Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Pudhatad.KhongVised

Pudhatad.KhongVised

Published by ชมรมกัลยาณธรรม, 2021-04-04 07:41:14

Description: Pudhatad.KhongVised

Search

Read the Text Version

พทุ ธทาสภกิ ขุ





พทุ ธทาสภกิ ขุ

พทุ ธทาสภิกขุ ชมรมกลั ยาณธรรม หนงั สือดีล�ำดับที ่  ๒ ๒ ๘ พมิ พค์ ร้ังท ี่ ๑  มิถุนายน ๒๕๕๖  จ�ำนวนพมิ พ์  ๘,๐๐๐ เลม่ จัดพิมพโ์ ดย ชมรมกลั ยาณธรรม ๑๐๐ ถนนประโคนชยั  ตำ� บลปากนำ�้   อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั สมทุ รปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศพั ท ์ ๐-๒๗๐๒-๗๓๕๓  และ ๐-๒๗๐๒-๙๖๒๔ ภาพวาดพกู่ นั  เคอ ซว่ิ เซยี ง ออกแบบรปู เลม่  คนขา้ งหลงั   ตดั คำ� อะตอ้ ม เตรยี มตน้ ฉบบั และพสิ จู นอ์ กั ษร ทมี งานกลั ยาณธรรม เพลต Canna Graphic  โทรศัพท์ ๐๘-๖๓๑๔-๓๖๕๑ พมิ พ ์ บริษทั ขุมทองอุตสาหกรรมและการพิมพ ์ จ�ำกัด  โทรศพั ท์ ๐-๒๘๘๕-๗๘๗๑-๓ สัพพทานงั  ธัมมทานงั  ชินาติ การให้ธรรมะเป็นทาน ย่อมชนะการใหท้ ง้ั ปวง w w w . k a n l a y a n a t a m . c o m

ขอมอบเป็น ธรรมบรรณาการ แด่ จาก

คาํ นาํ ของชมรมกัลยาณธรรม เมื่อพูดถึง “ของวิเศษ” เราๆ ท่านๆ ก็คงนึกถึง ส่ิงที่จะดลบันดาลให้เราได้สมหวัง ได้ส่ิงต่างๆ ตาม ตอ้ งการ แตค่ งไมใ่ ช ่ “ของวเิ ศษ” ทที่ า่ นพทุ ธทาสตงั้ ใจ จะบอกเรา ในพระไตรปฎิ ก มเี รอ่ื งราว มธี รรมะตา่ งๆ มากมาย ให้เราได้ศึกษา ได้ค้นคว้า และได้ปฏิบัติตาม แต่ หวั ขอ้ ธรรมในพระไตรปฎิ กมมี ากมายถงึ  ๘๔,๐๐๐ พระ ธรรมขนั ธ ์ แลว้ เราจะศกึ ษาไดจ้ บหมดในชว่ั ชวี ติ ของเรา ไหม?

ท่านพุทธทาสภิกขุ ได้ศึกษาและสรุปเอาเฉพาะ หัวข้อธรรมท่ีส�ำคัญ และจ�ำเป็นต่อการปฏิบัติให้ถึง ความดบั ทกุ ข์ คดั มาใหเ้ ราไดอ้ า่ น ไดศ้ กึ ษา โดยตงั้ ชอ่ื เร่อื งวา่  “ของวเิ ศษในพระไตรปฎิ ก” ขอเพียงแค่เราได้ เพยี รศกึ ษาทำ� ความเขา้ ใจและปฏบิ ตั ติ าม กย็ อ่ มสามารถ น�ำพาชีวติ ไปสคู่ วามพน้ ทุกข์ไดไ้ ม่ยากเกนิ ไป ชมรมกลั ยาณธรรม ไดม้ โี อกาสอา่ นหนงั สอื เลม่ น้ี และเหน็ วา่ มคี ณุ คา่ อยา่ งมาก ควรแกก่ ารนำ� มาเผยแพร่ ให้ผู้อื่นได้อ่าน ได้ศึกษา เพื่อปฏิบัติตามให้ถึงความ พน้ ทกุ ขโ์ ดยทวั่ กนั  ขอนอ้ มถวายอานสิ งสแ์ หง่ ธรรมทาน นี้เพื่อเป็นพุทธบูชา และน้อมถวายบูชาพระคุณแด่ พระธรรมโกศาจารย์ (ท่านพุทธทาส อินฺทปญฺโญ) รวมถึงพ่อแม่ครูบาอาจารย์ทุกท่านที่ได้รับของวิเศษ

ในพระไตรปิฎกด้วยการพิสูจน์สัจธรรมความจริงจาก พระโอษฐ ์ ชมรมกัลยาณธรรมจึงได้จัดพิมพ์แจกเป็น ธรรมทานในงานแสดงธรรมครง้ั  ๒๖ เพอื่ เผยแผธ่ รรม อนั บรสิ ทุ ธวิ์ เิ ศษน ้ี ใหก้ วา้ งขวางออกไปตามเจตนารมณ์ ของท่านอาจารย์พุทธทาส ขอพระสัทธรรมจงรุ่งเรือง ในใจสรรพสัตว์โดยทว่ั กัน กราบขอบพระคุณและอนุโมทนาบุญอย่างยิ่ง ทพญ.อจั ฉรา กลิน่ สุวรรณ์ ประธานชมรมกลั ยาณธรรม

สารบัญ ๑๒ รู้แลว้ ไม่ตาย ๑๕ สกั แต่วา่ ๑๙ เหน็ อนัตตาในเบญจขนั ธ์ ๒๕ อานาปานสติ ๒๗ • พระบาลี อานาปานสตสิ ูตร (อปุ ริปัณณาสก ์ มัชฌมิ นกิ าย,  ไตร. ล. ๑๔/๑๙๐/๒๘๒) ๖๒ เชงิ อรรถ







ร้แู ลว้ ไม่ตาย • สญุ ฺ โต โลก ํ อเวกขฺ สสฺ ุ โมฆราช สทา สโต • อตฺตานุทฏิ ฺํ อหู จจฺ เอวํ มจจฺ ุตตฺ โร สยิ า • เอว ํ โลก ํ อเวกขฺ นตฺ ํ มจฺจุราชา น ปสฺสติ •แปลตรงๆ  ดูก่อนโมฆราช ท่านจงเป็นผู้มีสติ เห็นโลกโดย ความเปน็ ของวา่ ง อยทู่ ุกเมอื่  ;

• ถอนอตั ตานทุ ฏิ ฐ ิ (คอื  ความสำ� คญั วา่ ตวั ตน) เสยี •ไดแ้ ลว้  ทา่ นกข็ า้ มพน้ มฤตยเู สยี ได ้ ดว้ ยอาการอยา่ งน ี้ ;  มฤตยยู ่อมมองไมพ่ บท่าน ผูเ้ ห็นโลกอยอู่ ยา่ งน้ี เรยี งความ ดูก่อนโมฆราช ท่านจงเป็นผู้มีสติ เห็นโลกโดย ความเปน็ ของวา่ งอยทู่ กุ เมอื่ เถดิ ; ถอนความตามเหน็ วา่ ตวั ตนเสยี ไดแ้ ลว้  กเ็ ปน็ ผขู้ า้ มพน้ มฤตยไู ด้ ดว้ ยอาการ อยา่ งน,้ี  มฤตยจู ะหาตวั ทา่ นไมพ่ บ ในเมอ่ื ทา่ นมองเหน็ โลกอยู่อย่างนี้ พุทธภาษิต ตรสั แก ่ โมฆราชมาณพ ศษิ ยพ์ ราหมณพ์ าวร ี ผมู้ าถามปัญหา อยใู่ น ปารายนวรรค สตุ ตนิบาต ขุททกนิกาย. บาลเี ล่ม ๒๕ 14 ข อ ง วิ เ ศ ษ ใ น พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก

15 พุ ท ธ ท า ส ภิ ก ขุ



สกั แตว่ า่ การปฏิบัติ เพ่ือดับไปแห่ง “ตัวกู-ของกู” ในขณะท ี่ เผชิญกับอารมณ์ มีรูปกระทบตา เป็นต้น พระพุทธ- องค์ได้ตรัสแก่พระพาหิยทารจุ ริ ยิ ะวา่  :- “ดกู อ่ นพาหยิ ะ! เมอ่ื ใดเธอเหน็ รปู แลว้  สกั แตว่ า่ เห็น, ได้ฟังเสียงแล้ว สักแต่ว่าได้ฟัง, ได้ดมกลิ่นแล้ว สักแต่ว่าได้กล่ิน, ได้ลิ้มรสแล้ว สักแต่ว่าได้ล้ิม, ได้รับ สัมผัสทางผิวกายแล้ว สักแต่ว่าได้รับสัมผัส, ได้รู้แจ้ง ธรรมารมณแ์ ลว้  กส็ ักแต่วา่ ได้รูแ้ จ้ง, ดังนีแ้ ล้ว;

เม่อื นน้ั  “เธอ” จักไมม่ ี เมื่อใด “เธอ” ไมม่ ี เมอื่ นน้ั  เธอกไ็ มป่ รากฏอยใู่ นโลกน ี้ ไมป่ รากฏอยู่ ในโลกอื่น และไมป่ รากฏในระหว่างแห่งโลกทงั้ สอง” “นน่ั แหละ คือทส่ี ุดแห่งทุกข์ล่ะ” ดงั น้ี อุ. ข.ุ  ๒๕/๘๓/๔๙ 18 ข อ ง วิ เ ศ ษ ใ น พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก

19 พุ ท ธ ท า ส ภิ ก ขุ



เห็นอนัตตา ในเบญจขันธ์ สาวกของพระองค์ หลดุ พ้นเพราะ  พิจารณาความเปน็ อนัตตาในเบญจขนั ธ ์ ๑ “พระโคดมผเู้ จรญิ ! ดว้ ยการปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร สาวก ของพระโคดม จึงจะได้ชือ่ วา่  เป็นผปู้ ฏิบตั ิตามค�ำสอน ปฏบิ ตั ติ รงต่อโอวาท ขา้ มพ้นความสงสยั ไปได ้ ไมต่ ้อง เทย่ี วถามใครวา่  นอี่ ยา่ งไร นอ่ี ยา่ งไร มคี วามกลา้ หาญ ไมต่ ้องเช่อื ตามบุคคลอน่ื ในคำ� สอนแหง่ ศาสดาตน”

อคั คเิ วสสนะ! สาวกของเรา ในศาสนาน ้ี พจิ ารณา เห็นด้วยปัญญาอันชอบตรงตามที่เป็นจริงอย่างนี้ว่า รปู ... เวทนา... สญั ญา... สงั ขาร... วญิ ญาณ ๒ อยา่ งใด อย่างหนึ่งก็ตาม ท้ังท่ีล่วงไปแล้ว ทั้งท่ียังไม่มา ทั้งที่ เกิดอยู่ในบัดนี้ก็ตาม ท่ีเป็นภายในก็ตาม ภายนอก กต็ าม หยาบกต็ าม ละเอยี ดกต็ าม เลวกต็ าม ดกี ต็ าม ในทไ่ี กลกต็ าม ในทใี่ กลก้ ต็ าม ทงั้ หมดนนั้  เปน็ แตส่ กั วา่ รปู ... เวทนา... สญั ญา... สงั ขาร... วญิ ญาณ, นนั้ ไมใ่ ช่ ของเรา, ไมใ่ ชเ่ ปน็ เรา, ไมใ่ ช่อัตตาของเรา ดังนี้ อัคคเิ วสสนะ! ดว้ ยการปฏิบตั ิเพียงเทา่ นี ้ สาวก ของเรายอ่ มไดช้ อื่ วา่ เปน็ ผปู้ ฏบิ ตั ติ ามคำ� สอน เปน็ ผปู้ ฏบิ ตั ิ ตรงต่อโอวาท ข้ามพ้นความสงสัยไปได้ ไม่ต้องเที่ยว ถามใครวา่ นอ่ี ยา่ งไร นอ่ี ยา่ งไร มคี วามกลา้ หาญ ไมต่ อ้ ง เช่ือตามบุคคลอื่นในค�ำสอนแห่งศาสดาตน ดงั นี้ 22 ข อ ง วิ เ ศ ษ ใ น พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก

“พระโคดมผู้เจริญ! ด้วยเหตุเพียงเท่าไร ภิกษุ ไดช้ อ่ื วา่ เปน็ พระอรหนั ต ์ มอี าสวะสน้ิ แลว้  มพี รหมจรรย์ อนั อยจู่ บแลว้  มกี จิ ทตี่ อ้ งทำ� อนั ทำ� เสรจ็ แลว้  มขี องหนกั อันปลงลงได้แล้ว มีประโยชน์ตนอันตามบรรลุแล้ว มี สัญโญชน์ในภพส้ินรอบแล้ว หลุดพ้นแล้วด้วยปัญญา เปน็ เครื่องรโู้ ดยชอบ?” อคั คเิ วสสนะ! ภกิ ษใุ นกรณนี  ้ี เปน็ ผหู้ ลดุ พน้ แลว้   ด้วยความไม่ยึดม่ัน เพราะเห็นด้วยปัญญาอันชอบ  ตามท่ีเป็นจริง อย่างน้ีว่า รูป... เวทนา... สัญญา... สงั ขาร... วญิ ญาณ (แยกตรสั ทลี ะอยา่ ง) อยา่ งใดอยา่ ง หน่ึงก็ตาม ทั้งท่ีล่วงไปแล้ว ทั้งท่ียังไม่มา ทั้งที่เกิดอยู่ ในบดั นกี้ ต็ าม ทเี่ ปน็ ภายในกต็ าม ภายนอกกต็ าม หยาบ กต็ าม ละเอยี ดกต็ าม เลวกต็ าม ดกี ต็ าม ในทไ่ี กลกต็ าม ในทใ่ี กลก้ ต็ าม ทงั้ หมดนน้ั  เปน็ แตส่ กั วา่  รปู ... เวทนา... สัญญา... สังขาร... วิญญาณ, นั้นไม่ใช่ของเรา, ไม่ใช่ 23 พุ ท ธ ท า ส ภิ ก ขุ

เป็นเรา, ไมใ่ ชอ่ ตั ตาของเรา ดังน้ี อคั คเิ วสสนะ! ดว้ ยเหตเุ พยี งเทา่ นแี้ ล ภกิ ษไุ ดช้ อ่ื วา่ เปน็ พระอรหนั ต ์ มอี าสวะสน้ิ แลว้  มพี รหมจรรยอ์ นั อยู่ จบแลว้  มกี จิ ทต่ี อ้ งทำ� อนั ทำ� เสรจ็ แลว้  มขี องหนกั อนั ปลง ลงไดแ้ ลว้  มปี ระโยชนต์ นอนั ตามบรรลแุ ลว้  มสี ญั โญชน์ ในภพสน้ิ รอบแลว้  หลดุ พน้ แลว้ ดว้ ยปญั ญาเปน็ เครอ่ื งรู้ โดยชอบ อัคคิเวสสนะ! ภิกษุผู้หลุดพ้นแล้ว ด้วยอาการ  อยา่ งน ี้ ยอ่ มประกอบดว้ ย อนตุ ตรยิ ะ ๓ ประการ คอื ทัสสนานุตตริยะ ปฏิปทานุตตริยะ วิมุตตานุตตริยะ; มจี ติ หลดุ พน้ แลว้ อยา่ งน ี้ ยอ่ มสกั การะ ยอ่ มเคารพ ยอ่ ม  นบั ถอื  ยอ่ มบชู าซงึ่ ตถาคต วา่  พระผมู้ พี ระภาคนน้ั  เปน็ ผตู้ รสั รแู้ ลว้  ยอ่ มแสดงธรรมเพอ่ื การตรสั ร,ู้  เปน็ ผฝู้ กึ ตน แล้ว, ย่อมแสดงธรรมเพื่อการฝึกตน, เป็นผู้สงบร�ำงับ 24 ข อ ง วิ เ ศ ษ ใ น พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก

แลว้  ยอ่ มแสดงธรรมเพอื่ ความสงบรำ� งบั , เปน็ ผขู้ า้ มแลว้ ยอ่ มแสดงธรรมเพอื่ การขา้ ม, เปน็ ผปู้ รนิ พิ พาน (ดบั เยน็ สนทิ ) แล้ว ยอ่ มแสดงธรรมเพือ่ ปรนิ พิ พาน ดงั นี้ จากหนงั สือ พุทธประวตั จิ ากพระโอษฐ์ 25 พุ ท ธ ท า ส ภิ ก ขุ



อานาปานสติ การทอ่ งจำ� หลกั พระบาลอี านาปานสตสิ ตู ร ใหแ้ มน่ ยำ�   เสียก่อนนั้น เป็นส่ิงท่ีควรจะถือว่าเป็นความจ�ำเป็น สำ� หรบั ผทู้ ส่ี นใจจะศกึ ษาและปฏบิ ตั อิ านาปานสตกิ มั มฏั - ฐานโดยแท้จริง กองตำ� ราแหง่ คณะธรรมทาน จงึ มคี วามประสงค์ ที่จะท�ำการเผยแพร่ข้อความแห่งพระบาลีนี้มากเป็น พิเศษ เพือ่ การศึกษาก้าวหนา้ ตอ่ ไป



พระบาลี อานาปานสตสิ ตู ร (อปุ รปิ ัณณาสก์  มัชฌมิ นกิ าย,  ไตร.  ล.  ๑๔/๑๙๐/๒๘๒) ๒๘๒  ขา้ พเจา้ ไดส้ ดบั มาแลว้ อยา่ งน ี้ สมยั หนงึ่  พระ ผมู้ พี ระภาคเจา้ ประทบั อยทู่ วี่ หิ ารชอื่ มคิ ารมาตปุ ราสาท ในบพุ พาราม ใกลเ้ มอื งสาวตั ถ ี พรอ้ มดว้ ยพระสาวกซงึ่ เปน็ พระเถระมชี อ่ื เสยี งเปน็ ทร่ี จู้ กั กวา้ งขวางเปน็ อนั มาก คอื  พระสารบี ตุ ร พระโมคคลั ลานะ พระกสั สปะ พระ มหากจั จายนะ พระมหาโกฏฐติ ะ พระมหากปั ปนิ ะ พระ มหาจุนทะ พระเรวตะ พระอานนท์ และพระเถระที่ มชี ือ่ เสียงเป็นทรี่ จู้ ักกว้างขวางมากอืน่ ๆ อีกดว้ ย

ในสมัยน้ันแล พระเถระเหล่าน้ัน ต่างก็ท�ำการ พรำ�่ สอนภกิ ษทุ งั้ หลาย; พระเถระบางพวกพรำ�่ สอนภกิ ษุ ๑๐ รปู บา้ ง, บางพวกพรำ�่ สอนภกิ ษ ุ ๒๐ รปู บา้ ง, บาง พวกพรำ�่ สอนภกิ ษ ุ ๓๐ รปู บา้ ง, บางพวกพรำ่� สอนภกิ ษุ ๔๐ รปู บา้ ง, ภกิ ษใุ หมๆ่  เหลา่ นนั้  เมอื่ พระเถระทง้ั หลาย พรำ่� สอนอยดู่ งั น ้ี ยอ่ มรธู้ รรมอนั โอฬาร รธู้ รรมอนั วเิ ศษ ยงิ่ กวา่ แตก่ ่อน ๒๘๓  โดยสมัยนั้นแล พระผู้มีพระภาคประทับน่ัง กลางแจง้  มพี ระภกิ ษสุ งฆแ์ วดลอ้ มในคนื ปณุ ณมี ดถิ ที ่ี ๑๕ เป็นวันอุโบสถในเดือนเป็นที่ปวารณา ๓ ล�ำดับน้ัน พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทอดพระเนตรดภู กิ ษสุ งฆซ์ ง่ึ สงบนง่ิ แล้วตรัสว่า “ภิกษุ ท.! เราเป็นผู้แน่ใจในปฏิปทาอันนี้ ภกิ ษ ุ ท.! เราเปน็ ผมู้ นั่ ใจในปฏปิ ทาอนั น ้ี ภกิ ษ ุ ท.! เพราะ ฉะนนั้ ในเรอื่ งน ี้ เธอทงั้ หลายจงปรารภความเพยี รใหเ้ ปน็ อยา่ งยง่ิ  เพอื่ บรรลสุ งิ่ ทย่ี งั ไมบ่ รรล ุ เพอ่ื ถงึ สงิ่ ทย่ี งั ไมถ่ งึ 30 ข อ ง วิ เ ศ ษ ใ น พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก

เพื่อท�ำให้แจ้งในสิ่งที่ยังไม่ได้ท�ำให้แจ้ง, เราจักรออยู่ที่ นครสาวตั ถนี  ้ี จนถงึ เดอื นทส่ี ท่ี า้ ยฤดฝู น เปน็ ทบ่ี านแหง่ ดอกโกมุท” ดงั นี้ ภิกษุทั้งหลายท่ีอยู่ในชนบท ได้ทราบข่าวว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าจักทรงรออยู่ท่ีนครสาวัตถีน่ันเอง จนกระท่ังถึงเดือนท่ีสี่ท้ายฤดูฝน เป็นที่บานแห่งดอก โกมทุ  กพ็ ากนั หนนุ เนอ่ื งมาสนู่ ครสาวตั ถ ี เพอ่ื เฝา้ พระ ผมู้ พี ระภาคเจา้ อนงึ่  ภกิ ษทุ เี่ ปน็ เถระทงั้ หลายเหลา่ นน้ั  ยอ่ มพรำ่� สอนภกิ ษผุ มู้ าใหมท่ ง้ั หลาย โดยประมาณอนั ยง่ิ ; พระเถระ บางพวกพรำ่� สอนภกิ ษ ุ ๑๐ รปู บา้ ง, บางพวกพรำ่� สอน ภกิ ษ ุ ๒๐ รปู บา้ ง, บางพวกพรำ่� สอนภกิ ษ ุ ๓๐ รปู บา้ ง, บางพวกพรำ�่ สอนภกิ ษ ุ ๔๐ รปู บา้ ง, ภกิ ษใุ หมๆ่  เหลา่ นนั้ เมอื่ พระเถระทง้ั หลายพรำ่� สอนอยดู่ งั น ้ี ยอ่ มรธู้ รรมอนั 31 พุ ท ธ ท า ส ภิ ก ขุ

โอฬาร ร้ธู รรมอนั วเิ ศษยิง่ กว่าแตก่ ่อน ๒๘๔  โดยสมัยน้ันแล พระผู้มีพระภาคประทับน่ัง กลางแจ้ง มีพระภิกษุสงฆ์แวดล้อมในราตรีวันปุณณมี ดถิ ที  ่ี ๑๕ เปน็ วนั อโุ บสถ แหง่ เดอื นทส่ี ท่ี า้ ยฤดฝู น เปน็ ท่ีบานแห่งดอกโกมุท๔ ล�ำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า ทอดพระเนตรดภู กิ ษสุ งฆซ์ งึ่ สงบนง่ิ  แลว้ ตรสั วา่  “ภกิ ษ ุ ท.! บรษิ ทั น ้ี ไมเ่ หลวไหลเลย! ภกิ ษ ุ ท.! บรษิ ทั น ้ี ไมเ่ หลว แหลกเลย! ภิกษุ ท.! บริษัทนี้ เป็นบริษัทที่ตั้งอยู่ใน สารธรรมอนั หมดจด ภกิ ษ ุ ท.! ภกิ ษสุ งฆน์  ี้ เปน็ บรษิ ทั มีรูปสมควรแก่ของต้อนรับ ควรแก่ของค�ำนับ ควรแก่ ทักษิณาทาน ควรแก่การนบไหว้ เป็นนาบุญของโลก ไมม่ ีนาบุญอน่ื ยงิ่ กว่า 32 ข อ ง วิ เ ศ ษ ใ น พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก

ภิกษุ ท.! ภิกษุสงฆ์น้ี เป็นบริษัทที่บุคคลถวาย ทานน้อย ก็ได้ผลมาก, ท่ีถวายทานมาก ก็ได้ผลมาก ยง่ิ ขึน้ ไป ภิกษุ ท.! ภิกษุสงฆ์น้ี เป็นบริษัทที่โลกจะหาดู ได้ยาก ภิกษุ ท.! ภิกษุสงฆ์นี้ เป็นบริษัทที่มีค่า ควรที่  คนทง้ั หลายจะหอ่ เสบยี ง แลว้ เดนิ ทางเปน็ โยชนๆ์  เพอ่ื   มาดมู าเหน็ ๒๘๕  ภกิ ษ ุ ท.! ภกิ ษทุ เ่ี ปน็ อรหนั ตข์ ณี าสพ มพี รหม- จรรยอ์ ยจู่ บแลว้  มกี จิ ทคี่ วรทำ�  ทำ� เสรจ็ แลว้  มภี าระอนั ปลงลงแลว้  มปี ระโยชนต์ นอนั ตามถงึ แลว้  มสี ญั โญชน์ ในภพสนิ้ สดุ แลว้  หลดุ พน้ แลว้ เพราะรโู้ ดยชอบ มอี ยใู่ น ภกิ ษสุ งฆห์ มนู่  ้ี ภกิ ษ ุ ท.! ภกิ ษเุ ชน่ นก้ี ม็ อี ยใู่ นภกิ ษสุ งฆ์ หมู่น้ี 33 พุ ท ธ ท า ส ภิ ก ขุ

ภกิ ษ ุ ท.! ภกิ ษทุ เี่ ปน็ อนาคาม ี เพราะสนิ้ สญั โญชน์ มีส่วนในเบื้องต้น ๕ ประการ ๕ เป็นโอปปาติกะแล้ว จกั ปรนิ พิ พานในภพนน้ั ๆ มอี นั ไมเ่ วยี นกลบั จากโลกนนั้ เป็นธรรมดา มีอยู่ในภิกษุสงฆ์หมู่น้ี ภิกษุ ท.! ภิกษุ เชน่ นี ้ ก็มีอยู่ในภิกษุสงฆห์ มู่น้ี ภกิ ษ ุ ท.! ภกิ ษทุ เี่ ปน็ สกทาคาม ี เพราะความสน้ิ ไป แหง่ สญั โญชนท์ งั้  ๓ ๖ และเพราะมีราคะ โทสะ โมหะ เบาบาง มาสโู่ ลกนเ้ี พยี งครง้ั เดยี ว กจ็ กั ทำ� ทส่ี ดุ แหง่ ทกุ ข์ ได ้ มอี ยใู่ นภกิ ษสุ งฆห์ มนู่  ี้ ภกิ ษ ุ ท.! ภกิ ษเุ ชน่ น ี้ กม็ อี ยู่ ในภิกษุสงฆห์ มู่น้ี ภกิ ษ ุ ท.! ภกิ ษทุ เ่ี ปน็ โสดาบนั  เพราะความสนิ้ ไป แห่งสัญโญชน์ทั้ง ๓ เป็นผู้มีอันไม่ตกต�่ำเป็นธรรมดา เปน็ ผมู้ คี วามแนน่ อนตอ่ การตรสั รใู้ นเบอื้ งหนา้  มอี ยใู่ น ภิกษุสงฆ์หมู่น้ี ภิกษุ ท.! ภิกษุเช่นน้ี ก็มีอยู่ในภิกษุ สงฆห์ ม่นู ้ี 34 ข อ ง วิ เ ศ ษ ใ น พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก

ภกิ ษ ุ ท.! ภกิ ษผุ ปู้ ระกอบความเพยี รในการเจรญิ สติปัฏฐานท้ังส่ีอยู่เป็นประจ�ำ มีอยู่ในภิกษุสงฆ์หมู่นี้ ภกิ ษ ุ ท.! ภกิ ษเุ ชน่ น ้ี กม็ ีอยู่ในภิกษุสงฆ์หมูน่ ี้ ๒๘๖  ภิกษุ ท.! ภิกษผุ ู้ประกอบความเพียรในการ เจรญิ  สัมมัปปธานท้ังส ่ี ๗ ... ฯลฯ... ภกิ ษผุ ปู้ ระกอบความเพยี รในการเจรญิ  อทิ ธบิ าท ทั้งสี่ ๘ ... ฯลฯ... ภกิ ษผุ ปู้ ระกอบความเพยี รในการเจรญิ  อนิ ทรยี ์ ทั้งห้า ๙ ... ฯลฯ... ภกิ ษผุ ้ปู ระกอบความเพียรในการเจรญิ  พละท้งั หา้  ๑๐ ... ฯลฯ... ภกิ ษผุ ปู้ ระกอบความเพยี รในการเจรญิ  โพชฌงค์ ทงั้ เจด็  ๑๑ ... ฯลฯ... 35 พุ ท ธ ท า ส ภิ ก ขุ

ภกิ ษผุ ปู้ ระกอบความเพยี รในการเจรญิ  มรรคมี องค์แปด ๑๒ อันประเสริฐ ... ฯลฯ... ภิกษุผู้ประกอบความเพียรในการเจริญ เมตตา ภาวนา ... ฯลฯ... ภิกษุผู้ประกอบความเพียรในการเจริญ กรุณา ภาวนา ... ฯลฯ... ภิกษุผู้ประกอบความเพียรในการเจริญ มุทิตา ภาวนา ... ฯลฯ... ภกิ ษผุ ปู้ ระกอบความเพยี รในการเจรญิ  อเุ บกขา ภาวนา ... ฯลฯ... 36 ข อ ง วิ เ ศ ษ ใ น พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก

ภิกษุผู้ประกอบความเพียรในการเจริญ อสุภ ภาวนา ... ฯลฯ... ภิกษุผู้ประกอบความเพียรในการเจริญ อนิจจ สญั ญา อยู่เปน็ ประจำ�  มอี ย่ใู นภิกษุสงฆ์หมู่น้ี ภิกษ ุ ท.! ภกิ ษุเชน่ นีๆ้  ก็มีอยู่ในภกิ ษุสงฆ์หมู่นี้ ๒๘๗  ภกิ ษุ ท.! ภกิ ษุผปู้ ระกอบความเพยี รในการ เจรญิ อานาปานสตอิ ยเู่ ปน็ ประจำ�  มอี ยใู่ นภกิ ษสุ งฆห์ มนู่ ี้ ภิกษุ ท.! อานาปานสติ อันบุคคลเจริญ ท�ำให้ มากแล้ว ยอ่ มมผี ลใหญ ่ มีอานสิ งส์ใหญ่! ภิกษุ ท.! อานาปานสติ อันบุคคลเจริญ ท�ำให้ มากแล้ว ย่อมทำ� สตปิ ัฏฐานทั้งสี่ใหบ้ ริบูรณ์ 37 พุ ท ธ ท า ส ภิ ก ขุ

ภกิ ษ ุ ท.! สตปิ ฏั ฐานทง้ั ส ี่ อนั บคุ คลเจรญิ  ทำ� ให้ มากแลว้  ย่อมทำ� โพชฌงคท์ ้งั เจ็ดใหบ้ รบิ ูรณ์ ภกิ ษ ุ ท.! โพชฌงคท์ ง้ั เจด็  อนั บคุ คลเจรญิ  ทำ� ให้ มากแลว้  ยอ่ มทำ� วชิ ชาและวมิ ตุ ติให้บรบิ ูรณ์ ๒๘๘  ภิกษุ ท.! ก็อานาปานสติ อันบุคคลเจริญ ทำ� ใหม้ ากแลว้  อยา่ งไรเลา่ จงึ มผี ลใหญ ่ มอี านสิ งสใ์ หญ่ ภกิ ษ ุ ท.! ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั น ี้ ไปแลว้ สปู่ า่ กต็ าม ไปแล้วส่โู คนไมก้ ็ตาม ไปแลว้ สู่เรือนว่างกต็ าม นั่งคูข้ า เข้ามาโดยรอบแล้ว ตั้งกายตรง ด�ำรงสติมั่น ภิกษุนั้น เป็นผู้มีสติอยู่นั่นเทียว หายใจออก; มีสติอยู่ หายใจ เข้า  38 ข อ ง วิ เ ศ ษ ใ น พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก

ภกิ ษนุ ั้น : - [๑] เมอื่ หายใจออกยาว กร็ สู้ กึ ตวั ทว่ั ถงึ  วา่ เรา หายใจออกยาว ดงั น,้ี  เมอ่ื หายใจเขา้ ยาว กร็ สู้ กึ ตวั ทวั่ ถงึ ว่าเราหายใจเข้ายาว ดังนี้ [๒] เม่ือหายใจออกสั้น ก็รู้สึกตัวท่ัวถึง ว่าเรา หายใจออกสนั้  ดงั น,้ี  เมอื่ หายใจเขา้ สน้ั  กร็ สู้ กึ ตวั ทวั่ ถงึ วา่ เราหายใจเขา้ สนั้  ดงั นี้ [๓] ย่อมท�ำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อม  เฉพาะซงึ่ กายทง้ั ปวง ๑๓ จกั หายใจออก ดงั น,้ี  ยอ่ มทำ� ในบทศกึ ษาวา่  เราเปน็ ผู้รู้พรอ้ มเฉพาะซึง่ กายทัง้ ปวง จกั หายใจเขา้  ดงั น้ี [๔] ย่อมท�ำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ท�ำให้กาย  สังขารให้ร�ำงับอยู่ ๑๔ จักหายใจออก ดังนี้, ย่อมท�ำใน 39 พุ ท ธ ท า ส ภิ ก ขุ

บทศกึ ษาวา่  เราเปน็ ผทู้ ำ� ใหก้ ายสงั ขารใหร้ ำ� งบั อย ู่ จกั หายใจเขา้  ดังน้ี [จบ จตุกกะหน่งึ ] [๕] ย่อมท�ำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อม  เฉพาะซึ่งปีติ ๑๕ จักหายใจออก ดังนี้, ย่อมท�ำในบท ศกึ ษาวา่  เราเปน็ ผรู้ พู้ รอ้ มเฉพาะซงึ่ ปตี  ิ จกั หายใจเขา้ ดังน้ี [๖] ย่อมท�ำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อม  เฉพาะซ่ึงสุข ๑๖ จักหายใจออก ดังน้ี, ย่อมท�ำในบท ศึกษาวา่  เราเปน็ ผู้รูพ้ รอ้ มเฉพาะซ่งึ สขุ  จกั หายใจเขา้ ดงั นี้ 40 ข อ ง วิ เ ศ ษ ใ น พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก

[๗] ย่อมท�ำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อม  เฉพาะซงึ่ จติ ตสงั ขาร ๑๗ จกั หายใจออก ดงั น,้ี  ยอ่ มทำ� ในบทศกึ ษาวา่  เราเปน็ ผรู้ พู้ รอ้ มเฉพาะซง่ึ จติ ตสงั ขาร จกั หายใจเข้า ดงั นี้ [๘] ยอ่ มทำ� ในบทศกึ ษาวา่  เราเปน็ ผทู้ ำ� จติ ตสงั ขาร  ใหร้ ำ� งบั อย ู่๑๘ จกั หายใจออก ดงั น,้ี  ยอ่ มทำ� ในบทศกึ ษา ว่า เราเป็นผู้ท�ำจิตตสังขารให้ร�ำงับอยู่ จักหายใจเข้า ดงั น้ี [จบ จตกุ กะสอง] [๙] ย่อมท�ำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อม  เฉพาะซง่ึ จติ  ๑๙ จกั หายใจออก ดงั น,ี้  ยอ่ มทำ� ในบทศกึ ษา วา่  เราเป็นผูร้ ู้พรอ้ มเฉพาะซง่ึ จติ  จกั หายใจเข้า ดงั นี้ 41 พุ ท ธ ท า ส ภิ ก ขุ

[๑๐] ย่อมท�ำในบทศกึ ษาว่า เราเปน็ ผ้ทู �ำจติ ให้  ปราโมทยย์ งิ่ อย ู่ ๒๐ จกั หายใจออก ดงั น,้ี  ยอ่ มทำ� ในบท ศกึ ษาวา่  เราเปน็ ผทู้ ำ� จติ ใหป้ ราโมทยย์ งิ่ อย ู่ จกั หายใจ เขา้  ดงั นี้ [๑๑] ยอ่ มทำ� ในบทศกึ ษาวา่  เราเปน็ ผทู้ ำ� จิตให ้ ตงั้ มน่ั อย ู่ ๒๑ จกั หายใจออก ดงั น,ี้  ยอ่ มทำ� ในบทศกึ ษา ว่า เราเปน็ ผู้ท�ำจติ ใหต้ ้งั มัน่ อย่ ู จกั หายใจเข้า ดงั น้ี [๑๒] ยอ่ มทำ� ในบทศกึ ษาวา่  เราเปน็ ผทู้ ำ� จติ ให ้ ปลอ่ ยอย ู่๒๒ จกั หายใจออก ดงั น,ี้  ยอ่ มทำ� ในบทศกึ ษาวา่ เราเป็นผ้ทู ำ� จติ ใหป้ ลอ่ ยอยู่ จกั หายใจเขา้  ดงั นี้ [จบ จตุกกะสาม] 42 ข อ ง วิ เ ศ ษ ใ น พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก

43 พุ ท ธ ท า ส ภิ ก ขุ

[๑๓] ยอ่ มทำ� ในบทศกึ ษาวา่  เราเปน็ ผตู้ ามเหน็   ซง่ึ ความไมเ่ ทยี่ งอยเู่ ปน็ ประจำ�  ๒๓ จกั หายใจออก ดงั น,ี้ ยอ่ มทำ� ในบทศกึ ษาวา่  เราเปน็ ผตู้ ามเหน็ ซงึ่ ความไมเ่ ทยี่ ง  อยเู่ ปน็ ประจำ�  จกั หายใจเข้า ดงั น้ี [๑๔] ยอ่ มทำ� ในบทศกึ ษาวา่  เราเปน็ ผตู้ ามเหน็   ซง่ึ ความจางคลายอยเู่ ปน็ ประจำ�  ๒๔ จกั หายใจออก ดงั น,้ี ย่อมทำ� ในบทศึกษาวา่  เราเปน็ ผูต้ ามเห็นซึง่ ความจาง  คลายอยู่เปน็ ประจ�ำ จักหายใจเข้า ดังนี้ [๑๕] ยอ่ มทำ� ในบทศกึ ษาวา่  เราเปน็ ผตู้ ามเหน็   ซ่ึงความดับไม่เหลืออยู่เป็นประจ�ำ๒๕ จักหายใจออก ดงั น,ี้  ยอ่ มทำ� ในบทศกึ ษาวา่  เราเปน็ ผตู้ ามเหน็ ซงึ่ ความ  ดับไมเ่ หลอื อยเู่ ป็นประจำ�  จักหายใจเข้า ดงั นี้ 44 ข อ ง วิ เ ศ ษ ใ น พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก

[๑๖] ยอ่ มทำ� ในบทศกึ ษาวา่  เราเปน็ ผตู้ ามเหน็   ซง่ึ ความสลดั คนื อยเู่ ปน็ ประจำ�  ๒๖ จกั หายใจออก ดงั น,ี้ ยอ่ มทำ� ในบทศกึ ษาวา่  เราเปน็ ผตู้ ามเหน็ ซง่ึ ความสลดั คนื   อยเู่ ปน็ ประจำ�  จกั หายใจเข้า ดงั น้ี [จบ จตกุ กะสี่] ภกิ ษ ุ ท.! อานาปานสต ิ อนั บคุ คลเจรญิ แลว้  ทำ� ใหม้ ากแลว้  อยา่ งนแ้ี ล ยอ่ มมผี ลใหญ ่ มอี านสิ งสใ์ หญ!่ ๒๘๙  ภกิ ษ ุ ท.! กอ็ านาปานสต ิ อนั บคุ คลเจรญิ  ทำ� ใหม้ ากแลว้  อยา่ งไรเลา่ จงึ ทำ� สตปิ ฏั ฐานทงั้ ส ี่ ใหบ้ รบิ รู ณ์ ได้ 45 พุ ท ธ ท า ส ภิ ก ขุ

ภกิ ษุ ท.! สมัยใด ภกิ ษุ [๑] เมอ่ื หายใจออกยาว กร็ สู้ กึ ตวั ทวั่ ถงึ  วา่ เรา หายใจออกยาว ดงั น,ี้  เมอื่ หายใจเขา้ ยาว กร็ สู้ กึ ตวั ทวั่ ถงึ ว่าเราหายใจเข้ายาว ดงั นก้ี ด็ ี [๒] เมื่อหายใจออกส้ัน ก็รู้สึกตัวทั่วถึง ว่าเรา หายใจออกสนั้  ดงั น,ี้  เมอ่ื หายใจเขา้ สนั้  กร็ สู้ กึ ตวั ทวั่ ถงึ วา่ เราหายใจเขา้ สัน้  ดังน้ีกด็ ี [๓] ย่อมท�ำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อม  เฉพาะซงึ่ กายทง้ั ปวง จกั หายใจออก จกั หายใจเขา้ ดงั นี้ กด็ ี [๔] ย่อมท�ำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ท�ำให้กาย  สงั ขารใหร้ ำ� งบั อย ู่ จกั หายใจออก จกั หายใจเขา้  ดงั นก้ี ด็ ี 46 ข อ ง วิ เ ศ ษ ใ น พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก

ภิกษุ ท.! สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าเป็นผู้ ตามเห็น  กายในกาย ๒๗ ท้ังหลาย อยู่เป็นประจ�ำ มีความเพียร เผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ น�ำอภิชฌาและโทมนัส ในโลกออกเสยี ได้ ภิกษุ ท.! เราย่อมกล่าว ลมหายใจออกและลม หายใจเขา้ วา่  เปน็ กายอนั หนง่ึ ๆ ในกายทง้ั หลาย ภกิ ษ ุ ท.! เพราะเหตนุ นั้  ในเรอื่ งน ้ี ภกิ ษนุ น้ั ยอ่ มชอ่ื วา่  เปน็ ผตู้ าม เห็นกายในกายท้ังหลายอยู่เป็นประจ�ำ มีความเพียร เผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ น�ำอภิชฌาและโทมนัส ในโลกออกเสียได ้ ในสมัยนั้น ภิกษุ ท.! สมยั ใด ภกิ ษุ [๕] ย่อมท�ำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ รู้พร้อม  เฉพาะซ่ึง ปีต ิ จกั หายใจออก จักหายใจเขา้  ดงั นี้ก็ดี 47 พุ ท ธ ท า ส ภิ ก ขุ

[๖] ย่อมท�ำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ รู้พร้อม  เฉพาะซึง่  สขุ  จักหายใจออก จักหายใจเขา้  ดังน้ีก็ดี [๗] ย่อมท�ำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ รู้พร้อม  เฉพาะซึ่ง จิตตสังขาร จักหายใจออก จักหายใจเข้า ดงั นีก้ ด็ ี [๘] ย่อมท�ำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้ ท�ำจิตต  สังขารให้ร�ำงับอยู่ จักหายใจออก จักหายใจเข้า ดังน้ี กด็ ี ภิกษุ ท.! สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่า เป็นผู้ ตามเห็น  เวทนาในเวทนา ๒๘ ทงั้ หลาย อยเู่ ปน็ ประจำ�  มคี วามเพยี ร เผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ น�ำอภิชฌาและโทมนัส ในโลกออกเสียได้ 48 ข อ ง วิ เ ศ ษ ใ น พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก

ภิกษุ ท.! เราย่อมกล่าวการท�ำในใจเป็นอย่างดี ถงึ ลมหายใจออกและลมหายใจเขา้ วา่  เปน็ เวทนาอนั หนงึ่ ๆ ในเวทนาทั้งหลาย ภิกษุ ท.! เพราะเหตุน้ัน ในเร่ืองนี้ ภกิ ษนุ นั้ ยอ่ มชอื่ วา่  เปน็ ผตู้ ามเหน็ เวทนาในเวทนาทงั้ หลาย อยู่เป็นประจ�ำ มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มสี ต ิ นำ� อภชิ ฌาและโทมนสั ในโลกออกเสยี ได ้ ในสมยั นัน้ ภกิ ษุ ท.! สมยั ใด ภกิ ษุ [๙] ย่อมท�ำในบทศึกษาว่า เราเป็นผู้รู้พร้อม  เฉพาะซ่งึ จิต จกั หายใจออก จักหายใจเข้า ดังนี้ก็ดี [๑๐] ยอ่ มทำ� ในบทศึกษาว่า เราเปน็ ผ้ทู �ำจติ ให ้ ปราโมทยย์ ง่ิ อย่ ู จกั หายใจออก จกั หายใจเขา้  ดงั นก้ี ด็ ี 49 พุ ท ธ ท า ส ภิ ก ขุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook