[๑๑] ย่อมท�ำในบทศึกษาว่า เราเปน็ ผทู้ ำ� จติ ให้ ต้งั มั่นอยู่ จกั หายใจออก จักหายใจเข้า ดงั นี้ก็ดี [๑๒] ยอ่ มทำ� ในบทศกึ ษาวา่ เราเปน็ ผทู้ ำ� จติ ให ้ ปลอ่ ยอย ู่ จักหายใจออก จกั หายใจเขา้ ดงั นกี้ ด็ ี ภกิ ษ ุ ท.! สมยั นน้ั ภกิ ษชุ อื่ วา่ เปน็ ผ ู้ ตามเหน็ จติ ในจติ ๒๙ ทง้ั หลาย อยเู่ ปน็ ประจำ� มคี วามเพยี รเผา กเิ ลส มสี มั ปชญั ญะ มสี ต ิ นำ� อภชิ ฌาและโทมนสั ในโลก ออกเสียได้ ภกิ ษ ุ ท.! เราไมก่ ลา่ วอานาปานสตวิ า่ เปน็ สง่ิ ท่ี มไี ด้แก่บุคคลผมู้ ีสตอิ นั ลมื หลงแล้ว ผูไ้ ม่มีสมั ปชัญญะ ภกิ ษ ุ ท.! เพราะเหตนุ น้ั ในเรอื่ งน ้ี ภกิ ษนุ นั้ ยอ่ ม ชอื่ วา่ เปน็ ผตู้ ามเหน็ จติ ในจติ อยเู่ ปน็ ประจำ� มคี วามเพยี ร 50 ข อ ง วิ เ ศ ษ ใ น พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก
เผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ น�ำอภิชฌาและโทมนัส ในโลกออกเสียได้ ในสมยั น้ัน ภิกษุ ท.! สมยั ใด ภกิ ษุ [๑๓] ยอ่ มทำ� ในบทศกึ ษาวา่ เราเปน็ ผตู้ ามเหน็ ซงึ่ ความไมเ่ ทยี่ งอยเู่ ปน็ ประจำ� จกั หายใจออก จกั หายใจ เข้า ดงั นก้ี ด็ ี [๑๔] ยอ่ มทำ� ในบทศกึ ษาวา่ เราเปน็ ผตู้ ามเหน็ ซึ่งความจางคลายอยู่เป็นประจ�ำ จักหายใจออก จัก หายใจเข้า ดงั นก้ี ็ดี [๑๕] ยอ่ มทำ� ในบทศกึ ษาวา่ เราเปน็ ผตู้ ามเหน็ ซงึ่ ความดบั ไมเ่ หลอื อยเู่ ปน็ ประจำ� จกั หายใจออก จกั หายใจเขา้ ดงั น้กี ด็ ี 51 พุ ท ธ ท า ส ภิ ก ขุ
[๑๖] ยอ่ มทำ� ในบทศกึ ษาวา่ เราเปน็ ผตู้ ามเหน็ ซึ่งความสลัดคืนอยู่เป็นประจ�ำ จักหายใจออก จัก หายใจเขา้ ดงั น้ีก็ดี ภกิ ษ ุ ท.! สมยั นน้ั ภกิ ษชุ อ่ื วา่ เปน็ ผ ู้ ตามเหน็ ธรรมในธรรม ๓๐ ทง้ั หลาย อยเู่ ปน็ ประจำ� มคี วามเพยี ร เผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ น�ำอภิชฌาและโทมนัส ในโลกออกเสยี ได้ ภิกษุน้ัน เป็นผู้เข้าไปเพ่งเฉพาะเป็นอย่างดีแล้ว เพราะเธอเห็นการละอภิชฌาและโทมนัสท้ังหลายของ เธอน้นั ด้วยปญั ญา ภกิ ษ ุ ท.! เพราะเหตนุ น้ั ในเรอื่ งน ้ี ภกิ ษนุ น้ั ยอ่ ม ชื่อว่า เป็นผู้ตามเห็นธรรมในธรรมอยู่เป็นประจ�ำ มี ความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ น�ำอภิชฌา และโทมนัสในโลกออกเสียได้ ในสมัยน้นั 52 ข อ ง วิ เ ศ ษ ใ น พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก
ภิกษุ ท.! อานาปานสติอันบุคคลเจริญแล้ว ท�ำให้มากแล้ว อย่างนี้แล ย่อมท�ำสติปัฏฐานทั้งสี่ให้ บริบรู ณไ์ ด้ ๒๙๐ ภกิ ษ ุ ท.! กส็ ตปิ ฏั ฐานทง้ั ส ี่ อนั บคุ คล เจรญิ ท�ำให้มากแล้ว อย่างไรเล่า จึงท�ำโพชฌงค์ท้ังเจ็ดให้ บรบิ รู ณไ์ ด้ ภกิ ษ ุ ท.! สมยั ใด ภกิ ษเุ ปน็ ผตู้ ามเหน็ กายในกาย ทง้ั หลายอยเู่ ปน็ ประจำ� กด็ ,ี เปน็ ผตู้ ามเหน็ เวทนาในเวทนา ท้ังหลายอยู่เป็นประจ�ำก็ดี, เป็นผู้ตามเห็นจิตในจิตอยู่ เป็นประจ�ำก็ดี, เป็นผู้ตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย อยเู่ ปน็ ประจำ� กด็ ,ี มคี วามเพยี รเผากเิ ลส มสี มั ปชญั ญะ มสี ต ิ นำ� อภชิ ฌาและโทมนสั ในโลกออกเสยี ได ้ สมยั นน้ั สตขิ องภกิ ษทุ เ่ี ขา้ ไปตง้ั ไวแ้ ลว้ กเ็ ปน็ ธรรมชาตไิ มล่ มื หลง 53 พุ ท ธ ท า ส ภิ ก ขุ
54 ข อ ง วิ เ ศ ษ ใ น พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก
ภิกษุ ท.! สมัยใด สติของภิกษุเข้าไปตั้งไว้แล้ว เป็นธรรมชาติไม่ลืมหลง สมัยน้ัน สติสัมโพชฌงค์ ก็ เป็นอันว่าภิกษุน้ันปรารถนาแล้ว, สมัยน้ัน ภิกษุช่ือว่า ย่อมเจริญสติสัมโพชฌงค์, สมัยนั้น สติสัมโพชฌงค์ ของภกิ ษชุ อ่ื วา่ ถงึ ความเตม็ รอบแหง่ การเจรญิ , ภกิ ษนุ นั้ เมื่อเป็นผู้มีสติเช่นน้ันอยู่ ย่อมท�ำการเลือก ย่อมท�ำ การเฟน้ ยอ่ มทำ� การใครค่ รวญ ซง่ึ ธรรมนนั้ ดว้ ยปญั ญา ภิกษุ ท.! สมัยใด ภิกษุเป็นผู้มีสติเช่นนั้นอยู่ ท�ำการเลือก ท�ำการเฟ้น ท�ำการใคร่ครวญ ซึ่งธรรม น้ันอยู่ด้วยปัญญา สมัยน้ัน ธรรมวิจยสัมโพชฌงค์ ก็ เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารถนาแล้ว สมัยนั้น ภิกษุช่ือว่า ย่อมเจริญธรรมวิจยสัมโพชฌงค์, สมัยน้ัน ธรรมวิจย- สัมโพชฌงค์ของภิกษุช่ือว่า ถึงความเต็มรอบแห่งการ เจรญิ , ภกิ ษนุ นั้ เมอ่ื เลอื กเฟน้ ใครค่ รวญ อยซู่ ง่ึ ธรรมนน้ั ด้วยปัญญา ความเพียรอันไม่ย่อหย่อนชื่อว่าเป็นธรรม อนั ภิกษุนน้ั ปรารภแล้ว 55 พุ ท ธ ท า ส ภิ ก ขุ
ภิกษุ ท.! สมัยใด ความเพียรไม่ย่อหย่อน อัน ภิกษุผู้เลือก เฟ้น ใคร่ครวญ ในธรรมน้ันด้วยปัญญา ปรารภแล้ว สมัยนั้น วิริยสัมโพชฌงค์ก็เป็นอันว่า ภิกษุนั้นปรารภแล้ว สมัยน้ัน ภิกษุชื่อว่า ย่อมเจริญ วิริยสัมโพชฌงค์, สมัยนั้น วิริยสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชอ่ื วา่ ถงึ ความเตม็ รอบแหง่ การเจรญิ , ภกิ ษนุ นั้ เมอ่ื มี ความเพยี รอันปรารภแล้ว ปีตอิ นั เป็นนริ ามิสกเ็ กิดขึ้น ภกิ ษ ุ ท.! สมยั ใด ปตี อิ นั เปน็ นริ ามสิ ๓๑ เกดิ ขน้ึ แก่ภิกษุผู้มีความเพียรอันปรารภแล้ว สมัยนั้น ปีติ สมั โพชฌงค์ กเ็ ปน็ อนั วา่ ภกิ ษนุ นั้ ปรารภแลว้ , สมยั นนั้ ภกิ ษยุ อ่ มเจรญิ ปตี สิ มั โพชฌงค,์ สมยั นนั้ ปตี สิ มั โพชฌงค์ ของภกิ ษ ุ ชอื่ วา่ ถงึ ความเตม็ รอบแหง่ การเจรญิ ภกิ ษนุ น้ั เมือ่ มใี จประกอบดว้ ยปตี ิ แม้กายก็รำ� งบั แม้จิตก็รำ� งบั ได้แก่ ปีติ ในขณะแห่งฌาน และ ปีติ ในขณะ ทเ่ี ห็นธรรม นัน่ เอง 56 ข อ ง วิ เ ศ ษ ใ น พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก
ภิกษุ ท.! สมัยใด ทั้งกายและทั้งจิตของภิกษุ ผู้มีใจประกอบด้วยปีติ ย่อมร�ำงับ, สมัยนั้น ปัสสัทธิ สมั โพชฌงค์ กเ็ ปน็ อนั วา่ ภกิ ษนุ นั้ ปรารภแลว้ , สมยั นน้ั ภิกษุชื่อว่า ย่อมเจริญปัสสัทธิสัมโพชฌงค์, สมัยนั้น ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบ แห่งการเจริญ, ภิกษุน้ัน เมื่อมีกายอันร�ำงับแล้ว มี ความสุขอย ู่ จิตย่อมตง้ั มนั่ ภิกษุ ท.! สมัยใด จิตของภิกษุผู้มีกายอันร�ำงับ แล้ว มีความสุขอยู่ ย่อมต้ังม่ัน, สมัยนั้น สมาธิสัม โพชฌงคก์ เ็ ปน็ อนั วา่ ภกิ ษนุ นั้ ปรารภแลว้ , สมยั นน้ั ภกิ ษุ ช่ือว่าย่อมเจริญสมาธิสัมโพชฌงค์, สมัยน้ัน สมาธิ สัมโพชฌงค์ของภิกษุ ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการ เจริญ, ภิกษุนั้น ย่อมเป็นผู้เข้าไปเพ่งเฉพาะซึ่งจิตอัน ตั้งมน่ั แลว้ อยา่ งนน้ั เปน็ อยา่ งดี 57 พุ ท ธ ท า ส ภิ ก ขุ
ภิกษุ ท.! สมัยใด ภิกษุเป็นผู้เข้าไปเพ่งเฉพาะ ซึ่งจิตอันตั้งม่ันแล้วอย่างนั้น เป็นอย่างดี, สมัยน้ัน อุเบกขาสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุน้ันปรารภแล้ว, สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่า ย่อมเจริญอุเบกขาสัมโพชฌงค์, สมัยน้ัน อุเบกขาสัมโพชฌงค์ของภิกษุ ช่ือว่าถึงความ เต็มรอบแห่งการเจรญิ ภิกษุ ท.! สติปัฏฐานทั้งสี่ อันบุคคลเจริญแล้ว ท�ำให้มากแล้ว อย่างนี้แล ย่อมท�ำโพชฌงค์ท้ังเจ็ดให้ บรบิ รู ณไ์ ด้ ๒๙๑ ภิกษุ ท.! โพชฌงค์ทั้งเจ็ด อันบุคคลเจริญ ท�ำให้มากแล้ว อย่างไรเล่า จึงท�ำวิชชาและวิมุตติให้ บรบิ ูรณไ์ ด้ 58 ข อ ง วิ เ ศ ษ ใ น พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก
ภิกษุ ท.! ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมเจริญ สติ สมั โพชฌงค ์ อนั อาศยั วเิ วก อนั อาศยั วริ าคะ อนั อาศยั นิโรธ อนั นอ้ มไปเพ่ือ โวสสัคคะ ๓๒ ยอ่ มเจรญิ ธรรมวจิ ยสมั โพชฌงค ์ อนั อาศยั วเิ วก อันอาศัยวิราคะ อันอาศัยนิโรธ อันน้อมไปเพ่ือ โวส- สัคคะ ยอ่ มเจรญิ วริ ยิ สมั โพชฌงค ์ อนั อาศยั วเิ วก อนั อาศยั วริ าคะ อนั อาศยั นโิ รธ อนั นอ้ มไปเพอ่ื โวสสคั คะ ย่อมเจริญ ปีติสัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก อัน อาศยั วริ าคะ อนั อาศยั นโิ รธ อนั นอ้ มไปเพอื่ โวสสคั คะ ย่อมเจริญ ปัสสทั ธิสมั โพชฌงค ์ อนั อาศยั วิเวก อันอาศัยวิราคะ อันอาศัยนิโรธ อันน้อมไปเพ่ือ โวส- สคั คะ 59 พุ ท ธ ท า ส ภิ ก ขุ
ย่อมเจริญ สมาธิสัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก อันอาศัยวิราคะ อันอาศัยนิโรธ อันน้อมไปเพื่อ โวส- สัคคะ ยอ่ มเจรญิ อเุ บกขาสมั โพชฌงค ์ อนั อาศยั วเิ วก อันอาศัยวิราคะ อันอาศัยนิโรธ อันน้อมไปเพ่ือ โวส- สคั คะ ภกิ ษ ุ ท.! โพชฌงคท์ งั้ เจด็ ๓๓ อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ ท�ำให้มากแล้ว อย่างนี้แล ย่อมท�ำวิชชาและวิมุตติ๓๔ ให้บรบิ ูรณไ์ ด ้ ดงั นี้ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ไดต้ รสั ขอ้ ความนแ้ี ลว้ ภกิ ษ ุ ทงั้ หลายเหลา่ นนั้ มคี วามพอใจ เพลดิ เพลนิ ในถอ้ ยค�ำ ของพระผมู้ ีพระภาคเจ้าอยา่ งยิ่ง ดังนแ้ี ล 60 ข อ ง วิ เ ศ ษ ใ น พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก
61 พุ ท ธ ท า ส ภิ ก ขุ
เชงิ อรรถ ๑ บาลี จูฬสัจจกสูตร มู.ม. ๑๒/๔๓๓/๔๐๑. ตรัสแก่ สจั จกนคิ รนถบตุ ร, ท่ีปา่ มหาวนั ใกล้เมืองเวสาลี ๒ ในบาลแี ยกกลา่ วทลี ะอยา่ ง ความเหมอื นกนั ทงั้ หา้ อยา่ ง, ในทีน่ ้ีกลา่ วรวม ๓ กลา่ วอยา่ งไทยๆ คอื เพ็ญเดือนสบิ เอ็ด ๔ กล่าวอยา่ งไทยๆ คือ เพ็ญเดอื นสบิ สอง ๕ คอื ละ สกั กายทฏิ ฐ ิ วจิ กิ จิ ฉา สลี พั พตปรามาส กาม- ราคะ และปฏฆิ ะ ได้
๖ คอื ละ สกั กายทฏิ ฐ ิ วจิ กิ จิ ฉา สลี พั พตปรามาส ได้ ๗ สัมมัปปธานส่ี คือ เพียรป้องกันอกุศล, ละอกุศล, สรา้ งกุศล, รกั ษากศุ ล ๘ อทิ ธบิ าทส ี่ คอื รกั หนา้ ท,่ี พยายามในหนา้ ท,ี่ ฝกั ใฝ่ ในหน้าที่, สอดสอ่ งในหนา้ ท ี่ คอื ปฏิบตั ิธรรม ๙ อินทรยี ห้า คือ ความเชื่อ, ความเพยี ร, ความมสี ติ ร้สู ึกตวั , สมาธ ิ และ ปญั ญา ๑๐ พละห้า ชื่อเหมือนอินทรีย์ ๕ หากแต่มุ่งหมายใน กรณที สี่ ง่ิ ทง้ั หา้ น ี้ ทำ� หนา้ ทเี่ ปน็ กำ� ลงั ทมี่ กี ำ� ลงั ในการ ก�ำจัดส่ิงตรงกันข้ามออกไป ส่วนค�ำว่าอินทรีย์นั้น หมายถึง เมื่อส่ิงทั้งห้านั้นท�ำหน้าท่ีราวกับว่าเป็น หัวหน้า หรอื ประธานแห่งธรรมพวกหนึง่ ๆ ๑๑ โพชฌงคเ์ จด็ คอื สต ิ ธมั มวจิ ยะ วริ ยิ ะ ปตี ิ ปสั สทั ธิ สมาธิ อเุ บกขา (มีค�ำอธบิ ายละเอยี ดท่ีหน้า ๒๑)
๑๒ มรรค มอี งคแ์ ปด คอื เขา้ ใจถกู , ใฝฝ่ นั ถกู , พดู จาถกู , ท�ำการงานถกู , เลีย้ งชีวิตถูก, พากเพียรถูก, ร�ำลึก ประจ�ำใจถกู , สมาธิถกู ๑๓ กายในทน่ี ี้ คอื ลมหายใจ ในฐานะเปน็ สงิ่ ทเ่ี ปน็ ปจั จยั ปรงุ แตง่ กาย, รู้กายท้ังปวง หมายถึงรู้ต่อลมหายใจ ท่ีมีลักษณะ สนั้ -ยาว, หยาบ-ละเอยี ด, รำ� งบั -ไมร่ ำ� งบั อยา่ งไร และ มนั ปรงุ แตง่ รา่ งกายอยอู่ ยา่ งไร, เปลยี่ นแปลงอยา่ งไร เปน็ ธรรมดา เปน็ ต้น คำ� วา่ รสู้ กึ ตวั ทว่ั ถงึ หมายถงึ มสี ตแิ ละสมั ปชญั ญะ ใน ขณะทกี่ ำ� หนดลมหายใจทกุ ประการ ๑๔ ทำ� ใหล้ มหายใจละเอยี ดและรำ� งบั และปรงุ แตง่ กาย ใหส้ งบรำ� งบั จติ รำ� งบั ตามจนเปน็ สมาธถิ งึ ขนาดเปน็ ฌาน ในทีส่ ดุ ๑๕ รู้ ปีติ ที่เป็นองค์แห่งฌาน ว่าเป็นอย่างไร และมัน ปรงุ แตง่ จติ อยา่ งไร อย่ทู ุกครงั้ ท่ีหายใจ
๑๖ รู้ สุข ท่ีเป็นองค์แห่งฌาน ว่าเป็นอย่างไร และมัน ปรุงแต่งจติ อย่างไร อย่ทู กุ คร้ังท่หี ายใจ ๑๗ รจู้ กั เวทนา โดยเฉพาะคอื ปตี แิ ละสขุ นน้ั วา่ มนั ปรงุ แต่งจติ อย่างไร อยู่ทุกครั้งทห่ี ายใจ ๑๘ รจู้ กั ทำ� ให ้ เวทนา ปรงุ แตง่ จติ ไดน้ อ้ ยลงๆ จนกระทง่ั ในขณะนน้ั ไมม่ อี ะไรปรงุ แตง่ จติ เลย คอื ไมม่ เี วทนา สัญญา และ วติ กในขณะนัน้ ๑๙ รวู้ า่ จติ ของเราเดยี๋ วน ี้ กำ� ลงั เปน็ อยา่ งไร คอื ผอ่ งแผว้ หรอื เศรา้ หมอง, สงบหรอื ไมส่ งบ, ควรแกก่ ารงาน พิจารณาธรรม หรอื ไมค่ วร เป็นต้น ๒๐ รู้จักทำ� จิตให้บันเทงิ ในธรรมอยู่ ๒๑ ดจู ติ ทเ่ี ปน็ สมาธอิ ย ู่ วา่ มลี กั ษณะอยา่ งไร ขนาดไหน อยา่ งคล่องแคล่ว ๒๒ ดูจิตท่ีว่างจากความยึดติดในสิ่งใดๆ ว่ามีลักษณะ อย่างไร และขนาดไหน
๒๓ ใชจ้ ติ ทเ่ี ปน็ สมาธ ิ ในการพจิ ารณาความไมเ่ ทย่ี ง เรอื่ ย ไป จนเหน็ กระทงั่ ความเปน็ ทกุ ข ์ เปน็ อนตั ตา และ สญุ ญตาในที่สุด อยู่ทุกลมหายใจ ๒๔ พจิ ารณาเหน็ ความทจ่ี ติ มคี วามเบอ่ื หนา่ ยคลายกำ� หนดั จากส่ิงท่ีเคยหลงรักใคร่ยึดถือ อยู่ทุกลมหายใจ เขา้ ออก ๒๕ พิจารณาเห็นความดับแห่งความยึดถือ ว่าน่ันเป็น นพิ พาน หรอื ความดบั แหง่ ทกุ ข ์ แลว้ หนว่ งเอาเปน็ อารมณป์ ระจำ� ใจ อยู่เสมอ ๒๖ พจิ ารณาเหน็ ความทส่ี งั ขารทงั้ ปวง หลดุ ไปแลว้ จาก ความยดึ ถอื ซงึ่ เปน็ อาการทเี่ กดิ ขน้ึ ในขณะแหง่ อรยิ มรรค อริยผล ๒๗ เหน็ กายในกาย หมายถงึ เหน็ ความจรงิ ของกาย ที่ กายนั่นเอง, และเห็นทุกๆส่วนของกายที่เป็นกาย ส่วนย่อย ในกายส่วนรวม คือทั้งหมด ลมหายใจ
ก็คือกายอย่างหนึ่ง และปรุงแต่งร่างกายทั้งหมด ดงั นเี้ ปน็ ตน้ จนกระทงั่ ความสขุ ทางนามกาย ในขณะ แหง่ ฌานเป็นตน้ เหน็ ตามจนไมย่ ึดม่ันในกายใดๆ ๒๘ เหน็ โดยวธิ กี ารเดยี วกบั การเหน็ กายในกาย ดงั ทกี่ ลา่ ว แลว้ ขา้ งตน้ หากแตใ่ นทน่ี ้ี เหน็ เวทนา คอื ปตี ิ และ สขุ ๒๙ เหน็ โดยวธิ กี ารเดยี วกบั การเหน็ กายในกาย ดงั ทกี่ ลา่ ว แลว้ ขา้ งต้น หากแต่ในทน่ี ้ ี เห็นจติ ๓๐ เหน็ ความจรงิ ของธรรมในธรรมทง้ั หลาย จนไมย่ ดึ มนั่ ธรรมใดๆ ตั้งแต่ต่�ำท่ีสุด จนถึงสูงท่ีสุด มีนิพพาน เปน็ ตน้ ๓๑ หมายถงึ ปตี บิ รสิ ทุ ธ ์ิ ตามทางธรรม ไมเ่ กย่ี วกบั กาม เลย ๓๒ โวสสคั คะ ในทนี่ ้ี หมายถงึ การไมย่ ดึ มนั่ ถอื มนั่ ใน สงิ่ ทเี่ คยยดึ มนั่ ถอื มน่ั เพราะเหตทุ เี่ บอื่ หนา่ ยและมจี ติ นอ้ มไปเพ่อื ความดบั ทุกข ์ คอื นิพพาน
๓๓ เจรญิ โพชฌงคท์ งั้ เจด็ บรบิ รู ณ ์ คอื สต ิ กำ� หนดธรรม ข้อใดข้อหน่ึงเข้า แล้ว ธรรมวิจยะ ก็พิจารณาโดย ละเอยี ด ด้วย วริ ิยะ คอื ความเพียร จนเกดิ ปีติ, แลว้ จติ รำ� งบั เปน็ ปสั สทั ธ ิ เพราะเหตนุ นั้ , กระทงั่ เปน็ สมาธ ิ ตอ่ การพจิ ารณาธรรมทเี่ หน็ แจง้ อย,ู่ แลว้ คมุ ไว้ เรอื่ ย อยา่ งสมำ�่ เสมอ ดว้ ย อเุ บกขา คอื การเพง่ แนว่ อย่ ู แล้วการเห็นธรรมเปน็ ไปเอง จนถงึ ทีส่ ุด ๓๔ วชิ ชา คอื มรรคญาณ มหี นา้ ทร่ี แู้ จง้ แทงตลอดอวชิ ชา วมิ ตุ ต ิ คอื ผลญาณ เปน็ ผลเกดิ ขนึ้ เปน็ ความหลดุ พน้ จากทุกข ์ ปรากฏอยแู่ ก่ใจ
69 พุ ท ธ ท า ส ภิ ก ขุ
www.kanlayanatam.com
Search