ปน็ ลกู นอ้ ง ยงั มอี กี  คอื  เอาแตข่ องทนี่ ายให ้ ถา้ ไมใ่ ห ้ กไ็ มเ่ อา มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ งาน ทำ� งานใหส้ ำ� เรจ็ เสรจ็ ทนั เวลา เอาความดขี อง เจา้ นายไปเผยแพร ่ ในทางตรงกนั ขา้ ม มลี กู นอ้ งหลายคน พอ

ด ร . ส น อ ง  ว ร อ ุ ไ ร 65 เหลา้ เขา้ ปากกน็ นิ ทาเจา้ นาย อยา่ งนเี้ จรญิ ไดย้ ากเพราะมคี วาม อกตญั ญ ู สงั่ สมอย่ใู นดวงจติ ของเขา สำ� หรบั คนทท่ี ำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ เจา้ นาย ตอ้ งประพฤตติ นเอง ใหส้ ะอาด ดว้ ยการมศี ลี  ๕ คมุ ใจ เจา้ นายเมาเขา้ ทท่ี ำ� งาน หรอื   เจา้ นายเปดิ ซอ่ งคา้ ผหู้ ญงิ  กถ็ อื ไดว้ า่ ไมม่ คี ณุ ธรรม ลกู นอ้ งไม่ เชื่อฟัง  ดังน้ันจึงต้องท�ำตัวให้เป็นแบบอย่างท่ีดี  มีปิยวาจา ไม่ด่าทอ  จะต�ำหนิติเตียนต้องใช้เหตุผล  ไม่ใช้โทสะ  และพูด ตำ� หนใิ นทลี่ บั ใหไ้ ดย้ นิ กนั เพยี ง ๒ คน เพอื่ ไมใ่ หเ้ ขาไดร้ บั ความ อับอาย  ลูกน้องจะไม่จองเวร  แล้วพฤติกรรมของเขาจะดีขึ้น ผู้เป็นเจ้านายต้องเว้นอคติ  มีความยุติธรรม  มีพรหมวิหาร  มีวินัย  ระเบียบก�ำหนดให้เข้างาน  ๘.๓๐  น.  ก็ต้องไม่มาสาย กว่า  ๘.๓๐  น.  ระเบียบก�ำหนดให้เลิกงาน  ๑๖.๓๐  น.  ก็ต้อง ไม่กลับก่อน  ๑๖.๓๐  น.  เหล่าน้ีคือจริยธรรมท่ีเมื่อเจ้านาย ประพฤตไิ ดแ้ ลว้  จะใหผ้ ลเปน็ คณุ ธรรม ดงั นนั้ เจา้ นายจงึ ตอ้ ง ประพฤติจริยธรรม เพือ่ เปน็ แบบอย่างท่ีดใี หก้ บั ลูกนอ้ ง ง. รจู้ กั บริหารเวลา ทงั้ หมดทกี่ ลา่ วมาขา้ งตน้ น ี้ คอื  การบรหิ ารบคุ คล เรมิ่ ต้ังแต่บริหารตนเองให้ได้ก่อน  แล้วจึงบริหารผู้อ่ืนภายหลัง แตย่ งั มเี รอ่ื งสำ� คญั มากอกี เรอื่ งหนง่ึ  นนั่ คอื  การบรหิ ารเวลา

66 จ ร ิ ย ธ ร ร ม สํ า ห ร ั บ ผ ู้ บ ร ิ ห า ร แ ล ะ ธ ร ร ม า ภ ิ บ า ล “เวลา” หมายถงึ  ความยาวนานทเ่ี รามอี ย ู่ ทกุ คนม ี ๒๔  ช่ัวโมงเท่ากัน  แต่บริหารแล้วได้ประโยชน์จากเวลาไม่เท่ากัน เวลาเป็นของมีค่า  ผ่านไปแล้วเรียกคืนกลับไม่ได้  ส่ิงท่ีท�ำผิด พลาดไปเมอื่ วาน ยอ่ มเรยี กคนื ไมไ่ ด ้ จะแกไ้ ขใหมไ่ มใ่ หผ้ ดิ พลาด กท็ ำ� ไมไ่ ด ้ แมแ้ ตพ่ ระพทุ ธเจา้ โคดมกย็ งั แกไ้ มไ่ ด ้ ยงั ถกู พระเทวทตั จองเวรไม่รู้กี่ภพก่ีชาติ  เวลาที่ผ่านไปเรียกคืนไม่ได้  เวลาท�ำ ชีวิตให้สั้นลงทุกวันๆ  เป็นความจริง  จึงไม่ควรปล่อยเวลาให้ ผา่ นเลยไปโดยเปลา่ ประโยชน ์ จ. เวลาท่มี คี ณุ ค่า เวลาท่มี คี ุณค่าตอ่ ชวี ิต มอี ย่ ู ๒ ลกั ษณะ คอื ๑) เวลาในปจั จบุ นั ขณะ เปน็ เวลาทมี่ คี ณุ คา่  จะทำ� ความดี ก็ต้องท�ำในปัจจุบันนี้  ความดีจึงจะเกิดข้ึนได้  ถ้าจะเอาเวลา เมอ่ื วานมาทำ� ความด ี ไมม่ ที างทำ� ได ้ ตอ้ งทำ� เดย๋ี วนค้ี วามดจี งึ จะเกิดขึ้นได ้ ผู้ใดรูต้ วั ว่าเม่อื วานทำ� ไมด่ ี ตอ้ งหยุด ไม่ทำ� สิ่งไม่ ดใี หเ้ กดิ ขน้ึ อกี  ตอ่ ไปนที้ ำ� ใหมใ่ หด้  ี แลว้ ความดจี ะถกู เกบ็ สงั่ สม อยใู่ นจิตใจ

ด ร . ส น อ ง  ว ร อ ุ ไ ร 67 มสี ภุ าพสตรที า่ นหนง่ึ ไดโ้ ทรศพั ทท์ างไกลมาถามผเู้ ขยี นวา่ ผโู้ ทรศัพท ์ : อาจารย์คะ พระพุทธเจา้ มีจรงิ ไหม ผเู้ ขยี น : มจี รงิ สลิ กู  อาจารยไ์ ดไ้ ปดทู เ่ี กดิ ของพระพทุ ธเจา้ (กรุงกบลิ พัสด)์ุ  มาแล้ว ปจั จบุ ันอยู่ในประเทศเนปาล ผโู้ ทรศพั ท ์ : หนคู ดิ วา่ เปน็ เรอื่ งสมมตกิ นั ขนึ้  เพอื่ เขยี น ส่ังสอนคนโง่ใหป้ ฏิบตั ติ าม ผเู้ ขยี น : แลว้ หนไู ดร้ บั ผลเปน็ อยา่ งไรละ่  ทคี่ ดิ ปรามาส (ดถู กู ) ผทู้ ที่ รงคณุ ธรรมสงู และมชี วี ติ อยจู่ รงิ ในครง้ั พทุ ธกาล ผู้โทรศัพท์  :  หนูเรียนแล้วจ�ำความรู้ท่ีครูสอนในห้อง ไมไ่ ดเ้ ลย มลี กั ษณะคลา้ ยกบั สมองกลวง จงึ ไดล้ าพกั การเรยี น นานหนง่ึ ป ี ขณะนกี้ ย็ งั ลาพกั การเรยี นอย ู่ แลว้ หนจู ะแกป้ ญั หา นอ้ี ยา่ งไรคะ ผเู้ ขยี น : ขณะทโี่ ทรศพั ทม์ าหาอาจารย ์ นหี่ นอู ยทู่ ไี่ หน ผู้โทรศพั ท์ : หนูอยูท่ ีจ่ ังหวัดนา่ นค่ะ

68 จ ร ิ ย ธ ร ร ม สํ า ห ร ั บ ผ ู้ บ ร ิ ห า ร แ ล ะ ธ ร ร ม า ภ ิ บ า ล ผู้เขียน : หนรู จู้ ักพระธาตแุ ช่แห้งไหม ผู้โทรศพั ท์ : รูจ้ ักคะ่ ผ้เู ขียน : หนเู อาดอกไมธ้ ปู เทยี น ไปขอขมาตอ่ พระธาตุ แช่แห้ง  (ส่ิงศักด์ิสิทธิ์)  ด้วยการสวดมนต์บทสรรเสริญคุณ พระรตั นตรยั จนจบ แลว้ กลา่ วขอขมากรรมทต่ี วั เองคดิ ผดิ  วา่ พระพุทธเจ้าโคดมไม่มีอยู่จริง  ต่อไปน้ีจะไม่คิดผิดเช่นนั้นอีก ขอสิ่งศักดิ์สิทธ์ิได้โปรดยกโทษให้กับข้าพเจ้าด้วย  เมื่อขอขมา กรรมแลว้ เสร็จกต็ อ้ งประพฤตติ นให้มีศลี ผ้โู ทรศัพท ์ : คะ่  หนูจะปฏิบตั ิตามทอ่ี าจารยแ์ นะนำ� เรอ่ื งนหี้ ายไปจากความนกึ คดิ ของผเู้ ขยี น เปน็ เวลานาน ถงึ สองปเี ศษ จนกระทงั่ วนั หนงึ่  ผเู้ ขยี นไดม้ โี อกาสไปบรรยาย ธรรมให้กับนักปฏิบัติธรรมที่วัดร่�ำเปิง  (ตโปทาราม)  อ�ำเภอ เมอื ง จงั หวดั เชยี งใหม ่ ไดไ้ ปพบสภุ าพสตรที า่ นหนงึ่  แตง่ กาย อยใู่ นชดุ ขาว เธอไดเ้ ดนิ เขา้ มาหาผเู้ ขยี นพรอ้ มกบั กม้ ยกมอื ไหว้ แล้วพดู ขึ้นวา่ สตรใี นชดุ ขาว : สวสั ดคี ะ่ อาจารย ์ หนคู อื คนทโี่ ทรศพั ท์ มาหาอาจารย์แลว้ ถามวา่  พระพุทธเจ้ามจี ริงไหม

ด ร . ส น อ ง  ว ร อ ุ ไ ร 69 เม่ือผู้เขียนรับไหว้  พร้อมกับได้ยินค�ำว่า  “หนูคือคนที่ โทรศัพท์มากถามอาจารย์ว่า  พระพุทธเจ้ามีจริงไหม  ผู้เขียน ระลึกถึงค�ำแนะน�ำให้ไปขอขมากรรมที่พระธาตุแช่แห้งได้  จึง ไดพ้ ดู ขึ้นวา่ ผเู้ ขยี น : แลว้ ตอนนก้ี ารเรยี นของหนเู ปน็ อยา่ งไรบา้ งละ่ สตรใี นชดุ ขาว : หนเู รียนจบแลว้ ค่ะ เรอื่ งจรงิ ทย่ี กขน้ึ มาบอกเลา่ ใหฟ้ งั น ้ี ประสงคจ์ ะบอกวา่ พระพุทธเจ้าเป็นผู้ท่ีทรงคุณธรรมสูง  การประพฤติปรามาส จึงให้ผลเป็นความวิบัติท่ีเร็วและแรง  ตอบกลับให้ผู้ประพฤติ อกศุ ลวจกี รรมตอ้ งไดร้ บั  ผใู้ ดประพฤตผิ ดิ พลาดไวแ้ ตอ่ ดตี  เมอื่ ระลกึ ไดแ้ ละรตู้ วั วา่ ทำ� ไมด่ ตี อ้ งหยดุ  ไปขอขมากรรมทป่ี ระพฤติ ผิดพลาดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์  แล้วหันกลับมาท�ำกรรมดีให้ เกดิ ขน้ึ ในปจั จุบัน ชีวิตจงึ จะเขา้ ถงึ ความดงี ามได้ ดงั ตวั อย่าง ของผู้เขียน  เคยอยู่ในวงดื่มสุรา  ในครั้งอดีต  แต่เม่ือระลึกได้ ถึงโทษของการด่ืมสุรา  จึงได้เลิกดื่มอย่างเด็ดขาด  บัดนี้กาล เวลาได้ผ่านมาถึง  ๓๗  ปีเศษแล้ว  จึงมีแต่ความดีงามเท่าน้ัน ทท่ี �ำและเก็บส่งั สมไวใ้ นดวงจติ

70 จ ร ิ ย ธ ร ร ม สํ า ห ร ั บ ผ ู้ บ ร ิ ห า ร แ ล ะ ธ ร ร ม า ภ ิ บ า ล ๒) เวลาทมี่ สี ตกิ ำ� กบั  ไมว่ า่ จะทำ� อะไร มสี ตกิ ำ� กบั  เปน็ เวลาทส่ี ดุ ยอด เพราะความดงี ามทง้ั หลายยอ่ มเกดิ จากจติ ทมี่ ี สติคมุ  นคี่ ือเวลาทมี่ ีคุณค่า  คณุ หมอเฉก ธนะสริ  ิ ทา่ นบอกไวว้ า่  ชว่ งอายกุ ารทำ� งาน ของคนเรามีประมาณ  ๓๐  ปี  ท�ำงานปีละ  ๒๕๐  วัน  วันละ ๘  ชั่วโมง  รวมเวลาท�ำงานใน  ๑  ปี  เท่ากับ  ๒,๐๐๐  ช่ัวโมง ท�ำกิจกรรมสังคมหรือครอบครัว  ๓,๘๐๐  ช่ัวโมงต่อปี  นอน ๒,๙๐๐ ชวั่ โมงตอ่ ป ี รวมแลว้ ระยะเวลา ๓๐ ปเี ปน็ ชว่ งของวยั ทำ� งาน ใน ๓๐ ปนี นั้ คนโดยทวั่ ไปทำ� งานจรงิ ๆ ๗ ป ี ทำ� กจิ กรรม สังคม  ๑๓  ปี  และนอน  ๑๐  ปี  คุณหมอเฉก  ท่านแยกให้เรา ดูอย่างน้ีว่า  กิจกรรมชีวิตของคนทั่วไปแทบไม่มีคุณค่าเลย ทำ� งานเพยี งแค ่ ๗ ป ี นอนตง้ั  ๑๐ ป ี นอนมากแตท่ ำ� งานนอ้ ย

เบญจธรรม มี ๕ ข้อ ๑) มีเมตตากรณุ า ๒) มีสัมมาอาชวี ะ ๓) มกี ามสังวร ๔) มสี จั จะ ๕) มีสตสิ ัมปชัญญะ



ธรรมะคุ้มใจ (ธรรมาภิบาล) ค�ำว่า  “ธรรมาภิบาล”  หมายความว่า  เอาธรรมะมา คมุ้ ครองใจ เพราะใจเปน็ นาย กายเปน็ บา่ วรบั ใชจ้ ติ  พฤตกิ รรม ท้ังหลาย (คิด พูด ทำ� ) ล้วนสำ� เรจ็ ได้ด้วยจติ หรือใจ จติ เปน็ พลงั งานเหมอื นพลงั งานไฟฟา้  แตเ่ ปน็ คลนื่ ละเอยี ด เกดิ ดบั ๆ เรว็ มาก ถา้ จติ ยงั อย ู่ กส็ ามารถปลกุ รา่ งกายขนึ้ มาทำ� โนน่ ทำ� น่ี ได้  คนตายแล้วมีแต่ร่าง  ไม่มีจิต  จะปลุกขึ้นมาก็ไม่สามารถ ข้ึนได้  คนท่ีมีพลังงานจิตเกิดดับๆ  สามารถท�ำงาน  ส่ังสมอง ใหค้ ดิ  สงั่ ปากใหพ้ ดู  สง่ั มอื ไมใ้ หท้ ำ� โนน่ ทำ� น ี่ เรอ่ื งของจติ เปน็ เรื่องท่ีนักวิทยาศาสตร์ยังเข้าไม่ถึง  แต่ถ้าเรามาฝึกจิตเพื่อ

74 จ ร ิ ย ธ ร ร ม สํ า ห ร ั บ ผ ู้ บ ร ิ ห า ร แ ล ะ ธ ร ร ม า ภ ิ บ า ล พฒั นาปญั ญาตวั ทสี่ าม (ภาวนามยปญั ญา) จะรวู้ า่ เหตผุ ลที่ อยนู่ อกเหนอื ประสาทสมั ผสั มจี รงิ  จติ ทพ่ี ฒั นาดแี ลว้ สามารถ สมั ผสั ได ้ อภญิ ญาหรอื ความรสู้ งู สดุ ทงั้  ๕ ประการทบ่ี อกมาแลว้ ประสาทสมั ผสั สมั ผสั ไมไ่ ด ้ แตจ่ ติ ทพี่ ฒั นาดแี ลว้ สมั ผสั ได ้ อภญิ ญา  เป็นส่ิงที่ท่านในที่น้ีมีอยู่ในตัว  เพียงแต่ว่าเม่ือไรจะพัฒนาข้ึน มาใช้  ใครพัฒนาข้ึนมาได้  พฤติกรรมจะเปลี่ยนไปเป็นดี กอ่ นทเ่ี ราจะไปบรหิ ารบคุ คลอนื่ ในองคก์ ร เราตอ้ งบรหิ าร จดั การตวั เองใหไ้ ดก้ อ่ น บรหิ ารพฤตกิ รรมใหด้ ไี ดก้ อ่ น การพดู การทำ� เปน็ พฤตกิ รรมของมนษุ ย ์ การกระทำ� ของเขา เรามอง เหน็ ดว้ ยตา การพดู ของเขา เราไดย้ นิ ดว้ ยห ู แตถ่ า้ เขานง่ั เฉยๆ คิดอะไรอยู่  เราไม่รู้  แต่คนท่ีพัฒนาจิตดีแล้ว  จะสามารถล่วง รคู้ วามคดิ ของเขาได ้ แมว้ า่ เขาไมแ่ สดงออกเรากร็ ไู้ ด ้ มนั มจี รงิ เป็นจริง  แต่คนส่วนใหญ่ไม่รู้ว่าความรู้สูงสุดตัวน้ีมีอยู่  เป็น ความรู้สูงสุดท่ีประสาทสัมผัสไม่ได้  แต่ใช้จิตท่ีพัฒนาดีแล้ว สมั ผัสได้ “ธรรมาภิบาล” ประกอบด้วยค�ำว่า “ธรรมะ” และ “อภบิ าล” หมายถงึ  การปกครองดว้ ยคณุ ความด ี เราจะนำ�   ธรรมะขอ้ ใดมาปกครอง คมุ้ ครองรกั ษาใจ เพอื่ ใหช้ วี ติ มแี ต่ ความเจรญิ ถา่ ยเดยี ว ไมท่ ำ� ใหช้ วี ติ พบกบั ความวบิ ตั หิ รอื ตกตำ�่

ด ร . ส น อ ง  ว ร อ ุ ไ ร 75 ศีล  ๕  คือ  เว้นประพฤติเบียดเบียนชีวิต  เว้นประพฤติ ลักทรัพย์  เว้นประพฤติผิดในกาม  เว้นพูดเท็จ  เว้นด่ืมน�้ำเมา และสง่ิ เสพตดิ  เหลา่ นเ้ี ปน็ คณุ ธรรม ถา้ มคี รบถว้ นจะฝงั อยใู่ น ดวงจติ  แมต้ าย คณุ ธรรมทง้ั  ๕ ขอ้  มพี ลงั ผลกั ดนั จติ วญิ ญาณ ให้ไปเกิดเป็นมนุษย์ได้อีกครั้ง  ศีลท้ัง  ๕  ข้อเป็นคุณธรรมท่ี น�ำพาให้เราได้มาเกิดเป็นมนุษย์  ถ้าศีล  ๕  ไม่ครบ  ต้องลงไป เกิดต�่ำกว่ามนุษย์  ผู้เขียนจึงบอกว่า  ทุกคนต้องน�ำศีล  ๕  มา คมุ้ ครองใจ เอาศลี  ๕ มา “อภบิ าล” ใจ ผทู้ มี่ ศี ลี  ๕ อยทู่ กุ ขณะตน่ื จะไดร้ บั อานสิ งสม์ าก เวน้ การฆา่ สตั ว ์ จะมรี ปู ทรงงดงาม อายุ ยนื ยาว มกี ำ� ลงั มาก เปน็ ทร่ี กั ของชาวโลก ไมม่ โี รคภยั เบยี ดเบยี น เวน้ ลกั ทรพั ย ์ จะมที รพั ยป์ ลอดภยั  ทรพั ยต์ งั้ มนั่  ทรพั ยไ์ มเ่ สอื่ มไป เพราะลมนำ้�  ไฟ และโจร ใครเสยี ทรพั ยเ์ พราะลมพดั พา บา้ น พังเพราะน้�ำท่วม เพราะไฟไหม้ หรือเพราะถูกโจรลักไป นั่น เปน็ ผลของอกศุ ลวบิ ากจากการท่ีเคยประพฤตผิ ิดศลี ขอ้  ๒ มีเรื่องจริงจะเล่าให้ฟัง  ครั้งหนึ่งผู้เขียนได้มีโอกาสเดิน ทางไปทอดกฐนิ ทางภาคอสี านตอนบน โดยมคี ณุ หญงิ สรุ ยี พ์ นั ธ์ เป็นผู้น�ำคณะกฐิน  ได้ต้ังขบวนคณะกฐินที่โรงไฟฟ้าฝ่ายผลิต บางกรวย  ขบวนกฐินมุ่งตรงเข้าสู่โคราช  ตระเวนไปตามวัด ตา่ งๆ ทางภาคอสี านตอนบน ผา่ นบงึ โขงหลง และไปสดุ ปลาย ทางท่ีวัดภูทอกจังหวัดหนองคาย  เมื่อคณะกฐินไปถึงศาลา ของวัดภูทอก  คุณหญิงฯได้ยืนอยู่ท่ามกลางของคณะกฐินท่ี

76 จ ร ิ ย ธ ร ร ม สํ า ห ร ั บ ผ ู้ บ ร ิ ห า ร แ ล ะ ธ ร ร ม า ภ ิ บ า ล น่งั อยกู่ บั พืน้ ของศาลา ท่านช้ไี ปที่เสาต้นหน่งึ แลว้ เลา่ เรื่องให้ ฟังว่า  ท่ีเสาต้นนี้เคยมีอยู่ปีหน่ึง  มีผู้หญิงคนหน่ึงมาร่วม คณะกฐินกับท่าน  ได้หยิบเงินออกจากถุงกระดาษสีน�้ำตาล จ�ำนวนหนึ่ง  เพ่ือร่วมทอดกฐินกับวัดภูทอก  ส่วนเงินที่เหลือ เอาใสเ่ กบ็ ไวใ้ นถงุ ใบเดมิ  ปดิ ปากถงุ โดยใชย้ างรดั  แลว้ เอาวาง ไว้ท่ีโคนเสาต้นนั้น  คุณหญิงพูดพร้อมกับช้ีมือไปท่ีเสา  เมื่อ เสร็จธุรกิจทอดกฐินแล้ว  ขบวนรถได้มุ่งหน้ากลับกรุงเทพฯ พอรถไปถึงกรุงเทพฯ  คุณหญิงจึงได้รับแจ้งทางโทรศัพท์ว่า ไดล้ มื ถงุ กระดาษบรรจเุ งนิ วางไวท้ โี่ คนเสาของศาลาภทู อก แต่ เจ้าของมิได้กังวลใจกับเงินท่ีลืมไว้  เพียงแต่โทรศัพท์มาบอก ให้ทราบ ในปีรุ่งขึ้นคุณหญิงได้จัดคณะกฐินขึ้นอีก  และได้วนไป ทอดกฐินตามวัดต่างๆ  ของภาคอีสานตอนบนเหมือนเดิม ผหู้ ญงิ ทล่ี มื เงนิ ใสถ่ งุ วางไวท้ ศ่ี าลาฯ กม็ ารว่ มทอดกฐนิ อกี ดว้ ย เมอื่ รถวนมาถงึ ศาลาภทู อก เธอจงึ รบี เดนิ ไปทเี่ สาตน้ นน้ั  และ ได้เห็นถุงกระดาษสีน้�ำตาลบรรจุเงินวางไว้ที่เดิม  ซ่ึงเป็นท่ีน่า อศั จรรยว์ า่  เวลาผา่ นไปนานถงึ หนงึ่ ปแี ลว้  ผหู้ ญงิ คนนนั้ ตอ้ ง มีศีลข้อสองบริสุทธิ์  ทรัพย์จึงปลอดภัย  เทวดาที่วัดภูทอก ท่านเก็บรักษาไว้ให้  เมื่อเจ้าของเงินกลับมาเป็นครั้งที่สอง เทวดาจงึ น�ำถงุ มาวางไว้ให้เหน็ เพ่ือสง่ คนื เจา้ ของ

ด ร . ส น อ ง  ว ร อ ุ ไ ร 77 ยังมีอยู่อีกเร่ืองหนึ่งท่ีผู้เขียนจะเล่าให้ฟัง  ครั้งหนึ่ง ผู้เขียนได้เดินทางไปที่เขตอ�ำเภอเชียงแสน  จังหวัดเชียงราย เพอื่ ไปนมสั การครบู าบญุ ชมุ่  พอครบู าเหน็ ผเู้ ขยี นไปกราบทา่ น  จึงได้เดินไปหยิบพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้าและได้ ย่นื มือสง่ ใหผ้ ู้เขียน พร้อมกับบอกวา่ เปน็ พระบรมสารีริกธาตุ ของพระพทุ ธเจา้ องคป์ ฐม แมจ้ ะใสแ่ วน่ สายตายาวแลว้  ผเู้ ขยี น  ยังมองได้ไม่ชัด  จึงเห็นเป็นลักษณะคล้ายก้อนหิน  ท่ีมีขนาด ใหญ่พอๆ  กับผลมะดัน  เมื่อกลับไปถึงบ้านท่ีเชียงใหม่  จึงใช้ แว่นขยายส่องดู  ได้เห็นชัดว่ามิใช่ก้อนหิน  แต่เป็นพระบรม สารีริกธาตุของพระพุทธเจ้าเมื่อต้นกัป  ได้สอบถามผู้ใกล้ชิด ครบู าฯ จงึ ไดร้ บั คำ� ตอบวา่ เปน็ พระบรมสารรี กิ ธาตขุ องพระกกสุ นั ธ  พทุ ธเจา้  เรอื่ งนเี้ ปน็ ทน่ี า่ อศั จรรยม์ าก เพราะโลกทเ่ี ราอาศยั อย่ ู น้เี กิด-ดับ (สลาย) ไปนานแลว้  แต่พระบรมธาตุของทา่ นยงั คงอย ู่ คนทศ่ี กึ ษาเลา่ เรยี นมาทางดา้ นวทิ ยาศาสตรย์ อ่ มไมเ่ ชอื่ หาเหตุผลมายืนยันไม่ได้ (พสิ จู น์ไม่ได้) แตค่ นท่ีพัฒนาจติ จน เขา้ ถงึ ความรสู้ งู สดุ  (ญาณ) ไดเ้ ทา่ นนั้  จงึ จะรวู้ า่ เปน็ ไปได ้ คอื เทวดาทศี่ รทั ธาในพทุ ธศาสนา ทา่ นนำ� ไปเกบ็ รกั ษาไวบ้ นสวรรค์ ในครงั้ ท่โี ลกก�ำลังอยใู่ นหว้ งเวลาของการแตกสลาย เมอื่ ธาตุ ต่างๆ  ที่เป็นองค์ประกอบของโลกเข้ามารวมตัวกัน  แล้วเกิด เป็นโลกท่ีประกอบข้ึนด้วยธาตุใหญ่ท้ังสี่  (ดิน  น้�ำ  ลม  ไฟ) อยา่ งเดน่ ชดั  เทวดาจงึ นำ� เอาพระบรมธาตกุ ลบั มาสง่ คนื ไวก้ บั โลกดงั เดมิ  เรอ่ื งบอกเลา่ เชน่ น ้ี ผทู้ ศ่ี กึ ษาหาความรมู้ าทางโลก

78 จ ร ิ ย ธ ร ร ม สํ า ห ร ั บ ผ ู้ บ ร ิ ห า ร แ ล ะ ธ ร ร ม า ภ ิ บ า ล ไมส่ ามารถพสิ จู นไ์ ด ้ จงึ ไมเ่ ชอ่ื วา่ เปน็ ความจรงิ  ผเู้ ขยี นเปน็ นกั วทิ ยาศาสตรท์ ศ่ี รทั ธาในความจรงิ  คอื ความเปน็ เหตเุ ปน็ ผลท่ี สมั พนั ธก์ นั  ไมเ่ ชอื่ เรอื่ งแบบนม้ี ากอ่ น แตเ่ มอ่ื ไดไ้ ปพสิ จู นด์ ว้ ย การพฒั นาจติ ตามแนวของสมถกรรมฐาน จนสามารถเขา้ ถงึ ความรู้สูงสุดที่เรียกว่า  โลกิยญาณ  ได้แล้ว  จึงได้สัมผัสกับ ความจริงเช่นนี้ได้  และได้รับสมญานามใหม่ว่าเป็นด๊อกเตอร์ เพยี้ นมาจนทุกวันน้ี ก. คุ้มใจด้วยศลี ธรรมาภบิ าลขอ้ แรกคอื  นำ� ศลี มาคมุ้ ใจ นำ� ศลี มาคมุ้ ครอง ชีวิต  ศีลยังประโยชน์ให้คนทุกเพศทุกวัย  ศีลคุ้มรักษาชีวิตไม่ ให้วิบัติ  การไม่ลักขโมย  ยังรวมถึงการไม่ประพฤติคอร์รัปช่ัน ดว้ ย นอกจากนย้ี งั เวน้ การผดิ ประเวณ ี เวน้ การพดู เทจ็  ใครที่ เวน้ การด่ืมสุราจะไดร้ ับอานสิ งส์คือ มีสติดี มีปัญญาดี เรยี น รไู้ ดง้ า่ ย ไมเ่ ปน็ บา้  คำ� พดู มสี จั จะ มธี รรมประจำ� ใจทกุ ขณะตนื่ อยา่ งนอ้ ยใหเ้ ราเอา “เบญจศลี ” (ศลี  ๕) มาอยใู่ นใจทกุ ขณะ ตน่ื  ไมต่ อ้ งไปขอใคร ไมต่ อ้ งไปสมาทานกบั ผใู้ ด เมอื่ ตนื่ ขน้ึ มา กข็ อใหม้ ศี ลี อยกู่ บั ใจทกุ ขณะตนื่  และหากปรารถนาเปน็ อรยิ บคุ คล ด้วยแล้ว ศีลท้งั  ๕ ข้อต้องไมข่ าด ไมท่ ะล ุ ไม่ด่าง ไม่พรอ้ ย

ด ร . ส น อ ง  ว ร อ ุ ไ ร 79 ข. คุม้ ใจดว้ ยธรรม ธรรมาภบิ าลขอ้ สอง คอื  เอาธรรมมาคมุ้ ใจ อยา่ งนอ้ ย ใหม้ ีธรรมท้งั หา้  “เบญจธรรม” อย่กู บั ใจทุกขณะตื่น ไดแ้ ก่ ๑) มีเมตตากรณุ า ๒) มสี มั มาอาชีวะ ๓) มกี ามสงั วร ๔)  มีสัจจะ ๕) มสี ตสิ ัมปชญั ญะ ผู้ใดมีศีล  ๕  มีธรรม  ๕  อยู่กับใจทุกขณะต่ืน  ผู้น้ันมี เทวดาคมุ้ รกั ษา เรอื่ งพระมหาชนกทวี่ า่ ยนำ้� อยกู่ ลางมหาสมทุ ร ดว้ ยเหตแุ หง่ เรอื โดยสารอบั ปางเปน็ เรอื่ งจรงิ  เปน็ หนา้ ทข่ี อง เทวดา  (มณีเมขลาเทพนารี)  ที่จะต้องคุ้มครองรักษา  น�ำพา ไปส่งยังเมืองมิถิลา  คนที่มีธรรมาภิบาล  ๒  ประการน้ี  ถ้า เทวดาไม่คุ้มรักษา  เทวดาย่อมตกนรก  การท�ำความดีเป็น คณุ ธรรมของมนษุ ย ์ การรกั ษามนษุ ยผ์ ทู้ ำ� ความดเี ปน็ คณุ ธรรม ของเทวดาบนสวรรค์  ผู้ใดปรารถนามีเทวดาคุ้มรักษา  จงน�ำ เอาศีล ๕ และธรรม ๕ มาสถติ อยกู่ บั ใจทกุ ขณะตนื่

80 จ ร ิ ย ธ ร ร ม สํ า ห ร ั บ ผ ู้ บ ร ิ ห า ร แ ล ะ ธ ร ร ม า ภ ิ บ า ล ยงั มอี ยอู่ กี ชาตหิ นงึ่ ของพระโพธสิ ตั ว ์ กอ่ นทจี่ ะมาตรสั รู้ เปน็ พระพทุ ธเจา้ โคดม ทา่ นไดเ้ สวยพระชาตเิ ปน็ พระสวุ รรณสาม เลยี้ งพอ่ แมต่ าบอดอยใู่ นปา่  ทา่ นมสี นุ ทรเี ทพธดิ าคมุ้ รกั ษา เมอ่ื พระ สวุ รรณสามถกู ลกู ศรอาบยาพษิ ยงิ  สนุ ทรเี ทพธดิ าไดอ้ ธษิ ฐาน ให้พิษของยาเหือดแห้งหายไปจากร่างของพระสุวรรณสาม ทันใดน้ันพระสวุ รรณสามจึงได้สติ กลับฟ้นื ขึน้ มาเหมือนเดมิ มอี ยคู่ รง้ั หนง่ึ  ผเู้ ขยี นไปบรรยายธรรมทวี่ ดั พระธาตดุ อย กองมู  จังหวัดแม่ฮ่องสอน  เม่ือเวลาประมาณยี่สิบนาฬิกา   มีคนมาฟังกันมาก  จนเลยออกไปนอกเต็นท์  และฝนตก ผู้เขียนขอให้เทวดาหยุดฝน  เพ่ือไม่ให้คนท่ีมาฟังธรรมต้อง ลำ� บาก เทวดาก็ช่วยใหฝ้ นหยุดไดจ้ ริง ที่บอกเล่ามานี้เป็นธรรมาภิบาล  คือน�ำเอาศีล  ๕  มา คมุ้ ใจ นำ� เอาธรรม ๕ มาคมุ้ ใจ นำ� จรยิ ธรรมตา่ งๆ เหล่านมี้ า คมุ้ ใจ เรากจ็ ะมคี ณุ ธรรม คนมคี ณุ ธรรมยอ่ มประสบกบั ความ ส�ำเร็จในชีวิต  ธุรกิจ  หน้าที่การงาน  ท�ำการใดๆ  ย่อมส�ำเร็จ เพราะมีคณุ ธรรมสนบั สนนุ

ด ร . ส น อ ง  ว ร อ ุ ไ ร 81 ค. คุม้ ใจด้วยสามคั คธี รรม นำ� เอาสามคั คธี รรมมาคมุ้ ใจ คอื มเี มตตาตอ่ ลกู นอ้ ง แบง่ กันกินแบ่งกันใช้  ประพฤติดีให้เหมือนเขา  ปรับความเห็นให้ เขา้ กนั ได ้ กจ็ ะเกดิ เปน็ ความสามคั คขี นึ้ ในสงั คม ครอบครวั เปน็ สังคมระดับเล็กท่ีสุด  ถ้าเรามีเมตตาต่อทุกคนในครอบครัว แบง่ กนั กนิ  แบง่ กนั ใช ้ ประพฤตดิ  ี คอื  มศี ลี มธี รรมคมุ้ รกั ษาใจ ปรบั ความเหน็ ทอี่ าจไมต่ รงกนั  ใหม้ าอยรู่ ว่ มกนั ได ้ เชน่  ใชห้ ลกั เสียงส่วนใหญ่ตามหลักการประชาธิปไตย  สังคมใดไม่น�ำ สามคั คธี รรมมาคมุ้ ใจ สงั คมนนั้ ยอ่ มมคี วามแตกแยกแลว้  ผล ท่จี ะเกิดตามมาคอื ความวิบตั ยิ ่อมเกดิ ขนึ้ ได้ ง. คมุ้ ใจด้วยความกตญั ญกู ตเวที เอาความกตัญญูกตเวทีมาคุ้มใจ  มีความกตัญญูฯ  ต่อ ผมู้ อี ปุ การะ ตอ่ องคก์ รทใ่ี หเ้ ราไดท้ ำ� งาน มคี วามกตญั ฯ  ตอ่ พอ่ แมท่ ใ่ี หเ้ รามาเกดิ และไดร้ ปู รา่ งกายมาใชง้ าน มคี วามกตญั ญฯ ตอ่ แผน่ ดนิ ทเี่ ราอาศยั เกดิ  มคี วามกตญั ฯ  ตอ่ ครบู าอาจารย์ ผถู้ า่ ยทอดวชิ าความรแู้ ละทำ� ใหเ้ ราเปน็ คนด ี ตา่ งๆ เหลา่ นผี้ ใู้ ด ท�ำได้แล้ว  ผู้นั้นมีความกตัญญูกตเวที  ซ่ึงเป็นเหตุน�ำพาชีวิต ไปสู่ความเจริญรุ่งเรอื งไดใ้ นวันข้างหนา้

82 จ ร ิ ย ธ ร ร ม สํ า ห ร ั บ ผ ู้ บ ร ิ ห า ร แ ล ะ ธ ร ร ม า ภ ิ บ า ล จ. ค้มุ ใจดว้ ยอิทธิบาท ๔ เอาอิทธิบาท  ๔  มาคุ้มใจ  ได้แก่  ฉันทะ  วิริยะ  จิตตะ วิมังสา  คุณธรรมท้ังส่ีน้ีท�ำให้งานประสบกับความส�ำเร็จ ประกอบอาชพี ใดๆ กส็ ำ� เรจ็  ปฏบิ ตั ธิ รรมกส็ ำ� เรจ็  ทำ� อะไรๆ ก็ สำ� เรจ็ ไปหมด เรยี กวา่ มชี วี ติ ทปี่ ระสบความสำ� เรจ็  อทิ ธบิ าท ๔ จงึ เป็นหัวใจแห่งความสำ� เรจ็ ในกิจท้งั ปวงนัน่ เอง ฉ. คุ้มใจด้วยฆราวาสธรรม แสวงหาความสุขด้วยธรรม  ส�ำหรับฆราวาสแล้ว  คือ ความสขุ เกดิ จากการมที รพั ย ์ ความสขุ เกดิ จากการใชจ้ า่ ยทรพั ย์ ความสุขเกิดจากการไม่เป็นหน้ี  คนเป็นหน้ีย่อมไม่มีความสุข แต่คนที่ยังไม่มีปัญญาสูงสุด  ใช้เพียงปัญญาทางโลกสองตัว (สตุ มยปญั ญา กบั  จนิ ตามยปญั ญา) กลบั มองเหน็ วา่  ถา้ ไม่ เปน็ หนเ้ี ครดติ ไมด่  ี เดย๋ี วนคี้ นเหน็ ผดิ กนั มาก จงึ ทำ� ตวั เปน็ หน้ี กนั ถงึ ระดบั รากหญา้  ผเู้ ขยี นเคยเปน็ กรรมการหมบู่ า้ นมากอ่ น  เคยเห็นชาวบ้านมากู้เงินไปซ้ือโทรศัพท์มือถือ  กู้เงินไปซื้อรถ จักรยานยนต์มาใช้  ดอกเบ้ียก็แพง  พอใกล้ส้ินเดือนต้อง ตะเกยี กตะกายหาเงนิ มาผอ่ นสง่ ใชห้ นี ้

ด ร . ส น อ ง  ว ร อ ุ ไ ร 83 พระพทุ ธเจา้ ทรงสอนวา่  ใหฆ้ ราวาสหาความสขุ จากการ ท�ำงานท่ีไม่มีโทษ  ตรงกันข้ามมีชาวพุทธค้ายาบ้าโดนจับเข้า เรือนจ�ำจนแน่น  แม้แต่รัฐมนตรียังติดคุกเพราะประพฤติ คอรร์ ปั ชน่ั  รวมถงึ พระดงั ยงั ตอ้ งตดิ คกุ ดว้ ยการประพฤตลิ ะเมดิ วนิ ัย (ทุศลี ) ทีผ่ ิดกฎหมาย ความสขุ จากการมคี ่คู รองดี มคี วามเชือ่ พอๆ กัน มีศลี พอๆ  กัน  มีการสละบริจาคพอๆ  กัน  และ  มีปัญญาพอๆ  กัน หากมคี ณุ ธรรมทงั้ สใี่ กลเ้ คยี งกนั  กอ็ นโุ ลมไดว้ า่ เปน็ คสู่ รา้ งคสู่ ม แต่ถ้าคนท่ีมีสติปัญญาเห็นถูกให้ดูเขาเป็นตัวอย่าง  คิดว่าเขา เปน็ ครสู อนเรา เขาดมื่ เหลา้  เขากลา่ วผรสุ วาจา เทา่ กบั วา่ เขา ได้ช่วยให้เราฝึกขันติ  เขาท�ำช่ัวให้เราเห็น  เราจงอย่าท�ำวาจา เชน่ เขา ผใู้ ดเหน็ ไดเ้ ชน่ นแี้ ลว้  เขากม็ บี ญุ คณุ  เหมอื นเปน็ ครดู ี ทอี่ ยใู่ กล้ตวั เรา ไม่ต้องเดนิ ทางไปหาครทู ่อี ย่หู ่างไกล มเี รอื่ งจรงิ ทผี่ เู้ ขยี นประสงคจ์ ะบอกเลา่ ใหฟ้ งั วา่  มผี หู้ ญงิ คนหนงึ่ ได้โทรศพั ทม์ าหาอาจารยแ์ ลว้ พดู วา่ ผโู้ ทรศพั ท ์ : อาจารยค์ ะ เวลาหนนู งั่ รถไปทำ� งานคกู่ บั สามีท่ีท�ำหน้าท่ีเป็นคนขับ  พอมีรถขับแซงขึ้นหน้าไป  สามีก็ ด่าคนท่ีขับรถแซง  พอมีรถคันหน้าขับช้า  สามีก็ด่าคนขับรถ คนั หนา้  พอมรี ถจอ่ ตามหลงั  สามกี ด็ า่ คนทขี่ บั รถจอ่ หลงั  คน

84 จ ร ิ ย ธ ร ร ม สํ า ห ร ั บ ผ ู้ บ ร ิ ห า ร แ ล ะ ธ ร ร ม า ภ ิ บ า ล ทข่ี บั รถเหลา่ นน้ั ไมไ่ ดย้ นิ คำ� ดา่ ของสามหี รอกคะ่  หนสู คิ ะ่  ไดย้ นิ ค�ำด่าเข้าทางหูข้างขวาชัดเจนมาก  นี่ทนฟังมาได้  ๒๐  ปีแล้ว หนจู ะแก้ปญั หาน้ีได้อยา่ งไรคะ ผเู้ ขยี น : สามดี า่ วา่ คนขบั รถคนั อนื่  มานาน ถงึ  ๒๐ ปี แตข่ นั ตบิ ารมขี องคณุ ยงั ไมก่ ลา้ แขง็ พอ ฉะนนั้ ทนฟงั ตอ่ ไปอกี ๑๐  ปี  สามีเป็นผู้มีบุญคุณ  ที่ท�ำให้คุณได้พัฒนาขันติบารมี เมตตาบารมีปัญญาบารมี  ฯลฯ  โดยไม่ต้องเสียเวลาเสียเงิน เสียทองเดินทางไปหาครูท่ีอยูห่ ่างไกลที่ไหน ผเู้ ขยี นแนะนำ� พรอ้ มกบั บอกวธิ กี ารฟงั ใหเ้ ขาไดร้ บั ทราบ คือ  ต้องเจริญสติให้มีก�ำลังกล้าแข็ง  และเจริญปัญญาเห็น แจง้  (วปิ สั สนาภาวนา) ใหเ้ กดิ ขน้ึ  แลว้ ใหส้ ตกิ บั  (สมถภาวนา) ปญั ญาเหน็ แจง้  (สตสิ มั ปชญั ญะ) สอ่ งนำ� ทางใหก้ บั ชวี ติ  เมอ่ื พบกนั ครงั้ หลงั สดุ  เธอไดร้ ายงานวา่ บดั นฟี้ งั เสยี งดา่ ไดโ้ ดยจติ ไม่หว่ันไหวให้เกิดเป็นอารมณ์ที่ไม่ปรารถนา  (อนิฏฐารมณ์) ไดแ้ ลว้ สรปุ ไดว้ า่ ผใู้ ดพฒั นาจติ จนมกี ำ� ลงั ของสตแิ ละปญั ญา เห็นแจ้งได้แล้วและใช้สติสัมปชัญญะส่องน�ำทางให้กับชีวิต ยอ่ มทำ� ใหม้ แี ตค่ ณุ งามความด ี (บญุ ) เทา่ นน้ั ทถ่ี กู เกบ็ สง่ั สม อยใู่ นดวงจติ  แลว้ ความสขุ ความสมปรารถนาจงึ จะเกดิ ขนึ้ ได้

ด ร . ส น อ ง  ว ร อ ุ ไ ร 85 สรปุ ธรรมาภิบาลกท็ ำ� อยา่ งนอ้ ย ๖ อย่างดังน้ี ๑) เอาศลี  ๕ มาคมุ้ ครองใจ ๒) เอาธรรม ๕ มาคุม้ ครองใจ ๓) เอาสามัคคีธรรมมาคุม้ ครองใจ ๔) เอาความกตญั ญกู ตเวทมี าคุม้ ครองใจ ๕)  เอาอิทธิบาท  ๔  มาคุ้มครองใจ ๖)  เอาฆราวาสธรรมมาคุ้มครองใจ เพียงเท่านี้  ชีวิตก็มีความสุข  และส่ิงเหล่านี้เป็นของ ไม่ต้องซ้ือหา  เพียงแต่ท�ำให้เกิดมีข้ึน  ก็ได้ช่ือว่าเป็นผู้มี  “ธรรมาภิบาล” คมุ้ ครองใจได้แล้ว



ชวี ติ ทีเ่ ลือกได้ ผใู้ ดเอาธรรมะมาคมุ้ ครองใจ (ธรรมาภบิ าล) ชวี ติ ยอ่ ม เป็นอิสระจากกิเลสมารท้งั  ๓ ตวั  คอื ความโกรธ (โกธะ) เปน็ กเิ ลสมาร ทท่ี ำ� ใหจ้ ติ เกดิ อารมณ์ ไม่พอใจอย่างรุนแรง  เป็นอารมณ์เศร้าหมองท่ีมนุษย์และ อมนษุ ย์ไมป่ รารถนานำ� ตัวเข้าใกล ้ เม่ือตายแล้วความโกรธยงั เปน็ พลงั ผลักดนั จิตวญิ ญาณใหโ้ คจรไปสภู่ พนรกได้

88 จ ร ิ ย ธ ร ร ม สํ า ห ร ั บ ผ ู้ บ ร ิ ห า ร แ ล ะ ธ ร ร ม า ภ ิ บ า ล ความโลภ (โลภะ) เปน็ กเิ ลสมาร ทท่ี ำ� ใหจ้ ติ เกดิ อารมณ์ หิวกระหายอยากได้ของผู้อ่ืนมาเป็นของตน  ความโลภมีพลัง ผลักดันจิตท่ีขาดสติ  ให้ประพฤติลักขโมย  คดโกง  ประพฤติ คอร์รัปชั่น  ประพฤติเอาของท่ีเขายังมิได้อนุญาตมาเป็นของ ตน ฯลฯ เมอ่ื ตายแลว้  ความโลภยงั เปน็ พลงั ผลกั ดนั จติ วญิ ญาณ ให้โคจรไปสภู่ พเปรตได้ ความหลง (โมหะ) เปน็ กเิ ลสมาร ทที่ ำ� ใหจ้ ติ เกดิ ความ ไม่รู้  (อวิชชา)  ตามความเป็นจริงแท้  ความหลงท�ำให้จิตมี ความเห็นผิด  เป็นทาสของโลกธรรมและวัตถุ  เมื่อตายแล้ว ความหลง  ยังเป็นพลังผลักดันจิตวิญญาณ  ให้โคจรไปเกิด เป็นสตั วใ์ นภพดิรจั ฉานอกี ด้วย จากแรงผลักดันของกิเลสท้ัง  ๓  ตัวท่ีกล่าวถึงข้างต้น จงึ เปน็ เหตทุ ำ� ใหจ้ ติ วญิ ญาณเศรา้ หมอง ตายแลว้ ยงั ตอ้ งโคจร ไปเกิดเป็นสัตว์อยู่ในทุคติภพ  ดังนั้นผู้รู้จึงไม่ประมาทพัฒนา จิตให้มีศีล  มีสติ  ก�ำกับอยู่ทุกขณะตื่น  เพื่อเอาศีล  เอาสติมา คุ้มครองใจ เม่ือตายแลว้  จิตวิญญาณยังมีโอกาสโคจร กลบั มาเกดิ เปน็ มนษุ ยไ์ ดอ้ กี  มากไปกวา่ นผี้ รู้ ยู้ งั เลอื กทจ่ี ะสรา้ งและ สงั่ สมการบำ� เพญ็ ทานและรกั ษาศลี อยเู่ สมอ เพราะรวู้ า่ คณุ ธรรม ทง้ั สองเปน็ พลงั ผลกั ดนั จติ วญิ ญาณใหโ้ คจรไปเกดิ เปน็ เทวดา อยู่ในภพสวรรค์  และหากท�ำตนให้มีศีล  ๕  คุ้มรักษาใจพร้อม

ด ร . ส น อ ง  ว ร อ ุ ไ ร 89 กบั นำ� ตวั เขา้ ปฏบิ ตั ธิ รรม (สมถภาวนา) จนจติ เขา้ ถงึ ความตง้ั มั่นเป็นสมาธิระดับฌาน  แล้วจิตหลุดออกจากร่าง  (ตาย)  ในขณะจิตทรงอยู่ในฌาน  พลังของฌานย่อมผลักดันจิต วิญญาณ  ให้โคจรไปสู่การเกิดเป็นพรหม  เสวยฌานสมาบัติ สุขอยู่ในพรหมโลก  ต่างๆ  เหล่าน้ีเป็นวิถีของชีวิตท่ีผู้รู้นิยม เลือกทางเดินให้กบั ชีวิตของตน ทางเลือกสูงสุดของชีวิต  ท�ำได้ด้วยการพัฒนาจิต (วิปัสสนาภาวนา)  ให้เกิดปัญญาเห็นแจ้ง  ย่อมรู้เห็นเข้าใจ ความจริงสูงสุด  (ปรมัตถสัจจะ)  ว่าการจะน�ำพาชีวิตพ้นไป จากความทุกข์ท้ังปวงได้  ต้องก�ำจัดอวิชชาให้หมดไปจากใจ เพราะอวิชชาคอื ความไม่รู้จริง เป็นต้นเหตนุ �ำพาจติ วญิ ญาณ ใหโ้ คจรไปเกดิ เปน็ สตั ว ์ (รปู นาม) อยใู่ นภพตา่ งๆ ของวฏั สงสาร ด้วยเหตุนี้  ฉันนภิกษุผู้ดื้อร้ันได้ลดทิฏฐิและน�ำตัวเข้าหาพระ เถระท่ีป่าอิสิปตนมฤคทายวัน  แขวงเมืองพาราณสี  เพ่ือขอ เรยี นวิธปี ฏบิ ตั ธิ รรม ทน่ี ำ� ชวี ติ สคู่ วามพ้นทกุ ข ์ แตไ่ มส่ ามารถ พัฒนาจิตตนเองให้พ้นจากความทุกข์ได้  จึงได้น�ำตัวเองกลับ ไปหาพระอานนท ์ ซงึ่ ขณะนน้ั พำ� นกั อยทู่ ว่ี ดั โฆสติ าราม กรงุ โกสมั พี แคว้นวังสะอีกคร้ังหน่ึง  เพื่อขอความเมตตาจากพระอานนท์ ใหส้ อนธรรมทต่ี วั เองไมส่ ามารถนำ� พาชวี ติ พน้ ไปจากความทกุ ข์ ได ้ พระอานนทผ์ มู้ เี มตตาจงึ ไดก้ ลา่ วกบั ฉนั นภกิ ษวุ า่

90 จ ร ิ ย ธ ร ร ม สํ า ห ร ั บ ผ ู้ บ ร ิ ห า ร แ ล ะ ธ ร ร ม า ภ ิ บ า ล พระอานนท์  :  พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงธรรมให้ ผมู้ ศี รทั ธาใหเ้ หน็ ถงึ เหตแุ หง่ ความเกดิ ขนึ้ ของกองทกุ ขท์ ง้ั ปวง (ปฏจิ จสมปุ บาท) ดงั น้ี เพราะอวิชชาเป็นปจั จยั สังขารจงึ มี เพราะสงั ขารเปน็ ปัจจยั วญิ ญาณจึงมี เพราะวิญญาณเปน็ ปัจจัย นามรปู จึงมี เพราะนามรูปเปน็ ปจั จยั สฬายตะ (อายตนะ ๖) จงึ มี เพราะสฬายตะเป็นปัจจยั ผัสสะจึงมี เพราะผสั สะเปน็ ปัจจยั เวทนาจึงมี เพราะเวทนาเปน็ ปจั จัย ตัณหาจึงมี เพราะตณั หาเปน็ ปจั จยั อุปาทานจึงมี เพราะอุปาทานเปน็ ปจั จยั ภพจงึ มี เพราะภพเป็นปัจจยั ชาตจิ งึ มี เพราะชาตเิ ป็นปัจจัย ชรา มรณะ โสกะ ปรเิ ทวะ ทุกข์  โทมนัส  อุปายาส  จงึ มีพรอ้ ม

ด ร . ส น อ ง  ว ร อ ุ ไ ร 91 จากสภาพอาศยั  (ปฏจิ จสมปุ บาท) จะเหน็ ไดว้ า่  อวชิ ชา เป็นต้นเหตุน�ำมา  ซ่ึงการเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในวัฏสงสาร อย่างไม่มีวันจบสิ้น  และการเกิดการตายในแต่ละคร้ัง  น�ำมา ซง่ึ ความทกุ ขท์ ง้ั ปวง ดว้ ยเหตนุ  ้ี ฉนั นภกิ ษจุ งึ ไดเ้ พยี รพยายาม ปฏิบัติธรรม  จนสามารถก�ำจัดอวิชชาให้หมดไปจากใจของ ตนเองได้  แล้วจิตของฉันนภิกษุจึงได้ปริวรรติเข้าสู่อริยธรรม สงู สุดคือเป็นพระอรหันตน์ ่นั เอง ในฐานะท่ีผู้เขียนได้พัฒนาจิตจนเข้าถึงความรู้สูงสุด (ภาวนามยปัญญา) ท่ีสามารถน�ำพาชีวิตด�ำเนินไป ตาม ครรลองแหง่ ธรรมสูค่ วามพน้ ทุกข ์ จึงได้รวู้ า่ สุตมยปญั ญา และจินตามยปัญญา ที่ตนเองได้พัฒนามาจนสูงสุดและมี ปรญิ ญาบัตรรับรองนนั้  คอื  อวชิ ชา น่นั เอง อนง่ึ ผู้ปรารถนานำ� พาชวี ติ ไปเกิดอยูใ่ นสุทธาวาสพรหม โลก  จะต้องท�ำอย่างไร  ก่อนอ่ืนผู้เขียนขอบอกว่า  พรหม  ม ี ๒  ประเภท  คือ  พรหมปุถุชน  ยังมีกิเลสหนา  ปัญญาทึบ เหมอื นมนษุ ยท์ วั่ ไป พวกนม้ี เี ยอะ กบั อกี พวกหนง่ึ คอื  อรยิ พรหม คอื เปน็ อรยิ บคุ คลขน้ั อนาคาม ี ตอนเปน็ มนษุ ยไ์ ดป้ ฏบิ ตั ธิ รรม จนจติ บรรลถุ งึ ระดบั อนาคาม ี ตายจากมนษุ ยแ์ ลว้  จติ วญิ ญาณ ไดโ้ คจรไปเกดิ เปน็ พระพรหมอนาคาม ี อยใู่ นสทุ ธาวาสพรหมโลก

92 จ ร ิ ย ธ ร ร ม สํ า ห ร ั บ ผ ู้ บ ร ิ ห า ร แ ล ะ ธ ร ร ม า ภ ิ บ า ล ทุกท่านลองถามตัวเองว่า ห้ากิเลสท่ีผูกมัดใจดังต่อ ไปน ้ี ยังมีอ�ำนาจเหนือใจของท่านหรือไม่ ๑) สักกายทฏิ ฐ ิ ความคิดวา่ มตี วั เรา มีของเรา น่ขี อง เรา น่ีต�ำแหน่งของเรา  ฯลฯ ๒) วจิ กิ ิจฉา ความสงสัย เช่น พระพทุ ธเจ้ามจี ริงไหม พระธรรมพระสงฆม์ พี ระคณุ จรงิ ไหม พอ่ แมม่ พี ระคณุ จรงิ ไหม ฯลฯ ๓)  สีลัพพตปรามาส  ไม่เอาธรรมและวินัยมาไว้กับใจ ไมน่ บั ถอื พระพทุ ธศาสนา ไมเ่ อาศลี มาคมุ้ ครองใจ แตไ่ ปยดึ ถอื ส่ิงที่ไร้แก่นสาร  เช่น  กราบไหว้บูชาเจ้าป่าเจ้าเขา  เครื่องราง ของขลงั  ภูตผปี ศี าจเพอ่ื ใหค้ ุ้มครองตน ๔)  กามราคะ  จิตยังติดเป็นทาสของกาม  คนนี้สวย อาหารร้านนอี้ รอ่ ย ยงั มกี ามสุข-กามทุกข์อยู่ในใจ ๕) ปฏฆิ ะ ความรสู้ กึ ขดั ใจ ความขนุ่ มวั ในใจ เมอื่ มเี รอื่ ง ขดั ใจ

ด ร . ส น อ ง  ว ร อ ุ ไ ร 93 ถ้าท้งั  ๕ ขอ้ นีย้ งั มอี ย่ใู นใจ กย็ งั ไปอยู่สุทธาวาสไม่ได้ และสดุ ทา้ ย ถา้ เราสามารถกำ� จดั ความหลง หรอื ความ ไม่รู้จริง  (โมหะ)  ไม่ให้มีอ�ำนาจเหนือใจได้อีก  อวิชชาหมดไป จากใจ ชวี ติ กพ็ น้ ไปจากวัฏฏสงสารได้ ผมู้ ธี รรมาภบิ าลในชาตปิ จั จบุ นั  ชวี ติ ในชาตปิ จั จบุ นั ยอ่ ม ดี  ส่วนชาติหน้าก็เป็นไปตามเหตุที่บอกไว้  ทั้งนี้เพราะจิตเป็น รากฐานของสงิ่ ทงั้ หลาย จติ ประเสรฐิ กวา่ สงิ่ ทงั้ หลาย สง่ิ ทงั้ หลายส�ำเร็จดว้ ยจติ  ดว้ ยเหตุน ี้ เราจงึ เลือกได้ จะใหส้ �ำเรจ็ ไป ในทางดหี รอื ไมด่ ี กเ็ ลือกทำ� เหตใุ หถ้ กู ตรงตามท่ตี นปรารถนา



ผ้รู จู้ รงิ ไม่ก้าวล่วง เรื่อง  “จริยธรรมของผู้บริหารและธรรมาภิบาล”  ได้ บรรยายมาใหฟ้ งั แลว้  แตท่ า่ นจะเปน็ อยา่ งไร อยทู่ ตี่ อ้ งทำ� เอง ชวี ติ จะเปน็ อยา่ งไร อยทู่ เ่ี จา้ ของชวี ติ เปน็ ผบู้ รหิ ารจดั การดว้ ย ตวั เอง ผรู้ จู้ รงิ ยอ่ มไมเ่ ขา้ ไปกา้ วลว่ งในชวี ติ ของผอู้ นื่  แมอ้ ยใู่ น ฐานะทเ่ี ปน็ พอ่ เปน็ แมท่ รี่ จู้ รงิ  จะไมเ่ ขา้ ไปกะเกณฑช์ วี ติ ลกู  ยก ตัวอย่าง  พระพุทธเจ้าเป็นผู้รู้จริง  ไม่ก้าวล่วงในชีวิตผู้อ่ืน สมเดจ็ โตพรหมรงั สเี ปน็ ผรู้ จู้ รงิ  ไมก่ า้ วลว่ งในชวี ติ ผอู้ น่ื  อยา่ ง ในตัวอย่างท่ี  พระสองรูปตีศีรษะกัน  พระ  ก.  ไปตีศีรษะ พระ ข. จนหวั แตก พระ ข. ไปฟอ้ งพระผใู้ หญว่ า่ พระ ก. มาตี ศีรษะตัวเอง  พระผู้ใหญ่ยกให้สมเด็จโตฯ  พิจารณาโทษ 

96 จ ร ิ ย ธ ร ร ม สํ า ห ร ั บ ผ ู้ บ ร ิ ห า ร แ ล ะ ธ ร ร ม า ภ ิ บ า ล ใครผิด ใครถูก สมเด็จโตฯ พิจารณาว่า พระที่เอาเรื่องมา  ฟอ้ งรอ้ ง เปน็ ฝา่ ยผิด  พระผู้ใหญ่  :  ขรัวโต  ท�ำไมจึงตัดสินให้พระ  (พระ  ข.) ทีถ่ ูกตที ่ศี ีรษะเป็นฝ่ายผดิ สมเดจ็ โตฯ : พระพทุ ธเจา้ ตรสั ไวม้ ใิ ชห่ รอื วา่  “เวรย่อม ระงบั ด้วยการไมจ่ องเวร” พระผใู้ หญ ่ : ออื  ถกู ของขรวั โต ทตี่ ดั สนิ ไดถ้ กู ตรงตาม ธรรม ความรอู้ ย่างนี ้ แม้คนเรียนมาจนจบปรญิ ญาเอกก็ไมม่ ี ต้องเป็นคนท่ีมีปัญญาเห็นแจ้งจึงจะคิดได้  ด้วยเหตุนี้  อาชีพ ตำ� รวจ อยั การ ทนาย ผพู้ พิ ากษา จงึ เปน็ อาชพี ทเ่ี สยี่ ง เพราะ เข้าไปรว่ มในกระบวนกรรมที่เขาผกู เวรกันมา การท่ีพ่อแม่บังคับให้ลูกเรียนสาขาวิชานั้น  สาขาวิชานี้ กถ็ อื เปน็ การกา้ วลว่ ง ผเู้ ขยี นตอ้ งขอโทษทา่ นทเ่ี ปน็ พอ่ เปน็ แม่ แต่การท�ำอย่างนั้นถือว่าเป็นความไม่รู้จริง  เพราะพ่อแม่มี ปัญญาเพียงสุตมยปัญญาและจินตามยปัญญา  แต่กลับเอา ฐานะการเป็นพ่อแม่เข้าไปก้าวล่วงในชีวิตลูก  พ่อแม่จึงไม่

ด ร . ส น อ ง  ว ร อ ุ ไ ร 97 สบายใจไมส่ บายกายไปดว้ ย ฉะนน้ั  เหน็ คนทำ� ไมด่  ี ใหพ้ จิ ารณา วา่ เปน็ เรื่องของบคุ คลอืน่  เราไม่มีส่วนเกีย่ วข้อง เราเพยี งแต่ ช่วยเขาในสิ่งที่เราช่วยได้  เช่น  คนถูกน้�ำท่วมบ้านเรือน  หาก ไมม่ หี นา้ ทโ่ี ดยตรง เราชว่ ยบรจิ าคสงิ่ ของ ชว่ ยเขาในเรอ่ื งตา่ งๆ ได ้ เราสรา้ งบญุ ได ้ แตต่ อ้ งเขา้ ใจวา่  ทเ่ี ขาพบวบิ ตั นิ ำ้� ทว่ มบา้ น น้ัน  มันเป็นเรื่องของอกุศลวิบากท่ีเกิดจากการท�ำเหตุไว้ไม่ดี มาก่อน  ถ้าเราเห็นคนท�ำดี  เขาใส่บาตร  เราผ่านมาเห็น  ก็ อนุโมทนาบุญกับเขา  บุญก็เกิดกับเรา  เพราะการอนุโมทนา บญุ เป็นการทำ� บญุ อย่างหนึง่ ทมี่ รี ะบุไว้ในบญุ กริ ยิ าวตั ถ ุ ๑๐



สติคุม้ ครองชีวติ ถ้าเรามีสติ  บุญจะเกิดกับเราตลอด  น�ำชีวิตด้วยสติ อย่าน�ำชีวิตด้วยอารมณ์  ต้องพัฒนาสติและปัญญาเห็นแจ้ง คอื ปฏบิ ตั สิ มถภาวนาและวปิ สั สนาภาวนา ถา้ ใครทำ� ได ้ นบั แต่ วนั ทเี่ ขา้ ถงึ ธรรมไดน้ นั่ แหละ ชวี ติ จะมแี ตบ่ ญุ ตลอดเวลา ตวั ผู้ เขยี นเอง ๓๗ ปมี าแลว้  เมอ่ื กอ่ นกลวั ผ ี ตงั้ แตอ่ อกจากวดั มา ไม่กลวั อีกเลย ตรงกันข้าม ทำ� ตัวเป็นเพื่อนที่ดีกับผี กอ่ นเข้า วดั รอ้ งเพลงไดเ้ ปน็ จำ� นวนมาก ออกจากวดั มาแลว้ รอ้ งไมอ่ อก สักเพลง  ก่อนเข้าวัดท�ำทั้งดีท้ังช่ัว  เดี๋ยวนี้ท�ำแต่ความดีฝ่าย เดยี ว กอ่ นเขา้ วดั ดม่ื เหลา้  เดยี๋ วนเ้ี ลกิ ดม่ื อยา่ งเดด็ ขาด พฤตกิ รรม กม็ ีแตด่ ีกบั ดี 


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook