Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมรสบทธรรม

รวมรสบทธรรม

Published by ชมรมกัลยาณธรรม, 2022-11-10 02:27:56

Description: รวมรสบทธรรม

Search

Read the Text Version

KawMusume ชีว ม รัฐ บท ฮิ ร์ ม

“ รวม ประทีป สว่าง แท้ เทียน ธรรม รส แห่งวิมุตติ นำ ใส่ เกล้า บท บาทพุทธบริษัทดำ เนิน สู่ อริยสัจ จ์ ธรรม จากพระอริย เจ้า ส่อง ทั่ว หทัยเกษม 00 0 00 0 0 00 0 0 00 0 0 000 0 000 0 0 00 0 0 00 0 0 00 0 0 000 0 000 0 0 00 0 0 00 0 0 00 0 0 000 0 รวมริบ ธร ริม) 66 ส พุ พร ส์ ธ มฺ มรโส ชิ นา ติ รสแห่ง ธรรม ชนะ รส ทั้งปวง ขอ มอบเป็นธรรม บรรณาการ แต่ ( จาก оооооооооооооооооооооооооооооооо

รวมรส บท ธรรม คำนำ ... จาก ชมรม กัลยาณ ธรรม หนังสือ ดีลำดับ ที่ ๑๗ หนังสือ “ รวมรสบทธรรม” เป็นหนังสือ ที่รวม พระธรรม จากงาน แสดง ธรรมบรรยายเพื่อพัฒนาจิต วิญญาณ “างกัลยาณ เทศนา และ ธรรมบรรยาย ซึ่งชมรมกัลยาณ ธรรมจัดขึ้นในงาน : พระครูเกษมธรรมทัต แสดง ธรรมบรรยายเป็นธรรมทาน ณ หอประชุม ศรี บูรพา พระ มหา วุฒิ ชัย วชิร เมธี (ว.วชิร เมธี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่า พระจันทร์) ใน วัน อาทิตย์ ที่ ๒๗ ดร.สนอง วรอุไร สิงหาคม ๒๕๕๘ ซึ่งได้เกิดประวัติศาสตร์ที่งดงามประทับอยู่ ในความทรงจำของทุกท่านที่มีส่วนร่วม หอประชุมฯ แน่นขนัด ISBN : 974-94385-4-X ไปด้วยสาธุชน ผู้มีจิต ศรัทธา ใน ธรรมะของพระพุทธองค์ ยอดรวม พิมพ์ครั้งที่ ๑ : มิถุนายน ๒๕๕๙ จำนวน ๑๐,000 เล่ม ผู้ลง ทะเบียนเข้าร่วม งานมีถึง ๑,๗๐๐ คน ทั้งที่หอประชุมนั้น จัด พิมพ์โดย : ชมรมกัลยาณธรรม จุ คนได้เพียง ๕๐๐ คน ดังนั้น เพื่รอำลึก ถึงประวัติศาสตร์ ๑๐๐ ถ. ประโคนชัย ต. ปากน้ำ อ . เมือง จ.สมุทรปราการ ๑๐๒๗๐ โทร. ๐-๒๗๐๒-๗๓๕๓ A หรอ : ๘๙๖-๗ ซอย ศึกษาวิทยา ถ .สาทร เหนือ สีลม บางรัก กรุงเทพฯ ๑๐๕๐๐ โทร. ๐-๒๑๓๕-๓๔๙๑-๒ www.kanlayanatam.com ปก-รูปเล่ม : บริษัท วิธี ทำ จำกัด โทร. ๐-๖๗๘๗-๘๘00 แยก ส- พิมพ์ที่ : สำนัก พิมพ์อมรินทร์ พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน) ๖๕/๑๖ ถ.ชัยพฤกษ์ (บรมราช ชนนี) เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ ๑๐๑๗๐ สัพ พ ทา นั ง ธั ม ม ทา นั ง ชินา ติ การให้ ธรรมะเป็น ทาน ชนะการให้ ทั้งปวง

หน้าหนึ่งของ ชาว กัลยาณธรรม และเพื่อมิให้อมตธรรมในงาน โดยใช้สื่อ ต่างๆ ทางโลกเพื่อจะใช้สมมุติให้เป็นประโยชน์สูงสุดใน วันดังกล่าวที่ครูบา อาจารย์ได้อุทิศ ถ่ายทอดไว้ต้องถูก ลืม เลือน การเผยแผ่ พระ ศาสนา ตามที่ท่านกล่าวว่า “สมัยนี้พระต้องปัก ไป กับ กาลเวลา ชมรม ฯ จึง จัดรวบรวม พิมพ์เป็นหนังสือ รวมรส ก ลดกลางจอ ที่ ว” ในฐานะที่ ท่านเป็น คนรุ่นใหม่ร่วมสมัย และ มี บทธรรม เล่มนี้ อัจฉริยภาพใน การสื่อสาร ให้ สาธุชนได้เข้าถึง ธรรมะอันเป็น ของ “พัฒนาพุฒิ ภาวะ ” เป็นพระธรรม เทศนาของ พระครู ละเอียดของยากได้ ง่าย ประดุจหงายของที่คว่ำ จึงเป็นหน้าที่ เกษม ธรรม ทัต หรือหลวง พ่อ สุรศักดิ์ เขมรังสี จาก สำนัก ของเราเหล่าพุทธศาสนิกชน อุบาสก อุบาสิกาที่จะอุปฐากส่งเสริม วิปัสสนา กรรมฐาน วัด ม เหยง ค ณ์ ต . หันตรา อ . เมือง พระสงฆ์สาวก ที่ทรงคุณแก่พระศาสนาเช่นนี้ จ. พระนครศรีอยุธยา ซึ่ง พระอาจารย์ได้ แนะนำ วิธี เข้าถึง ภาวะ “วิถี สู่ อริยะ” เป็นธรรมบรรยายของ ท่านอาจารย์ ดร. สนอง วร อุไร ฆราวาสพุทธมามกะ ที่ประกาศธรรมของ แห่ง พุทธะ คือ ความเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน พร้อมทั้งตอบ พระพุทธองค์ อย่างชัดเจน ตรงไป ตรง มา ด้วย ประสบการณ์ จริง ปัญหาธรรม และนำ ปฏิบัติธรรม ด้วย ด้วยความรู้ จริงรู้แจ้ง จาก จาก การ ประพฤติ ปฏิบัติและ พิสูจน์สัจธรรมของ ท่าน จากนัก พระสุปฏิปันโนซึ่งเปรียบประดุจเพชรน้ำ เอกแห่งพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์คนหนึ่ง ที่เคยไม่เชื่อไม่ศรัทธา ในที่สุด ต้องยอม ‫بورورو‬ ศิโรราบให้ กับสัจธรรมใน พุทธ ศาสนา แม้น ท่านไม่ได้ห่ม ผ้า ในความเป็น ผู้รู้ ทั้งปริยัติ ปฏิบัติ และปฏิเวธ จึงทำให้พัฒนา กาสาวพัสตร์ แต่เปรียบเสมือนพระสงฆ์สาวกองค์หนึ่ง ที่อุทิศ พุฒิภาวะ เป็น พระธรรม เทศนาที่ ทรงคุณค่าสมควรบันทึกและ ชีวิต ทุกลมหายใจ เพื่อ ทำ หน้าที่ของ “ผู้ถ่ายทอด” หรือผู้สืบทอด ถ่ายทอด อย่าง ยิ่ง พระธรรม คำ สั่งสอนของพระศาสดา เพื่อ ช่วยเหลือเพื่อนสหธรรมิก “ คิดเป็น ก็เห็น ธรรม ” เป็นพระ ธรรม เทศนา ของพระ มิให้ ตกไป สู่ อบายภูมิ เป็นหน้าที่ของ พวกเรา ชาว กัลยาณ ธรรม อาจารย์ พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี หรือนามปากกา “ว . วชิรเมธี” ที่จะ ดูแลอุปฐากผู้ทรงคุณแก่ พระ ศาสนาเช่น นี้ พระ สุปฏิปัน โน ซึ่งมีความ มุ่งมั่นที่จะ ทดแทนคุณของพระ ศาสนา

ขอ กราบ ขอบพระคุณคุณเมตตา อุทกะ พันธุ์ ผู้ไม่เคย ทอด สารบัญ ธุระ การ สร้างสิ่งที่ คงามสู่สังคมพุทธ และสำนัก พิมพ์อมรินทร์ เรื่อง หน้า พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน) ที่ร่วม อุดมการณ์ ตอบแทน การพัฒนา พุทธ ภาวะ (พระครูเกษมธรรมทัต) คุณ พระ ศาสนา กับชมรมกัลยาณธรรม และเพื่อนสหธรรม มิก การ พัฒนาปัญญา หรือ การ พัฒนา พุทธ ภาวะ ๑๘ โดยจัด พิมพ์ หนังสือนี้ให้เพื่อ ถวายเป็น พุทธ บูชา ขอขอบคุณ ตอบ ปัญหา ธรรม m2 นำ เจริญ สติ คุณมนัสวิน นันทเสน ที่เอื้อเฟื้อภาพเขียนเป็น ภาพ ปก ทำให้ 4s หนังสือ มี สีสันงดงาม ขึ้นอีก มาก ชมรมกัลยาณธรรม ขอ ยึด มั่นใน คิดเป็น ก็เห็น ธรรม ( พระมหาวุฒิ ชัย วชิร เมธี) วา ปฏิปทาที่จะตามรอยบาทของพระศาสดา มอบ ธรรมะเป็นทาน วิธีคิด แบบ พุทธ หรือวิธีคิต ตามหลัก พุทธ ธรรม ๙๖ เพื่อยังความ ผาสุกไพบูลย์ตัวยธรรม ให้ รุ่งเรืองเจริญสู่สังคมไทย และเพื่อน ผู้ร่วม ทุกข์เกิดแก่เจ็บตายตลอด ไป วิถี สู่ อริยะ (ดร.สนอง วรอุไร) ด (4 ๑๕m ขอ อ้างเอา อานิสงส์ แห่ง มหา ทานใน ครั้ง นี้ เป็น เครื่อง การเข้าถึงความเป็น อริยชน บูชาอันล้ำเลิศ แทบพระบาทของ พระศาสดา และ แทบตวง หทัย การเข้าถึง ความเป็น อริยบุคคล พ่อแม่ครูบา อาจารย์ ทุก ท่านผู้ผ่านพ้นไปสู่ฝั่งอันเกษมแล้ว และ ขอให้อานิสงส์นี้จงเป็นพลวปัจจัย ให้ ทุก ท่าน ที่มีส่วนร่วม มีส่วน วิธี ตรวจสอบ ความเป็นอริยบุคคล เกี่ยวข้องใน การ สร้างมหาทานครั้ง นี้ จงบังเกิดดวงตาเห็นธรรม และจงเข้าถึงมรรคผลนิพพาน ใน กาลปัจจุบันนี้ เทอญ ‫مو‬ คณะผู้ จัดทำ BUDDHA

“ ความไม่ ประมาทเป็น ทางไม่ ตาย การพัฒนา พุทธิ ภาวะ ความประมาทเป็น ทางแห่ง ความ ตาย พระครูเกษมธรรม ทัต ผู้ไม่ ประมาท ย่อมไม่ ตาย (หลวง พ่อ สุรศักดิ์ เขมรังสี) สำนักวิปัสสนากรรมฐาน วัด มเหยง ค ณ์ คน ประมาทเหมือนคน ตายแล้ว เพราะ มัวเมา จึงเกิด ความประมาท จังหวัด พระนครศรีอยุธยา เพราะความประมาทจึง เกิด ความ เสื่อม เพราะความ เสื่อม จึงเกิดโทษ............ ( ๔๓/๗๕๔ ภัณฑ ติณ ฑ ก ชาดก)

รวม าสบ ท รรม ก า ร พั ฒ น า พุ ท ธ ภ า ว ะ 50 พ ร ะ ค เก ษ ม ก ร ร ม ๆ ต พุทธิ คือ พุทธะ แปลว่าความรู้ หรือปัญญา ลักษณะ ของปัญญา หรือสัมมา ทิฏฐิ ผง ภาวะ คือ ความมี ความเป็น ความปรากฎ ความเกิดขึ้น แบ่งเป็น สอง ระดับ คือ พัฒนา คือ ความเจริญ ระดับแรก เป็นสา สวะ จัด อยู่ใน ฝ่ายบุญ อำนวย การพัฒนา พุทธ ภาวะ คือ การ พัฒนา ความเจริญแห่ง วิบากขันธ์ ให้เกิด ขึ้น ปัญญา ระดับ ที่ สอง เป็นระดับโล กุ ตตระ เป็นระดับจิตของ ปัญญาเป็นเรื่องสำคัญที่ต้องพัฒนา ให้เกิดขึ้น ให้เจริญขึ้น อีกคำ หนึ่ง ที่แทนคำ ว่า ปัญญา คือ สัมมาทิฏฐิ ซึ่งแปล ผู้เข้าถึง ความเป็น อริยะ หรือกำลัง ว่า เห็นชอบ เห็น ถูก เห็นตรง ในหลักทางพระพุทธ ศาสนา ได้ ดำเนินเพื่อเจริญองค์ อริยมรรคอยู่ แสดงไว้ เกี่ยวกับวิถีแห่งปัญญา และ การ พัฒนาสู่ปัญญาที่ ถูก ตรง ระดับ สา สวะ เป็นระดับของ บุญที่จะอำนวยวิบากขันธ์ เช่น เราเข้าใจ ว่า ทาน การให้ทาน มี ผล การบูชาก็มีผล การกระทำ กรรม ดี-ชั่ว ย่อมมี ผล โลก นี้ มี ปรโลก หรือโลกเบื้องหน้า มี มารดาบิดา มี คุณของมารดาบิดามี สัตว์ที่เป็นโอปปาติกะ (สัตว์ที่ผุดขึ้นโต ที่เดียว) ที่ตา มนุษย์มองไม่เห็นที่มีอยู่ หรือสมณพราหมณ์ที่ ‫دوو‬ ปฏิบัติดีปฏิบัติ ชอบ เป็นผู้รู้ยิ่งด้วยตนเอง ยัง มีอยู่ ปัญญาอย่างนี้เรียก ว่าโล กิยปัญญา หรือโลกิย สัมมา ทิฏฐิ ทั้ง ความรู้ความเข้าใจในเรื่อง กรรมที่เป็นปัญญา เรียกว่า กัม ม สกตาปัญญา เข้าใจ ว่า นี้คือ กรรม ที่ นี้คือกรรมชั่ว เช่น การ ฆ่าสัตว์

รวม าสบ ท รรม ก า ร พั ฒ น า พุ ท ธ ภ า ว ะ พ ร ะ ค เก ษ ม ก ร ร ม ฑ ต ลัก ทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม เป็นบาปกรรมทางกาย การ พูดเท็จ ผลของบาป เสียง หนวกหูรบกวน เสี่ยงต่า เสียงว่า เรา ก็เข้าใจ การ พูดคำ หยาบ การพูด ส่อเสียด การ พูดเพ้อเจ้อ เป็นการ ว่า นี่เป็นผลของ บาปแสดงว่าในอดีตเราทำ ไม่ดี ไว้เหมือนกัน วิบาก ทำ บาปกรรม ทาง วาจา การคิด เบียดเบียน การพยาบาทอาฆาต ของกรรมไม่ดีทางหูจึง ส่ง สะท้อนเสียง ไม่ ดื่ มา เราเคยไปรบกวนเขา ๖๓ ปองร้าย เห็น ผิดจากทำนองคลองธรรม เป็น กรรม ไม่ ดีและเป็น ค่า เขา จึง ต้อง มา รับผลของ กรรมไม่ ดีเหล่า นั้น บาปกรรม ทางใจ นี่คือปัญญา ที่ จะเข้าใจเรื่องกรรม เวลา เห็นภาพไม่ ดี ถ้าเป็นสิ่งที่ตรงกันข้ามก็เข้าใจ ว่าเป็นบุญเป็นกุศล เช่น ได้ยินเสียงไม่น่า ฟังที่รู้ด้วยปัญญา ว่า นี่คือ บาปส่ง ผล เช่น ได้ กลิ่น การ มีเมตตา ไม่ฆ่าสัตว์ มี สัมมาอาชีวะ มี ส ทา ร สันโดษ คือ พอใจ เหมื่นคือบาปส่งมาทางจมูก ได้ กลิ่น หอม คือบุญส่ง มา ทางจมูก ในคู่ครองของตนเอง มีสัจจะ พูด จริง ทำ จริง พูดสมานสามัคคี ได้ลิ้มรสอร่อย คือบุญส่งผล ทางลิ้น เช่นวัน นี้คงได้ลิ้มรสกันไปแล้ว พูด คำ ไพเราะ พูดใน สิ่งที่เป็นประโยชน์ คิดช่วยเหลือ คิดให้อภัย บางที่บุญบาปส่งมาทางกาย อำนวย ผล ส่ง มา ทางกาย เช่นขณะ นี้ มีความรู้ความเข้าใจในธรรม ที่เข้าใจ ว่าเป็นนี้คือ กรรมที่เป็น กุศล ‫ورو‬ การ เข้าใจเหล่า นี้ ถือเป็นปัญญาขั้นโลกิยะ ซึ่งเราต้อง มี เรา ได้ที่นั่ง ฟัง ธรรมดี บ้างไม่ดี บ้าง ก็แล้วแต่บุญ บุญใครมากบุญ พื้นฐานปัญญาเหล่า นี้ ประกอบด้วยความเชื่อ เช่น เชื่อ กรรม เชื่อ ใคร น้อย แม้ อากาศ ภายนอกจะร้อน แต่ก็ มี แอร์ใน ห้อง นี้ ปรับให้เป็น ผลของกรรม เมื่อ กรรมเหล่า นี้ ส่งผลก็อำนวยผลออก มา ทาง ตา แสดงว่ามีบุญอยู่ บุญ คอย มาอำนวยช่วย ส่งผล ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ เช่นการเห็นแต่ละ ครั้ง เป็นวิบาก กรรม หรือเป็น ผลของ กรรม เห็นสิ่งดี เป็นผล ของบุญ บางที่ มีบาปทาง กาย ประสบอุบัติเหตุ แขนหักขาหัก เช่นขณะนี้เรา มาเห็น ภาพ ที่ดี สถานที่ดี คนดีๆ ถือเป็นวิบาก บาดเจ็บ นี้ คือ ผล ของ กรรมไม่ดี ที่ ส่งมา ทาง กาย ความรู้ความ ของบุญ หรือผลของบุญ บางคราวเห็น ภาพไม่ ดี ถือว่า เป็น เข้าใจอย่างนี้เป็นปัญญา ที่ระลึกรู้เข้าใจเรื่องกฎแห่งกรรม เรียกว่า กั ม ม สก ตาปัญญา

รวม าสบ ท รรม ก า ร พั ฒ น า พุ ท ธ ภ า ว ะ พ ร ะ ค เก ษ ม ก ร ร ม ๆ ต โลกุตตรปัญญา หรือโล กุตตรสัมมาทิฏฐิ ตลอดจนความเข้าใจในเรื่องกุศล อกุศล เข้าใจ ว่านี้เป็นอกุศล เป็นปัญญา ระดับ สูง ระดับ วิปัสสนา ปัญญา เป็น อกุศลมูล เข้าใจว่า นี่เป็น กุศล กุศลมูล เมื่อเกิดสภาพธรรมใด ๆ ขึ้น ภายในจิตใจ เช่นเกิดความ ฟุ้งซ่าน ไม่ละอายบาป ไม่กลัว ๑๕ แนวทางที่ อยู่ใน มรรค เป็นปัญญา ที่อยู่ในโสดาปัตติมรรค บาป นี่เป็นอกุศล เกิดถือตัวถือตน ความ เห็นผิด อิจฉาริษยา ตระหนี่ หงุดหงิดรำคาญใจ เบื่อหน่ายท้อถอย ก็เข้าใจว่านี่เป็น สกทาคามีมรรค อนาคามีมรรค และ อรหัต ถ มรรค เป็นโลกุ ตตร ปัญญา ได้เจริญ สติปัฏฐาน เกิด วิปัสสนาปัญญาแล้วเจริญขึ้นไป อกุศล เกิดขึ้น ปล่อยไป มาก ๆ จะ ขยายไป ทางกาย ทาง วาจา ปัญญาเหล่า นี้เป็น ปัญญาที่จะตับทุกข์ พ้น ทุกข์ ล่วง ละเมิดเป็นกายทุจริต วจี ทุจริต อีกอย่าง คือความรู้ความเห็น ในเรื่องอริยสัจจ์ลี่ ว่านี่ทุกข์ อะไรเป็นอกุศลมูล เราก็เข้าใจ ว่า โล ภะ ความโลภ โทสะ ต้องเข้าไปกำหนดรู้ทุกข์ ความรู้ความเข้าใจ ว่านี้คือเหตุเกิดทุกข์ ความโกรธ โมหะ ความ หลง เหล่า นี้เป็นอกุศลมูล ถ้า มีอกุศลมูล ตัณหาเป็นเหตุให้เกิดทุกข์ ต้องละ ให้ได้ แต่ บางคนไม่เข้าใจ คิด คือ รากเหง้า เหล่านี้ แล้ว ก็จะงอกอกุศล ทั้งหลาย ให้ เติบโตขึ้น ว่า จะดับทุกข์ต้องเพิ่มตัณหา มาก ๆ ความอยากมากๆ หาสิ่ง ตอบสนองความอยากมาก ๆ เสพมาก ๆ แล้วจะได้มี ความสุข เรื่อย ๆ ไป ยิ่งคนไม่รู้ ไม่เข้าใจ ปล่อยให้หนาแน่นขึ้น จิตใจ ที่ จะ จะหมดทุกข์ ถือว่านั่นเรา ไม่มีปัญญาที่จะดับทุกข์ เต็มไปด้วยอกุศลธรรม ต่างๆ ถ้าเราเข้าใจ จะมี ปัญญารู้ว่าตัณหาเป็นเหตุ ให้ เกิด ทุกข์ ปัญญา เข้าใจว่า อะไรเป็นกุศล เช่น มีศรัทธา ความเชื่อ (สมุทัย)ยิ่ง มากเท่าไหร่ ยิ่ง สร้าง ความ ทุกข์ให้เกิดกับเรา มากเท่านั้น ความเลื่อมใสเป็นกุศล มีเมตตาความรักความ ปรารถนาดี ความ เมื่อเราเข้าใจเหตุเกิดทุกข์ก็ ละ ได้ นอกจากนี้ ยัง มี ปัญญา เข้าใจ สงสาร ความ ปรารถนาช่วยเหลือ ล้วนเป็น กุศล ความละอาย ความ ถึงข้อ ปฏิบัติให้ ถึงความดับทุกข์ แล้วเจริญให้เต็มรอบขึ้นมา เกรงกลัว ต่อ บาป สติความระลึกได้ ปัญญาความรู้ตัว เหล่านี้ เป็นธรรมฝ่ายกุศล

รวม าสบ ท รรม ก า ร พั ฒ น า พุ ท ธ ภ า ว ะ อด อ เข้าใจว่า อะไรเป็น กุศล มูล ได้แก่ความไม่ โลภ ไม่โกรธ พระค กษมธรร ม ๆ ต ไม่หลง ล้วนเป็นรากเหง้าของ ฝ่ายกุศล ถ้า เรา มี ความไม่โลภ ความรู้ความเห็น ความเข้าใจเรื่อง ของไตรลักษณ์ ไม่โกรธ ไม่หลง ที่ จะเติบโตด้วยกุศลธรรม ต่างๆ ขึ้นมา เป็น เข้าไปรู้เห็นไตรลักษณ์ของรูปนามขันธ์ ห้า คือ เห็นรูปนาม เป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา นั่นเป็นปัญญา และความรู้ความ กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ที่เป็นบุญกุศล เช่น มี การให้ ทาน เข้าใจเรื่อง ปฏิ จจสมุ ปบาท ที่ พระองค์แสดงไว้ อะไรเป็นเหตุเป็น ผล เกี่ยวข้องกันไป ธรรมเหล่า นี้คือปฏิจส มุป บาท มีการรักษา ศีล เจริญ ภาวนา อ่อนน้อมถ่อมตน ช่วยเหลือ รวม ความว่าเรื่องของปัญญา มี ทั้งระดับโลกียะ โล กุตตระ ขวนขวายใน กิจการงาน เช่น คณะที่ จัดงาน นี้ ต้องช่วยกันเตรียม งานด้วย ความเสียสละ เพราะเข้าใจว่านี้เป็นความที่เป็นกุศล เป็น ประโยชน์ ก็ยอมเสียสละ กำลังกาย กำลังใจ ถือเป็นกุศลเกิดขึ้น การอุทิศส่วนกุศล การอนุโมทนาในความดีของ ผูอ้ื่น การ แสดง ธรรม การ ฟังธรรม การ ทำความเห็นให้ตรง ล้วนเป็นกุศล ซึ่งมีรากเหง้ามาจากกุศล มูล คือความไม่โลภ ไม่โกรธ ไม่หลง ไม่ประมาทใน การ กระทำ ความที่ ต่างๆ เหล่า นี้เป็นปัญญา

รว ม รส บ ท ธรรม ก า ร พั ฒ น า พุ ท ธ ภ า ว ะ ด พ ร ะ ค เก ษ ม ก ร ร ม ที่ ๓ การ พัฒนา ปัญญา หรือ พระโพธิสัตว์ ถือกำเนิด เป็นอำมาตย์ ใน เมืองพารา ณสี่ การ พัฒนา พุทธ ภาวะ มี ช้าง มงคลเชือกหนึ่ง ชื่อม หลา มุข เป็นช้าง ที่ ที่ฝึกมา ที่ มีระเบียบ ๖๘ 9 เรียบร้อย แต่อยู่มาวันหนึ่งเกิดผิดปรกติ จับ ควาญ ช้างฟาดตาย คนอื่นๆ ที่ ตายไป อีก หลาย คน พระราชา แปลกพระทัย จึงให้ ตาม ที่ประมวล มาจาก พระ ธรรมคำ สอน ของ พระพุทธองค์ อำมาตย์มาตรวจดูว่าเกิด อะไร ขึ้น ช้างจึง ผิดปรกติกลายเป็น ช้าง ยก มา แสดงไว้ ๕ ประการคือ ดุร้ายนิสัยไม่ดี ด . ปรโตโฆ สะ อำมาตย์ไปตรวจดู และ สอบถาม คน ข้างเคียง ในบริเวณ หมายถึง การมีสภาพ แวดล้อมที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือ โรง ช้าง ว่า มี อะไรแปลก ๆ เข้ามา ใน บริเวณ นี้บ้างไหม คนแถว กัลยาณมิตร สำคัญมาก ถ้าเรา ได้ พบ กัลยาณมิตร ที่ ดี จะ ส่งเสริม นั้นตอบว่า มัก มี พวกโจร มา ปรึกษาวางแผนกันใกล้ ๆ โรงช้าง ว่า ให้เรา มีปัญญาขึ้น เช่น การ ที่เราคบค้าสมาคมกับผู้ มีศีลมีธรรม จะไป ปล้นไปโจรกรรมเป็น ประจำ อำมาตย์ ได้ ฟังจึง ทราบว่า เรียกว่าสัปปุริสสังเส วะ คือ การเสวนากับ สัตบุรุษ ผู้ใด มาคบค้า สมาคมกับ คนดี ย่อมมีปัญญา มี คุณธรรมเกิด ขึ้น เพราะสิ่งแวดล้อมของ ช้างไม่ตื่ นี่เอง ไปใกล้ชิด กับ คน พาล ช้าง ตัวอย่างเรื่องสมัย พุทธกาล ยกเป็นตัวอย่างถึงความ จึงกลายเป็น ช้าง พาล สำคัญของ สิ่งแวดล้อม แม้แต่ สัตว์เดรัจฉานยัง คล้อย ตาม อยู่ จึง กราบทูล พระราชาให้ ทรง ทราบ เมื่อพระองค์ทราบ ใกล้ อะไร ที่เป็น อย่างนั้น แล้วจึงให้อำมาตย์ไปแก้ ปัญหา อำมาตย์จึงนิมนต์พระ สงฆ์ที่ มีศีล มีคุณธรรม ไปสนทนาธรรมกันใกล้ ๆ โรงช้าง พระสงฆ์ท่าน ก็ไป สนทนาเรื่อง คุณของศีล บ้าง คุณธรรมต่างๆ บ้าง เป็นอย่าง นี้ อยู่ หลายวัน ปรากฏว่า ช้าง กลับใจ เปลี่ยนนิสัย กลายเป็น ช้าง

รวม าสบ ท รรม ก า ร พั ฒ น า พุ ท ธ ภ า ว ะ โm พ ร ะ ครู เก ษ ม ก ร ร ม ๆ ต เรียบร้อย ขึ้น มา จึง ถือว่าสิ่งแวดล้อมมี อิทธิพลสำคัญ พระพุทธองค์ จึง ตรัสไว้ใน มงคลสูตร ว่า ๒. สุตะ “ อเสวนา จ พา ลาน การไม่ คบ คน พาล หมั่น ฟัง เรียนรู้ รู้จักสดับ ฟัง เล่าเรียนเขียน อ่านใน พระ bo สัทธรรม ให้มากให้บ่อย การ ฟังการ เรียนรู้ในธรรมที่ถูกต้อง เรียก ปณฑิตานญ ๆ เสวนา การ คบบัณฑิต ว่าสัทธรรม เสวนา เป็น เหตุ เป็นปัจจัยอีกข้อหนึ่ง ใน การพัฒนา ปูชา จ ปูชนียาน์ บูชาบุคคลที่ควรบูชา ปัญญาของ เรา เอตมมงคลมุตตม์ เป็นมงคลอันสูงสุด” ๓. ธรรมสากัจฉา อีกพระชาติหนึ่ง พระพุทธเจ้า ซึ่งเป็น พระโพธิสัตว์ เกิด การสนทนาธรรม แลกเปลี่ยนความ คิดเห็น ต้องหมั่น ใน ตระกูลอำมาตย์เป็นปุโรหิต มีม้า มงคล อยู่ดีๆ ม้าเดิน ขาลาก ไต่ถามซักถาม จะ เกิดความเข้าใจได้เร็ว ขึ้น สังเกตตัวอย่าง จาก พระราชาให้ หมอไป ตรวจ ดูสุขภาพม้าว่าสุขภาพ ดีทุกอย่าง แต่ ประสบการณ์ที่ได้ อบรม ญาติโยมเข้า กรรมฐาน อธิบายวิธีการ เดินขาลาก หมอ หา สาเหตุไม่ พบ จึงทรงให้ ปุโรหิตไปดู ว่าเป็น อย่าง ครบถ้วนเรียบร้อย แต่โยมไม่รู้ เรื่องไม่เข้าใจ ต้องเรียก มาถาม เพราะอะไร ปุโรหิตไปดูพบ ว่าคนเลี้ยง ม้า ขา พิการ จูง ม้าไปเลี้ยง มาสอบอารมณ์รายบุคคล ต้องให้เขา ถาม บ้าง ต้องตอบไปให้ ม้า นึก ว่า คนเลี้ยง สอนให้เดิน ขาลากแบบ นั้น มันจึงเอาอย่าง ปุโรหิต ทราบสาเหตุ จึง ไป กราบทูลพระ ราชา พระราชาจึง ให้เปลี่ยน ตรงปัญหาเป็น คน ๆ ที่รู้เรื่อง ฟังรวมๆ กันไม่ค่อย รู้ อาจรู้ บ้าง คนเลี้ยงม้าใหม่ เอา คนขาดีๆ มา เลี้ยง ม้า จึงกลับ เดิน ดี เดิน แต่ถ้า ได้ มีโอกาสโต้ตอบ ชัก ถาม สนทนา ความเข้าใจจะพัฒนาได้ ตาม ปรกติได้ เร็ว ขึ้น

รวม รสบท รรม ก า ร พั ฒ น า พุ ท ธ ภ า ว ะ m4 พ ร ะ ค เก ษ ม ก ร ร ม ที ต 4. โยนิโสมนสิการ เป็น อาจารย์ทิศาปาโมกข์ มีลูกศิษย์อยู่ ๕๐๐ ที่เมือง ตักกสิลา คือ การ ทำ ไว้โดยแยบคาย คือ การคิดอย่างถูกวิธี การ มีลูกศิษย์คนหนึ่งอยากเปลี่ยนชื่อ ชื่อ เขา ถูกล้อเลี่ยนอยู่เรื่อย ๆ พิจารณา การรู้จัก พิจารณา เป็นสิ่งสำคัญ บาง ที่เรา ฟัง แล้ว ก็ผ่านไป เขาชื่อว่า “ปาปกะ” แปล ว่า นายชั่ว จึง มา หาอาจารย์ให้เปลี่ยน ชื่อให้ ต อาจารย์ หรือ พระโพธิสัตว์ ก็ บอกให้ลองเที่ยวไปในโลก เราต้องเอา มา คิด พิจารณา พิจารณาอย่างไรให้ ถูก วิธี ดีที่สุด คือ คิดพิจารณา ตามคำ สอนของ พระพุทธเจ้า อย่าคิดเองเรื่อยเปื่อยไป กว้างดู พอใจชื่อไหนก็ มา บอก จะ ได้เปลี่ยนให้ตามนั้น ต้องเอาคำ สอน ของ พระพุทธเจ้า มาตั้งไว้เป็น หลัก แล้วคิด นายปาปกะ หรือ นาย ชั่ว จึงออก จากสำนัก อาจารย์ไป พิจารณา ไป ตามนั้น ใน สถานที่ต่างๆ เพื่อจะดูว่าชื่อ ไหนดี ชื่อไหนไม่ดี คราวหนึ่งไป ตอนแรกเรา อ่านเรา ฟัง อาจ ไม่รู้ เรื่อง แต่ถ้ามีหลักการ เจอคนกำลังหามศพมา นายชั่ว จึง ถาม ว่า คน ตาย ชื่อ อะไร คิดว่า จาก คำ สอน ของ พระพุทธเจ้าเราก็คิด พิจารณาตาม นั้น จะค่อยๆ เข้าใจขึ้น ปัญญาหรือสัมมาทิฏฐิจะเจริญขึ้นได้ต้อง อาศัย จะได้ไม่เอา ชื่อนี้ มา ตั้ง คนหามศพตอบว่า คนตายชื่อว่านายอยู่ นาย ชั่วนึก ในใจ ว่าชื่ออยู่ยัง ตายได้ โยนิโสมนสิการ เดินต่อไปเจอหญิง คน หนึ่ง ถูกเขา จับเมี่ยน เงี่ยนแล้ว ตัวอย่างเกี่ยวกับการเปลี่ยน ชื่อ เมี่ยนอีก นายชั่วเข้าไป ถาม นาง ว่าเกิดอะไรขึ้น นาง ตอบว่าเป็น มีชาดก เรื่อง หนึ่งที่เป็นตัวอย่างให้คิดพิจารณา อะไร ให้ หนี้เขา ไม่มีเงินใช้หนี้เพราะ ยากจนอยู่เลยถูกเขาเฆี่ยนตี แยบคาย จึง จะเกิดปัญญาขึ้น มา ในปัจจุบันมีหลายเรื่องที่เรา นายชั่วจึง ถาม ว่า “เธอชื่ออะไร” นางตอบว่าชื่อนางรวย ทำ ตาม ๆ กัน ไม่รู้ ว่า ผิดหรือถูก เช่น การเปลี่ยนชื่อ การ ถือทิศทาง มีเรื่องของ พระโพธิสัตว์ในสมัยอดีตชาติ ท่านเจริญเติบโตขึ้น มา นาย ชั่ว ก็ คิด ว่า ชื่อนางรวยยังเป็น หนี้เขาได้

รวม รส บ ท ธรรม ก า ร พั ฒ น า พุ ท ธ ภ า วะ โ พระค กษม รรม ๆ ต A เดินต่อไป พบ ชายชราเดิน วกวนอยู่ใน ป่า ซึ่งเข้าไป ถาม ว่า เดินวกวนอยู่ทำไม ชายชราตอบว่า หลงป่าอยู่หาทางออก ๕. ธั ม มา นุธั ม ม ปฏิบัติ ไม่ได้ นายชั่ว ถาม ว่า “ แล้วท่านชื่อ อะไร ล่ะ” ชื่อนาย ฉลาด คือ การปฏิบัติธรรมที่สมควรแก่ธรรม ตั้งแต่ (ปั ณ ณ กะ แปล ว่า ผู้ชำนาญทาง) นาย ชั่ว ฟัง แล้ว นึก อยู่ ใน ใจ - การ สำรวมใน ศีล ระวังรักษา กาย วาจา ใจ ของ เรา ในที่สุด นายชั่ว ก็กลับ มาบอกอาจารย์ว่า ไม่ต้องการ ให้เรียบร้อย เปลี่ยนชื่อ แล้ว เอาชื่อปาปกะ หรือ นายชั่วเหมือนเดิม นี่แหละ - การเคารพใน อาจารย์ สรุป ว่าชื่อนั้นสำคัญไฉน ปัจจุบันเห็นเปลี่ยน กันอยู่เรื่อยๆ - การปรารภ ความ เพียร บาง คน เปลี่ยนไป เปลี่ยนมาหลาย หน หากเราใช้ปัญญา พิเคราะห์ พิจารณาให้ดี ว่า มันเกี่ยวกัน อย่างไร ในเมื่อ มันเป็น - การเจริญสมถะ และวิปัสสนา เป็นต้น เพียงชื่อ ความสุขทุกข์ ความเจริญความเสื่อม ของคนเรา ขึ้น สิ่งเหล่านี้เราต้องเสริมขึ้น เช่น ปฏิบัติตน อยู่ในศีล การ อยู่กับการ กระทำ คือ กรรมที่ กรรมชั่วที่ตัว ทำ ไว้ เป็นสำคัญ ชื่อ เคารพอาจารย์นี้ ท่าน ก็แสดงไว้ว่าเป็นเหตุอัน หนึ่ง ถ้าเราเรียน รู้ เป็นเพียงสมมติ ตั้ง ให้โก้เก๋ แต่ไม่ ได้อำนวย ความสุขความเจริญ กับใคร แต่ไม่มีความเคารพเชื่อถือ ท่านเลย ก็เป็นการยาก ที่เรา ให้เรา ได้ ดัง ตัวอย่างใน ชาดก ทีเ่ ล่า มา จะเข้าใจ ใน ปัญญา ความรู้ ของ อาจารย์ เช่น สมัยนี้เด็ก นักเรียน ไม่ค่อยมีความเคารพครูบา อาจารย์เท่าไหร่ จึงเรียนหนังสือไม่ ค่อยรู้เรื่อง สมัยก่อน มีความเคารพมาก บาง ครั้งอาจารย์ ที่ น ทดสอบก่อน ให้ ทำ อย่างนั้นอย่าง นี้ ถ้า ศิษย์ มีความ เคารพ ปฏิบัติ ตาม จึง จะ รับเข้า มาเป็น ศิษย์

รวม รสบท รรม ก า ร พั ฒ น า พุ ท ธ ภ า ว ะ อด ความสำคัญของการพัฒนาปัญญา ที่ว่าธัมมานุธัมม พ ร ะ ค เก ษ ม ก ร ร ม ๆ ต ปฏิบัติ การ ปฏิบัติธรรมสมควร แก่ธรรมนั้น การ เจริญ สม ถ วิปัสสนากรรมฐาน ให้ เกิดความสงบเกิดปัญญา เป็น สิ่งสำคัญ มาก เช่น ต้องรู้สภาวะปรมัตถธรรมที่เป็นรูปธรรม นามธรรม ระหว่างปร มัต ถกับบัญญัติ ถ้าเรากำหนดไปที่รูปร่างกาย เป็น ปัญญาระดับนี้เกี่ยวคล้องกันกับสุต มยปัญญา จินตามย ปัญญา ส่วน วิปัสสนาเป็น ภาวนา ม ยปัญญา แต่อยู่ดีๆ จะ โดด ‫ہے کے لیے‬ มา ปฏิบัติวิปัสสนาเลย ก็ อาจ หลงเข้า ป่า อีกเหมือนกัน เรา ต้อง ฟัง แขนขาหน้าตา นี้ คือเป็นบัญญัติ ถ้าเป็นปรมัตถ์ก็ คือเป็นความรู้สึก คำ สั่งสอนของ พระพุทธเจ้า มา ก่อน เราไม่ใช่ระดับ พระพุทธเจ้า แค่ ฟัง แค่ นี้ ก็ไม่เข้าใจ หรอก ต้อง มา พิจารณา ตรวจ สอบ เรียก ว่า พระ ปัจเจก พุทธเจ้า ที่จะตรัสรู้ได้เอง เรา ต้องศึกษา ฟังคำ สั่งสอน มี โยนิโสมนสิการ ทำ ไว้ในใจให้แยบคาย จะค่อยๆ เข้าใจขึ้น จาก ซึ่งเกี่ยวโยงกับสุตตะ และ จิ น ตามยปัญญา แล้วจึง จะเข้าถึง ประสบการณ์ ของ การปฏิบัติ ภาวนา มยปัญญาโดยลงมือปฏิบัติ ประพฤติเจริญสติ ภาวนาใน ที่สุด การเจริญ สติ ให้เข้าถึง วิปัสสนา ต้องเข้าถึงสภาวะ การเจริญวิปัสสนา คือ การเข้าไปรู้เห็นสภาวธรรมตาม บางคนเข้าใจดี ถึงสภาวะ ของ กาย แต่สภาวะ ทางใจกำหนดไม่ได้ ความเป็น จริง ซึ่งเราต้อง อาศัยการ อบรมเจริญ สติ อยู่เสมอ ลองให้ทุกท่านทำความเข้าใจสั้นๆ ใน เวลานี้ ว่าจะสามารถเข้าใจ ได้ หรือไม่ ระหว่างบัญญัติและปรมัตถ์ บัญญัติคือส่วนที่เป็น ตามดู รู้เท่าทัน กาย เวทนา จิต ธรรม ฟัง ดูว่า อะไรเป็นสมมติ สมมติ เป็นของปลอม ซึ่งโดย เนื้อแท้แล้วไม่ เป็นความจริง อะไรเป็นสภาวะ บาง ครั้ง ฟังอย่างเดียว ยังไม่เข้าใจ ต้องเอา มา ส่วนปรมัตถ์คือสภาวธรรมชาตินั้น เป็น สิ่ง ที่มี อยู่เป็น อยู่ จริงๆ คิด พิจารณา โดย อาศัยโยนิโสมนสิการ

รวม าสบ ท รรม ก า ร พั ฒ น า พุ ท ธ ภ า ว ะ โ me พ ร ะ ค เก ษ ม ก ร ร ม ๆ ๆ ลองปฏิบัติเอง ทันที สติที่รู้ความรู้สึก ที่มือ ที่ สามารถกลับ มารู้จิตใต้ จิตรู้ จิต ทุก ท่านในที่นี้ลองกำมือไว้ ข้างหนึ่งแน่นๆ แล้วเอาใจส่ง ๒๘ ไปสังเกตความรู้สึก ที่มีอว่ารู้สึกอย่างไร มี ความร้อนไหม มี ได้เรียก ว่า สติรู้ จิต หรือ ผู้รู้ตผู้ รู้ ความ ตึงไหม มีความ แข็งไหม นี่คือสภาวะปรมัตถ ธรรม ถ้าเรา ขบวนการ ของจิตใจ จึง สามารถ แยก ได้เป็น ๓ อย่าง ลอง คิดถึงรูปร่างมือ ดูชิ หลับตา นึกถึงรูปร่าง มือ นึกออกไหม ด . ความ คิด รูปร่างนั่นคือบัญญัติ จิตสแกนรูปขึ้น มาโดยอาศัยสัญญาความจำ us เป็นมโนภาพในใจ เรียก ว่า อรรถบัญญัติ เป็นบัญญัติ โดยรูป ๒. ความ รู้สึก ร่าง สัณฐาน n. สภาพ ที่เป็น ผู้รู้ วิปัสสนาต้องเข้าใจ รู้ถึง สภาวะ ที่เป็น จริงเข้าถึง ความรู้สึก ๑. ความคิด ‫روو‬ กำหนดง่ายไหม ระลึกได้ไหม คิดเรื่อง นั้น คิดเรื่องโน้น ต่อ มาลองสังเกตใจ บาง คนให้ หา จิต ผู้รู้หาไม่เจอดูไม่ ออก คิดไปเรื่อง ต่างๆ ระหว่างความคิดกับเรื่องราว ต่างๆ อันเดียวกัน ท่านลอง เอามือยึดไว้ ไกล ๆ แล้ว สังเกตไป ที่มือ ที่ตึงๆ แล้ว ถาม ไหม อะไร ไป หาอะไร เรื่อง มา หาใจ หรือใจไป หาเรื่อง ใจเราไป หา ‫ہےو‬ เรื่องอยู่เรื่อย ๆ ใช่ไหม เรื่องอยู่ที่ไหนก็ไม่รู้ ใจไป หาเรื่องเอง ตัวเองว่า มีแต่มือที่ตึงๆ นี้ หรือ มีอะไร อีก ที่ไปรู้มือ มีอรู้ มือได้ ไหม มีตัวรู้ มีสภาพรู้ไป เจอไหม (ไม่เจอก็ ช่วยไม่ ได้ แล้ว) ลองดูว่า ระหว่างระลึกให้ระลึก ที่ไหน ระหว่างเรื่องกับใจ ให้ดู ที่ใจ ระหว่างมือที่ตึงๆ กับใจที่ มีอยู่ไหม ถ้ารู้ นั่นคือสภาพของ จิตที่ ให้รู้ ที่ใจ เรื่องราว ต่างๆ เป็นสมมติ ระหว่างคน สัตว์ สิ่งของ ‫رووو‬ การงาน อดีต อนาคต แต่จิตที่เข้าไปรู้เรื่อง เป็นสภาวะ เป็นธาตุรู้ เป็น ผู้รู้ผู้ต ที่ไปรู้ที่มือแสดง ว่าจิตมีสติอยู่ เรียก ว่านึกคิด การรู้ความ นึกคิด เรารู้ให้มันหยุดคิด หรือรู้ไปเฉยๆ

รว ม รส บ ท กรรม ก า ร พั ฒ น า พุ ท ธ ภ า วะ n4 ‫وو‬ พ ร ะ ค เก ษ ม ก ร ร ม ๆ ๆ รู้ไปเฉยๆนะ แต่เวลาเราปฏิบัติเราชอบบังคับให้มัน หยุดคิตอยู่ร่ำไป ไปเฉยๆ มัน จะเปลี่ยนแปลงให้เห็น ให้ เกิดปัญญา เหมือน เราไป ดูเขากำลังเล่น กัน ตีกันวุ่นวายกัน เราอย่า ไป อยู่ใน กลุ่มที่เขา แล้วเป็น ยัง ไง วุ่นวายใจไหม เครียดไหม ก็สมควรแล้วล่ะนะ กำลังวุ่นวาย เรา ก็แยก ตัว ออกมา ข้างนอก แล้วดู เขา ดูเรา รักษา พระพุทธเจ้าสอนไว้ให้ ปล่อยวาง ไม่ให้ ยินดียินร้าย ธรรม ‫روو‬ ho ใจเรา ไว้ด้วย ทั้งหลายไม่ ควร ยึดมั่น ถือ มั่น ต้อง จำ ไว้เป็นหลักการสำคัญ การดูใจ ที่ ฟัง เหมือนเรา แยกตัวมาดู ต่างหาก ว่า ฟังก็ ๒. ความรู้สึก ‫برومو‬ เช่นรู้สึก พอใจ ไม่ พอใจ ฟัง ซ่าน ท้อถอย เบื่อหน่าย เร่าร้อน อย่างหนึ่ง นะ ส่วนผู้รู้กี่ อย่างหนึ่ง วางเฉยอยู่ เป็นอกุศลธรรม แต่ก็ มีประโยชน์เพราะ ช่วยให้เกิด สติปัญญา เมื่อ นอน สติระลึกรู้ ถ้าเกิด ฟุ้งซ่าน แล้ว สติระลึกรู้ความ ฟัง ความไม่ m . ผ รผด สบายใจ นั้น ก็ถือว่าเรากำลัง พัฒนาปัญญา ที่จะ ก้าวไปสู่โลกุ ตตระ ขข ข เวลา ฟุ้งซ่าน กำหนดรู้ความ ฟุ้งซ่าน ถามว่ากำหนดรู้ กำหนดได้ ยาก กว่า อย่างอื่น แต่ ถ้า เราไม่ ฝึกให้เป็น จะ สักแต่ว่า รู้ หรือกำหนดให้ มัน หาย ฟัง ต้องกำหนดรู้ สักแต่ว่า รู้ มีปัญหา คือ นัก ปฏิบัติ ที่ฝึก จิตไปถึงระดับหนึ่ง คือมี สมาธิสงบนิ่ง หรือปล่อยวางเฉยไม่ว่าอะไร แล้วที่ทำ น่ะไปบังคับ มันอยู่ หรือเปล่า ว่าง แล้วไปต่อไม่ได้ จะไป อย่างไร ก็เห็น มี แต่ ความ ว่าง ความนิ่ง อยู่อย่างไรอย่างนั้น อยู่ในสมถะ คือความว่างเปล่าซึ่งถือเป็น บังคับ จะ ให้ หาย ฟังไม่ชอบ ฟัง ถือว่า มีอภิชฌา และโทมนัสเข้าไป สมมติอย่าง หนึ่งคือความไม่มีอะไร ต้องแก้ไขต้องกำหนดไปเฉยๆ ให้เห็น ว่า มันก็เปลี่ยนแปลง ถามว่าขณะที่ว่างเปล่ามี สิ่งที่เป็นความจริงอยู่ ไหม มี ผู้รู้ เหมือนกันนะ ฟังที่เป็นธรรมชาติอย่าง หนึ่ง บังคับ ไม่ ได้ ถ้า รู้มัน อยู่ใช่ไหม ถ้าไม่มีผู้รู้ว่าง แล้วใครจะมาตอบ ว่า นั่งแล้วฉันว่าง ใจว่าง แสดง ว่า มี ผบูั้รบู้ อยู่ขณะ นั้น ความว่าง เป็นสมมติ ส่วนสภาพ

รว ม รสบ ท กรรม ก า ร พั ฒ น า พุ ท ธ ภ า ว ะ ៣៩ พ ร ะ ครู เก ษ ม ก ร ร ม ต รู้ว่างเป็น ตัวสภาวะ ดังนั้น ต้องมี โยนิโสมนสิการ ระลึกสังเกตให้ ปล่อยวางคือ อะไร ตรง ต่อ สภาวะของสภาพรู้ ผู้รูใ้ นขณะนั้น แต่ อย่าไปเพ่ง มากค้น มาก บ บบ ทิ้งไปใช่ไหม นั่น เรียกว่าวาง ทิ้ง ทิ้งขว้าง ลักษณะ ของ จะเครียด ต้องรับ รู้ ดูเบา ๆ วิปัสสนาไม่ใช่ วาง ทิ้ง ไม่ สนใจ ไม่ เอา ไป เอาเรื่องอื่น แต่วิปัสสนา ทา เป็นเรื่องของ การ เรียนรู้ ถ้าเรา ไม่รู้ ไม่ดู จะเกิดปัญญา ได้ อย่างไร บางคนเวลาจะกำหนด จิต ทีไร ต้องมา ที่ ลิ้นปี่ มา ตรง ‫رو کےرو‬ ทรวงอก หนักเข้า จะ ปวดหัวใจ ไม่ ได้เจอ จิต แต่ไปเจอ บริเวณ รู้อย่างไร ความรู้ ที่ถูก ต้อง คือ เป็นความรู้ที่ปล่อยวาง บ้านของจิต (หทัยวัตถุ) เจอหัวใจที่เต้นๆ นั่นไม่ใช่ใจนะ ใจเป็น ‫نیرو‬ นามธรรมเป็นธาตุ รู้ เมื่อเรามีสติระลึกรู้ถึงจิตใจ ไม่ต้องไป นึกถึง สถานที่ที่ได้ จะได้ไม่ไปเกาะที่สรีระ เมื่อใดมี ความระลึก รู้ มี ความรู้ ทีร่ อดจาก ความยินดียินร้าย ความรู้ ที่ไม่มี ความยินดียินร้าย สภาวะใด ๆ ปรากฏขึ้น มา ที่ระลึกรู้ไปที่สภาพธรรมนั้น ๆ มันจะ อยู่ตรงไหน ก็เรื่อง ของมัน ไม่ต้องไปนึกถึงสถาน ที่ ความคิด เกิด ไม่มี ความทะยานอยาก ขึ้นมาก็รู้ ที่คิด ความพอใจไม่ พอใจเกิดขึ้น มา ก็รู้ สภาพรู้เกิดขึ้น ปรกติเมื่อเรารู้อะไร เราจะ มีตัณหาเป็นแรงยุใช่ไหม รู้แบบ ‫رو ہے‬ ยึด มั่น อยากมาก ก็ ยึด มั่น มาก ก็ หนักอก หนักใจ ไม่ สงบไม่เบา มา ก็รู้ สภาพรู้ เรียกว่า เป็นการดูถึงสภาพจิตใจ ซึ่งเป็นนามธรรม เพราะ มีตัณหาเข้าไปด้วย เมื่อเรา ฝึกไป ก็ให้มี สติ สัมผัส สัมพันธ์กันไป ในสภาพธรรม ทาง เราปฏิบัติมี เป้าหมายสูงสุดอยู่ที่นิพพาน อันเป็น กาย ทางใจให้เป็นไปด้วยกัน ด้วยความ ปล่อย วาง โลกุตตร ธรรม ซึ่งมีสภาพที่หลุดพ้น สิ้นอาลัยในตัณหา สำรอกกิเลส แต่เรา ก็มักเจริญตัณหา จะเอา ให้ได้ จะ ทำให้ได้ มัน จึงสวนทาง ดังนั้นเพียง แต่เรา ฝึก สติอย่าง ปล่อย วางให้เป็น จะ พบใจ ที่เบิกบาน ใสเป็นขึ้น มา การระลึกรู้ อย่างปล่อยวาง ไม่ว่า อะไร

รวม าสบ ท กรรม ก า ร พั ฒ น า พุ ท ธ ภ า วะ ៣ พ ร ะ ค เก ษ ม ก ร ร ม ท ต สิ่งนั้น ยังจะเป็นไป อย่างไร ก็ไม่ ว่า อะไร ยังจะต่อ ๆ ไปก็ไม่ว่าอะไร โดยดูอยู่เฉยๆ เช่น ยัง จะ ฟัง อยู่ก็ไม่ว่า อะไร ก็ดูไปเฉยๆ จะเป็น ถูกต้อง จะเป็นเหตุให้เราพัฒนาปัญญา ทั้งปัญญาในระดับ ไป อย่างไร ก็เป็นไป ผู้รู้ไม่ ว่า อะไร นั่นเป็น ข้อสำคัญที่จะทำให้ การ โลกิยปัญญาคือที่รู้เรื่องกฎแห่งกรรม รู้เห็นสภาวะรูปนาม เป็น no ปฏิบัติเข้า สู่ ความเป็นกลาง เกิดความพอดี เป็นเหตุเป็น ปัจจัย ไตรลักษณ์ จนกระทั่ง ปัญญา ที่เจริญ ขึ้นเข้าถึงขั้นโลกุ ตตระก็จะ ให้เกิดความเป็นกลาง เกิดปัญญาขึ้น ละ กิเลส ได้ ถ้าเราได้ สะสมเหตุปัจจัยที่ถูกต้อง ปัญญา ที่จะ ก้าวสู่โลกุ ตตรสัมมาทิฏฐิ จะเห็นความจริง คือเห็น สภาวะของความเปลี่ยนแปลง เกิดดับ จะเห็นสภาวะของ ร่างกายจิตใจ ว่าเปลี่ยนแปลงอยู่ทุกขณะ ความรู้สึกเย็นร้อน อ่อน แข็ง หย่อนตึง ก็ มี ความเปลี่ยนแปลง ส่วนสภาวะ ทาง จิตใจ เช่น ความคิด ความรู้สึก ความ ปรุง แต่งใด ๆ ก็ตาม มี ความ เปลี่ยนแปลงเกิดดับ หมดไป สิ้นไป ตลอดจน ทางตา ทางหู จมูก ลิ้น คือ การเห็น การ ได้ยิน การรู้กลิ่น การรู้รส มี การเปลี่ยนแปลง หมดไปสิ้นไป บังคับบัญชา อะไร ไม่ได้ นี่ เป็นปัญญาที่ เกิดจากการพัฒนา จากการที่ เรา พยายามฝึกจิตใจให้มีสติอยู่เสมอ และเจริญ สติ ด้วย ความที่เรา มีสุตะ ฟังให้เข้าใจ มีโยนิโสมนสิการ มีจินตามยปัญญาคิดพิจารณา

รว ม รส บ ท ธรรม ก า ร พั ฒ น า พุ ท ธ ภ า ว ะ ៣៨ พ ร ะ ค เก ษ ม ก ร ร ม ฑ ต ย์ พระ อาจารย์ตอบปัญหา ธรรม แต่อกุศลที่กำลังเกิดอยู่ เช่น ความ โกรธ ความไม่ คำถาม ที่ ๑ ถ้ามีความคิด อกุศลเกิดขึ้น แล้วตามรู้โดยไม่ ว่า สบายใจ ฟุ้งซ่าน ยังมี แรงผลักคือมีเหตุปัจจัยสืบต่อ อะไร จะเป็นบาปไหม เพราะความคิด อกุศลจะเกิด ความ จริงแล้วธรรมชาติมีการเกิดดับอยู่อกุศลที่เกิดดับ ขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่ง จะขัดกับคำ สอนที่ให้เพียร ละอกุศล เกิดดับ อย่างสืบ ต่อ เมื่อมีสติระลึก สติ กเข้าไป แทรก ตอบ เป็นคำถาม ที่น่า สงสัยใช่ไหม ว่าให้ละอกุศลแล้วทำไม สลับฉาก สลับฉาก ถ้าเรา มีสติต่อ เนื่อง ไปเรื่อย ๆ แรง จึงให้ระลึกรู้อกุศลเฉยๆ ไม่ทำให้ มัน หายไป ความ อกุศล ที่จะ สืบต่อก็จะหมด กำลัง จะ พบ ว่า อกุศลกรรม จริง การ ระลึกรู้อกุศล ด้วย การ ปล่อยวาง วาง เฉย เหล่า นั้น จาง ลง คลายลง หรือ หายไป ก็เป็นการ ละอยู่ในตัว แล้ว เวลาใดที่เจริญกุศลให้ เกิดขึ้น ขณะนั้น ก็เป็นการ ละอกุศล ในตัว เวลาที่มี ถ้าเรา ฝึก อย่างถูก ต้อง ปล่อยวางพอดีๆ มันจะ เป็นสติที่สมบูรณ์ไม่มีอกุศลเข้ามาเสริม ในทาง สติ ระลึกรู้อกุศลที่เกิดขึ้น เวลานั้นที่เกิดเป็นกุศล ตรงกันข้าม ถ้า เราระลึก อย่างไม่ ชอบ อยาก จะ สลับมา เพราะสติ เป็น กุศล เมื่อมีสติระลึกรู้ ระลึกรู้ สงบ อยากจะหาย เท่ากับเรา มี กิเลสเข้าไปเสริม กุศลก็เกิดขึ้น เกิดขึ้น อุปมา กิเลสอกุศล เหมือนไฟที่กำลังลุกไหม้ สติสัมปชัญญะ เหมือน น้ำ ที่เข้าไป ดับ ถ้า เรา จะ ดับไฟ แต่เราไม่ใช้ น้ำ อย่างเดียว เราเติมน้ำมัน เข้าไป ด้วย ดับ ได้ง่ายไหม ดับ ไหม ฉีด น้ำ บ้าง ฉีดน้ำมัน บ้าง การ ที่เรา มีสติเหมือนน้ำ แต่ ถ้าเรา มี อภิชฌา และโทมนัสเข้าไปแทรกเท่ากับเรา มีเชื้อเพลิง

៨ รว ม รส บ ท ธรรม ก า ร พั ฒ น า พุ ท ธ ภ า วะ nd เข้าไปด้วย เพราะฉะนั้นให้ระลึกอย่างไม่มีตัณหา พ ร ะ ค เก ษ ม ก ร ร ม ฑ ต อภิชฌาเข้าไป ระลึก อย่างไม่ ว่า อะไร เรา จะ พบได้ คำถามที่ ๓ เมื่อตามระลึกรู้อยู่ รู้สึกว่า จิตขุ่นมัวอย่าง หนัก ดิ้น ว่า กิเลส นั้นจะดับ จะ คลี่คลายไปเอง ยิ่ง เราฝึกดีๆ ต่อไป พอ ระลึก ปับ มัน จะ ดับให้เห็น แม้แต่ความโกรธ อย่างไรก็ ไม่ หลุด ต้อง ทำ อย่างไร พอระลึกรู้ ก็ดับไปทันที ตอบ ถ้า รู้สึกว่ากำหนดไปแล้ว ก็แพ้ ถูก เคลิ้ม ตัวจน ถ้าสติ มีกำลัง มีความคมที่ฝึก มา มากๆ ขึ้น ก็ จะดับ ไปทันที ใหม่ๆ ก็สังเกตเห็น ความ โปร่งเบา ความ ไม่ สามารถ ตาม ตั้งสติได้ เรา ต้อง ถอน ความรู้สึก เบา สบาย ที่ แทรกสลับเข้า มา ถ้า พิจารณาให้ ออกมา ระลึกรู้ดูเบา ๆ เพื่อ สร้างสัมปชัญญะให้ แยบคายก็จะเห็น ได้ ด้วยตัวเอง มากขึ้น ทำให้เกิดความรู้สึกตัว ทั่วพร้อม ทั้ง กาย คำถาม ที่ ๒ คำ กล่าวว่า “ความกลัวเป็น น้องๆ ของโทสะ ” ทั้งใจมาก ขึ้น ตั้งแต่เราลืมตาขึ้นมา ก็เจริญสติเรื่อยไป หมายความ ว่า อย่างไร คำถาม ที่ 4 การทำความรู้สึกตัวทั่ว พร้อม ทำ อย่างไร ตอบ ความ กลัวเป็นอกุศล เมื่อเกิดขึ้นจะเกิด พร้อมโทสะ มูลจิต ถือว่า อยู่ใน กลุ่มโทสะ ถือว่าเป็น ลูกน้องโทสะ ‫رورو‬ ก็ได้ เวลาเกิดขึ้น สภาพจิตขณะนั้นจะเป็นโทสะ ตอบ ต้องให้รู้ทั้ง กายทั้งใจรู้กายคือรู้ไปทั่วถึง กายทั้งหมด โทสะ ไม่ได้หมายถึงเฉพาะต้องโมโหโทโส อาฆาต ในความรู้สึกกายทั้งตัว จะมีความรู้สึกอยู่ ความเป็น พยาบาท แม้แต่ความขุ่น ๆ ใน ใจ ไม่ แช่มชื่นไม่ปรกติ ร้อน อ่อน แข็ง หย่อน ซึ่ง ไหว เรา พัฒนา สติให้ ก็ ถือเป็นโทสะ แล้ว ระลึกรู้ ถึงสภาวะของ กาย ทุกสัดส่วน ตลอด ทั้ง รู้ ใจด้วย ขณะ ที่กาย เคลื่อนไหวอยู่ที่มีใจ ที่รับรู้ สติต้องรู้ทั้ง กายที่ เคลื่อนไหว รู้ทั้งใจที่รับรู้ กายเคลื่อนไหว ใจรับรู้ กำหนดดู ทั้งรู้ ทั้งไหว ถ้ารู้ได้อย่างนี้ จะ เรียกว่าเกิด ความรู้สึกตัว ทั่วพร้อม

0 รวม รสบท ธรรม ก า ร พั ฒ น า พุ ท ธ ภ า วะ ระลึก คือ สติ พ ร ะ ค เก ษ ม ก ร ร ม ฑ์ ต รสก คือ สัมปชัญญะ คือ แทนที่จะเอา จิตส่ง ออกไป ที่ความว่าง ขยาย ออกไปอย่าง นั้น ก็พยายามให‫و้و‬รู‫ک้ر‬สึกกลับคืนขึ้น มา ให้ บ จิตรู้สึกตัวของมันเอง เหมือนถูกวนกลับ มา รู้ที่จิต มาดูที่จิต ตัว คือ กายกับใจ อีก ประการ หนึ่ง ที่เรา หา จิตไม่เจอ ก็อาจเป็นเพราะ ทั่ว คือ ทั่ว กาย หัวใจ ว่าเรา ไป ตั้งเกณฑ์ ไว้มากไป เรา จะไปช้อน สิ่งเล็กๆ พร้อม คือ ในปัจจุบัน รู้ พร้อมทั้งกายทั้งใจ ละเอียด ๆ แต่ ตะแกรงมัน ห่างไป เรานึกว่าวัตถุชิ้นนั้น คำถาม ที่ ๕ ถ้า ตกอยู่ในสภาวะรู้สึกเฉยๆ ว่างๆ ควรแก้ไข มันใหญ่ ๆ ก็ เลย หาไม่ พบเพราะมันลอด หนีไปหมด อย่างไร เหมือนกับเราดู จิต จะ ดูเหมือน ตูกายไม่ได้ หรอก กาย นี้ หยาบ ความเคลื่อนไหว ซึ่งหย่อนเวทนารู้สึกได้ ตอบ หัดรู้มาที่ใจผู้รู้ ที่รู้สึก สังเกตใจ ที่รู้ อุปมาเหมือนเรา มองท้องฟ้าออกไปว่าง ๆ เราคิดว่า มันเวิ้งว้าง ว่าง ง่ายกว่า แต่จิต ละเอียด กว่า นั้น ถ้าเราไป ตั้งเกณฑ์ ว่า จะต้อง ให้เห็น ชัด อย่าง นั้น ก็ลอดไป หมด เรา ต้อง เปล่าไป หมด ไม่มี อะไรเลย แต่ที่ จริง มีการมอง อยู่ (มีผู้ มองอยู่) ตั้ง เกณฑ์เสียใหม่ว่าจิตเป็นเพียงสภาพรู้ ความรู้ เช่นกันกับ การปฏิบัติ เมื่อ ใจเรารู้สึกว่าง ๆ นั่นมีผู้ สภาพรู้ละเอียด มาก การเข้าไปรู้ก็รู้ได้ นิดเดียวก็ ดูความว่างอยู่ สภาพที่ดูความว่าง เป็นจิต เป็น นามธรรม เป็นจิตที่ มีสติสัมปชัญญะ ซึ่งเป็นสภาวะ หมดไป หมดไป เราต้องตั้งเกณฑ์เพียง แค่นั้น รู้สึก ที่ มี การเปลี่ยนแปลงเกิด ดับ เรา ต้องหัดรู้สึกถึงสภาพ นิดหนึ่ง ก็ให้รู้ แค่ นั้น พอแล้ว ธรรม เหล่านี้

รวม รสบท รรม ก า ร พั ฒ น า พุ ท ธ ภ า ว ะ 44 พ ร ะ ค เก ษ ม ก ร ร ม ที ต คำถาม ที่ ๖ พระภิกษุ บวชใหม่ แม่ชีบวชมา ๒๐ พรรษา ภิกษุณีเจริญ ฌานสมาบัติ ได้ ชั้นสูง แล้วทำไม ไปขอบวช พระพุทธเจ้า ทรง ห้ามไว้ จึงไป ขอ พระ พระพุทธศาสนาสอนให้เคารพ พระภิกษุซึ่งบวชใหม่ อานนท์ให้ช่วยทูล ขอให้ พระพุทธเจ้า ก็ ห้ามไว้ ว่า ถ้า อนุญาตให้สตรี บวช จะทำให้ พระพุทธ ศาสนาอายุ ตอบ เป็น พุทธบัญญัติที่พระพุทธองค์ ทรงหวังความสงบ น เรียบร้อยในสังคม ใน หมู่คณะของผู้ ประพฤติ พรหม จรรย์ เพราะ พระองค์มี ญาณหยั่งรู้เหตุการณ์ ว่า สัน ลง พระ อานนท์ จึง ทูล ขออ้อนวอนโดย ถาม ว่า สตรี สามารถ บรรลุธรรมได้ไหม พระพุทธองค์ก็ ‫ہیرو‬ รับรอง ว่าสตรี สามารถ บรรลุธรรมได้ ในที่สุด พระพุทธองค์จึง ทรง อนุญาต ความวุ่นวายจะต้องเกิดขึ้น คนเรา ไม่ ได้ มีแต่ระดับ ผู้มีคุณธรรมมี ญาณปัญญา เท่านั้น ในยุคต่อๆ มา คำถาม ที่ ๗ ทำความดี ได้รับ ผลแห่งความดี แล้ว ติดใน ความ สุขนั้น สมควร หรือไม่ ก็ มี นักบวชที่เป็นปุถุชนเข้า มา เป็นผู้ไม่ ประพฤติดี ปฏิบัติ ชอบ จึงอาจก่อให้เกิด ความวุ่นวายได้ จึงต้อง ‫اروے‬ มีระเบียบ จึง ต้อง มีพุทธบัญญัติขึ้น ตอบ ความสุขเป็นสิ่งที่เกิดขึ้น ก็รู้ว่าความสุขเกิดขึ้น แต่ ในกรณีของ ผู้หญิง โดยปรกติพื้นฐานความอ่อนแอ ความ พอใจ ยินดีในความสุขเป็นกิเลส ความสุขได้ มี มากกว่า ผู้ชาย เราจะเห็น ว่า ผู้ ที่สะสม บารมีที่ จะ เป็น พระพุทธเจ้า ต้องเป็น ผู้ชาย ทั้งนั้น ที่ เช่น ปฏิบัติธรรม แล้ว จิตใจ มี ความ สุข มี ปีติ ต้อง ฝึก สติ พระนาง ปชา บ ดีโค ต มี พระเจ้า น้า ของ พระองค์ มา ทูล รู้ ละ สละ วาง จิตใจก็ ย่อม มีความสุข มีความ อิ่มเอิบ ขอบวช อุตส่าห์เดินทางด้วยเท้า เปล่า โกน หัว นุ่ง ผ่องใสได้ แต่ไม่ให้เรา ไป ติด ให้กำหนดรู้ ไม่ให้เพลิน ห่ม ผ้าเหมือน นักบวช พร้อมด้วย บรรดาหญิง บริวาร กับความสุขตัว นั้น เพราะความพอใจติดใจใน ความ สุข นั้นถ้าเราปล่อยให้ มีกำลัง มากขึ้น จะ ให้ ผลเป็น ความ ทุกข์ใจ เสียใจตามมา ยิ่งเรา ติด มาก

รวม รสบท รรม ก า ร พั ฒ น า พุ ท ธ ภ า ว ะ พ ร ะ ค เก ษ ม 1 ร ร ม ๆ ๆ เมื่อสิ่งเหล่านั้นเปลี่ยนแปลงไป ความเสียใจมาก ทำงาน วินิจฉัย ธรรมพิจารณา ธรรม จะทำให้ จิตตื่น ก็ตามมา ความใฝ่ฝัน ความอยาก จะได้ใหม่ ก็เกิด ขึ้น จากความง่วง หรือการทำใจของเราให้สว่าง หรือ บางคนไป ปฏิบัติธรรม เคย ได้รับความสุข ความสงบ เหมือนเรา อยู่ กลางแจ้งอยู่ที่สว่าง รวมทั้ง ท่านสอน พอปฏิบัติ ทีไรก็อยาก จะ ให้ได้ อย่าง นั้น เลยไม่ได้สัก ที่ ให้ เอามือลูบตัว เอา อะไร ยอน หู ลุกขึ้นล้าง หน้า เดิน เพราะจิตมี ความติด มี ความ อยากเป็น ตัว บงการ จงกรม หลักการ คืออย่า ปล่อยให้ความง่วง ครอบงำ หากเราปล่อยให้ ความง่วงครอบงำ นั่ง หลับ สัปหงก ทำให้จิตใจ ไม่ สามารถเข้า สู่ความ สงบได้ เพราะฉะนั้น มีได้นะ ความสุขความอิ่มเอิบความปีติ ต่อไปเรา นั่งที่ไร ก็ จะสัปหงกจะ ไม่รู้ตัว เราต้องคอย แต่ว่า ให้ รู้ ให้ วางใจ วางใจให้ว่าง อย่า เข้าไป ระวัง ตัว หลงใหลเพลิดเพลิน จน ลืม สติ หรือ ที่แนะให้ผู้ ปฏิบัติ ใช้กันอยู่คือ เวลา ง่วงให้ยกจิต คำถามที่ 4 วิธีกำจัด ความง่วงใน ขณะ ตั้งใจเจริญสติ ทำ อย่างไร มาไว้สูง ๆ เช่น ที่ ศีรษะ แล้วคอยระวังหัว ตัวเองเข้า ไว้ ตอบ ตูที่ พระพุทธเจ้าสอน พระ โมคคัล ลา นะไว้ พระองค์ ยก จิตมาไว้ที่หัวก็จะรู้หัวอยู่เรื่อยๆ หัวมันจะไป ก็ แผ่ พุทธนิมิตไปสอนไว้ หลาย อย่าง คือ การ คอยตั้งเอาไว้ ที่หัวไปเพราะเราไม่รู้ หัวตัวเอง จิตคอย สาธยาย ธรรม เช่น บทสวด ที่เรา จำ ได้ก็เอา มา ‫و‬ สาธยาย ลงต่ำ จึง ทำให้ง่วง จึง ต้องยกมาไว้สูง ๆ รู้ความรู้สึก หรือ การ พิจารณาใน หัวข้อ ธรรม เอา ธรรมะ มา ในสมอง และรู้ใจด้วย แล้วคอยระวัง หัว ไว้จิตจะตื่น ขบคิดพิจารณา จิต จะ มี การทำงาน เมื่อจิต มีการ จะ หาย ง่วง ใน ที่สุด

รวม รสบท รรม ก า ร พั ฒ น า พุ ท ธ ภ า ว ะ 46 พ ร ะ ค เก ษ ม ก ร ร ม ฑ์ ต คำถาม ที่ ๔ คนเรา ถ้า ไม่ อยากได้ ไม่อยากดี ไม่อยากมี ไม่ อยากเป็น ใน ทาง พระพุทธ ศาสนา ถือว่า เหมาะสม ที่เรามี เราเป็น ถ้าเราไม่มีสันโดษ ได้ อะไร มา ก็ไม่ พอใจ หรือไม่ การ งาน ทางโลก จะ ปฏิบัติ หน้าที่ได้หรือ รู้สึก ว่า มันไม่ดี ทั้งนั้น ตัวเรา ก็ไม่ ดี คน ข้างเคียง ไม่ดี บ้าน ก็ ไม่ ดีใจเราก็มี แต่ทุกข์ ยิ่งไม่ พอใจคู่ครอง ‫رو ہے‬ ของตนเองกลับไปพอใจ คู่ครองของคน อื่น ปัญหา ที่ยิ่งวุ่นวาย ไม่มีส ทาร สันโดษ ตอบ ก็ ต้องดูว่าความไม่อยากได้ไม่อยากเป็น อะไร เหล่า นี้ เป็นประเภท ขี้เกียจ หรือ เปล่า ประเภทเบื่อโลก ‫پی‬ ไม่อยากทำอะไร อย่างนั้นเป็นความเบื่อหน่ายแบบ แต่ คน มี สันโดษ ได้เท่าไหร่เขา ก็ พอใจ แต่ก็ขยันหมั่น มี กิเลส เป็นโทมนัสจิตใจ จ่อม จม กับ ความเศร้า เพียร ฝึก อย่าง ขันแข็ง ไม่ง อ มืองอเท้า พระพุทธเจ้า สอนให้ขยัน ขยัน หา ทรัพย์ รักษา ทรัพย์ คบ เพื่อนที่ เหงาหงอย รู้จัก ประหยัด แต่ ถ้าเป็น ความเบื่อหน่ายในสังขาร ว่า เป็น ทุกข์ เรา คำถามที่ ๑๐ การ ถวาย ทาน พระอรหันต์‫وی‬ร‫้ر‬อย ครั้ง ถวายทาน ต้องเพียร จะมี ความ เพียร ความขยันเกิด ขึ้น การ พระพุทธเจ้าร้อยครั้ง สู้ถวายสังฆทานครั้งเดียว ปฏิบัติ จะมี ความ มุ่งมั่น กล้าหาญ ฝ่าฟันเด็ดเดี่ยว ไม่ได้ เพราะ อะไร ในทาง โลก ทาง สังคม บางยุคเขาระงับไม่ ให้ สอนเรื่อง ตอบ เพราะให้ประโยชน์ใน ส่วนรวมได้บุญ มากกว่าให้ “สันโดษ” เพราะกลัว ว่า ประเทศชาติ จะไม่เจริญ ประโยชน์ แก่ ผู้เดียว ให้ หลาย คนก็ได้ ประโยชน์ หลาย คน ประโยชน์ขึ้น กับ ส่วนรวม เป็น ประโยชน์ ทุก คน จะง อมือง อเท้าไม่ พัฒนา ประเทศ เขาเข้าใจ ใน วงกว้าง ผิด ความ จริง สันโดษ คือ ความยินดี พอใจใน สิ่ง ที่เรา มีเราเป็น แต่ ยังขยัน หมั่นเพียร เต็มที่แต่ พอใจในสิ่ง

รวม รสบ ท รรม ก า ร พั ฒ น า พุ ท ธ ภ า วะ ‫للرو‬ พ ร ะ ค เก ษ ม ก ร ร ม ๆ ๆ พระสงฆ์เป็นผู้ สืบทอด พระพุทธ ศาสนา พระพุทธเจ้า พระ อาจารย์นำ เจริญ สติ ที่ มีอายุขัยชั่วระยะ หนึ่ง ถ้าไม่มี พระสงฆ์ ที่ไม่มี 40 พระพุทธศาสนาสืบมาถึงปัจจุบัน นี้ เพราะฉะนั้น พระ สงฆ์ ที่ปฏิบัติ ดี ปฏิบัติชอบ ถ้าไม่มีอุบาสก ให้กล่าว สมาทาน พระกรรมฐาน ดังนี้ “อุกาสะ ‫کے لیے‬ อุกาสะ ณ โอกาส บัดนี้ ข้าพเจ้าขอสมาทานซึ่ง อุบาสิกา ดูแลอุป ฐา กแล้ว พระ สงฆ์ก็จะอันตรธาน พระกรรมฐาน เพื่อขณิกสมาธิ อุปจารสมาธิ ‫موو‬ อัป ป นาสมาธิ วิปัสสนาญาณ และ มรรค ผล นิพพาน จะ พึง บังเกิด ขึ้นใน ขัน ธสันดาน ของ หายไปหมด คนก็ไม่ได้รู้จักพระ ศาสนา พระสงฆ์ที่ดีๆ ข้าพเจ้า ข้าพเจ้า จะตั้งสติไว้ ที่ปัจจุบันของรูป - ช่วย ออก มาเผยแผ่ พระศาสนาให้กระจาย กว้าง นาม สามหน และ เจ็ ต หน รอย หน และ พัน หน ขวางไป ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป เทอญ” ในประเทศไทย มี พระ โส นะกับ พระอุตระมา สององค์ ก็มา ประกาศศาสนา พุทธใน แดนสุวรรณภูมิ ไต้ พระ นั่งสำรวมกาย สำรวมจิตใจ ปรับ ท่า นั่งให้สบาย ตั้ง กาย สงฆ์จึง มีความสำคัญ พูดถึงบุญ แต่พระพุทธเจ้าที่ ตรงๆ มือ วางไว้ที่ หน้าตักสบายๆ ปรับสภาพร่างกายและ จิตใจ สูงกว่าอยู่แล้ว แต่ถ้าทำบุญเป็นวงกว้างก็เป็น ให้สบาย ทำ กายให้ คลี่คลาย ทำใจให้ ปล่อยวางอยู่ การปฏิบัติ ธรรมก็ เพื่อละ เพื่อสละ เพื่อ ปล่อยวาง ไม่ใช่เพื่อ จะเอา ให้ได้ หรือ ประโยชน์ วง กว้างแก่ มหาชน ทั่วไป เอา อะไร

รวม าสบ ท รรม ก า ร พั ฒ น า พุ ท ธ ภ า ว ะ ๕ 0 ปรับ พื้นฐานจิตใจ ให้ ดี ทำ หน้าที่ อย่างถูกต้อง ระลึกรู้ พ ร ะ ค เก ษ ม ก ร ร ม ที ต อย่างปรกติ ระลึกรู้อย่างสักแต่ว่า รู้ ไม่ว่า อะไร ไม่เอา อะไร มีสติ ระลึกสังเกตดูจังหวะ การสับเปลี่ยน สุดลมเข้า เริ่มลมออก ตามระลึกรู้สึกตัวทั่ว พร้อม สุดลมออก เริ่มลมเข้า ให้จิตใจเกาะอยู่ รู้อยู่กับลมหายใจ ใส่ใจ สังเกตการ ทำ หน้าที่ ของสังขาร คือ ร่างกายจิตใจ ปรับผ่อน ผ่อนระงับ ลม หายใจเข้าออกให้สบาย ให้ นุ่มนวล ของ ตนเอง ร่างกาย ตั้งไว้อย่างไร วางท่า ท ของแขน ขา ลำ ตัว ศีรษะอย่างไร ใส่ใจ ระลึกสังเกตอยู่ สบายๆ ระลึกรู้สบาย ๆ 4 พิจารณา ตามระลึก สังเกต ภายใน กาย กายที่นั่ง กาย ให้สละสลวยเมื่อเรา มีสติตามระลึกรู้อยู่ด้วยความเพียรเพียรตั้งสติ ลมหายใจเข้า ออก หายใจเข้าให้ระลึกรู้ว่า หายใจเข้า หายใจ ออก มีสัมปชัญญะ สังเกต พิจารณา อยู่ ละ ความ ยินดียินร้าย ออกไป ให้ระลึกรู้ว่า หายใจออก ระลึกใส่ใจสังเกตอย่าง ปรกติ สักแต่ว่าระลึก รู้ ไม่เข้าไปยินดี ยิน ตามดูรู้ ลม หายใจเข้า ลม หายใจออก ให้ ต่อเนื่อง กันไป ร้าย ด้วย ปล่อยให้ ร่างกายเขา หายใจอย่าง สบาย ๆ ไม่ ต้องไปบังคับ สังเกต ว่า หายใจอย่างไร ที่สบาย ก็ หายใจอย่างนั้น เมื่อมีสติตามรู้เท่าทัน อยู่ทุกขณะของการ หายใจเข้าออก ‫رو‬ จิต ที่ มีสมาธิเกิด ขึ้น จิตจะมี ความสงบ มี ความ สงบใจ เบาใจ ลม หายใจ ก็ค่อยเบา ลง น้อย ลง บาง ครั้งอาจรู้สึก ว่า หายใจเข้า ยาว หายใจออกยาว บาง ปล่อยให้ ลม หายใจเบา ลง น้อยลง ไม่ ต้องไปเร่งลม หายใจ ครั้ง ก็หายใจเข้าสั้น ออกสั้น ก็ให้กำหนดรู้อยู่กับลมหายใจ ตาม แม้ บางครั้งลมหายใจเหมือนจะหยุด นิ่ง ไป ก็ไม่ต้องตกใจ ปล่อย ดรูู้ทัน ขั้นตอนของ การหายใจ เริ่มหายใจเข้า กำลัง หายใจเข้า เฉยๆ สังเกตดูที่ความรู้สึก เดี๋ยวก็รู้สึกลม หายใจขึ้นมา ถ้าเรา เริ่ม หายใจ ออก กำลังหายใจออก สุด ลม หายใจออก ยัง มีชีวิตอยู่ ก็ยังมีลมหายใจอยู่ แต่มัน ละเอียด บางเบา เมื่อลมสงบระงับ สังเกต ดูความรู้สึก ใน ขณะ ที่หายใจ เข้า ออก จะ มีความรู้สึกซ้อนอยู่ ความรู้สึก ตึง หย่อนไหว กระเพื่อม

รว ม รส บ ท กรรม ก า ร พั ฒ น า พุ ท ธ ภ า วะ ๕. สะเทือนที่ทรวงอก ที่ หน้า ท้อง หายใจเข้ารู้สึกท้องตึงๆ หายใจออก พ ร ะ ค เก ษ ม ก ร ร ม ต รู้สึก หย่อนคลาย จะเป็น ที่ใบหน้า ตา ปาก คอ ในสมอง มีความรู้สึกเย็นบ้าง บ ถึง บ้าง หย่อนไหว สบาย ไม่สบาย ที่ลำตัวที่มีอยู่ ไม่ ว่า จะเป็นที่ รู้สึกมี ความไหวๆ มี ความกระเพื่อมสั่นสะเทือน ที่ทรวงอก ผิวหนัง กล้ามเนื้อ ในทรวงอก ใน ท้อง มีความรู้สึกตึง หย่อนไหว ๕๓ สบาย ไม่ สบาย ที่ หน้าท้อง แล้วสังเกตว่ามีความรู้สึกสบาย ความรู้สึกไม่ สบาย ที่มือ ที่ แขน ที่ขา ที่กิน ที่เท้า สัมผัสกับพื้นก็รู้สึก เมื่อหายใจเข้าออก จะมีเวทนาอยู่ หายใจเข้าไปรู้สึกสบาย ๆ ท้าย ๆ แค่ นแข็ง นั่งทับขาอยู่ก็รู้สึกตึงๆ มีเมื่อยมีปวดมี เจ็บ เรียก ว่า ก็เป็น ทุกข์ ทุกข์มากจน ทนไม่ไหว ก็ต้อง หายใจออก มา เป็นสภาวะ เป็น ธรรมชาติ ที่เป็น จริง ระลึก สังเกตให้ พบสภาวะ ‫و لی‬ ตรง ลักษณะ สภาวะ หายใจ ออก ใหม่ ๆ ก็ดูว่ายังค่อยยังชั่ว ทุกข์น้อยลง ฝึกการ ระลึก สัมพันธ์ให้เข้าไป ถึงจิตใจ ในขณะนี้ก็มีจิต ‫روپے‬ มีใจอยู่เป็นนามธรรม เป็นสภาพรู้ ให้สังเกตดูว่า เรา ไม่ ได้ มีแต่ สบายขึ้น ท้าย ๆ ก็ ทุกข์ มากทนไม่ไหว ก็ ต้อง หายใจเข้าไปอีก ฉะนั้น ร่างกาย แต่มีจิตมีใจที่รู้อยู่ด้วย ต้องสังเกตดูจิตใจ จะ มีลักษณะ การรับรู้ อารมณ์ แว่บไปแว่บ มา คิดไปเรื่อง นั้น คิดไปเรื่องโน้น ‫بولی‬ เมื่อมีสติรู้สึก สังเกตว่า มี ความนึกคิดอยู่ จะคิดไปเรื่อง อะไร ก็ตาม ชีวิตเป็นเรื่องทุกข์ต้องแก้ทุกข์กันอยู่ทุกขณะ ต้อง หายใจอยู่ ให้รู้ไปที่ความ นึกคิด ในความนึกคิดก็มีความปรุงแต่งอยู่ วิตก ตลอด เวลา วิจารณ์ วิจัย สงสัย พอใจ ไม่ พอใจ เกิดเป็น ความรู้สึก เป็น การสังเกตดู ความรู้สึก รู้สึกสบาย ก็ดี ไม่สบายก็ดี ความ ตึงๆ หย่อนๆ ไหวๆ เย็นๆ ร้อนๆ เป็นสภาวะ เป็น สภาพธรรม อาการ ขึ้นใน จิตใจ ที่เป็นจริง เป็น ปร มั ต ถธรรม ความตึง หย่อนไหวเย็นร้อน ที่เป็น รูปธรรมต่างๆ ความรู้สึก หรือจิตที่เข้าไปรับรู้ เป็นนามธรรม กำหนด พิจารณา ดูสภาวธรรม รู้ซึ้งทั่ว ทั้งกาย ขยายไป ทั่วตัวในความรู้สึกสังเกตดูว่า ทุกส่วนของร่างกาย เขา มีความรู้สึก

รวม รสบท ธรรม ก า ร พั ฒ น า พุ ท ธ ภ า ว ะ ๕ บางที่ ปรุง แต่งไป ก็รู้สึกไม่ สบายใจ ร้อนใจ ฟุ้งซ่าน พ ร ะ ค เก ษ ม ก ร ร ม ๆ ต หงุดหงิด ที่ระลึกรู้ บางคราวก็ปรุงแต่ง ไป ให้ เกิด ความสงบ ความ จิต เดิมผ่องใสอยู่ แล้ว แต่ที่ มีความเศร้าหมอง ขุ่นมัว เพราะมี ผ่องใส เลื่อมใส ศรัทธา เมตตา สงสาร ที่ ระลึก สังเกต อาการใน กิเลสจรเข้า มาแปดเปื้อน ครอบงำจิตใจ ราคะ โทสะ มานะ ทิฏฐิ จิตใจ สัมพันธ์ควบคู่กันไป ทั้ง ที่กายและที่จิตใจ มากลุ้มรุมจิตใจ โดยเฉพาะความอยาก ที่ครอบใจอยู่ เพราะฉะนั้น ‫مو‬ ฝึกใจให้รู้จักปล่อยวาง จิตจะคลายออกจาก ความทะยานอยาก จิตจะรู้สึกเบาขึ้น ทำใจให้ไร้อยาก จิต จะผ่องใส เบิกบานขึ้น เรียก ว่ารู้ตัวทั่ว พร้อม ระลึกรู้สึกตัวทั่ว พร้อม ระลึกคือสติ พร้อม กับการ มีความรู้เกิดขึ้น ใน การ พิจารณา สังเกตสภาพ ธรรมเหล่านี้ว่ามีความเปลี่ยนแปลงอยู่ หมดไป สิ้น ไป ตลอดเวลา ‫ورو‬ ความคิด ก็ ดับไป หมดไป ความรู้สึกสบายใจ ก็ เปลี่ยน รู้สึกตัวคือ สัมปชัญญะทั่วคือให้ทั่วกาย ทั่วใจ พร้อม คือเป็นปัจจุบัน แปลงไป ไม่สบายใจก็เปลี่ยนแปลงไป ความวิตกวิจารณ์ วิจัย เรา สามารถฝึกให้มีความมี สติรู้ พร้อม ทั้ง ทางกาย ทางใจ ไป พร้อม ๆ กัน สติ มีความ ว่องไว ความรู้สึก ทาง กาย ทางใจ สงสัย ที่ ผุดขึ้น ใน ใจ ที่ มีความดับไป หมดไป ความเป็นร้อน อ่อน เมื่อมีสติรับรู้ ดูสภาว ธรรมต่างๆ อยู่ ให้เติมความปล่อยวาง ไว้ด้วย แข็ง ซึ่งหย่อนไหว มี ความเสื่อมไปหมดไปสิ้นไป พิจารณาเข้า สู่ ในขณะที่สติรับรู้สิ่งใดก็ให้ปล่อย วางเสมอ พระไตรลักษณ์คืออนิจจัง ความไม่เที่ยง ทุกขัง ความเป็นทุกข์ ปล่อย วาง คือ ไม่ ยินดียินร้ายคือ การวาง เฉย การไม่ ทน อยู่ ใน สภาพเดิมไม่ ได้ และอนัตตา ความ บังคับบัญชาไม่ได้ ว่า อะไร สภาวะ จะเป็นไปอย่างไรก็ไม่ว่า อะไร การ ไม่ บังคับบัญชา เป็นจริงอย่าง นี้ทุกสภาวธรรม ไม่ใช่ตัวไม่ใช่ตน ไม่ใช่คน ต้อง ฝึกหัดจิตใจให้ รู้อย่าง ละวาง สัตว์สิ่งของ ไม่ใช่ เรา ของเรา กายนี้ที่ สักแต่ว่า กาย สักแต่ว่ารูปธรรม ถ้า ยังปล่อยไม่ เป็นก็สอนใจ ไป ก่อน คำสอนที่เตือนใจ คือ เวทนา ที่ สักแต่ว่าเวทนา มี ความหมด ไป สิ้นไป บังคับไม่ได้ จิตที่ สักแต่ว่าเป็น ธรรมชาติที่รับรู้ ที่หมดไปสิ้นไป ปล่อย วางนะ ไม่เอา อะไร ปล่อย วาง จิตจะค่อยๆ ปล่อยวาง จาก ความ อยาก ความ ยึด จิต จะ ผ่องใสใจ จะเบิกบาน ธรรมดา

รวม าสบ ท รรม ก า ร พั ฒ น า พุ ท ธ ภ า ว ะ ๕๑ พ ร ะ ค เก ษ ม ก ร ร ม ๆ ต ประคับประคองจิตให้รู้อยู่ ที่ตัว จะเห็นว่าจิตเป็น พิจารณา ธรรมทั้ง ภายนอก ภายใน เห็นความ หมดไป ธรรมชาติที่กวัดแกว่ง ดิ้นรนคอยส่งออก นอก คอย แว่บออก ไป ดับไปด้วยใจ ที่ปล่อยวาง สิ่งใด จะเกิด ก็ให้เกิ ต สิ่งใด จะตับ ที่ให้ตับ สติคอยระลึกรู้ไว้ เมื่อรู้ไว้ ก็กลับเข้า มาสู่ภายใน (พระ อาจารย์สอนให้ ท่องไว้เสมอ ๆ ว่า “อะไร จะเกิด ก็เกิด อะไร จะดับ ก็ดับ” ผู้เรียบเรียง) รู้ กายในกาย รู้เวทนา ในเวทนา หยุดรู้ ยอมรับ บังคับไม่ได้ หยุดใจให้ ไร้อยาก ที่สุดหยุด รู้จิตในจิต ใจ ไว้นิ่ง ๆ ไม่วิ่งตาม อารมณ์ หยุด หยุดรู้อยู่ ปรกติ รู้ธรรมในธรรม รู้ ละ สละวาง ว่างสบาย ตาม ดูรู้อยู่เนืองๆ จนจิตรวมตัวตั้งมั่น สมาธิเกิด ขึ้น จิต จะ สงบตั้งมั่น ในความสงบนั้น ให้ มีความรู้ตื่นอยู่ ภายใน พิจารณา ความอิ่มเอิบ ความสุขใจ ความผ่องใส พิจารณา ใจที่เป็นธาตุรู้ สภาพรู้ อยู่ นั่นคือการ ที่เรา พัฒนาจิตวิญญาณของเราให้มีสติ ปัญญา เป็นปัญญา แท้จริง รู้แจ้ง แทง ตลอ ตตามความเป็น จริง ว่า ทุกสิ่งเป็นเช่นนั้นเอง มี ความ เกิดขึ้น เป็นธรรมดา มี ความดับไปโดย ธรรมดา รู้แล้ว ยอมรับ ละวางยอมรับ ว่า บังคับไม่ได้ เป็นปัจจัย แก่ กัน หมดไปดับ ไป พิจารณาอยู่สั้น ๆ เป็นปัจจุบันชั่วขณะ มีรู้ มีละ ผสม กลมกลืน กันไป

รวม าสบ ท ธรรม ก า ร พั ฒ น า พุ ท ธ ภ า ว ะ ๕๐ พ ร ะ ค เก ษ ม ก ร ร ม ๆ ๆ ๕๘ ประวัติของ ท่าน พระครูเกษม ธรรมทัต พระครูอดุลธรรมประกาศ เป็น พระอุปัชฌาย์ (สุรศักดิ์ เขมรังสี) พระอธิการป่วน โสภโณ เป็น พระ กรรมวาจาจารย์ นาม เดิม สุรศักดิ์ เพิ่ง อาทิตย์ พระครูสำเริง เป็น พระอนุสาว นา จาร ย์ ภูมิลำเนา เดิม ต .นครหลวง อ .นครหลวง จ. พระนครศรีอยุธยา ได้ รับ ฉายา ว่า เขม ร์ส (ประทีปธรรม นำ ความ สงบ และ การ ศึกษา ปฐมวัย ระดับ ประถมและ มัธยมศึกษา ที่โรงเรียน หลุดพ้น) นครหลวงวิทยากร และโรงเรียน นครหลวง Us พิบูลย์ประเสริฐวิทย์, โรงเรียนอุดมรัชวิทยา การปฏิบัติธรรม บรรพชา /อุปสมบท ได้ปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ณ สำนักวิปัสสนานครหลวง เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2518 ณ วัด พร้าวโสภ ณาราม จ.พระนครศรีอยุธยา และวัดเพลงวิปัสสนา บางกอกน้อย กรุงเทพฯ ต .นครหลวง อ.นครหลวง จ. พระนครศรีอยุธยา ศึกษา พระ อภิธรรม ได้ศึกษา พระ อภิธรรม ณ อภิธรรมโชติกวิทยาลัย สามารถสอบ ได้ คะแนน สูงสุดของ ประเทศ และได้เป็น อาจารย์สอน พระ อภิธรรม ตั้งแต่ อายุ พรรษา ๓ พรรษา ได้ ศึกษาหาความรู้ จาก ครูบา อาจารย์ต่างๆ และ ปฏิบัติกรรมฐาน อย่างต่อเนื่อง และได้เปิดสำนัก ปฏิบัติธรรม วัด มเหยง ค ณ์

รวม รสบท รรม ก า ร พั ฒ น า พุ ท ธ ภ า ว ะ พ ร ะ ค เก ษ ม ก ร ร ม ฑ์ ต สมณศักดิ์ รายการ แสดงธรรม ทาง สถานีวิทยุ 5 ธันวาคม 2534 ได้รับ พระราชทานสมณศักดิ์เป็น สถานีวิทยุทหารอากาศ มีนบุรี คลื่น ๕๕๕ ระบบ พระครู สัญญาบัตร ชั้นโท โดยได้รับ พระราชทานนาม ว่า “ พระครู AM วัน จันทร์- วันเสาร์ เวลา 04.00-0๕.๐๐ น. bo ที่ อยู่ปัจจุบัน เกษม ธรรมทัต ” ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส วัด ม เหยง ค ณ์ ต .หันตรา 5 ธันวาคม 2540 ได้รับ พระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ อ. พระนครศรีอยุธยา จ. พระนครศรีอยุธยา ๑๓๐๐๐ เป็น พระครูสัญญาบัตรชั้นเอก โทร. 0-๓๕๒๔-๒๘๔-๒, ๐-๓๕๒๔-๕๓๓๕ การเผยแผ่ พระพุทธ ศาสนา วัดมเหยงค ณ์ • จัดปฏิบัติ วิปัสสนา กรรมฐาน ณ วัด มเหยงค ณ์ เป็น Wat Ma hea yong ประจำ ทุก เดือน • พระวิปัสสนาจารย์ ณ ศูนย์วิปัสสนา ยุวพุทธฯ เฉลิมพระเกียรติ จ.ปทุมธานี พระวิปัสสนาจารย์ ณ บ้านทรงไทย (ส.รวยเจริญ) ๑๗/๓ ม . ๓ ต. หัน สั ง อ .พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา โทร. ๐-๒๕๓๘-๙๓๓ ด • เป็นต้น

“ เมื่อใด บุคคล พิจารณา เห็นโลกเสมอ ด้วย หญ้า และไม้ ด้วย ปัญญา เมื่อ นั้นบุคคลนั้นย่อมไม่ยึดถือว่า เป็น ของเรา ย่อมไม่โศกเศร้า ว่า ของ เราไม่มี.....” ( ๔๑/๕๓๔ อธิ มุต ตเถร คาถา) คิดเป็นก็เห็น ธรรม พระ มหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี)

รว ม าส บ ท กรรม คิ ด เ น ก็ เห น ธ ร ร ม พ ร ะ ม ห า ? ฒิ ชั ย ว ชิ ร เมธี 54 เมื่อได้ยินเสียงระฆัง ดังขึ้น ขอให้ทุกคน อยู่กับลม หายใจ ขอเจริญพร ขอความสุขสวัสดิ์ จง มี แต่เรา ท่านทั้งหลาย ผู้สนใจใฝ่ ธรรมะ วันนี้อาตมภาพจะพูดถึง วิธีคิดตามหลัก พุทธ ธรรม (เสียง ระฆัง) เมื่อ เรา ทุก คน เจริญสติ นอกจากทำความเคารพ คิด เป็น คิดถูก คิดดี คิดมีประโยชน์ แต่ ก่อน ที่จะพูดถึง วิธีคิด ระลึกนึกถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ แล้ว อีก สิ่งหนึ่งซึ่ง อาตมภาพ ขอเจริญพร ทุกท่านได้ ยึด ตัวขึ้นมา ประสาน มือไว้ ที่หน้าตัก สำคัญมากคือ ให้ เราได้รู้เนื้อรู้ตัว คำ ว่ารู้เนื้อรู้ตัวคำ เดียวสั้น ๆ เรา จะทำตัวให้เป็น ภาชนะที่จะรองรับหยาดฝนแห่งพระ ธรรมคำ สอน นี้คือหลักใหญ่ใจ ความ ทั้งหมด ของพระพุทธศาสนา ‫نیرو‬ ถ้า มีใคร มา ถามว่า พระพุทธเจ้าสอน อะไร ตอบว่า ของ พระพุทธเจ้า ตัว อาตมภาพเองเป็นเพียงผู้สื่อสารเท่านั้นเอง พระองค์สอนให้รู้เนื้อรู้ตัว แค่ นี้จบ เมื่อเรารู้เนื้อรู้ตัวเราก็จะรู้ต่อ ‫لے لی‬ ไปว่า เมื่อฟังธรรมะเราควร จะ ฟัง อย่างไร แต่ ถ้าเรา ไม่รู้เนื้อรู้ตัว สิ่งที่จะไหล่หลั่ง ออกจาก ตัว อาตมภาพ หรือของ ครูบา อาจารย์อื่นๆ ในขณะฟัง ธรรม เรา ก็ จะ ปล่อยให้เสียงโทรศัพท์ ดัง อาจชวน ที่ ท่าน ทั้งหลาย มา ฟัง ธรรม เป็นธรรมะ ของ พระพุทธเจ้า ไม่ใช่ ของ เพื่อนคุย หรือ บางที่อาจติด ฟังออก ไป ข้าง นอก แต่ ถ้าเรารู้เนื้อรู้ตัว ครูบาอาจารย์ ท่านใดท่าน หนึ่ง เพราะฉะนั้นเราเพียง เป็นสะพาน เสียงธรรมะกับ โสต ประสาทของเรา อยู่ ที่เดียวกัน ท่านจะฟัง แห่งธรรม ก่อนที่เรา จะ ฟัง ธรรม เรา จึงควร ทำความเคารพ พระพุทธเจ้า พร้อม ๆ กับ การเจริญสติ พอเจริญสติเป็น สมาธิก็มา พอสมาธิมา พระพุทธเจ้า ทรง ยิ่งใหญ่อยู่ได้เพราะทรงสอนสติปัฏฐานสี่ เพราะ ความ เฉียบ คมทางปัญญาก็ เกิด ด้วยเหตุ นี้เวลา มีคน ฟัง ฉะนั้นจากนี้เป็นต้นไป เจริญพร ทุก ท่าน หลับตา.. พระพุทธเจ้าเทศน์ ใน ครั้ง พุทธกาล บาง ท่านบรรลุธรรมทั้งๆ ที่ ยืนฟัง บาง ท่าน บรรลุธรรม ทั้งๆ ที่นั่ง ฟัง เพราะอะไร เพราะ ท่านใช้ใจฟัง ใช้ โสต ประสาทรับ สัมผัสแต์ใช้ใจ ฟัง ถ้าเราใช้หัวใจฟัง เมื่อสติปัญญา บารมีมีเป็นพื้นฐานอยู่ พอสมควร

รวม าสบ ท รรม คิ ด เ น ก็ เห น ธ ร ร ม พ ร ะ ม ห า ? ฆ์ ชัย วชิร เมธี อาจ จะเข้าถึงอรรถเข้าถึง ธรรมทั้งๆ ที่นั่งอยู่บนเก้าอี้ นี่เอง นี้คือ ชาว เดนมาร์ก เรื่อง กามนิต-วาสิฏฐี กามนิต เหมือน เราท่าน อด เคล็ดลับ ที่คน มักถามว่า ทำไมครั้งพุทธกาลจึง มีคน บรรลุธรรม ทั้งหลายคือเป็น ผู้ครองเรือน แล้ว พบ กับ ปัญหา ชีวิตคู่ ทุกข์หนัก มากมาย เหลือเกินเมื่อฟังธรรมะจบ แล้วทำไมทุกวันนี้ คนที่ฟัง ธรรมเหมือน กัน จึง ไม่ค่อยบรรลุ คำตอบก็คือคนสมัยพุทธกาล หนา สาหัส ต่อ มาได้ยินข่าว ว่า พระพุทธองค์เสด็จมายัง บ้านเมือง ๖๖ ใช้โสต ประสาทรับเสียง แต่ใช้ หัวใจ ฟัง แต่คนทุกวันนี้ใช้หูฟัง แล้ว ปล่อยให้ผ่านออกไป ที่หูอีก ข้างหนึ่ง ฟังเหมือนกัน บรรลุเหมือน 9บ กัน คนสมัย ก่อนบรรลุธรรม แต่คนสมัยนี้ฟังแล้วก็บรรลุความ ของ ตน จึง อยากไปเฝ้า ตัดใจ ทิ้ง ครอบครัวทำตัวเป็น อ นาคา ริก สงสัยความ ฟุ้งซ่าน ไม่ถึงแก่นธรรม แต่ เวลาทุกข์ ถึงแก่น ทุกข์ ออก จาก บ้าน มุ่งไป หา พระพุทธองค์ ไปทุกหนทุกแห่ง วันหนึ่ง ทุก ที่ แปลก เวลาปฏิบัติธรรมตาม หา แก่นไม่ค่อยเจอ แต่เวลา ทุกข์ เขาได้ พบกับสมณะหนุ่มรูปงาม ท่านหนึ่งที่โรง ช่าง หม้อ ได้ ทุกข์เต็มเปา ทำไมจึง เป็นเช่น นั้น ก็เป็นเพราะเราไม่มีหลัก หลัก อย่าง หนึ่งใน การ ปฏิบัติก็ คือการคิด .. บางท่านอธิบายว่า ใน สนทนา กัน ตั้งแต่หัวค่ำ จนถึงตีสามตีสี่ แล้วแยกกันไป พักนอน การ ฝึกสมาธิ ภาวนาไม่มี การ คิด มี แต่ การ ตามรู้ จริงๆ แล้ว ศีล คนละมุม รุ่งเช้าเมื่อตื่นขึ้นมา กามนิตเห็นสมณะหนุ่มรูป นั้นยัง สมาธิ ปัญญา มันไป ด้วยกัน ไม่ใช่ใน วิปัสสนา ไม่มี ความคิด มี ความ คิด อยู่และสำคัญ มาก นั่งสมาธิ ตัวเขาเองไม่กล้ารบกวน จึงเดิน ออก จาก บ้านไป เดินไป ก่อนจะ พูดถึงวิธี คิต ตามหลัก พุทธธรรม ก็จะเล่าเรื่อง ได้สักครึ่งชั่วโมง วัว บ้าวิ่ง มาชวิตกามนิตหนุ่มก่อน ที่เขาจะ เรื่องหนึ่งให้ ฟัง หากเรา ท่านทั้งหลายเคยอ่านวรรณกรรมชั้นยอด ขาดใจ ตาย กลางถนน ขบวน ของ พระ สารีบุตรสวน ทาง มา พอดี ทางพุทธศาสนา ซึ่ง ประพันธ์ โดยนักเขียนชาว ต่าง ประเทศ คือ พระคุณเจ้า ถาม ว่า “โยมไป ยัง ไง มายัง ไง จึงมานอนถูก วัวขวิตอยู่ที่นี่ล่ะ” ชายหนุ่มในเรื่อง นี้ ซึ่ง มีตัวตน จริงๆ อยู่ใน พุทธประวัติ แต่นักเขียนจำลอง ชีวิตเขา ออก มาเป็น กามนิต ให้ คำตอบกับพระมหา เถระว่า “กระผมออก จาก บ้าน จาริกไป ทุกหนทุกแห่งเพราะอยาก จะเฝ้า พระพุทธองค์” พระ สารี บุตร ได้ สนทนา กับ กาม นิตแล้ว จึง นึกในใจ ว่า

รวม รสบ ท ธรรม คิ ด เ น ก็ เห น ธ ร ร ม พ ร ะ ม ห ๆ ฒิ ชัย ว ช ร เมธี “เอ๊ะ.. พ่อหนุ่ม คนนี้ ก็เดินทางออกมาจากบริเวณบ้าน ช่างหม้อ ที่ พระพุทธองค์ประทับอยู่บริเวณ นั้น ทำไม เขาจึงบอกว่าไม่ อะไร กลับออกไป ก่อน พบ ผู้ทรงธรรมมี ตอย่างไร กลับออกไป bo พบพระพุทธองค์” ไม่ถึงหนึ่งนาทีต่อมา กามนิตหนุ่มที่เสียชีวิต มี ตอย่าง นั้น เรา ท่าน ทั้งหลายไม่ ต่างจาก กาม นิต อยากพบพระ ‫بولے بی‬ พุทธองค์ แต่ไม่เคยศึกษา พุทธลักษณะ ไม่เคยสนใจภาพรวม ของ พระพุทธเจ้า มาก่อน ขบวนของพระสารี บุตรที่เดินทางไปเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ที่ บ้าน bo นายช่างหม้อ เล่าเรื่องที่ประสบ มา ให้ พระพุทธองค์ฟัง ดังนั้นวันหนึ่งเมื่อ พระพุทธองค์เสด็จดำเนิน มาเคาะ ประตู เรา ท่านทั้งหลาย ใน ฐานะ ที่เป็นชาวพุทธ จำนวน ไม่น้อย ทั้งๆ ที่เสด็จดำเนินมา ใกล้ ถึงเพียงนั้น เราก็ ยังไม่รู้จัก พระองค์ เช่น อยาก ศึกษาธรรมะเฝ้าแสวงหาวิธีทุกสิ่งทุกอย่าง ศึกษา อภิธรรม เดียวกัน หลายๆ คน ไปฝึกปฏิบัติวิปัสสนา กรรมฐาน กับ ครูบา ศึกษาบาลี ศึกษา พระไตรปิฎก ทัวร์ วัดไหว้ พระ ปฏิบัติ วิปัสสนา อาจารย์ ได้ พบ ครู ชั้นยอดแต่ ยังรับเอา ปัญญา จาก ครูไม่ได้ กรรมฐานทำ ถึงขนาด นี้ พยายามขนาดนี้ ทุกข์ก็ยังอัดแน่นเต็ม รับการ ถ่ายทอดไม่ ได้ เพราะ อะไร เหตุปัจจัยสำคัญที่สุด เราคิด หัวใจ คน ประเภท นี้เปรียบไป ก็เหมือนกามนิต เขา อยากดับ ทุกข์ ไม่เป็น เราปฏิบัติเป็น แต่คิดไม่เป็นก็ไม่ได้ เหมือนคนมีเงินไม่รู้จัก แต่ไม่รู้ ว่า จะ ดับ อย่างไร เขา อยาก พบ พระพุทธเจ้า แต่ไม่ เคย ใช้ ที่ ไม่ได้เงิน เหมือน สุนัขนอน ทับ กอง ข้าวเปลือก ก็ ไม่ได้กิน เรียนรู้ มาก่อนว่า พระพุทธเจ้านั้นทรงมี พุทธ ลักษณะอย่างไร ข้าวสารอยู่กับของมีคุณค่า แต่ไม่เคยเห็นคุณค่าเพราะว่า วิจารณ เขา อยาก พบ พระพุทธเจ้า แต่ไม่เคยเรียนรู้ มาก่อน ว่า ธรรม ที่แท้ ปัญญา นั้นไม่ลึกซึ้งไม่แยบคาย ในพระพุทธศาสนา มีภาพรวม หรือเอกลักษณ์เป็น อย่างไร อยาก ถึงแก่น แต่ไม่รู้จัก แก่น ก็ไปยึดเอาเปลือกเอากระ พื้มาเป็นแก่น จะทำ อย่างไร เมื่อเรา พบ ธรรมะ พบพระพุทธองค์ พบ เพราะฉะนั้น บาง ครั้งเมื่อ ได้ พบกับผู้ ทรงธรรม จริงๆ ได้ นั่งคุย ครูบาอาจารย์ชั้นนำทางจิตวิญญาณ เรา จึง จะ สามารถซึมซับ นั่งสนทนา บาง คน ได้ ทะเลาะกับผู้ ทรงธรรม เสร็จ แล้วก็ไม่ได้ เอาธรรมะจากท่าน เข้า มาเป็นธรรมะ ของเรา คำตอบคือเราต้อง มีโยนิโสมนสิการ คิด เป็น ศิตถูก คิ ตตี้ และคิต มีประโยชน์

รว ม รส บ ท กรรม คิ ด เ น ก็ เห น ธ ร ร ม W ร ะ ม ห า ฒิ ชั ย ว ช ร เมธี ความคิด คือ อะไร และ ทำ ชั่วนั้น ทุกข์ที่จะติดตามเราตั้งหนึ่งล้อเกวียนหมุนเวียน ความคิด คือ สภาวธรรมอย่าง หนึ่งใน ขันธ์ ห้า ภาษาธรรม ตามรอยเท้า โค นี้คือบทพิสูจน์ว่า จิต หรือความคิด เป็นนายของ เรียก ว่า “สังขาร” แปลตาม ภาษา วัด ว่า “ การปรุง แต่ง” คือการ ปรุง แต่ง ทาง จิต การ ปรุง แต่ง ทางใจ แปลให้เป็น ภาษาร่วมสมัย ว่า ทุกสิ่งทุกอย่าง เพราะ ความคิด หรือจิตนี้เป็นผู้กำหนดสรรพสิ่ง blo พระพุทธองค์ตรัสไว้ ว่า “จิตเตนะ นี่ยะติ โล โก ” แปลว่า โลก “ความคิด ” ความ คิดสำคัญ ขนาดไหน พระพุทธองค์ท่านตรัส หมุนไปเพราะความคิด หรือ แปลอีก อย่างว่า บรรดาโลก ทั้ง ไว้ ว่า ความคิด นี้เป็นนายของ สรรพสิ่ง ซึ่ง มีพุทธ พจน์ ที่ตรัส ไว้ ว่า หลาย จะเป็น อย่างไร ก็เพราะ ความ คิด ฝรั่งแปล ว่า “You are what “มโน ปุ พ พัง ข มา ธั ม มา มโน เส ฎ ฐา มโน ม ยา ” เป็นต้น แปล ว่า you believe” คุณเชื่ออย่างไร คุณคิดอย่างไร คุณก็จะใช้ชีวิต ใจเป็น ใหญ่ ใจเป็นประธาน ใจสำคัญที่สุด ทุกสิ่งสำเร็จ ได้ ด้วยใจ อย่าง นั้น ใจ ใน ที่ นี้คือความคิดสำคัญ ที่สุด หากว่าเราคิตตี้ หรือมีใจผ่องแผ้ว ความคิด คือ ผู้ ประเมิน ค่าของสรรพ สิ่ง ข การพูดการทำก็ดีตามเสมือนเงาตามตัว คนเรา ถ้าคิดชั่ว การพูด สรรพสิ่งจะมีคุณค่า มีความหมายต่อเราหรือ ไม่ ขึ้นอยู่ การ ทำ ของเรา มัน ก็ชั่ว ตาม เหมือนกับล้อเกวียนหมุนเวียน ตาม กับ ว่าเราคิดอย่างไร เช่น เพชร คือแร่ ธาตุ คือ หินชนิดหนึ่งแต่ พอความคิด ของมนุษย์ ทั่วโลก ไป ประเมิน ค่า ว่า หิน ชนิด นี้ที่เรียก รอยเท้า โด นี่คือ อิทธิพล ของ ความคิด ว่า เพชร เป็น สิ่งสูง ค่า คนก็ แย่งกันครอบครอง แต่สำหรับ พระพุทธเจ้า แล้ว เพชรก็คือหินก้อน หนึ่งไม่มีความหมายอะไร หากเรา คิด ดี มี จิตใจ ผ่องใส การพูดของ เรา ก็ดี การ ทำ เพราะ อะไร เพราะท่านอยู่นอกเหนือการประเมินค่า อาตมภาพ ของ เราที่ดี ผลจากการติตดี พูดดี ทำดีนั้น ความสุขที่ติดตาม เคย อ่านเรื่อง เรื่องหนึ่งซึ่งดี มาก เป็น นิทานปรัชญาเห็น มี ไว้สอน ตัว เราเป็นเงา ติดตาม ตนไป ทุกแห่งหน ใน ทาง กลับกัน หาก เรา คิดชั่ว ก็จะพูดชั่วและทำชั่ว และเพราะผลแห่งการคิดชั่ว พูด ชั่ว

รว ม รสบ ท กรรม คิ ด เ น ก็ เห น ธ ร ร ม W ร ะ ม ห า มิ ชัย ว ชิ ร เมธี ผู้ฝึกสมาธิวิปัสสนาเบื้องต้น ชายคนหนึ่ง ไป พบ หลวง พ่อ บอกว่า ‫رو می‬ “หลวงพ่อครับ ผมอยากได้ ของที่ที่อยู่ในย่ามของหลวง พ่อ ทุกข์มาก หรือ ทุกข์ น้อย เป็นเพราะ เราเข้าไปประเมินค่าสิ่ง ต่างๆ หลวงพ่อกล้วงเพชรให้เม็ดหนึ่ง พอได้เพชร มา แล้วกลับไป นอน ที่เราเข้าไปเกี่ยวข้อง เช่น ผู้หญิงคนหนึ่ง ทำให้ผู้ชายคนหนึ่ง บ คืน นั้นนอนไม่ หลับ ที่ เขา ว่า “มีทองเท่าหนวดกุ้ง นอน ต้องทุกข์แทบ ล้ม ประดาตาย ถึงขนาดว่าเกือบ อยู่เป็น คนไม่ได้ อยู่ บ้าน ต้องไป ฆ่าตัว ตาย แต่สำหรับผู้ชายอีกคนหนึ่งผู้หญิงคนนั้นไม่มี ๓ สะดุ้งทั้งคืน” ได้ เพชร มาแล้วก็ กลัว ขโมยขึ้น บ้าน คิดกังวลไป ความหมาย อะไร เลย เพราะอะไร เพราะผู้ชายคนแรกประเมินค่า ร้อยแปดพันเก้า ตื่นเช้า มา กลับไป หา หลวง พ่อ บอกว่า ผู้หญิงคนนั้น ไว้ สูงเลิศ แต่ผู้ชายคนหลังประเมิน ค่า แค่ให้เป็น “ หลวง พ่อ ครับ ผม เอา เพชรมาคืน” เพียงมนุษย์ธรรมดาคนหนึ่ง ที่ ผ่านมา แล้วผ่านไปเหมือนสายลม เมื่อไม่มี การประเมินค่า ผู้หญิงคนนั้นก็ ทำร้ายเขาไม่ ได้ “เอามาคืนทำไม ” ‫رو لئے ہے‬ “ผมอยากได้อะไรสัก อย่าง หนึ่ง จาก หลวง พ่อ ” เห็นหรือยัง ว่า ทุกสิ่งทุกอย่างทุกประสบการณ์ที่ห้อมล้อม “เธออยากได้ อะไร ” ชีวิตของเราอยู่ จะทำให้เรา ทุกข์ หรือ ทำให้เราสุข ขึ้นอยู่กับว่า “ ผม อยากได้ สภาพจิตใจ ของหลวง พ่อ ที่ ล้วง ลงไปใน ย่าม เราเอา ความคิดไป ประเมิน ค่า หรือไป ประเมินความสำคัญมัน คว้าเพชรให้ กระผม โดยไม่ อาลัยใย ที่เลย ผม อยากได้ ภาวะ จิตใจ มากหรือน้อย หากเราไม่ประเมินคุณค่าของสิ่ง ใดเลย สิ่ง นั้น ไม่ อย่าง นั้น ครับ” สามารถทำให้ เรา ทุกข์ นั่นคือ ภาวะ จิตใจที่ ทะลุสมบัติ ไม่ยึด ติด ใน สิ่ง ต่างๆ เห็น เคย ได้ยิน เรื่องราว ชาวสวนคน หนึ่ง เขา ปลูกสวน ทุเรียน หินเป็นหิน ไม่ใช่เห็นหินเป็นเพชร ฉะนั้นความสำคัญของความ คิดประการ ที่สาม คือความคิดประเมินค่าของสิ่งต่างๆ การที่ เรา คืนหนึ่ง พายุใหญ่พัดทุเรียนล้ม ทั้งสวน เช้า วัน นั้นเจ้าของสวน เข้า โรง พยาบาล สามเดือน ผ่านไป ลูก ๆ ฟื้นสวน ทุเรียนได้แต่

รวม าสบ ท รรม คิ ด เ น ก็ เห น ธ ร ร ม က ‫بولی‬ W ร ะ ม ห า มิ ชัย วชิร เมธี เจ้าของสวนลุกไม่ขึ้น เพราะล้มครั้ง นั้น เป็นอัมพฤกษ์อัมพาตเลย หายใจเข้า ท้องพอง หายใจ ออก ท้อง ยุบ ป่วยทั้งกายทั้งใจ สวน ทุเรียนล้ม สภาพจิตใจล้มเหลวตามไปด้วย ไปฝึกหายใจกับ พยาบาล มีอยู่วันหนึ่ง พยาบาลบอกว่า เพราะอะไร ? เพราะเขา ประเมิน ค่า สวน ทุเรียนว่า คือชีวิต จิตใจ เณร.. เณร หายใจไม่เป็น นะ เราโกรธเลย หายใจไม่เป็น จะ มีชีวิต ของ เขา เอง แต่คน ข้าง บ้านเห็นต้นทุเรียนล้มเขา ไม่ ทุกข์เลย อยู่ได้ อย่างไร อยู่มา จน อายุสิบเจ็ดนี่ ถ้า หายใจไม่เป็น จะเป็นคน 04 เพราะเขาเฉยๆ เพราะฉะนั้นความทุกข์ใน ชีวิตเราขึ้นอยู่กับ การ มา ได้ ยัง ไง พยาบาลแนะนำ ว่า “ ท่าน.. ถ้า หายใจเป็น ต้อง ประเมินค่า ใครเป็นตัว ประเมิน ค่า ตัว ประเมิน ค่า ก็ คือ ความ คิด หายใจ จาก กระ บังลม นะ หายใจ จาก ท้อง ไม่ใช่ หายใจ ที่ ต้น คอน ในหัวเรา นี้เอง ขึ้นอยู่กับตัวจิตของ เรา นี้แหละ นี้เป็นความ เพราะ หายใจไม่ เป็นน่ะ สิ จึง ต้องตะเบ็งเสียงพูดตลอดเวลา คนหายใจเป็นเขา จะ ไม่เหนื่อยเวลา พูดนะ ท่าน” สำคัญของ ความคิด พยาบาลก็สอนให้ หายใจ ก็ยังไม่เข้าใจ แถมยังโกรธเขา คน ทั่วไป คิด กันอย่างไร ด้วย ซ้ำ ไป ถือดี ยังไงมา สอนฉัน หา ว่า ฉัน หายใจไม่เป็น ยัง โกรธ เช้าวันหนึ่ง จะว่าเป็นเคราะห์กรรม หรือเป็นโชคดี ที่ได้ ชัก พา ให้ มี เรา ท่านทั้งหลาย นั่ง อยู่ใน ห้อง ประชุมนี้พัน กว่าคน คิด เหมือนกันไหม ไม่เหมือนหรอก บางคนอยู่มาจนกระทั่ง ถึง ตอนนี้ โอกาส ไปฝึกอบรมวิปัสสนา กรรมฐานอยู่ ที่วัดอัมพวัน จ.สิงห์บุรี อาจจะไม่เคยรู้ด้วยซ้ำ ไป ว่า คิดอย่างไร เราอยู่กับบางสิ่ง บางอย่าง มา ทั้งชีวิต แต่บาง ที่เราไม่รู้จักมัน ตอนอาตมภาพเป็นเณร น้อย เวลา สอง เดือนเต็ม เข้าไป ปล่อยเกาะชนิด ที่ เรียก ว่า ห้ามเยี่ยม เส้นเสียงอักเสบ เพราะสอนหนังสือเยอะ ตอน นั้นอยู่ ต่างจังหวัด ‫لیمو‬ วันหนึ่งไปรักษา เส้นเสียงอักเสบ ที่โรง พยาบาล พยาบาล บอกให้ ห้าม ประกันสองเดือนเต็ม แล้วเราก็ไปรู้จัก การ หายใจเป็นเอาที่นั่น หัต หายใจ “ยุบหนอ พองหนอ ” ซึ่งเรามอง ว่าเป็น คำ เล่น ๆ พอ หายใจเป็น เรารู้ว่านี่คือคำ ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดใน โลก หลวงพ่อจรัญท่านบอกว่า หนอ ละ ล้าน

รวม าสบ ท รรม คิ ด เ ป็ น ก็ เห์ น ธ ร ร ม က W ะ ม ห ๆ ฒิ ชัย วชิร เมธี ย หนอ ละ ล้านเชียวนะ เพราะอะไร ก็เพราะ พระพุทธเจ้า ตัวเองได้ เราก็เข้าใจคน อื่น เมื่อเข้าใจคนอื่นก็เข้าใจคน ทั้ง โลก ตรัสรู้เพราะ อย่างนี้ล่ะทำ อย่าง นี้พอฝึกสติปัฏฐาน เป็นเท่านั้นแหละ เหมือนเรา ไปตักน้ำเค็มจาก ทะเล มาหยดเดียว ดื่มเข้าไป อีก หนึ่ง นึกถึง ครูบา อาจารย์ นึกถึงโยม พ่อโยมแม่อยากกลับไปกราบ น้ำ ทะเล ที่ พัทยาเพิ่ม จาก นั้นไปดื่ม น้ำ ทะเล ทั่วโลก ไม่สงสัยเลย แทบเท้าเจ้าอาวาส กราบ ผู้อื่น มันก็ ไม่ สาแก่ใจ เพราะอะไร เพราะ ตอน ท่าน สอนเรา น่ะ มันไม่ซึ้ง จะซึ้ง ได้ อย่างไร สามเณรกำลังกิน รู้จักน้ำ ทะเล หยดเดียว เข้าใจน้ำ ทะเล ทั่ว โลก เห็นธรรมภายในใจ ตัวเอง ครั้งเดียว เข้าใจมนุษย์ทุกรูปทุก นาม ความทุกข์เป็นสิ่งสากล กำลังนอน ปลุกตื่น แต่ตีสี่สอนให้เดินจงกรมบนสนามหญ้า ทั้งๆ ความสุข ก็เป็นสิ่งสากล ธรรมะ ก็เป็นสิ่ง สากล เหมือนที่ พระพุทธ ที่เดินแล้ว ก็ หลับ ไป ใน ตัว เดิน ไป หลับ ไป วัน หนึ่งก็หลับในทั้งๆ ที่ เดินจงกรม หลวงพ่อเจ้าอาวาส ยืน ขวางอยู่ที่ไปชนหลัง ท่าน ก็ดู องค์ ทรงตรัสไว้ว่าเข้าใจใบไม้กำมือเดียว ก็เข้าใจใบไม้ หมด ทั้ง ป่า มันทำสิ มนุษย์นี้ ถ้ามันตั้งใจทำ มันก็บรรลุตั้งแต่ ตอนเป็นเณร แล้ว การที่เราเข้าใจ ธรรมะ ทั้งหลาย ทั้งปวง ก็เพราะเราเข้าไป ‫لے رو‬ ศึกษา เข้าไป ปฏิบัติ จนกระทั่งเข้าใจ ความ คิด มอง เห็น กระบวนการของความคิด แล้ววันหนึ่ง เราสามารถอยู่เหนือ ปล่อยให้ ยืดเยื้อเรื้อรัง มา จน อีกหลายปี กว่า จะ หายใจเป็น พอ ความคิดได้ ท่าน ทั้งหลายเคยอยู่เหนือความคิดไหม? หายใจเป็นแล้ว ซึ้ง มากอยาก จะร้องไห้ ไม่ใช่ร้อง ที่ริมขอบ ตา นะ อาตมภาพบรรยายธรรมครั้ง นี้ บน พื้นฐานของปริยัติ ร้องมา จาก ข้างใน จาก ศูนย์กลาง กาย จากก้น บึง พอเรา ไป หายใจ เป็น ที่นั่น เมื่อ มาเรียนปริญญาโทก็ไป ฝึกอีก เอาไปปล่อย รวมกับปฏิบัติ ไม่ใช่ไป อ่านหนังสือ แล้ว มา ท่องให้ ฟัง แต่เอา สอง อย่าง มารวมกัน เป็น ต้มยำธรรมะ คนทั่วไปคิดกันอย่างไร เกาะ อีก ๑ เดือน โน่น.. ดงพญาเย็น ที่ที่ทหาร ญี่ปุ่น ตายกัน เยอะ ๆ อาตมา ภาพสรุปได้ หลาย ข้อเหลือเกิน ใกล้ ๆ ทางรถไฟ สาย มรณะ ใกล้ๆ คลังแสง ทหาร ที่ ระเบิด ไปฝึกครั้งนั้น ก็ได้เข้าใจหลาย สิ่งหลายอย่างที่ค้าง คาอยู่ ในใจ รวมทั้งได้เข้าใจ ความคิดของ ตัวเองด้วย เมื่อเราเข้าใจ

d รวม าสบ ท รรม คิ ด เ น ก็ เห น ธ ร ร ม ကျ วิถี คิดของคน ทั่วไป W ร ะ ม ห า มิ ชัย วชิร เมธี ด. คิดฟุ้งซ่าน “ ถ้า งัน .. แก ห้ามขับ ผ่านถนน ฉัน นะ” “เอ้า.. ห้ามได้ไง ถนน มีไว้ให้รถ ผ่าน ฉัน ต้องขับ บนถนน ตัวอย่างสมัย พุทธกาล พระรูปหนึ่ง บวชแล้วเซ็งชีวิต พระมาก วัน หนึ่ง คิดจะลาสิกขาในระหว่างนั้นกำลังถวายงาน แกได้ สิ ” พัดให้ หลวงลุง พัดไปคิดไปว่า ลาสิกขา แล้วจะไปแต่งงาน แต่งงาน “ไม่ได้ เพราะ แก ยังไม่ให้ ฉันนั่งรถเลย” แล้วจะ มีลูก มีลูกแล้ว ถ้าลูกร้องไห้ก็ จะ ปลอบลูก ถ้า ปลอบ แล้ว เถียงกันไปเถียงกันมา ช ก ปากกันเลย เลือดกลบปากทั้งคู่ ทั้ง ที่ความเป็นจริง ทั้งคู่ยัง ไม่ ได้ซื้อสลากกินแบ่งเลย สลากจะ ไม่เงียบจะ ตีลูก คิดไป เอา พัดตีศีรษะหลวงลุง หลวง ลุงก็สะดุ้ง ถูก หรือไม่รางวัล ที่ยังไม่รู้ ถนนที่ ยังไม่ได้ ตัด รถก็ ยังไม่ ได้ ซื้อ มา ที่ ฉันทำไมก็เลยเป็นเรื่อง แต่เลือดออก แล้ว อีกสองคน เป็นคนยุคสมัยเรา นี่แหละ เดินผ่านแผงตลาด ๒. คิด ตามสัญชาตญาณ ถนน ราชดำเนิน เห็นสลากกินแบ่ง วางเรียง ก็ คุยกันว่า “ถ้าแก อาตมภาพไปต่าง จังหวัดมา มีเด็กกลุ่มหนึ่งไปเข้าค่าย ถูก รางวัลที่หนึ่ง แกจะทำ ยัง ไง ” อีกคนตอบว่า “ฉัน จะ สร้าง ปฏิบัติธรรม ๓ วัน เดิน จงกรม นั่ง สมาธิ แล้วปรากฏว่า เด็ก ถนนอย่างดี ตัด จาก ปากซอย มา ถึง บ้านฉันเลย แล้ว ถ้า แก ถูก ต่อ ย กันจน ตาย เพราะ อะไร เพราะว่า พระอาจารย์ฝึกเด็ก หนัก รางวัล ที่ หนึ่ง ล่ะ แก จะทำ ยังไง” เกินไป เอา กับข้าว วาง ข้างหน้า ทรมาน เด็ก หิวหนอ .. กลิ่น “ฉัน จะ ซื้อเม อ ซิเดชเป็น ” ส้มตำ ไก่ ย่าง ลอย มาโดยที่เด็ก ไม่มี พื้นฐานด้าน ปฏิบัติ มาเลย “แล้ว แก จะให้ ฉัน นั่งด้วยไหม” พระ อาจารย์ก็ บอก หิวหนอ เด็ก ก็น้ำลายสอ พอ ถึงเวลา ตักอาหาร “เรื่องอะไร จะต้องให้แก นั่ง” ด้วยความ หิว และไม่มีประสบการณ์ด้าน ธรรมะ กำลัง จะตก ส้มตำ

0 รว ม รส บ ท กรรม คิ ด เ ป็ น ก็ เห น ธ ร ร ม แต่เพื่อน มาลัดคิว จึงหันไปช กเพื่อนเลย แล้ว หมัด หนัก มาก หมัด W ร ะ ม ห า มิ ชัย ว ชิ ร เมธี เดียวเท่านั้น เพื่อน หลับกลางอากาศ โรงเรียน พาไปส่งโรง พยาบาล ไม่เว้นแม้ กระทั่งเลือดเนื้อเชื้อไขของตัวเอง และทุกวันนี้คนคิด อย่าง นี้ มาก ขึ้น ทุกที คืน ต่อ มา เด็กคน นั้นเสียชีวิตไป ปฏิบัติธรรมแล้ว ชก กัน ตาย ๓. คิด ตามการ บงการ ของ กิเลส ผลงานชิ้นโบว์ แดงของ พระอาจารย์ กิเลสใหญ่ๆ ระดับหัวหน้า พรรค คือ ราคะ โทสะ โมหะ ทำไมต้อง ช ก เพราะความหิว เมื่อหิว แล้วขาดสติ ควบคุม ตัวเองไม่ได้ เจ็บใจ ที่เพื่อน มา ตัดหน้าตักอาหารก่อน ที่เรียกว่า คิด ราคะระดับ ชาว บ้าน พระพุทธเจ้าเรียก ชื่อว่า โลภะ เมื่อต้นปีเคย ตาม สัญชาตญาณ การเอา ตัวรอด คือ ถูก ความ หิว กระตุ้น ให้ คิด อ่านหนังสือพิมพ์ลง ข่าวว่า ที่สี่แยกเกษตร มีขโมยคอย ตัก ซิงมือถือ ตาม ความ หิว ของ ตัวเอง อยาก ทาน ข้าว มี คน มา ตัดหน้า ก็เลย ช ก ‫رو لی‬ หน้าเพื่อน รายหนึ่งใช้มีดดาบวิ่งไล่ฟันเจ้า ทรัพย์ผู้หญิง คนนั้นถือ โทรศัพท์ ข่าวหนังสือพิมพ์เร็ว ๆนี้มีพ่อคนหนึ่งกระทำชำเราลูกสาว มือ ถือ ยืนรอรถประจำ ทางอยู่ ฟัน จน มือขาดใน มือนั้น ยังถือ เป็น พ่อกระทำ ชำเรา ถูกที่หนักหนา สาหัสแล้ว แต่ที่น่าสะดุ้งกว่า คือ ‫لے لی‬ ตอนที่ นักข่าวรายการโทรทัศน์รายการ หนึ่งสัมภาษณ์ ถามว่า โทรศัพท์มือ ถืออยู่ วิ่งหนี้แต่ตำรวจจับได้ ถามว่าทำไมคุณต้อง คุณเป็นพ่อทำไมจึงทำไม่ดีกับลูกสาว สิ่งที่คน ฟังสะดุ้งคือคำ ไปฟัน ที่ มือเขา เขา ตอบ ว่า ผมไม่เห็น มือ ครับ เห็น แต่ มือถือ นี่ ตอบของคุณพ่อ เขา ตอบ ว่า “ก็เป็นลูกผม ผมจะ ทำ ยัง ไง ก็ได้” มัน คิ ต ตามอะไร คิด ตามบงการของ กิเลส คือ ความโลภ ความ สะเทือนไหม นี่เป็นสัญชาตญาณการสืบพันธุ์ เขาคิตตาม สัญชาตญาณการ สืบพันธุ์ ถูกสัญชาตญาณดำ กฤษณา กระตุ้น โลภ บังตาแล้ว อะไรก็เกิด ขึ้นได้ เช้า นี้อ่าน หนังสือพิมพ์ ฉบับหนึ่ง เจอข่าว คิดตามกิเลส มีคุณปู่คนหนึ่งเป็นนายทหาร ยศ นาวาเอก อายุ ๘๐ ปี ตื่นแต่ เช้า มาจะไปตักบาตร เรียก ลูกชาย มา ให้ ขับรถไปส่ง ลูกชายไม่ไป บอกพ่อว่า เหนื่อยมาก เพิ่งกลับ มา ถึงขอนอน ก่อน ปู่บอกว่า ถ้า

รวม าสบ ท รรม คิ ด เ น ก็ เห็ น ธ ร ร ม W ร ะ ม ห า มิ ชัย ว ชิ ร เมธี ไม่ไปส่งกูยิง มึงนะ ลูกชายก็เถียงว่า คน เป็น พ่อลูกกัน เขาไม่พูด กันอย่างนี้ หรอก คุณปู่ ที่เป็นคุณพ่อโกรธมาก นอกจาก ไม่ พา ประดับยศนาย พลขนาด นี้ ใช้เวลาเท่าไหร่ ปกครองคนมาเท่า ไหร่ ไปแล้ว ยังมาเถียง ลูกชาย เดินหายไปหลัง บ้าน ไป หาเพื่อนบ้าน แต่ไม่ สามารถ ปกครองตัวเองให้รอดพ้น จาก ภัย คือความโกรธได้ ข้างเคียงเป็น พลเรือโท บอก ว่าคุณลุง ครับ มา ช่วย ห้าม พ่อผม เพราะ คิด ไม่เป็น S๓ หน่อย คุณลุงพลเรือโท ก็เข้า มาในบ้าน บอกว่า “คุณ ลูกมันเหนื่อย 4. คิด ตาม สภาพ แวดล้อม ให้ มันได้ พัก บ้าง ” คุณปู่ตอบ ว่าจะ มา ยุ่งเรื่อง อะไร ของชาวบ้าน ว่า แล้วคุณ พ่อวัย ๘๐ ก็เอาปืน จุดสามแปด ยิงลูกชายลูกปืนทะลุ d4 ไหปลาร้า ส่วนพลเรือโท ยืนไกล่เกลี่ยอยู่เบื้องหลัง ลูกปืนถูก คน กรุงเทพเห็น ชัดที่สุด เรา แก่งแย่งแข่งขันกัน ทำให้ ที่ หน้าผาก ล้ม ลง ขาดใจ ตายใน อีก ๒ ชั่วโมงต่อ มา พอ เห็น 44 เหตุการณ์เป็นเช่นนั้น คุณพ่อหรือคุณปู่อายุ ๘๐ วิ่ง กลับเข้าห้อง ต้อง ปากกัด ตีนถีบ อาตมภาพ เลิกขึ้นรถเมล์ก็ เพราะคนกรุงเทพ เอา ปืน กระบอก นั้น ยิง ตัว ตาย วัน นั้น ตาย 5 ศพ บาดเจ็บ สาหัส เป็นเณร น้อย ไปเรียนหนังสือ คัน ไหนเต็มเราก็ไม่ขึ้น มีอยู่วัน หนึ่ง ‫رو می‬ ที่ได้ขึ้นไป นั่งแต่กว่า จะ ได้ นั่ง หนักหนาสาหัสเหลือเกิน พอขึ้นไป ๑ คน นี่ คือ ข่าว หนังสือพิมพ์เช้าวัน นี้ ถึงที่นั่ง ที่เขาเขียนไว้ ว่า ที่นั่งสำรอง สำหรับ พระภิกษุและ สามเณร นี่คือ การติดตามบงการของกิเลส คิ ตตามโทสะ หรือ ความโกรธ เมื่อความโกรธ ครอบงำ แล้ว ต่อให้สติปัญญาเฉียบ มีคนจับจองอยู่ ไม่รับจอง ธรรมตา นะ เขาหลับ ด้วย เป็น หลับ แหลม ยังไงก็ควบคุมไม่ อยู่ สุดท้าย ก็ตกเป็น ทาส ของความโกรธ ต้องมาเสียชีวิต ด้วยเหตุ อันไม่สมควรอย่างนี้ นาวาเอกคนหนึ่ง การเมือง แล้วเราตัวเล็กๆ แค่ นี้ จะเอาอะไรไป ปลุกเขาล่ะ ขึ้นไป พลเรือโทคนหนึ่ง ถ้า มองว่า กว่าคน ๆ หนึ่ง จะ พัฒนาชีวิตขึ้น มา จน เรา ก็โหนต่องแต่ง น่าสังเวชตัว เองมาก ที่ ยืนจ้องอยู่อย่างนั้น แล้วคน ทั้งคันรถ ไม่มีใคร ช่วยเราเลยสักคนนะ ไม่ลุก เลย เพราะ 9บ ‫کو لےرو‬ อะไร เพราะ ทุก คนกว่า จะ ได้ที่นั่ง มากแทบเลือด ตา กระเด็นทั้งนั้น กระเป๋ารถเมล์เดินมาจาก ข้างหลัง ปลุกคนนั้นให้ตื่น แก ก็ งัวเงียตื่นขึ้น “ลุก.. ที่ นี่ ที่นั่ง พระ” กระเป๋า รถเมล์ ทำ เสียงแข็ง

รวม าสบ ท รรม คิ ด เ ป็ น ก็ เห น ธ ร ร ม “ ที่นั่ง พระ แล้วไง” แหม..ตอบ อย่าง นี้ลำบาก พระเลย นะ พ ร ะ ม ห ๆ ฒิ ชั ย ว ชิ ร เมธี เพราะคนในรถ ก็มอง ว่า พระเป็นตัวปัญหา แทนที่จะมองคนๆ นั้น ไม่เคยขึ้นรถเมล์ อีกเลย พระเดชพระคุณไม่อยากให้ สัตว์โลก ไม่ มอง นะ มอง มา ที่ พระ เลย เพราะอะไร ก็ ไม่เหมือนเขา เดือดร้อน นอกนั้นเขา เสื้อ ลาย สี่เหมือน หมดเลย เรา นี่ สีไม่เหมือนใคร เลย นี่คือคนกรุงเทพ คิดตามสิ่งแวดล้อม สังคมเร่งรัดบีบตัว ทำให้ เราต้องเห็นแก่ตัว ไม่เห็นแก่ มนุษยชาติ ไม่เห็นแก่ พระเถร A ตัวปัญหา มา อีก แล้ว เณร ใคร ดีใครได้ คิดกันอย่าง นี้ มา ตลอด กระเป๋ารถเมล์ก็บอก “ถ้า ไม่ลุก มีเรื่อง แน่” ๕. คิด ตามสิ่งเร้า เขา ตอบว่า “ ผม ไม่ สบาย” นี่เป็นภาษาจิตวิทยา ภาษาธรรมะต้อง ว่า คิด ตามสิ่ง “ ไม่ สบาย ทำไมไม่ไปโรง พยาบาล” ที่มายั่ว เรามีโทรศัพท์ มือถืออยู่ แล้ว เครื่อง หนึ่ง นั่งดูโทรทัศน์ เขา ตะโกน ว่า “กำลังไปอยู่นี่ไง” เห็น พรีเซ็นเตอร์ นำเสนอมือถือรุ่นถ่ายรูปได้ ก็ดึงของ เราขึ้นมา แหม.เตรียมเหตุผลไว้เลย ฉลาดมาก เขา มี ชุด เหตุผล ของเขา เรียบร้อยเอาไว้ ตอบเวลา คน ถาม แล้วพอ เป็น เช่นนี้ เปรียบเทียบ ฮ.ไม่ เข้าท่า แล้วรุ่น นี้ มีโทรทัศน์อยู่เครื่องหนึ่ง ทุกคนก็มอง เรา จอ ๒๐ นิ้ว อยู่ด้วยกันมา ๒-๓ ปี สัก พักหนึ่งเพื่อนบ้านซื้อ “เอ้าลุก ขึ้น.. ถ้าไม่ลุกผม ชกนะ” โทรทัศน์จอแบนรุ่นใหม่เข้า มา กลับไปมองโทรทัศน์ของตัวเอง สุดท้ายก็โซชัดโซเชลุกขึ้น ลุก แล้วก็มองกระเป๋ารถเมล์ ชักไม่เข้าท่า เห็นของใหม่ๆ ดีกว่า ทั้งที่ก่อน หน้า นั้นก็ไม่ทุกข์ เสร็จแล้วเราก็ไป นั่งตรงนั้น พอ เรา ไปนั่งแล้วมันก็ มองเรา ไม่พูด แต่เห็นของใหม่ตึกว่าจึง เกิดการเปรียบเทียบ ทุกข์เพราะ อะไร แต่ทำท่าอย่างนี้ ขนลุกเลย ตั้งแต่นั้น มาอยู่ กรุงเทพมา 4 ปีแล้ว ทุกข์เพราะ ทุกสิ่งทุกอย่าง มา ล่อ หูล่อ ตา คิด ตามสิ่งเร้า น อันตราย มาก ถ้าไม่เจริญสติ จะทุกข์ หนัก

อ รว ม รส บ ท กรรม คิ ด เ น ก็ เห น ธ ร ร ม เพราะอะไร อาตมภาพไป บรรยาย ที่ ต่างจังหวัด แห่ง หนึ่ง โรงเรียน พ ร ะ ม ห า วุฒิ ชัย ว ช ร เมธี หลังเขา เลยนะ มัน ตั้งอยู่หลังเขา จริงๆ ไม่ได้สำนวนนะ นักเรียน ๘00 กว่าคน ผูอ้ ำนวยการ โรงเรียน มา บอกว่า “ท่านครับ ผม 9. คิด ตามระบบ ความ คิด มีปัญหามาก เลย เด็กไม่ ตั้งใจเรียน เพราะ ผม สอนไปก็ได้ยิน เด็ก กดโทรศัพท์ มือ ถือ บ้าง เล่นเกมส์ บ้าง กดริงโทน บ้าง แล้วทุกคน นะ คือเชื่อ มั่นใน ศาสนา หรือลัทธิไหน ก็ตาม เราก็ คิด ตาม ทำ ตามนโยบายรัฐบาลหมดเลย หนึ่งคนหนึ่งมือถือ ถ้าไม่ ได้ ถือ ศาสนานั้น ๆ สอน เช่น ศาสนาบางศาสนาสอนว่าการที่ เราฆ่า มือถือไปโรงเรียนมันเรียนไม่รู้เรื่อง” เด็กมาบอก “อาจารย์.. อย่า ‫الملےرو‬ ไป ซีเรียสเลย เขาเรียก ว่า Telephone for education” เหตุผล คนไม่ บาป หรอก เพราะตัวคนแท้ที่จริง ก็เป็นธรรมชาติ อย่าง หนึ่ง มันเลิศ นะ โทรศัพท์เพื่อ การ ศึกษา ตัวคนไม่มี มี แต่ กระบวนการ ตาม ธรรมชาติ เพราะฉะนั้น ถ้าเอา ทุกวันนี้ พ่อ แม่จึงต้องจ่ายค่า โทรศัพท์มือถือแพงกว่า ปืนยิงคน ที่ แต่กระสุนลูกหนึ่งวิ่งผ่านธรรมชาติไป เอา ม ต ตา บ ไป จ่ายค่าเทอมลูกๆ ตื่นเช้าก่อนไป โรงเรียน ไม่ ทานอาหารเช้าแต่ ขอกาแฟหนึ่งถ้วย ทำไม ดื่มกาแฟแล้วรู้สึกมีรสนิยม ไป เอา ฟัน คอคน ขา ต ก็ไม่มี คน ตายเพราะสิ่งนั้นไม่ใช่คน แต่เป็น ธรรมชาติ ความเชื่อนี้มาจากโทรทัศน์ นี่คิตตามสิ่งเร้า ที่มา เร้า หูเร้า ตาเรา คน ที่เชื่ออย่าง นี้ ทำบาปโดยไม่รู้สึกผิด ได้และกำลังอันตรายมาก เจ้าโสต ประสาทของเรา แล้วเรา ก็เร้า ตาม มันไป แม้แต่หญิง จะ บางศาสนาสอนไม่ให้ไหว้ พ่อไหว้แม่ สอนไม่ ให้เคารพใน พระคุณ คบ กับ ชาย ผู้ชายดีๆ ไม่ชอบเพราะ มัน ไม่ เร้าใจ เป็นอย่างนั้นจริงๆ พ่อพระคุณ แม่ เพราะเขาอธิบายว่า ที่เธอเกิดเป็น คน มา พ่อแม่ นี่คือโลกของวัยรุ่นไทยส่วนใหญ่ ไม่ได้ ตั้งใจให้เกิด หรอก พ่อแม่แค่อยู่ด้วยกัน สนุกสนานไป ชั่ว ครั้ง ชั่วคราว แล้ว บังเอิญ มีเธอหลุดออกมา เพราะฉะนั้น พ่อแม่ไม่มี บุญคุณอะไร เชื่อ ไหมว่าคำ สอนแบบ นี้มีอยู่ ในโลก และมีเด็กๆ เชื่อด้วย พอเชื่อ แล้วก็ คิดแบบนี้ทำ แบบนั้น ไม่เคารพไม่เชื่อฟัง คุณ พ่อคุณแม่ นี่ คือ วิธีคิด ตามระบบความคิ ตโดย ติดตามความเชื่อ คิ ต ตาม ลัทธิ นิกาย

รวม รสบท รรม คิ ด เ น ก็ เห น ธ ร ร ม พ ร ะ ม ห ๆ ฆ์ ชั ย ว ชิ ร เมธี ๗. คิด ตามทฤษฎี สิบครั้งกว่า จะยอมความกัน ได้ เพราะการพูดนั้นเป็นการหมิ่น คนที่เป็นนักการตลาด มา ฟังพระ พูด โอ้โฮ พูดดีขนาดนี้ ประมาท เขาอย่าง แรง เรื่องนี้ ท่านเจ้าอาวาสวัดไทย ที่อินเดียเล่า กอปปี้ซีดี ชายรวยไม่รู้เรื่องเลย หรือคิดแบบนักการเมือง เห็นคน ให้ ฟังเอง มา ประท้วง อ๋อ มัน ต้อง มีเบื้องหลัง ปล่อยหมา กัดมัน หน่อย พระพูด ประโยค นี้ พูดได้ใน ประเทศไทย แต่อย่าไปพูดที่ ประชาชนธรรรมดาก็ถูกหมากัด หรือคิด แบบ นักการเมืองเห็น นายกรัฐมนตรี จาม แค่ได้ยินเสียง จาม ยังลุกขึ้น มา ค้านเลย จาม อินเดีย นะ ระวังจะ ต้อง คดี ต้อง ขึ้น ศาลนะ นี่คือ การคิด ตาม ไม่ถูกกาลเทศะ นี่คิตตามทฤษฎีต่างๆ ซึ่ง ถูกสั่งสมมา โดยไม่ ประสบการณ์ เรา ได้รับ ประสบการณ์ต่อ ๆ กัน มา พอ มา เจอ เป็นตัวของ ตัวเองไม่ได้คิดตามระบบ ของ สติปัญญา มองอะไร ก็ กรณีเช่นนี้ก็ พูด ไป โดยไม่ ติด มอง ตามกรอบที่ตัวเองเรียนรู้มา ทั้งหมด มีเด็กคนหนึ่งถูกงูกัด พอรู้ ว่า งูกัดเท่านั้นเองร้อง ๘. คิด ตามประสบการณ์ โอ๊ย. ลงไปนอนดิ้น พราด ๆ หน้าซีด จะเป็น จะตาย หายใจรวยริน เป็นปัญหา มาก เช่นเคยได้ยิน มา ตลอดว่า ถ้า ไป ประเทศ โทรไปบอก แม่ อินเดีย เห็น แขกกับงู ที่ ใคร ก่อน..เขาสอนให้ต แขก ก่อนซึ่ง “ แม่ครับ หนู ถูกงูกัด คง ไม่ได้เจอแม่แล้ว ” พูดไม่ขาดคำ แล้ววันหนึ่งที่มีกรุ๊ปทัวร์ไปไหว้ พระที่สังเวชนี ยสถานสี่ พระ ที่เป็น หลับไปเลย เพื่อนนำ ส่งโรง พยาบาล หมอใหญ่มา ถึงตรวจ ชีพจร มัคคุเทศก์ ท่านก็ พูดขึ้น มา ว่า “ถ้าเห็นแขกกับงูนะต้องตีแขกก่อน” สัก พัก จึง บอก ว่า คนขับรถชาวอินเดีย เขาเจอกรุ๊ป ทัวร์ไทยบ่อย มากจน ฟัง ภาษาไทย “หนูรู้ไหม.งูที่กัดหนูน่ะ งูไม่มีพิษนะ” พอได้ ฟังลุกขึ้น ออกเลย เสร็จ งานนั้นเขาฟ้องเลย ท่านต้อง ไปขึ้น ศาล อยู่ เป็น นั่ง ทันทีเลย ขาเข้า นะ มาเปล หา มเลยนะ ขา กลับออกไป เดินตัว ปลิว เลย เพื่อนก็งง หมอก็งง ทำไม ตอนเข้า มา มัน คราง ออย ๆ

รวม รสบ ท รรม คิ ด เ น ก็ เห น ธ ร ร ม มา เลย ทำไมเปลี่ยนไปเป็นคนละคนเลย เด็ก ตอบว่า “อ้าว. ก็ พ ร ะ ม ห า ? ฆ์ ชัย วชิร เมธี ไม่รู้ สิเวลาคนอื่นถูกงูกัด ก็เห็นเขา ล้มทุก ที่เลย” นี่คือแสดงตาม “ หนังสือแจก กับซีดีหมดก่อน” ฟอร์ม ดูหนังฮอลิวูด บ่อย งูกัดปับต้องร้อง โอ๊ย.แล้วแน่นิ่งไปเลย เห็นเป้าหมาย ชัดเลย กิเลสมันหลบใน นี่หมายความว่า นี่คือ คิด ตามประสบการณ์ ประสบการณ์ของ เรากับ ไม่ได้ หนังสือแล้วงอนเชียว งอนทางวิชาการ มา ฟัง ธรรมะ ก็ ต้อง No 44 ประสบการณ์ของคนอื่น ไม่ได้ใช้ปัญญา ได้ ธรรมะ สิ หนังสือทั้งหลาย ที่ดีทั้งหลายเป็น ของแถม นี่คือ ๔. คิด ข้ามกระบวนการ แห่งความสัมพันธ์ พวก คิด ข้าม ความสัมพันธ์ ของเหตุปัจจัย ภาษาเด็กแนว เรียก ว่า คิด ข้ามช็ อต เช่นเด็ก คนหนึ่งไป ๑๐. คิด แบบวิทยาศาสตร์ ซื้อกล้ากุหลาบมาเป็นสิบๆ ต้นเลย เอาไปปลูก พอปลูกแล้วไม่มี ดื่มากพอ ๆ กับเสียหายมาก นักวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่ คนมา ชื่อ ไม่ สบายใจ ไปบอก แม่ ว่า เชื่อมั่นในเรื่องทางวัตถุ นักวิทยาศาตร์กลุ่ม Vienna circle เขา “เห็น ไหม ปลูกกุหลาบไม่เห็น ได้ อะไรเลย” ตั้งกลุ่มขึ้นมาแล้วให้บท สรุปว่า สิ่งใด ๆ ก็ตามจะ มีความหมาย แม่ ถามว่า “แล้ว ลูก อยากได้อะไร ล่ะ” “อ้าว ปลูกกุหลาบ ก็ต้องอยากได้เงินสิ” ใน ทางวิทยาศาสตร์ ต้องสามารถเอาเข้า ห้อง แล็ ปได้ สามารถ สั่ง แม่บอก “บ้า หรือลูก.. ปลูกกุหลาบก็ต้องได้ ดอกกุหลาบสิ” ตวง วัดได้ และอธิบายได้แนวคิดแบบนี้เป็นที่มา ของลัทธิวัตถุนิยม นั่น ล่ะคนทั่วไป มัก จะคิด ข้ามชื่อต อย่าง นั้น พอมา ทำให้คนส่วนใหญ่ ประเมินคุณค่าของ สิ่งต่างๆ เฉพาะ ที่เป็นวัตถุ ฟังธรรมะบาง คน คิดว่า มันไม่ คุ้มค่า อะไรเลย ทำไมไม่ คุ้ม ค่า เท่านั้น เพราะฉะนั้นนักวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่ไม่สนใจเรื่อง นิพพาน ไม่สนใจเรื่องลึกซึ้งทางจิตใจ สนใจแต่เรื่อง ทางวัตถุซึ่ง มองเห็นได้ และเป็นรูปธรรม เข้า ห้องปฏิบัติการได้

รวม าสบ ท รรม คิ ด เ น ก็ เห น ธ ร ร ม พ ร ะ ม ห า ? ฆ์ ชัย วชิร เมธี วัน หนึ่ง ที่โท มั ส อั ลวา เอ ดิสัน แต่งงาน แล้ว ภรรยาใหม่ ก็เอา กาแฟเข้าไปเสิร์ฟใน ห้อง เขา หันมาเห็น ภรรยา ตัวเอง ที่เพิ่ง แต่ สนใจเรื่องของจิตใจ ด้วย พอสนใจเรื่อง ของ จิตใจ นัก แต่งงานกันใหม่ ๆ พอทักแล้ว แก้ว กาแฟหลุด จากมือภรรยาเลย ‫نبی‬ เพราะ นัก วิทยาศาสตร์ ทักว่า วิทยาศาสตร์ชั้นนำ ของโลกมุ่งมาที่ตะวันออก มุ่ง มาที่เติ และ N ) “เธอเป็นใคร ” พุทธ ศาสนา เขาจำ ภรรยาตัว เองไม่ได้เพราะจิตใจหมกมุ่นกับวัตถุ มาก ดื่มการ มี ปฏิสัมพันธ์ คน ที่เป็นนักวิทยาศาสตร์มาก ๆ ก็ มองด้าน เป็น คนไทยเมือง พุทธศาสนา ถ้า ไม่สนใจวิปัสสนา กรรม วัตถุ เวลามีปฏิสัมพันธ์กับมนุษย์ก็มอง ในแง่ที่เป็นวัตถุ แต่เดี๋ยว ฐานอีก หน่อยเราอาจต้องไปเรียนกรรมฐาน กัน ที่ตะวันตก อย่า เห็นเป็นเล่นไป ลูกศิษย์หลวงพ่อชาท่าน เขมะธัมโมไปสอน นี้ นักวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่ตระหนักรู้ ถึงความ ผิด พลาดบกพร่อง วิปัสสนา กรรมฐานที่ ประเทศอังกฤษ ตั้งองค์กรองคุลีมาลออแก ของ ตัวเอง ตรง นี้ นักวิทยาศาสตร์ใหม่ สาย ควอน ตั้ม ฟิสิกส์ ไนเซชั่น เป็นชื่อ ที่วิเศษมากเพราะไปสอน กรรมฐานให้ นักโทษ ใน คุก (Quantam Physics) นัก วิทยาศาสตร์ เหล่า นี้หันมา ศึกษา พระ ราชินีอ ลิชเบ ธเห็นความสำคัญ ว่า ท่าน มาทำให้ พลเมืองของ ฉันรู้จัก มี สติ มีสมาธิ ทำให้จำนวน นักโทษ ลด น้อยลง มาก ถวาย พุทธธรรม แล้วสนใจวิปัสสนากรรมฐาน เครื่องราชฯ ท่านเลย เป็น พระ ในสายเถรวาทรูปแรก ซึ่ง ไม่เกี่ยว เมื่อปีที่ผ่านมานี้ นิตยสาร ยักษ์ใหญ่ของโลกชื่อนิตยสาร นิวสวีค (NewSweek) และไทม์ (Time) ขึ้น ปกเรื่องสมาธิ ภาวนา กับ ค ริสตศาสนาเลย คนละศาสนา แท้ๆ แต่ได้รับเครื่องราชฯ ‫رورولی‬ จาก คน ต่าง ศาสนาได้ ทุกวันนี้พระ สายหลวงพ่อ ชา ไป (Meditation) เมื่อนักวิทยาศาสตร์รู้ข้อ บกพร่องของตัวเอง ประดิษฐาน พระพุทธศาสนา ฝ่ายเถรวาท อยู่ ทั่ว ทุก มุมโลก น่า แล้ว ก็หัน มาสนใจเรื่องจิตใจ เกิดระบบการ ศึกษา ชนิดใหม่เรียก ว่า สนใจ มาก ว่าโลก ตะวันตกเขาเอา แก่นนะ แต่ คนไทยเอาอะไร การ ศึกษาแบบสหวิทยาการไม่สนใจเฉพาะเรื่องของวัตถุ เท่านั้น กันอยู่ เอา เปลือก หรือเอาแก่น ขอฝากเป็นคำถามไว้ในที่ ประชุม นี้ ด้วย

รวม รสบท รรม คิ ด เ น ก็ เห น ธ ร ร ม พ ร ะ ม ห า วุฒิ ชัย ว ช ร เมธี ถ้าเราสนใจ กอดแต่เปลือก อีกหน่อยจะต้อง บินไป Take “ไม่เชื่อ อย่าลบหลู่” Course กรรมฐานที่เมืองนอก แพง มาก ๆ เลย แล้ว ถ้าเป็น อย่างนั้นขึ้นมา ตาสีตาสา จะเอาเงินที่ไหนบินไปเรียนกรรมฐานที่ เพราะ คำ ว่า “ไม่เชื่ออย่าลบหลู่” ทำให้ สังคมไทยเป็น เมืองนอก เพราะฉะนั้นตอนนี้ครูบา อาจารย์กรรมฐานเราอยู่ใน สังคมที่ ถูกหลอกมาโดยตลอด ถูกใครหลอก ถูกนักการเมือง หลอก เมือง ไทยเยอะนะรีบ ๆ เรียนก่อน ที่ท่านจะย้าย ไปอยู่เมืองนอกหมด ถูกนักลงทุน หลอก ถูก พระอลั ชชี่หลอกตบ ทรัพย์ ไปสร้างอะไร อย่าบอก ว่าไม่ จริง พุทธศาสนาเกิดที่ประเทศอินเดีย ยัง หายจาก แพง ๆ แล้วไม่ค่อยได้ใช้ ประโยชน์ หรอก ถูกผู้สร้างหนังสร้าง อินเดียได้เลย สา อะไร กับเมืองไทย จะ หายไม่ได้ ล่ะ ฉะนั้นขณะ นี้ โลก นักวิทยาศาสตร์เขา หันมาสนใจแล้ว เราเป็นเจ้าของ ขุมทรัพย์ หนังไม่ ดีเท่า ไหร่ แต่โฆษณาดีๆ หลอกเรา ให้เรา แห้ ไปดู กัน เพราะ ขุมภูมิปัญญา ระดับโลก เรา ต้องเจาะให้ถึงแก่น ก่อน ที่ จะไม่มีโอกาส อะไร “ไม่เชื่อต้องไปดูเอง” เห็นไหม มัน น่าจัดไปอยู่ กับ ไม่เชื่อ ๑๑. คิด แบบไสยศาสตร์ อย่า ลบหลู่ นะ ลูกศิษย์อาตมภาพ เรียก ว่า วิธีคิด แบบเสื่อสาด คืออะไร คือปูแล้วนอน ไสยแปลว่า นอนหรือหลับ ศาสตร์ แปล ว่าความรู้ นี่คือวิธีคิตซึ่งอันตรายมาก ๆ ทำให้กระบวนการ พัฒนา ปัญญา ใน สังคมไทยไม่ค่อยเจริญเพราะ วิธี คิดแบบ ไสยศาสตร์ ไสยศาสตร์คือความรู้ของคนที่อยู่ ใน อาการ สลึมสะ ลือ ห ลับๆ ตื่นๆ คน ทั่วไปก็คิดกัน ๑๑ วิธี ตามที่กล่าวมานี้ เอาล่ะ เรา วิธีคิด แบบไสยศาสตร์รุ่งเรือง มากในสังคมไทย แม้ กระทั่ง มา ดู วิธีคิด แบบพุทธธรรม บ้าง รัฐมนตรี ว่า การ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เข้าทำงานวันแรกไป บวง สรวงพระพรหมก่อน แปลกไหม พอใครไปวิจารณ์ ท่าน ท่านตอบว่า

รวม รส บ ท ธรรม คิ ด เ น ก็ เห็ น ธ ร ร ม W ร ะ ม ห า ฆ์ ชั ย ว ชิ ร เมธี วิธี คิด ดามหลัก พุทธ ธรรม ถ้าเกิดปัญหา ขึ้นใน ชีวิตให้กำหนดรู้ ว่าความทุกข์ที่ เรา 9. คิด แบ ขอริยสัจ จ์ หรือ คิดแบบ แก้ปัญหา เจออยู่นี้ มันคือ อะไรแน่ ทุกข์เราต้องกำหนดรู้ต้อง ศึกษามัน แต่ คนส่วนใหญ่เมื่อเกิดปัญหาเกิดความ ทุกข์ขึ้นมา กลับหลอมรวม มี แนวคิด หลัก ๆ ว่า ทุกปัญหา ย่อม มี เฉลย หรือทุก ตัวเองเข้าเป็น ส่วนหนึ่ง ของปัญหา แทนที่ ทุกข์จะมีไว้สำหรับ คำถาม ย่อม มี คำ ตอบ เพราะฉะนั้น ใคร ที่ทำงาน ใคร ที่ใช้ ชีวิตแล้ว เห็นก็กลับกลายเป็นทุกข์มี ไว้สำหรับเป็น เปรียบเสมือนคนเดิน มีปัญหา อย่าเพิ่ง ฆ่า ตัว ตาย นะ ทุกปัญหา มีเฉลย อยู่รอฟังเฉลยก่อน วิธี คิด แบบอริยสัจจ์เป็น วิธีคิดที่ ชาว พุทธ ต้องรู้จัก และ ไป แล้วเหยียบ ตะปู ตะปูที่ที่มลง ไปที่ผืนเท้าของเรา ทำให้เราทุกข์ ทำให้ นักวิทยาศาสตร์ ทั่วโลก ยกย่อง พระพุทธเจ้า มาก เพราะเป็น จบ วิธี คิด ซึ่งเป็น สากลใช้ได้ ตลอด กาล แต่พอแก้ปัญหา ไม่เป็นแทนที่จะ ดึงตะปูออกกลับไปหาค้อนมา หัว ตะปูหนักเข้าไปอีก เป็นดับเบิ้ลทุกข์ ทุกข์ซ้ำซ้อน เพราะไม่รู้ วิธีคิดแบบอริยสัจจ์ มีอยู่ 4 ขั้นตอนคือ วิธีแก้ทุกข์ ดังนั้นเมื่อเกิดทุกข์ขึ้น มาในชีวิตให้เรากำหนดดู ศึกษา ทุกข์ ให้ชัด ว่า ๒. สมุทัย . ที่ว่าทุกข์ ทุกข์ ทุกข์ นี้มันคืออะไร แน่ ๓. นิโรธ ๒. กำหนดชัด แล้ว ศึกษา ต่อไปว่า สาเหตุมัน อยู่ ตรงไหน 4. มรรค ตาม สาเหตุ มันไปนี่ คือ สมุทัย ๓. เมื่อค้น พบ สาเหตุแล้ว ดูว่า จะ แก้มันอย่างไร ลอง ตั้ง สมมติฐานขึ้นมานี่คือ นิโรธ ตั้งสมมติฐาน แล้วตั้ง ค้างไว้ ก็ไม่เกิด อะไรขึ้นต้อง ลงมือแก้ทุกข์ 4. มรรค คือการ ลงมือแก้ ทุกข์นั่นเอง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook