Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่ม1

เล่ม1

Published by kkshom3, 2017-11-18 09:03:04

Description: เล่ม1

Search

Read the Text Version

โครงการแกลง้ ดนิ1. นางสาวกุลยา โคธเิ สน รหสั นสิ ติ 60660273 รหสั นิสติ 606602802. นางสาวกลุ สตรี ไม้หอม รหสั นิสิต 60660310 รหัสนสิ ิต 606603273. นายเขตแดน นูนคาน รหสั นสิ ิต 60660402 รหสั นสิ ิต 606604194. นางสาวเขมกิ า บุญเป็ง รหสั นิสิต 60660426 รหสั นิสิต 606604335. นางสาวจิราพัชร์ ตาบสนั เทยี ะ รหัสนิสติ 60660495 รหสั นิสิต 606605326. นางสาวจิราภรณ์ เพลินทรัพย์7. นางสาวจิราภัทร ตรีจนิ ดาภัทร8. นางสาวจริ าวรรณ สงิ ห์เรือง9.นางสาวชนมน์ ิภา จันตะ๊ คา10. นางสาวชยาภรณ์ พลอยแดง โครงงานเล่มน้ีเสนอเปน็ ส่วนหนึ่งของการศึกษารายวิชาสารสนเทศศาสตร์เพ่อื การศกึ ษาคน้ ควา้ รหสั วชิ า 001221 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2560 มหาวิทยาลัยนเรศวร

กิตติกรรมประกาศ โครงงานเล่มน้ี สาเรจ็ ลงไดด้ ว้ ยความกรณุ าอย่างย่ิงจากอาจารยท์ ่รี ับผิดชอบรายวิชา อาจารย์ผสู้ อน และผูช้ ว่ ยสอนทไี่ ด้ใหค้ าแนะนา คาปรกึ ษา แก้ไขตรวจสอบข้อบกพร่องต่างๆ ด้วยความเอาใจใส่เปน็ อยา่ งยิ่ง จนโครงงานสาเรจ็ สมบูรณ์ และมีคุณคา่ ได้ คณะผ้จู ดั ทาขอขอบพระคณุ เป็นอย่างย่งิ ไว้ ณ ทน่ี ้ี ทา้ ยสุดนี้คณะผู้จัดทาหวงั เป็นอย่างงยิ่งว่า โครงงานน้จี ะเป็นประโยชน์ตอ่ การศกึ ษาโครงการในพระราชดาริ และโครงการแกล้งดนิ ของผู้สนใจต่อไป คณะผ้จู ดั ทา

ชือ่ หัวข้อโครงงาน โครงงานแกลง้ ดินผ้ดู าเนินโครงงาน1. นางสาวกลุ ยา โคธเิ สน รหัสนสิ ิต 60660273 รหัสนสิ ิต 606602802. นางสาวกุลสตรี ไมห้ อม รหสั นสิ ติ 60660310 รหสั นสิ ิต 606603273. นายเขตแดน นูนคาน รหัสนสิ ติ 60660402 รหัสนสิ ติ 606604194. นางสาวเขมกิ า บุญเปง็ รหัสนสิ ิต 60660426 รหสั นิสติ 606604335. นางสาวจิราพัชร์ ตาบสันเทยี ะ รหสั นสิ ติ 60660495 รหสั นสิ ิต 606605326. นางสาวจิราภรณ์ เพลินทรพั ย์7. นางสาวจริ าภทั ร ตรจี นิ ดาภัทร8. นางสาวจริ าวรรณ สงิ หเ์ รือง9.นางสาวชนม์นิภา จันต๊ะคา10. นางสาวชยาภรณ์ พลอยแดงสาขาวิชา กายภาพบาบดั และทัศนมาตรศาสตร์ภาควิชา สหเวชศาสตร์ปกี ารศึกษา 2560 บทคัดย่อ โครงงานเล่มนี้เป็นสว่ นหนงึ่ ของการศึกษารายวชิ า 001221 สารสนเทศศาสตร์มวี ัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือการศึกษาคน้ ควา้ เรยี บเรยี งและจดั ทาข้นึ โดยมีเนอื้ หาเกีย่ วกับโครงการแกลง้ ดิน โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น5 หวั ข้อ ดงั นี้

1.ความเปน็ มาของโครงการในพระราชดาริ 2.ความเป็นมาของโครงการแกล้งดิน 3.ประโยชนท์ ี่ราษฎรไดร้ บั จากโครงการแกล้งดนิ 4.ความเปน็ นวตั กรรมของโครงการแกลง้ ดนิ 5.ศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จากผลการศึกษาและจัดทาโครงงานพบวา่ การทรี่ าษฎรในชนบทสามารถพึ่งตนเองได้มากย่งิ ขึ้นนัน้ สบื เนือ่ งจากแนวพระราชดาริของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว ร.9 ด้านการพัฒนาท่ีทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ โปรดกระหม่อมพระราชทานแก่เกษตรกรทั้งหลายประการ และคณะผ้จู ดั ทาได้ตระหนักถึงความพอเพียงในการดารงชีวติ ซึ่งเป็นเงอื่ นไขพ้ืนฐานทท่ี าให้สามารถพึ่งตนเอง และดาเนนิ ชวี ติ ไปได้อย่างมีศกั ด์ศิ รีภายใต้อานาจและความมีอิสระในการกาหนด ชะตาชีวิตของตนเอง ความสามารถในการควบคุมและจดั การเพื่อใหต้ นเองได้รับการสนองตอบต่อความต้องการตา่ งๆ รวมทัง้ ความสามารถในการจัดการปญั หาตา่ งๆ ได้ด้วยตนเอง คณะผู้จดั ทา

สารบัญ หน้าเรอ่ื ง 1กิตติกรรมประกาศ 3บทคัดย่อ 8บทที่ 1 บทนา 12บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กยี่ วขอ้ ง 16 17 ความเปน็ มาของโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดดาริ 18 ความเปน็ มาของโครงการแกล้งดิน 24 31 ทฤษฎีและวธิ กี าร “แกลง้ ดนิ ” 32 การปรบั ปรงุ ดินหลงั การแกลง้ ดนิ 333.ประโยชน์ท่ีราษฎรไดร้ บั จากโครงการแกลง้ ดิน4.ความเป็นนวตั กรรมของโครงการแกลง้ ดนิ5.ศูนย์ศึกษาการพฒั นาพกิ ุลทองอนั เนื่องมาจากพระราชดาริบทท่ี 3 แผนการดาเนนิ งานบทที่ 4 ผลการศึกษาคน้ คว้าบทที่ 5 สรุปและอภิปรายผลบรรณานกุ รมภาคผนวกขอ้ มลู ผ้จู ดั ทา

สารบัญภาพ หนา้เร่ือง 8 9ภาพท่ี 2.1 ปา่ ไม้ไม่ผลดั ใบ 10ภาพที่ 2.2 ปา่ พรุโต๊ะแดงภาพที่ 2.3 ป่าเขตอนรุ กั ษ์ 10 11ภาพท่ี 2.4 ปา่ เขตพัฒนา 14ภาพท่ี 2.5 ลักษณะของดนิ เปรยี้ ว 14ภาพท่ี 2.6 พรทุ ีม่ นี า้ ขงั อยตุ่ ามธรรมชาติ 15ภาพที่ 2.7 เม่ือนา้ ถกู ระบายออก 16ภาพท่ี 2.8 เมือ่ นา้ ระเหยออกกไปมากขึ้น 17ภาพท่ี 2.9 การใช้ปนู ผสมคลุกเคล้ากบั หนา้ ดนิ 21ภาพที่ 2.10 นาข้าวที่บา้ นโคกอฐิ 24ภาพท่ี 2.11 พระบดิ าแห่งนวตั กรรมไทยภาพที่ 2.12 ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกลุ ทองอนั เน่อื งมาจากพระราชดาริ

สารบญั ตารางเรือ่ ง หนา้ตารางท่ี 3.1 แผนการดาเนินงาน 31

บทที่ 1 บทนาทีม่ าและความสาคญั เน่ืองมาจากของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ดว้ ยความท่ีพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวทรงห่วงใยในทุกขส์ ุขของพสกนิกรชาวไทย ทาให้พวกเราชาวไทยไดเ้ หน็ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วัเสด็จฯ ไปเยย่ี มเยยี นราษฎรในพนื้ ท่ตี า่ งๆ อย่เู สมอ โดยเฉพาะในพน้ื ที่ยากจน ห่างไกล และทุรกันดาร ซึ่งพระองคจ์ ะทรงใช้เวลาประทับอยู่ตามเขตภมู ิภาคมากกว่าในกรุงเทพฯ ท้งั น้ี เพราะพระองคท์ รงมีพระราชประสงค์ทจี่ ะหาข้อมลู ท่ีแท้จริงจากผทู้ ี่อยู่ในพ้ืนที่ เกี่ยวกบั ปัญหาตา่ งๆ ในแตล่ ะภมู ิภาค นอกจากน้ีพระองค์ยังทรงสังเกตการณ์ และสารวจสภาพทางภูมิศาสตรไ์ ปพร้อมๆ กัน เพ่ือจะได้รวบรวมข้อมูลทั้งหมดไว้สาหรับการพระราชทานแนวทางเพื่อการดาเนนิ งานโครงการตามพระราชดาริตอ่ ไป พระมหากรุณาธิคณุ ทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัวภมู พิ ลอดุลยเดช ได้พระราชทานแก่ปวงราษฎรไทยทง้ั หลายในระยะต้นแห่งการเสด็จขน้ึ เถลิงถวัลยราชสมบัตนิ ้นั เปน็ พระราชดารดิ า้ นการแพทย์และงานสังคมสงเคราะหเ์ ป็นสว่ นใหญ่ เพราะในช่วงเวลาดังกล่าว กิจการด้านการแพทย์ของไทยยงั ไม่เจริญกา้ วหน้าเทา่ ท่ีควร อกี ท้ังการบริการสาธารณสุขในชนบท กย็ งั มิได้แพรห่ ลาย ๐พระราชกรณียกจิ ในระยะช่วงแรก ช่วงระหวา่ งปี พ.ศ. 2493 – พ.ศ. 2505 จะเป็นการชว่ ยเหลือเฉพาะหนา้ ยงั ไม่ได้เป็นโครงการเต็มรูปแบบอยา่ งในปัจจบุ นั คณะผู้จัดทาจึงไดศ้ ึกษาค้นคว้าโครงการในพระราชดาริต่างๆ และสนใจโครงการแกลง้ ดนิ เปน็พิเศษจึงทาการค้นควา้ รายละเอียดในหวั ข้อตา่ งๆ เพราะโครงการนี้กม็ ีความสาคัญมากในระดับหนง่ึ ท่จี ะชว่ ยแก้ปญั หาดินเปรีย้ วให้กบั เกษตรกรทมี่ ีดิน แต่ไม่สามารถทาเกษตรกรรมได้ หรือปลูกพชื แลว้ ได้ผลผลติประสิทธิภาพท่ีต่า อันเนื่องมาจากคุณภาพของดินนน่ั เอง และสามารถทาได้ในต้นทนุ ต่าวัตถปุ ระสงคข์ องโครงงาน 1.เพื่อตระหนกั ถงึ พระมหากรุณาธคิ ุณของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว รชั กาลที่ 9 2.เพอ่ื เผยแพร่ให้ผู้ท่ีสนใจเกี่ยวกับโครงการแกล้งดินได้ศึกษาค้นควา้

ขอบเขตของโครงงาน การศึกษาคน้ คว้าโครงการในพระราชดาริคร้ังนี้ ศึกษารายละเอยี ดเฉพาะโครงการแกล้งดนิ เทา่ นั้นประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะได้รับ 1.สามารถนาพระราชดารมิ าเปน็ แนวทางในการดาเนินชวี ิตได้อยา่ งถกู ต้อง และสร้างสรรค์ 2.เข้าใจถึงสาเหตุการเกิดปัญหาดนิ เปร้ยี ว ทเ่ี กษตรกรไมส่ ามารถทาการเพาะปลูกในท่ีนน้ั ได้ 2.ไดเ้ รยี นรวู้ ธิ ีการแกป้ ญั หาดินเปรีย้ ว

บทท่ี 2 เอกสารทเ่ี กย่ี วข้องความเป็นมาของโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดาริ พระราชดารเิ ริ่มแรกทีเ่ ป็นโครงการชว่ ยเหลือประชาชนเรม่ิ ข้ึนในปี พ.ศ. 2494 ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้กรมประมงนาพันธุ์ปลาหมอเทศจากปีนัง ซง่ึ ได้รบั จากผู้เชี่ยวชาญด้านการประมงขององค์การอาหาร และการเกษตร แหง่ สหประชาชาติ เข้าไปเลย้ี งในสระน้าของพระทนี่ ่ังอัมพรสถาน และเมอ่ืวนั ท่ี 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพนั ธ์ปุ ลาหมอเทศนี้แก่กานันผู้ใหญบ่ า้ นท่ัวประเทศ เพื่อจะไดน้ าไปเลย้ี งเผยแพร่ขยายพันธุ์แกร่ าษฎรในหมู่บ้านของตน เพ่อื จะได้มีอาหารโปรตีนเพ่ิมขึน้ โครงการพระราชดาริทนี่ บั ไดว้ ่าเปน็ โครงการพฒั นาชนบทโครงการแรก เกิดขน้ึ ในปี พ.ศ. 2494โดยพระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานรถบูลโดเซอร์ ให้หน่วยตารวจตระเวนชายแดนค่ายนเรศวร ไปสร้างถนนเขา้ ไปยงั บ้านหว้ ยมงคล ตาบลหนิ เหลก็ ไฟ อาเภอหวั หนิ จังหวัดประจวบคีรขี ันธ์ เพื่อให้ราษฎรสามารถสญั จรไปมา และนาผลผลติ ออกมาจาหนา่ ยยังชุมชนภายนอกได้สะดวกขึน้ การดาเนนิ งานโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ใหเ้ ป็นไปตามแนวพระราชดาริ และบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ มหี ลักการสาคัญ ดังน้ี 1. การแกป้ ัญหาเฉพาะหน้า โครงการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มุง่ ช่วยเหลอื แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ทร่ี าษฎรกาลังประสบอย่ใู นขณะนนั้ ซ่ึงเปน็ การแก้ไขอยา่ งรบี ด่วน เช่น กรณเี ขตพ้นื ที่อาเภอ ละหานทราย จงั หวัดบุรีรัมย์ ซ่ึง เปน็ เขตติดต่อกับประเทศกมั พชู าและเปน็ พนื้ ท่ียากจนในเขตอทิ ธิพลของ ผู้ก่อการร้ายคอมมวิ นสิ ต์ ทข่ี บวนการพัฒนาของ รฐั ยังเข้าไปไม่ถงึ ในช่วงระยะเวลานั้น ภายหลงั จากมีโครงการอนัเนอื่ งมาจากพระราชดาริ เข้าไปดาเนินการแลว้ ปญั หาความม่ันคงท่เี คยมีอยู่กล็ ดน้อยถอยลง และหมดสนิ้ไปในท่สี ดุ แม้กระทั่งปัจจบุ นั โครงการทแ่ี ก้ปัญหาเฉพาะหน้า และจะมผี ลระยะ ยาวต่อไปคอื การแก้ไขปัญหาจราจร และการป้อง กันน้าทว่ มในเขตกรุงเทพมหานคร เปน็ ต้น

2. การพฒั นาต้องเปน็ ไปตามขัน้ ตอน พระองค์ทรงเน้นการพัฒนาที่สรา้ งความเข้มแข็งให้ชมุ ชน ในลักษณะของการพ่ึงตนเอง โดยทรงมีพระราชประสงค์ที่จะช่วยเหลือราษฎรตามความจาเป็นและเหมาะสมกบั สถานภาพ เมอ่ื ราษฎรสามารถพ่งึ ตนเองได้ กจ็ ะสามารถออกมาสูส่ งั คมภายนอกอยา่ งไมล่ าบาก 3. การพ่งึ ตนเอง เมอื่ แก้ไขปญั หาเฉพาะหน้าได้แลว้ กจ็ ะเป็นการพฒั นาเพ่ือให้ประชาชนอยู่ในสังคมไดต้ ามสภาพในลักษณะของการพ่ึงตนเอง ตวั อย่างโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดารทิ ีเ่ น้นหลกั \"การพ่ึงตนเอง\" เพื่อพฒั นาแก้ไข ปญั หาความยากจนของราษฎร เช่น โครงการธนาคารข้าว โครงการธนาคารโค-กระบอื และโครงการพฒั นาทด่ี นิ ตาม พระราชประสงค์ \"หุบกระพง\" อาเภอชะอา จังหวดั เพชรบรุ ี ซ่ึงดาเนินการเพื่อให้ประชา ชนมีที่อยู่อาศยั ทากนิ และรวมตวั กนั ในรูปของกลุ่มสหกรณ์ เพ่ือแก้ไขปัญหาของชมุ ชน และการทามาหากนิ ร่วมกัน เป็นต้น นอกจากน้นั โครงการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราช ดาริ ในระยะหลังกล็ ว้ นแต่เพ่อื ให้ประชาชนสามารถชว่ ยตัวเองได้ เพราะเปน็ โครงการ ที่ สนบั สนนุ ใหป้ ระชาชนสามารถประกอบอาชพี ให้ได้ผล และมปี ระสทิ ธิภาพ เช่น การ พฒั นาแหล่งน้าเพือ่ การเกษตร การให้การอบรมความรูส้ าขาต่าง ๆ ทัง้ ด้านการเกษตร และศิลปาชพี พเิ ศษ เป็นต้น 4. การสง่ เสรมิ ความรู้ และเทคนคิ วิชาการสมยั ใหม่ท่ีเหมาะสม ดว้ ยพระราชประสงคท์ ่ีต้องการใหร้ าษฎรได้รับในส่ิงที่ขาดแคลน และตอ้ งมีตวั อย่างของความสาเร็จ จึงทรงพระราชทานพระราชดาริใหจ้ ัดตงั้ ศนู ย์ศึกษาการพัฒนาอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ ในทุกภูมิภาคของประเทศ เพ่ือใชเ้ ปน็ สถานท่ีศกึ ษา ทดลอง วิจยั และแสวงหาความรสู้ มัยใหมท่ ีร่ าษฎรรบั ได้และนาไปดาเนนิ การเองได้ โดยต้องเป็นวิธีการทป่ี ระหยัด เหมาะสม และสอดคลอ้ งกับสภาพแวดลอ้ ม 5. การอนุรกั ษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ จากการพฒั นาประเทศในชว่ งทีผ่ า่ นมา สง่ ผลใหท้ รพั ยากรธรรมชาตเิ สอ่ื มโทรมลงโดยมิได้มีการฟน้ื ฟูขึ้นมา พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั จึงทรงสนพระราชหฤทัยในการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาตเิ ปน็อยา่ งย่งิ เพราะมีผลโดยตรงตอ่ การพฒั นาการเพม่ิ ผลผลติ ทางการเกษตร ของราษฎรในพื้นท่ตี ่างๆ

6. การส่งเสริมและปรับปรุงคุณภาพส่งิ แวดลอ้ ม จากการทโี่ ครงสรา้ งทางเศรษฐกจิ ของประเทศได้เปล่ยี นไป สู่การผลิตทมี่ ภี าคอุตสาหกรรม และบริการเป็นหลัก ทาใหส้ งั คมไทยเร่ิม เปล่ยี นจากสังคมชนบท สคู่ วามเปน็ สังคมเมอื งมากข้นึ ปญั หาทเี่ กิดตามมาคือปญั หาทางดา้ นความเส่ือมโทรมของสภาพแวดลอ้ ม พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดาริทีจ่ ะแกไ้ ขปญั หา โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในเร่ืองของการ กาจัดน้าเสยี ใน กรุงเทพมหานคร และในเมอื งหลกั ในต่างจังหวัดด้วยวธิ กี ารต่าง ๆ โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ จะมชี อ่ื เรยี กท่ีแตกตา่ งกันออกไป ดงั นี้โครงการตามพระราชประสงค์ คอื โครงการที่ทรงศกึ ษา ทดลอง ปฏิบตั ิเปน็ การสว่ นพระองค์ จนเมือ่ ทรงแน่พระราชหฤทัยวา่โครงการน้ัน จะเป็นผลดแี ละเกิดประโยชน์กบั ประชาชน จึงจะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รัฐบาลเข้ามารับงานตอ่ ไปโครงการหลวง พื้นท่ีดาเนนิ การของโครงการหลวงส่วนใหญ่ จะอยู่ในเขตภาคเหนอื เน่ืองจากเปน็ ถน่ิ ที่อยู่ของชาวไทยภเู ขา ซง่ึ พระองค์ทรงพระกรณุ าทจ่ี ะพฒั นาความเปน็ อยขู่ องชาวไทยภเู ขาให้อยูด่ ี กินดี เลิกการปลูกฝนิ่ และการทาไร่เลอ่ื นลอย อีกทั้งยงั ทรงมุง่ มั่นทีจ่ ะพฒั นาและบารุงรักษาต้นนา้ ลาธารบริเวณปา่ เขา เพื่อบรรเทาอทุ กภยั ในเขตที่ลุ่มดา้ นล่าง ซง่ึ การพฒั นาต่างๆ กว่าจะเกิดผล ล้วนแต่กนิ เวลานานนับสบิ ปี ซ่งึ ชาวไทยภูเขาเหล่าน้ี ได้มีความจงรักภกั ดีในพระองค์ท่าน พร้อมทั้งเรียกขานพระองค์ท่านวา่ \"พ่อหลวง” และเรียกสมเด็จพระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินนี าถว่า \"แมห่ ลวง” รวมถึงเรยี กโครงการของทั้งสองพระองค์วา่\"โครงการหลวง”โครงการในพระบรมราชานเุ คราะห์ โครงการในพระบรมราชานุเคราะห์ คอื โครงการท่ีพระองค์ทรงพระราชทานข้อแนะนา หรอื แนวพระราชดาริให้ไปดาเนินการ ซ่ึงโครงการประเภทน้ี จะดาเนนิ การโดยหน่วยงานเอกชน เช่น โครงการพัฒนาหมู่บ้านสหกรณ์เนนิ ดินแดง อาเภอทับสะแก จงั หวัดประจวบคีรีขนั ธ์ ซึ่งสโมสรโรตารีแห่งประเทศไทย เปน็ ผจู้ ัด และดาเนินงานตามแนวพระราชดาริ โครงการพจนานกุ รม โครงการสารานุกรมไทยสาหรบัเยาวชน เปน็ ตน้

โครงการตามพระราชดาริ จะเป็นโครงการทีพ่ ระองคท์ รงวางแผนพฒั นา และทรงเสนอแนะให้รฐั บาลร่วมดาเนินการตามแนวพระราชดาริ ปจั จุบัน โครงการตามพระราชดารนิ ี้ เรียกวา่ \"โครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ” มีลกั ษณะเปน็ โครงการพฒั นาในด้านตา่ งๆ ทง้ั เพ่ือการศึกษา ค้นควา้ ทดลองและงานวิจัย โดยโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดารินี้ มีทั้งทเ่ี ปน็ โครงการระยะสั้น และโครงการระยะยาว ในการดาเนนิ การโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดารนิ ้ี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั จะทรงศึกษาขอ้ มลู ต่างๆ อยา่ งเป็นขั้นเปน็ ตอน ทั้งการศึกษาข้อมูลจากเอกสารและการศกึ ษาข้อมูลจากการลงพ้ืนทจ่ี รงิ ก่อนจะลงมือปฏิบัติอย่างจรงิ จัง ทั้งนี้พระองคม์ ีพระราชดารัสเกี่ยวกับการดาเนินการอย่เู สมอว่าแนวพระราชดารขิ องพระองค์ เป็นเพยี งข้อเสนอแนะ ซึง่ หน่วยงานที่รับผิดชอบ ควรจะต้องนาพจิ ารณาวเิ คราะห์ และกล่นั กรองตามหลักวิชาการ หากมีความเปน็ ไปได้ในทางปฏิบัติ และเกิดประโยชน์คมุ้ คา่ จึงจะลงมือปฏิบัติตอ่ ไป แตห่ ากไมเ่ กิดประโยชน์ ไม่เหมาะสมท่ีจะดาเนินการ ก็สามารถล้มเลิกได้ หน่วยงานทม่ี หี นา้ ทป่ี ระสานงานและประสานแผนตา่ งๆ เพ่ือให้แตล่ ะหนว่ ยงานที่รบั โครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริไปปฏบิ ตั ิ คือสานกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดาริ หรือ สานกั งาน กปร. ซง่ึ นอกจากการประสานงานในแต่ละขัน้ ตอนแลว้สานักงาน กปร. ยงั จะไดต้ ิดตามและประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานเป็นระยะๆ ทัง้ น้ี ท่ผี า่ นมา พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั จะเสด็จฯ ไปทอดพระเนตรโครงการต่างๆ เหล่านั้นเมื่อมีโอกาส เพ่ือทอดพระเนตรความกา้ วหน้า และตดิ ตามผลงานตา่ งๆ ดว้ ยพระองค์เอง โครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดารทิ ่ีอยใู่ นความรับผดิ ชอบของสานกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพ่อื ประสานงานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2525 – พ.ศ. 2546 มีจานวน3,298 โครงการ แยกออกเปน็ ประเภทตา่ ง ๆ ได้ 8 ประเภท คือ 1. การเกษตร แนวพระราชดารขิ องพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว ในดา้ นการพัฒนาประสทิ ธิภาพการผลติ ทางการเกษตร จะทรงเน้นในเร่ืองของการคน้ ควา้ ทดลอง และวิจัยหาพนั ธุพ์ ชื ใหม่ๆ ทงั้ พืชเศรษฐกจิ พชืสมนุ ไพร รวมถึงการศกึ ษาเก่ียวกบั แมลงศตั รูพชื และพนั ธุ์สัตว์ตา่ งๆ ทเ่ี หมาะสมกับสภาพท้องถ่ินน้ันๆ ซึ่งแต่ละโครงการจะเนน้ ใหส้ ามารถนาไปปฏิบตั ิไดจ้ ริง มีราคาถกู ใชเ้ ทคโนโลยีงา่ ย ไม่สลับซบั ซอ้ น เกษตรกรสามารถดาเนนิ การเองได้ นอกจากน้ี ยงั ทรงพยายามไม่ให้เกษตรกรยึดติดกบั พชื ผลทางการเกษตรเพียง

อยา่ งเดียว เพราะอาจเกิดปัญหาอันเนอ่ื งมาจากความแปรปรวนของสภาพดนิ ฟา้ อากาศ หรือความแปรปรวนทางการตลาด แตเ่ กษตรกรควรจะมรี ายได้จากด้านอ่ืนนอกเหนือไปจากการเกษตรเพม่ิ ข้ึนด้วยเพอื่ จะได้พึ่งตนเองได้ในระดบั หนง่ึ 2. ส่ิงแวดล้อม ปญั หาสง่ิ แวดลอ้ ม ถือเปน็ สง่ิ สาคัญท่จี ะต้องได้รับการดาเนนิ การแก้ไขควบคู่ไปกบั การพัฒนาความเจริญก้าวหน้า เพราะยง่ิ มีความเจริญก้าวหนา้ ย่อมหมายถงึ ปัญหาสิ่งแวดล้อมย่งิ ก่อตัวและทวีความรุนแรงมากข้นึ เป็นเงาตามกนั ไป ซงึ่ โครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ จะเป็นวิธกี ารทจี่ ะทานุบารุง และปรับปรงุ สภาพทรพั ยากร และสง่ิ แวดลอ้ มให้ดีข้นึ ในดา้ นตา่ งๆ เชน่ การอนุรกั ษ์ และพัฒนาทรพั ยากรธรรมชาติ ดิน น้า และป่าไม้ 3. การสาธารณสุข โครงการทพี่ ระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวพระราชทาน ให้กับประชาชนในระยะแรก ๆ ลว้ นแต่เป็นโครงการ ดา้ นสาธารณสขุ เพราะพระ องค์ทรงเห็นว่า หากประชาชนมรี า่ งกายท่ีสมบูรณ์ แข็งแรง จะนาไปสสู่ ุขภาพจติ ที่ดี และส่งผลใหก้ ารพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมดีไปด้วย พระองค์จึงทรงใหค้ วามสาคัญกับงานด้านสาธารณสขุ เป็นอย่างมาก 4. การส่งเสริมอาชีพ โครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดาริ เม่ือไดด้ าเนินการบรรลวุ ัตถปุ ระสงคข์ องโครงการแล้ว จะเกดิ การสง่ เสริมอาชพี แกร่ าษฎรใน พื้นทใี่ กล้เคียง โดยเฉพาะศูนย์ศกึ ษาการพฒั นาทั้งหลายนน้ั จดั ต้ังขึ้นมาเพือ่ ให้มกี ารศกึ ษา ค้นคว้า ทดลอง วจิ ยั เพอื่ แสวงหาแนวทาง และวิธีการพัฒนาดา้ นตา่ งๆ ทีเ่ หมาะสมกบัสภาพแวดลอ้ ม และการประกอบอาชีพของราษฎรในภมู ิภาคน้ันๆ เพื่อให้ราษฎรนาไปปฏบิ ตั ิได้อย่างจริงจงั สว่ นโครงการประเภทการส่งเสริมอาชีพโดยตรงนนั้ ก็มีจานวนไม่น้อย ทั้งนี้ เพอื่ เปน็ การชว่ ยเหลอืใหป้ ระชาชนสามารถพ่งึ ตนเองได้ จึงได้มโี ครงการเกยี่ วกบั ประเภทการส่งเสริมอาชีพโดยตรง 5. การพฒั นาแหลง่ นา้ การพฒั นาแหลง่ น้าเพือ่ การเพาะปลูกหรอื การชลประทาน นบั วา่ เปน็ งานท่ีมีความสาคญั และมีประโยชน์อยา่ งย่งิ สาหรบั ประชาชน ส่วนใหญ่ของประเทศ เพราะเกษตรกรจะสามารถทาการเพาะปลูกได้อยา่ งสมบูรณ์ตลอดปี เน่ืองจากพืน้ ท่ีเพาะปลูกในปัจจบุ ันสว่ นใหญเ่ ป็นพื้นท่ีนอกเขตชลประทาน ซงึ่ ต้อง

อาศยั เพียงนา้ ฝน และน้าจากแหลง่ นา้ ธรรมชาตเิ ป็นหลกั ทาให้พชื ไดร้ ับนา้ ไม่สมา่ เสมอ และไมเ่ พียงพอพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัว ทรงใหค้ วามสนพระราชหฤทัยเกี่ยวกบั การพฒั นาแหลง่ น้ามากกวา่ โครงการพฒั นาอนั เน่ืองมาจาก พระราชดารปิ ระเภทอืน่ 6. การคมนาคมส่ือสาร โครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดาริ ดา้ นคมนาคมส่อื สาร สว่ นใหญ่ จะเป็นโครงการเกีย่ วกบัปรับปรงุ ถนนหนทาง การก่อสร้างถนนเพื่อการ สญั จรไปมาไดส้ ะดวกและท่วั ถงึ การคมนาคมเปน็ปัจจยั พนื้ ฐานท่ี สาคัญของการนาความเจริญไปสู่ชนบท การสือ่ สาร ติดต่อที่ดียงั ผล สาคัญทาใหเ้ ศรษฐกจิของราษฎรในพนื้ ทด่ี ขี นึ้ ราษฎรกม็ คี วามเปน็ อยทู่ ี่ดีข้นึ 7. สวัสดิการสังคม โครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ ด้านสวสั ดิการสังคม จะเป็นโครงการเพื่อชว่ ยเหลือราษฎรใหม้ ที ี่อยู่อาศยั ทท่ี ากนิ และได้ รับสงิ่ อานวยความสะดวกข้ันพื้นฐานที่จาเปน็ ในการดารงชีวิต ซ่ึงจะทาให้ราษฎรมีชีวิตความเปน็ อยดู่ ีข้ึน สามารถดารงชีวิตอยู่ด้วยความผาสขุ 8. อ่ืนๆ โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริประเภทอ่นื ๆ ไดแ้ ก่ โครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดาริทีน่ อกเหนือจากโครงการทง้ั 7 ประเภท ท่ี ระบุมาแลว้ ขา้ งต้น เช่น โครงการศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาอนัเนอื่ งมาจากพระราชดารทิ ้ังหลาย โครงการกอ่ สร้างเข่ือนป้องกนั น้าทะเลกัดเซาะอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ จังหวัดเพชรบรุ ี นอกจากนัน้ ยัง รวมถงึ โครงการด้านการศึกษา การวจิ ัย การจดั และพัฒนาทีด่ ิน เป็นต้น

ความเปน็ มาของโครงการแกลง้ ดิน นราธวิ าส...จงั หวดั ชายทะเลทางภาคใต้ของประเทศไทย เป้นจังหวดั สงั คมทางการเกษตร่ีมีประวัติศาสตร์อนั ยาวนาน สืบตอ่ กันมาเน่ินนานหลายศตวรรษ ตัวเมอื งเล็กๆแฝงอยู่ในความเงียบสงบชาวเมอื งใช้ชวี ติ เรยี บงา่ ย สมถะ ลกั ษณะภูมิประเทศของจงั หวัดนราธวิ าส เปน็ เทือกเขาสงู ทางทิศตะวนั ตกลาดลงสทู่ ่รี าบทางทิศตะวันออกจนติดทะเล พน้ื ทีต่ รงกลางเป็นที่ลุ่มต่าคล้ายแอ่งกระทะ มนี ้าทว่ มขังตลอดปี เรยี กวา่ “ป่าพรุ”นา้ ในปา่ พรุมีซากอนิ ทรียวตั ถุทีไ่ มส่ ลายตวั ทับถมกนั หนาประมาณ 50-200 ซม. มีลกั ษณะเป็นดินหยนุ่ ๆส่วนดนิ ที่อยูถ่ ดั จากช้ันอนิ ทรีย์ลงไปจะเป็นดนิ เลนตะกอนทะเลสะสมอย่จู านวนมาก สง่ ผลใหน้ า้ ในป่าพรุกลายเป็นกรดจัดไปด้วย ภาพท่ี 2.1 ป่าไม้ไมผ่ ลดั ใบ น้าทว่ มขังที่ดสู งบน่ิงนี้ ท่ีจริงแลว้ มีการไหลเอ่ือยๆ ตลอดเวลา ทาใหม้ ปี รมิ าณอากาศเพยี งพอต่อสรรพชวี ิตในป่าพรทุ ่ีเป็น ปา่ ไม้ไม่ผลดั ใบ เป็นเอกลกั ษณ์ท่ีแตกต่างจากปา่ ดบิ ชนื้ ในเขตร้อนท่วั ไป ท้ังในลกั ษณะของโครงสรา้ งและความหลากหลายของพรรณไมท้ ี่ขนึ้ อยู่อย่างหนาทึบ โดยมีวืวัฒนาการใหม้ ีโครงสรา้ งพเิ ศษ เพ่ือดารงชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมเชน่ นีไ้ ด้ เชน่ โคนตน้ มีพูพอน ระบบรากแกว้ สน้ั แต่มีรากแขนงแผก่ วา้ งแขง็ แรง มีระบบรากพเิ ศษหรอื ระบบรากเสริม ได้แก่ รากคา้ ยนั หรอื รากหายใจโผลเ่ หนอืช้ันดินอนิ ทรยี ์ ชว่ ยในการพยุงลาตน้ และการหายใจ คล้ายกับต้นไมใ้ นป่าชายเลน

ในฤดฝุ น นา้ จากภเู ขาไหลเขา้ ทว่ มทง้ั ป่าพรุ และพนื้ ที่เกษตรกรรมของราษฎร รอบๆพรุ เสยี หายเป็นจานวนมากทุกปี ทง้ั ยังถูกซ้าเตมิ จากการขาดแคลนนา้ ในหนา้ แล้ง ย่งิ ทาให้ผลผลติ ตกต่า พน้ื ทหี่ ลายหม่นื ไรจ่ ึงถูกทงิ้ ร้าง ราษฎรและเกษตรกรรมต่างประสบควาทยากลาบากในการดารงชีวิต พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ร.9 เสด้จพระราชดาเนินแปรพระราชฐานไปประทบั ยังพระตาหนกัทักษิณราชนเิ วศน์ และไดเ้ สด็จพระราชดาเนินเย่ียมราษฎรทว่ั ทุกท้องถิน่ เป็นประจาทกุ ๆปี จงึ ทรงทราบดว้ ยพระเนตรพระกรรณ ถงึ ปัญหาความทุกข์ยากเหล่านั้น และโดยท่ีทรงยึดม่ันในพระราชหฤทัยอยู่ตลอดเวลาวา่ ทกุ ข์ สุข ของราษฎร คอื ทุกข์ สขุ ของพระองค์ทา่ น จงึ ทรงหาทางช่วยเหลือด้วยวธิ กี ารตา่ งๆ เมื่อปีพทุ ธศักราช 2524 มีพระราชดารใิ ห้สว่ นราชการตา่ งๆ พจิ ารณาหาแนวทางในการปรบั ปรุงพ้ืนทีเ่ กษตรกรรมรอบปา่ พรุเพอื่ ใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นทางการเกษตรมากทสี่ ุด แต่ต้องไม่สร้างความเสยี หายตอ่ ระบบนิเวศ เน่อื งจากมีพระราชประสงค์ทจี่ ะอนรุ ักษ์ปา่ พรุทีท่ รงคุณคา่ นไี้ ว้ให้ได้ ทรงกาหนดพ้ืนท่ีป่าพรุออกเปน็ 3 เขต คือ ภาพท่ี 2.2 ปา่ พรโุ ตะ๊ แดงเขตสงวน ได้แก่ พืน้ ท่ที ี่ยงั คงความอดุ มสมบรู ณ์อยู่ ต้องสงวนรักษาไว้ไมเ่ ขา้ ไปแตะต้อง เชน่ บรเิ วณป่าพรุโต๊ะแดง ปา่ พรผุ นื ใหญท่ ส่ี ุดท่ีเดหลืออย่เู พยี งแหง่ เดียวของประเทศไทยในเขตอาเภอตากใบ สไุ หงปาดี และสุไหงโกลก

ภาพท่ี 2.3 ปา่ เขตอนรุ กั ษ์เขตอนุรักษ์ คือ พ้ืนทท่ี ่ถี ูกบกุ รกุ ไปบา้ งแลว้ บางบริเวณมชี าวบ้านอาศัยอยู่ หาของปา่ หากินกับพรุ รับส่งัวา่ ตอ้ งหาทางใหร้ าษฎรอาศัยอยู่ต่อไปแต่ต้องไมบ่ ุกรกุ มากกวา่ เดิม ภาพที่ 2.4 ป่าเขตพฒั นาเขตพัฒนา คือ พื้นทบ่ี ริเวณขอบพรุท่ถี กู บุกรกุ ทาลาย บางแหง่ เคยถูกนามาเปน็ นคิ มสหกรณ์มาก่อน เช่นพรุบาเจาะ พรปุ เิ หล็ง แต่เมือ่ ทากินไมไ่ ด้ก็ปลอ่ ยทงิ้ รา้ งเส่ือมโทรม มพี ระราชดาริใหน้ าพ้ืนทเ่ี หลา่ น้มี า

ปรบั ปรุงใช้ประโยชน์ แต่เม่อื ทาการระบายน้าออกจากเขตพัฒนา พบว่าดนิ มสี ภาพเป็นกรดจดั หรอื ที่เรียกวา่ ดินเปรียว ไม่สามารถทาการเพาะปลูกได้ จึงทรงตัง้ ศูนยศ์ ึกษาการพัฒนาพกิ ุลทองอนั เน่อื งมาจากพะราชดาริ ข้ึนท่จี ังหวดั นราธิวาส “เพอื่ ทาการศึกษาค้นคว้าขบวนการเปล่ยี นแปลงดนิ เปรย้ี วจัดใหเ้ ขา้ ใจอย่างถ่องแทด้ ีพอเสยี ก่อน ก่อนทีจ่ ะศึกษาหาวธิ กี ารปรับปรุงใช้ประโยชนไ์ ด้ตอ่ ไป” ภาพท่ี 2.5 ลักษณะของดินเปรย้ี ว ดินเปร้ยี ว เปน็ ดินทีม่ ีเลนตะกอนทะเลอยู่ชนั้ ล่าง มีสารไพไรท์อยู่ปรมิ าณสงู เม่ือดนิ อยู่ในสภาพที่มนี า้ แช่ขัง จะคงรูปดินอย่มู ีสภาพเปน็ กลาง แต่เม่ือน้าแหง้ อากาศแทรกซึมลงไปในดนิ ออกซิเจนจะทาปฏิกิรยิ ากับสารไพไรท์ ทาให้เกดิ กรดกามะถัน และสารประกอบจาโรไซท์ มสี เี หลอื งซีดคล้ายฟางขา้ ว ดนิแปรสภาพเป็นกรดจัด เมื่อฝนตกก็จะละลายปนกับนา้ ฝนข้ึนมาอยู่ทีห่ นา้ ดิน คร้ันเมื่อดนิ เปยี กอีก กรดกามะถันจะแพร่กระจายไปทั่วหนา้ ตดั ดนิ การท่ีดินแห้งและเปียกสลบั กันสารไพไรทจ์ ะเกดิ ปฏกิ ิรยิ าปลดปลอ่ ยกรดกามะถนั ข้นึ มาอีกและรนุ แรงขึน้ เรอ่ื ยๆ มีเหลก็ อะลูมเี นยี ม แมงกานสี ละลายออกมาจาก จนเป็นพิษตอ่ พืชและจลุ ินทรีย์ในดนิในขณะทแี่ ร่ธาตบุ างอย่าง เช่น ฟอสฟอรสั ถูกตรึงไว้ พชื ดดู เอาไปใชไม่ได้ ทาให้เกิดความไม่สมดุลของธาตุอาหาร น้ามีรสฝาด ไม่เหมาะสมต่อการเกษตรหรือใชอ้ ุปโภคบรโิ ภค

ในปี พ.ศ. 2527 ด้วยพระปรีชาสามารถเปน็ อย่างยิ่ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว ร.9 ได้พระราชทาน โครงการแกลง้ ดิน อนั เนือ่ งมาจากพระราชดาริ เพอื่ ทาการปรับปรุงดนิ เปร้ียว หลกั การของโครงการแกลง้ ดินฯ คือ การทาดนิ ใหเ้ ปรย้ี ว เปยี กและแหง้ สลบั กนั ไป ปีละหลายๆครั้ง มากกวา่กระบวนการทางธรรมชาติ เพื่อให้ดินปลดปลอ่ ยสารไพไรท์ออกมาให้มากทีส่ ดุหัวใจสาคัญของโครงการแกล้งดินฯ คอื - ระบบการบริหารจดั การนา้ ต้องมนี า้ จืดมากพอทีจ่ ะใช้ได้ตลอดท้งั ปี เพ่อื การลา้ งหน้าดิน - มรี ะบบชลประทานท่ีดี เพื่อระบายน้าเปรี้ยวออกจากแปลงไปทิง้ โดยไม่ให้ไหลออกไปพื้นทอ่ี น่ื ๆและเพื่อนาน้าจืดกลบั เข้ามาเกบ็ ไวล้ ้อมรอบแปลงทดลองอีก - ดินเปรย้ี วมสี ภาพเป็นกรด การทากลับให้มสี ภาพเปน็ กลาง ก็ดว้ ยการเตมิ ดา่ งลงในดนิ ด่างทหี่ าได้ไม่ยากนักและมรี าคาถกู ก็คือ ปูนมาร์ล หรอื หินปนู ฝุ่น - ต้องมกี ารปรับระดับผวิ หน้าดินใหม้ คี วามลาดเอยี ง เพื่อใหน้ า้ ไหลไปสู่คูคลองระบายน้า - การตกแต่งแปลงนาและคันนาใหเ้ หมาะสมในการควบคมุ ระดบั น้า และท่สี าคัญกค็ ือ การป้องกันการเกดิ กรดกามะถนั ขึ้นอกี ดังนนั้ รอบแปลงนาหรือสวนผลไม้ จึงตอ้ งมีคูนา้ ลอ้ มรอบ เพ่ือใหส้ ามารถเก็บกกั นา้ และระบายน้าออกไปได้ ขณะเดียวกันก็ทาใหส้ ามารถควบคุมน้าใต้ดินใหอ้ ยู่เหนือชั้นดินเลนทีม่ ีสารไพไรท์อยู่ เพ่อื ให้มสี ารไพไรท์ทาปฏิกริ ิยากบั ออกซิเจนหรอื ถูกออกซไิ ดซ์ ซงึ่ จะทาใหด้ ินเปร้ียวขึ้นอกี แนวพระราชดารทิ ่ีได้พระราชทานในการปรับปรุงทีด่ ินไรป้ ระโยชน์ให้สามารถนามาใชไ้ ด้อีกคร้ังหนึง่ นั้น แสดงถึงพระปรีชาสามารถที่ทรงคน้ ควา้ จากแหลง่ ความรู้ตา่ งๆ แลว้ทรงประมวลเปน็ ทฤษฎีในการแก้ไขปญั หา ปรับปรุง และฟื้นฟทู รพั ยากรดินได้อย่างมหศั จรรย์

ทฤษฎีและวิธกี ารแกล้งดนิ ทาอยา่ งไรถึงเรยี กวา่ “แกล้งดนิ ” ศนู ยศ์ ึกษาการพฒั นาพิกุลทองจึงไดด้ าเนนิ การสนองพระราชดารโิ ครงการ “แกลง้ ดนิ ” โดยศึกษาการเปลยี่ นแปลงความเป็นกรดของดนิ เริม่ จากวธิ ีการ “แกล้งดนิ ให้เปรีย้ ว” ด้วยการทาให้ดินแห้งและเปียกสลบั กนั ไป เพือ่ เร่งปฏิกิรยิ าทางเคมีของดิน ซึง่ จะไปกระตุ้นใหส้ ารไพไรทท์ าปฏิกิริยากบั ออกซิเจนในอากาศ ปลดปล่อยกรดกามะถนั ออกมา ทาใหด้ ินเปน็ กรดจัดจนถงึ ขน้ั “แกลง้ ดินให้เปร้ียวสุดขดี ” กระท่งั พชื ไมส่ ามารถเจรญิ งอกงามได้ จากน้ันจึงหาวิธีการปรบั ปรุงดินดงั กลา่ ว ใหส้ ามารถปลูกพืชได้ การดาเนนิ งานศกึ ษาทดลองในโครงการแกลง้ ดิน ไดม้ ีการดาเนินการในชว่ ง ตา่ งๆ ตามแนวพระราชดารดิ งั นี้ ชว่ งที่ 1 (มกราคม 2529-กนั ยายน 2530) เป็นการศึกษา การเปล่ยี นแปลงทางเคมีของดินเปรียบเทยี บระหวา่ งดินทีป่ ล่อยทิง้ ไว้ตามธรรมชาติ กับดินที่ทาใหแ้ ห้งและเปยี กสลบั กนั โดยวิธีการสูบน้าเข้า-ออก การทาดินให้แหง้ และเปยี กสลบั กัน ดนิ จะเป็นกรดจดั รุนแรง และมผี ล ตอ่ การเจริญเตบิ โตของพืช พบวา่ ข้าวสามารถ เจรญิ เติบโตได้ แตใ่ ห้ผลผลติ ตา่ ชว่ งที่ 2 (ตุลาคม 2530-ธันวาคม 2532) ศึกษาการเปล่ียน แปลงทางเคมีของดินโดยเปรียบเทยี บระหว่างระยะเวลา ท่ีทาใหด้ ินแหง้ และ เปยี กแตกต่างกัน การปลอ่ ยใหด้ นิ แห้งนานมากขึ้น ความเปน็ กรดจะรนุ แรงมากกวา่ การใช้ นา้ แชข่ ังดนิ นานๆ และการใหน้ า้ หมนุ เวียนโดยไมม่ ีการระบายออก ทาใหค้ วามเปน็ กรดและ สารพิษสะสมในดนิ มากข้นึ ในการปลกู ขา้ วทดสอบความรุนแรงของกรด พบว่าข้าวตายหลังจากปกั ดาได้ 1 เดือน ชว่ งที่ 3 (มกราคม 2533-ปจั จุบัน) ศึกษาถงึ วิธกี ารปรับปรงุ ดิน โดยใช้นา้ ชะล้างความเป็นกรด ใช้น้าชะล้างควบคู่กบั การใชห้ นิ ปูนฝุน่ ใช้หนิ ปนู ฝ่นุ อตั ราต่า เฝ้าตดิ ตามการเปลย่ี นแปลงของดิน หลงั จากที่ปรับปรุงแลว้ ปลอ่ ยทง้ิ ไว้ ไมม่ ีการใชป้ ระโยชน์ และศึกษาการเปลย่ี นแปลงของดินเปรยี้ วจดั เม่ืออยู่ในสภาพธรรมชาติ ในปรมิ าณเล็กน้อย พบวา่ วธิ ีการใช้น้าชะล้างดนิ โดยขังนา้ ไวน้ าน 4 สปั ดาห์ แล้วระบายออก ควบคู่กับการใช้หินปนู ฝุ่นในปรมิ าณเลก็ น้อยจะสามารถปรบั ปรงุ ดนิ เปร้ยี วจัด ไดเ้ ป็นอย่างดี สว่ นวธิ ีการใช้น้าชะลา้ งก็ให้ผลดเี ช่นเดยี วกัน แตต่ ้องใชเ้ วลานานกว่า หลังจากมีการปรับปรุงดินแลว้ หากปล่อย

ทิ้งไวไ้ มม่ ีการใชป้ ระโยชน์อยา่ งต่อเน่ือง จะทาให้ดินกลับเป็นกรดจัดรุนแรงขึ้นอีก สาหรบั พ้นื ทีด่ นิ เปรยี้ วจัดตามธรรมชาติ ท่ีไม่มกี ารปรับปรุงการเปล่ยี นแปลง ของความเปน็ กรดน้อยมาก เมอื่ ปี 2535 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ได้มรี ับสงั่ เมอื่ คราวเสดจ็ พระราชดาเนนิ ตรวจแปลงศึกษาการเปล่ยี นแปลงความเป็น กรดของดนิ กามะถันวา่ \"...นเ่ี ปน็ เหตุผลอย่างหนง่ึ ท่ีพดู มาสามปีแลว้ หรือส่ีปี ว่าต้องการน้าสาหรับมาให้ดินทางาน ดินทางานแล้วดินจะหายโกรธ อันนี้ไมม่ ใี ครเช่อื แลว้ ก็มาทาท่ีนี้แลว้ มนั ได้ผล... อนั นผี้ ลงานของเราท่ที าทีน่ ่ีเปน็ งานที่สาคัญที่สุด เชอ่ื วา่ ชาวต่างประเทศ เขามาดูเราทาอย่างน้ีแล้ว เขากพ็ อใจ เขามีปญั หานี่แลว้ เขาก็ไมไ่ ด้ แก้หาตาราไม่ได้ ...\" ศนู ยศ์ ึกษาการพฒั นาพกิ ุลทอง อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ จึงได้จดั ทาคู่มือ การปรบั ปรุงดนิเปร้ียวจดั เพ่อื การเกษตรขน้ึ เมือ่ ปี 2536

ตวั อย่าง โครงการแกล้งดินภาพแสดงขน้ั ตอนการเกดิ ดนิ เปรีย้ วในบริเวณป่าพรแุ ละท่ีราบตา่ ขอบพรุ ในท้องทจ่ี งั หวดั นราธวิ าส ภาพท่ี 2.6 พรทุ ม่ี ีน้าขังอยุต่ ามธรรมชาติ ภาพท่ี 2.7 เมื่อน้าถูกระบายออก ดนิ จะถูกแชข่ งั ด้วยน้าส่วนลา่ ง สว่ นดินแห้งตอนบนจะเป็นกรด

ภาพที่ 2.8 เมอ่ื นา้ ระเหยออกกไปมากขึน้ ความหนาของดนิ ทเ่ี ปน็ กรดจัดจะเพ่มิ ขึน้ และช้นั ดินอินทรียวตั ถตุ อนบนจะบางลง เมอื่ นา้ ระเหยออกไปมากขน้ึ ความหนาของดินที่เปน็ กรดจัดจะเพ่ิมมากขึ้น และชน้ั อนิ ทรยี วตุ ถุตอนบนจะบางลง ด้วยพระเมตตาของพระองค์รชั กาลที่ 9 ตลอดระยะเวลา 70 ปี ของการทรงงานพระองค์ทรงสร้างรากฐาน และพัฒนาพนื้ ทใ่ี นประเทศไทยมากมาย เพอ่ื ราษฎรจะได้มชี ีวิตความเปน็ อยู่ท่ดี ีขน้ึ จนเกดิ เปน็ ความเจรญิ บัดนี้…พน้ื ท่ที ดี่ ินเปรีย้ วจัด มิใชพ่ ้ืนทไี่ ร้ประโยชน์อีกแล้ว แต่สามารถนามาทาการเกษตรได้ ท้ังปลูกข้าว ขา้ วโพด ถวั่ ต่างๆ อ้อย งา มันเทศ พชื ผัก ไมผ้ ล และไมย้ นื ตน้ พืชอาหารสัตว์และขดุ บ่อเล้ยี งปลา ไดผ้ ลดีจนนาไปสู่ชวี ติ ทดี่ ขี ึ้นของราษฏรในแถบนั้น ซ่ึงตา่ งพากนั สานึกในพระมหากรุณาธคิ ุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมริ ลู้ มื

การปรบั ปรงุ ดินหลังการแกลง้ ดนิจากการทดลองปรบั ปรงุ ดนิ ทาใหพ้ บวา่ ……. วธิ กี ารปรบั ปรงุ ดนิ อันเนื่องมาจากพระราชดาริ \"แกล้งดนิ \" สามารถเลอื กใชไ้ ด้ 3 วิธกี าร ตามแต่สภาพของดนิ และความเหมาะสม ดังน้ี 1.การใช้นา้ ชะล้างความเปน็ กรด : เปน็ การใชน้ ้าชะล้างดนิ เพ่ือล้างกรดทาให้ค่า pH เพ่มิ ข้ึนโดยวธิ กี ารปลอ่ ยนา้ ใหท้ ว่ มขังแปลง แล้วระบายออกประมาณ 2-3 ครั้ง โดยท้ิงชว่ งการระบายนา้ ประมาณ 1-2สปั ดาหต์ ่อครง้ั ดนิ จะเปรี้ยวจัดในชว่ งดนิ แห้งหรือฤดูแลง้ ดังนัน้ การชะล้างควรเร่ิมในฤดูฝนเพอื่ ลดปริมาณการใชน้ า้ ในชลประทาน การใชน้ ้าชะลา้ งความเป็นกรดต้องกระทาต่อเน่ืองและต้องหวงั ผลในระยะยาวมิใช่กระทาเพยี ง 1-2 คร้งั เท่าน้ัน วธิ ีการนเี้ ปน็ วิธีการทีง่ า่ ยทสี่ ุดแต่จาเปน็ ต้องมีน้ามากพอท่จี ะใช้ชะลา้ งดนิควบคู่ไปกบั การควบคุมระดับน้าใตด้ นิ ให้อยู่เหนือดินเลนท่ีมีไพไรท์มากเมือ่ ล้างดินเปรย้ี วใหค้ ลายลงแลว้ ดินจะมีค่า pH เพม่ิ ขึ้นอีกทั้งสารละลายเหล็กและอลมู เิ นียมทีเ่ ป็นพิษเจือจางลงจนทาใหพ้ ชื สามารถเจรญิ เตบิ โตได้ดี 2.การแก้ไขดินเปรีย้ วดว้ ยการใชป้ นู ผสมคลุกเคล้ากับหน้าดิน ซึง่ มวี ิธีการดังข้ันตอนตอ่ ไปน้ีคอื ใช้วัสดุปูนทีห่ าได้งา่ ยในทอ้ งที่ เชน่ ใชป้ ูนมารล์ (marl) สาหรบั ถาคกลางหรอื ปูนฝนุ่ (lime dust) สาหรับภาคใต้ หวา่ นใหท้ ัว่ 1-4 ตนั ต่อไร่ แล้วไถแปรหรอื พลกิ กลบดิน ปริมาณของปนู ท่ีใชข้ น้ึ อยู่กบั ความรุนแรงของความเป็นกรดของดิน 3.การใช้ปูนควบคู่ไปกับการใชน้ า้ ชะล้างและควบคุมระดับน้าใตด้ ิน เปน็ วธิ กี ารทส่ี มบรณู ท์ ส่ี ดุ และใชไ้ ดผ้ ลมากในพื้นที่ซ่งึ เป็นดนิ กรดจดั รนุ แรงและถูกปลอ่ ยทิ้งให้รกรา้ งว่างเปลา่ เปน็ เวลานาน ภาพที่ 2.9 การใชป้ ูนผสมคลุกเคลา้ กบั หนา้ ดนิ

ประโยชน์ที่ราษฎรไดร้ บั จากโครงการแกลง้ ดนิ เมอ่ื ผลของการศกึ ษาทดลอง สาเร็จผลช้ันหน่งึ ศนู ย์ศึกษาการพฒั นาพิกลุ ทองฯ ได้นาผลการศกึ ษาทดลองขยายผลสพู่ ้ืน ทท่ี าการเกษตรของราษฎร ท่ีประสบปญั หาดินเปร้ยี วจดั ซ่ึงในเรื่องนี้ได้มีพระราชดาริวา่ \"...พน้ื ที่บริเวณบา้ นโคกอิฐ และโคกในเปน็ ดนิ เปรี้ยว เกษตรกรมีความต้องการจะปลกู ข้าว ทางชลประทานได้จัดสง่ นา้ ชลประทานให้ ก็ใหพ้ ัฒนาดนิ เปรี้ยว เหลา่ นี้ใหใ้ ช้ประโยชน์ได้ โดยใหป้ ระสานงานกับชลประทาน...\" ภาพที่ 2.10 นาข้าวที่บา้ นโคกอิฐ จากการพัฒนาบา้ นโคกอฐิ และบา้ นโคกใน ปรากฏว่าราษฎรในพ้นื ท่ีดงั กลา่ ว สามารถปลูกข้าวให้ไดผ้ ลผลติ เพิ่มมากข้ึนจนเป็นทีพ่ อพระราชหฤทยั ถึงกบั มรี ับสง่ั วา่ \"...เราเคยมาโคกอฐิ โคกใน มาดเู ขาช้ีตรงนัน้ ๆ เขาทา แต่ว่าเขาไดเ้ พยี ง 5 ถงึ 10 ถงั แตต่ อนนี้ได้ข้นึ ไปถึง 40-50 ถงั ก็ใช้ไดแ้ ล้ว เพราะวา่ ทาให้เปรย้ี วเตม็ ทแ่ี ล้ว โดยทีข่ ุดอะไรๆ ทาให้เปรยี้ วแล้วก็ระบาย รูส้ กึ ว่านบั วนั เขาจะดีข้นึ ... อันนส้ี ิเป็นชยั ชนะท่ี

ดีใจมาก ที่ใชง้ านได้แลว้ ชาวบ้านเขากด็ ีขึ้น ...แตก่ ่อนชาวบ้านเขาต้องซ้ือ ขา้ ว เดย๋ี วนเี้ ขามีข้าวอาจจะขายได.้ ..\" อย่างไรกต็ าม \" โครงการแกล้งดนิ \" มิไดห้ ยุดลงเฉพาะทใี่ ดทห่ี น่ึง แต่จะต้องดาเนนิ การต่อไป \"...งานปรบั ปรุงดนิ เปร้ยี วควรดาเนนิ การตอ่ ไป ทัง้ ในแง่การศกึ ษาทดลองและการขยายผล...\" ซ่ึงปจั จุบนั ไดน้ าผลการศกึ ษาทดลอง ไปขยายผลแกร่ าษฎรในเขตจงั หวัดนราธิวาส และจังหวัดอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยง่ิขณะน้จี ะมีการนาผลของการ \"แกล้งดิน\" นาไปใช้ในพน้ื ทจี่ ังหวัดนครนายก และจังหวัดนครศรีธรรมราชอกีด้วย ดงั นั้น \" โครงการแกล้งดิน \" จึงเป็นโครงการทกี่ ่อให้เกิดประโยชน์กับราษฎรทั่ว ท้งั ประเทศ สรา้ งความปลม้ื ปิติ แก่เหล่าพสกนิกรเปน็ ลน้ พ้นที่พระ บาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว ทรง ยอมตรากตราพระวรกายลงมา \"แกล้งดนิ \" เพ่ือให้พสกนิกรของพระองค์ พน้ จากความยากจนกลับ มาเบกิ บานแจ่มใสกนั ทั่วหน้าความเปน็ นวัตกรรมของโครงการแกลง้ ดิน เนือ่ งจากเมอื่ วันจันทร์ที่ 5 ตลุ าคม 2535 พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว เสด็จพระราชดาเนินทอดพระเนตรการดาเนินงาน และไดม้ ีพระราชดารสั แสดงถึงความเป็นนวตั กรรมของ “โครงการแกลง้ ดนิ ”ที่ไม่มีใครทามากอ่ น ดังน้ี “โครงการแกลง้ ดนิ น้เี ป็นเหตุผลอยา่ งหนง่ึ ท่ีพดู มา 3 ปีแล้ว หรือ 4 ปกี วา่ แลว้ ตอ้ งการน้าสาหรบัมาให้ดินทางาน ดินทางานแล้วดนิ จะหายโกรธ อันนี้ไม่มใี ครเชื่อ แล้วก็มาทาที่น่ีแลว้ มันได้ผล ดงั นน้ัผลงานของเราที่ทาที่นี่เปน็ งานสาคญั ท่ีสดุ เช่อื วา่ ชาวตา่ งประเทศเขามาดูเราทาอย่างนแ้ี ลว้ เขากพ็ อใจ เขามปี ัญหาแล้วเขากไ็ ม่ไดแ้ ก้ หาตาราไม่ได.้ ..” “... โครงการปรบั ปรุงดินเปรยี้ วควรดาเนนิ การตอ่ ไปในแง่ของการศึกษาทดลองและการขยายผลการทดลองตอ้ งดูอยา่ งน้ี ท้งิ ดินเอาไวป้ ีหน่ึงแล้วจะกลับเปล่ียนหรอื เปล่า เพราะวา่ ความเปรี้ยวมนั เปน็ ชัน้ดนิ ดนิ ที่เปน็ ซัลเฟอร์ (sulfer) แล้วก็ถ้าเราเปิดใหม้ นี ้า อากาศลงไป ใหเ้ ปน็ ซลั เฟอร์ออกไซด์ ซ่งึ ซัลเฟอร์ออกไซดเ์ อานา้ เขา้ ไปอีกที ไปละลายซัลเฟอรอ์ อกไซด์ก็กลายเป็นใส่ออกไซด์ลงไป กเ็ ปน็ กรดซัลฟรุ กิ(sulfuric) แต่ถ้าสมมุตวิ ่าเราใส่อยูต่ ลอดเวลา ชัน้ ดนิ ที่เป็นซัลเฟอรน์ ัน้ ถูกกันไว้ไม่ใหโ้ ดนออกซเิ จนแล้ว

ตอนนไี้ มเ่ พ่ิม....ไม่เพ่ิม acid โดยหลักการเปน็ อย่างนั้น แต่หากวา่ ตอ่ ไปในแปลงต่างๆ เพ่มิ การทดลองอีกเมื่อไดแ้ ล้วท้งิ ไวม้ ันจะกลบั ไปสู่สภาพเดมิ หรอื ไม่ แลว้ เมอ่ื ความเป็นกรดเพิ่มขน้ึ ใหม่ จะพัฒนาให้กลับคนื มาส่สู ภาพนีไ้ ด้ ตอ้ งใชเ้ วลา อาจจะใชเ้ วลาสักปี ดูสภาพวา่ ปไี หนไมไ่ ด้ใช้ ดินมนั จะเสื่อมลงไปเทา่ ไรแล้วจะกลบั คืนมาเรว็ เท่าไร...”“....งานทดลองน้ีเหมือนเป็นตารา ควรทาเป็นตาราท่ีจะนาไปใชใ้ นพื้นท่ดี นิ เปร้ียวอน่ื ๆ ในพืน้ ที่อ่ืนอาจจะไม่ต้องมีการแบง่ เป็นแปลงย่อยเช่นน้ี คนั ดินทีส่ รา้ งเพ่ือกน้ั น้าก็อาจจะใช้คลอง ชลประทานสรา้ งถนนสะพาน การศกึ ษาจงึ ต้องทาแบบนี้...” ทั้งน้ี ไดท้ รงพระราชทานพระราชดาริใหท้ าเปน็ ตาราคือ “คู่มือปรบั ปรงุ ดนิ เปรย้ี วจดั เพอ่ืการเกษตร” สาหรับทีจ่ ะใชพ้ ัฒนาพนื้ ทีด่ ินเปร้ยี วอ่ืนๆ ต่อไป เนื่องในศภุ วาระท่ี พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหุ่ ัว เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ ครบ 60 ปีคณะรฐั มนตรไี ด้มีมตเิ ม่ือวนั ท่ี 20 มถิ ุนายน 2549 เห็นชอบตามที่กระทรวงวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยเี สนอการเทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว เปน็ \"พระบดิ าแห่งนวตั กรรมไทย\" และกาหนดให้วันท่ี5 ตุลาคม ของทุกปี เป็น \"วันนวัตกรรมแหง่ ชาติ\" เพ่ือใหป้ ระชาชนไดร้ ับทราบแนวพระราชดาริด้านการพฒั นาและราลึกพระมหากรุณาธคิ ุณท่ีทรงมีต่อพสกนกิ รชาวไทย พระวิริยะอุตสาหะ พระอัจฉริยภาพอนัล้าเลิศ พระปรชี าสามารถด้านนวัตกรรม จนบังเกิดประโยชน์สขุ ต่ออาณาประชาราษฎรม์ าอย่างต่อเนื่องถึง60 ปี แหง่ การครองสิริราชสมบตั ิ ดว้ ยการใชเ้ ทคโนโลยแี ก้ปัญหาสภาพดนิ เปร้ยี วให้สามารถใชป้ ระโยชน์ทางการเกษตร การใชก้ ังกันน้าชัยพฒั นาในการพฒั นาคุณภาพนา้ และการปลกู หญ้าแฝก ป้องกันการกรอ่ นทะลายของดนิ เพือ่ สดุดีพระเกีรยติคุณใหส้ ถติ สถาพรสบื ไปความเปน็ มาวนั นวัตกรรมแหง่ ชาติ สภาพพื้นท่ีทางภาคใต้มสี ภาพเปน็ ดินเปรี้ยวจดั ทาการเพาะปลกู ไม่ได้ เนื่องจากมีกรดกามะถันอันเป็นสาเหตุของดนิ เปร้ยี วอยเู่ ป็นอันมาก วธิ ีการแก้ไขตามแนวพระราชดาริ กค็ ือ การใช้กรรมวิธี “แกลง้ดนิ ” คือ การทาดินให้เปร้ยี ว ด้วยการทาให้ดินแห้งและเปียกสลับกันเพ่ือเรง่ ปฏิกริ ยิ าทางเคมขี องดนิ ให้มีความเป็นกรดจัดมากข้ึนจนถึงท่ีสุด จากนัน้ จึงมีการทดลองปรบั ปรุงดินเปรยี้ วโดยวิธกี ารตา่ งๆ กนั เช่น

โดยการควบคมุ ระบบน้าใต้ดินเพอื่ ป้องกนั การเกิดกรดกามะถัน การใชว้ สั ดุปนู ผสมประมาณ 1-4 ตนั ตอ่ ไร่การใช้น้าชะลา้ งจนถึงการเลือกใช้พชื ทจ่ี ะเพาะปลกู ในบริเวณน้นั และทาการศึกษาวเิ คราะห์ เพื่อหาวิธีปรับปรงุ ดนิ เปรย้ี วให้สามารถกลบั มาใชป้ ระโยชน์อย่างเต็มที่ “การแกลง้ ดิน” โดยวิธีการที่ได้พระราชทานไว้นัน้ สามารถทาใหบ้ รเิ วณพ้นื ทด่ี ินที่เปล่าประโยชน์และไมส่ ามารถทาอะไรได้ กลับฟื้นคนื สภาพทสี่ ามารถทาการเพาะปลูกได้อีกครง้ั หนึง่ ดว้ ยวธิ กี ารอนั เกดิจากพระปรีชาสามารถโดยแท้ - คณะะกรรมการนวตั กรรมแหง่ ชาติ สานกั งานนวัตกรรมแห่งชาติ ได้มีมตใิ ห้ดาเนินการเทดิ พระเกยี รติพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว เป็น “พระบิดาแหง่ นวัตกรรมไทย” จากโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ “แกล้งดนิ ” ในเขตจังหวดั นราธิวาส และมมี ติให้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้วันที่ 5 ตุลาคม ของทุกปี เป็น “วันนวัตกรรมแหง่ ชาติ” เนอื่ งจากเปน็ วันที่พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ได้เสรจ็ ฯ ทอดพระเนตรการดาเนินโครงการศนู ย์พกิ ุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดาริ และไดม้ ีพระราชดารสั เกี่ยวกับโครงการแกลง้ ดินอย่างเป็นทางการ - เหตุผลในการเลอื กโครงการ “แกลง้ ดนิ ” เนื่องจากพระราชดารคิ ร้ังน้เี ป็นคร้ังแรกในโลกในการนาเสนอแนวคิดและการลงมอื ปฏบิ ัตจิ ริงเพอื่ ปรับปรุงสภาพพน้ื ท่ที ี่มีความเปรยี้ วจนไม่สามารถทาการเพาะปลูกได้ เช่น ดนิ พรุในเขตภาคใต้ มาพัฒนาหาวธิ ที เ่ี หมาะสมในการปรบั ปรงุ พืน้ ทีจ่ นสามารถนามาเพาะปลูกพืชไดอ้ ีกคร้ัง ทั้งนแี้ นวพระราชดาริดงั กล่าวไดเ้ น้นใหเ้ หน็ ถงึ การประสมประสานนวัตกรรมดา้ นเทคโนโลยีควบคู่กบั นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ จนได้วธิ ที ่เี หมาะสมในการแก้ไขดนิ เปร้ยี วได้ - ทฤษฎี “แกล้งดนิ ” เริ่มจากวธิ ีการ แกล้งดนิ ให้เปรี้ยวจัด ด้วยการทาให้ดินแห้งและเปียกสลบั กนั ไปเพื่อเร่งปฏกิ ิรยิ าทางเคมีใหด้ นิ เปร้ียวจดั ปลี ะหลายๆ คร้งั จนกระทงั่ ดนิ มีสภาพความเปน็ กรดสูงที่สุด เพอื่ จะนามาใช้เปน็ เกณฑใ์ นการหาวิธีการปรบั ปรุงดินและปริมาณของสารเคมีหรือนา้ ทีต่ อ้ งใช้ในการปรบั ปรงุ ดนิ ในพืน้ ทพี่ รุให้สามารถปลกู พืชและทาการเกษตรได้ ทัง้ นี้แนวทางการแก้ไขขึน้ อยู่กบั ปจั จัยตา่ งๆไดแ้ ก่ คณุ สมบตั ิของดิน ลักษณะพน้ื ท่ี ลกั ษณะการทาการเกษตรในพื้นที่ดังกล่าว เป็นต้น - วิธีการแก้ไขดนิ เปรยี้ วจดั ตามแนวพระราชดาริ มีดังต่อไปน้ี - วธิ กี ารควบคุมระดับน้าใต้ดนิ

- วธิ ีการปรับปรุงดนิ เชน่ ใชน้ ้าชะล้างความเป็นกรด การใชป้ นู คลุกเคล้ากบั หน้าดิน และการใช้ปนู ขาวควบคไู่ ปกับการใชน้ า้ ชะล้างและควบคมุ ระดับนา้ ใตด้ ิน เปน็ ตน้ - วธิ กี ารปรบั สภาพพื้นทเ่ี พอ่ื ใหส้ ามารถระบายนา้ ไดส้ ะดวก - สานกั งานนวตั กรรมแหง่ ชาติ จะการจัดงานเทิดพระเกียรติ “พระบิดาแหง่ นวัตกรรมไทย”พรอ้ มกับมอบรางวัลพระราชทานประติมากรรมพระบรมรูปปั้นแก่ผชู้ นะเลศิ “รางวลั นวัตกรรมแหง่ ชาติ”ท้ังทางด้านเศรษฐกิจและดา้ นสงั คม ในวนั นวตั กรรมแหง่ ชาติ วนั ท่ี 5 ตลุ าคม 2549มติคณะรัฐมนตรี (20 มิถนุ ายน 2549) คณะรฐั มนตรีเห็นชอบตามที่กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยเี สนอ ให้กระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี และมูลนิธิชัยพัฒนา ร่วมกันดาเนินโครงการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วัดังนี้ ภาพที่ 2.11 พระบิดาแห่งนวัตกรรมไทย - เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั เปน็ “พระบดิ าแหง่ นวัตกรรมไทย” จากโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ “แกลง้ ดิน” ในเขตจังหวัดนราธิวาส - ใหว้ ันท่ี 5 ตุลาคม ของทุกปี เป็น “วนั นวตั กรรมแห่งชาติ” ทั้งน้ี กระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยชี ้ีแจงว่า กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีเปน็หน่วยงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายจากรัฐบาลให้มพี นั ธกจิ ดา้ นการส่งเสรมิ และสนบั สนนุ เพ่ือสรา้ งความสามารถ

ด้านนวตั กรรมของประเทศ โดยได้ดาเนนิ งานทง้ั ดา้ นการยกระดบั นวัตกรรม การสง่ เสริมใหเ้ กิดวัฒนธรรมนวตั กรรม การสร้างความใฝร่ ้ดู า้ นนวตั กรรม ตลอดจนการสร้างองค์กรและระบบนวตั กรรม ทั้งในภาครฐัและภาคเอกชน ซง่ึ กิจกรรมต่างๆ เหลา่ นจ้ี ะนาไปสกู่ ารสร้างระบบนิเวศนวัตกรรมแห่งชาติของประเทศ เนื่องในศภุ วาระท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวเสด็จเถลงิ ถวลั ยราชสมบัติครบ 60 ปีกระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีขอเสนอโครงการเทดิ พระเกยี รติพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เป็น“พระบดิ าแหง่ นวตั กรรมไทย” จากโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ “แกลง้ ดิน” ในเขตจงั หวดันราธิวาส ซงึ่ โครงการดังกล่าวเป็นวธิ กี ารแก้ไขพื้นที่ที่มีสภาพเป็นดนิ เปร้ยี วจดั ทาการเพาะปลูกไมไ่ ด้เนื่องจากมีกรดกามะถันอนั เป็นสาเหตขุ องดินเปรยี้ วอยเู่ ปน็ อนั มาก การแก้ไขดินเปรี้ยวตามแนวพระราชดาริกค็ ือการใช้กรรมวิธี “แกล้งดนิ ” คือ การทาดินใหเ้ ปร้ยี วดว้ ยการทาให้ดินแห้งและเปียกสลบั กันเพ่ือเร่งปฏิกริ ยิ าทางเคมขี องดนิ ให้มคี วามเปน็ กรดจัดมากข้นึ จนถึงที่สดุ จากน้นั จงึ มีการทดลองปรับปรงุ ดินเปรี้ยวโดยวธิ กี ารต่างๆ กัน เช่น โดยการควบคุมระบบน้าใตด้ นิ เพ่ือป้องกนั การเกิดกรดกามะถัน การใชว้ ัสดุปนู ผสมประมาณ 1 – 4 ตนั ต่อไร่ การใชน้ า้ ชะลา้ งจนถึงการเลอื กใช้พชื ท่ีจะเพาะปลูกในบรเิ วณนั้น การ “แกล้งดนิ ” ตามแนวพระราชดารสิ ามารถทาให้พ้นื ดนิ ที่เปลา่ ประโยชน์และไม่สามารถทาอะไรได้กลบั ฟน้ื คืนสภาพท่ีสามารถทาการเพาะปลูกได้อีกครั้งหน่งึ จากโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ “แกล้งดนิ ” กระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีพิจารณาเห็นวา่ ดว้ ยพระปรีชาสามารถของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัวทางด้านนวตั กรรมและพระมหากรณุ าธิคุณท่ีทรงมตี อ่ พสกนิกรไทย ซงึ่ จะเห็นไดจ้ ากพระราชกรณียกจิ เกี่ยวกบั โครงการนี้ ดงั นี้ วนั ท่ี 24 สงิ หาคม 2535 พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัวทรงมีพระราชดารสั เก่ียวกับพื้นทใี่ นจงั หวดั นราธิวาสเปน็ พืน้ ดินมีคุณภาพตา่ สมควรทจี่ ะมกี ารปรบั ปรงุ พัฒนา โดยให้หนว่ ยงานตา่ งๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ งมาดาเนินการศึกษาและพฒั นาพืน้ ท่ีพรุรว่ มกันแบบผสมผสานและนาผลสาเรจ็ ของโครงการไปเป็นแบบอย่างในการทจ่ี ะพฒั นาพืน้ ท่ดี นิ พรุในโอกาสตอ่ ไป วนั ที่ 16 กนั ยายน 2547 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั พระราชทานพระราชดาริ “ โครงการแกลง้ ดนิ ” โดยให้ศนู ย์ศึกษาการพฒั นาพิกลุ ทองอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ ดาเนินการศึกษา ทดลองเพื่อปรับปรุงดินเปรย้ี วให้สามารถใชป้ ระโยชนท์ างการเกษตรได้ วนั ท่ี 5 ตลุ าคม 2535 พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดาเนินทอดพระเนตรการดาเนนิ โครงการของศูนยพ์ ิกุลทองฯ และทรงมีพระราชดารัสแสดงถึงความเป็นนวัตกรรมของ “โครงการ

แกล้งดิน” ที่ไม่มีใครทามากอ่ น และพระราชทานพระราชดาริให้ทาเปน็ ตารา คือ “คูม่ ือปรับปรงุ ดนิ เปร้ยี วจดั เพอื่ การเกษตร” สาหรับท่ีจะใช้พฒั นาที่ดินเปรีย้ วอ่ืนๆ ต่อไป เพอ่ื เปน็ การเทิดพระเกยี รติพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั และเพื่อให้ประชาชนได้รับรู้ถึงแนวพระราชดาริในด้านการพฒั นา และพระมหากรณุ าธคิ ุณท่ที รงมีต่อพสกนิกรชาวไทยมาอยา่ งต่อเน่ืองตลอด60 ปี กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยจี งึ เสนอคณะรัฐมนตรีพจิ ารณาดังกลา่ วโครงการนวัตกรรมเทิดพระเกียรติ วนั ที่ 24 สิงหาคม 2524 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงมีพระราชดารัสกับ หม่อมเจ้าจักรพันธุ์เพ็ญศริ ิ จักรพันธุ์ องคมนตรี นายสุเมธ ตันติเวชกลุ เลขาธกิ าร กปร. นายชติ นลิ พานชิ ผวู้ า่ ราชการจังหวดั นราธิวาส นายเล็ก จินดาสงวน ผชู้ ่วยอธิบดกี รมชลประทาน นายอาเภอท้องท่ี และข้าราชการที่เกี่ยวข้องในจังหวดั นราธิวาส สรปุ ความวา่ “ดว้ ยพื้นท่จี านวนมากในจังหวดั นราธวิ าส เปน็ ท่ลี ุ่มต่า มีนา้ ขังตลอดปี ดนิ มคี ณุ ภาพตา่ ซึง่ พนื้ ท่ีท้ังหมดประมาณสามแสนไร่ เกษตรกรจานวนมากไม่มีทที่ ากนิ แม้เม่ือระบายนา้ ออกจากพนื้ ทห่ี มดแล้วยงัยากท่จี ะใช้ประโยชน์ทางการเกษตรให้ไดผ้ ล ทัง้ นี้ เน่ืองจากดินมสี ารประกอบไพไรท์ ทาใหม้ กี รดกามะถันเม่อื ดนิ แห้งทาให้ดินเปร้ยี ว ควรปรับปรงุ ดนิ ให้ดีขน้ึ ดงั น้ัน เหน็ สมควรที่จะมีการปรบั ปรุงพฒั นา โดยให้มีหนว่ ยงานตา่ งๆ ท่ีเก่ียวข้องมาดาเนินการศึกษาและพัฒนาพืน้ ท่ีพรุรว่ มกนั แบบผสมผสานและนาผลสาเร็จของโครงการไปเปน็ แบบอย่างในการทจ่ี ะพัฒนาพ้นื ทดี่ นิ พรใุ นโอกาสตอ่ ไป....” พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ทรงพระราชทานพระราชดาริ “โครงการแกล้งดิน” โดยให้ศนู ย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ ดาเนนิ การศึกษา ทดลอง เพ่ือปรบั ปรุงดินเปร้ยี วใหส้ ามารถใช้ประโยชนท์ างการเกษตรได้ ทรงพระราชทานพระราชดาริ ณ ศนู ยศ์ ึกษาการพฒั นาพิกลุ ทองฯ ความวา่ “...ให้มีการทดลองทาดินให้เปรีย้ วจดั โดยการระบายน้าใหแ้ ห้งและศึกษาการแก้ดนิ เปรี้ยว เพ่ือนาผลไปแกป้ ัญหาดินเปรี้ยวให้แก่ราษฎรทีม่ ปี ัญหาในเรอื่ งนี้ ในเขตจงั หวัดนราธวิ าส โดยให้ทาโครงการศึกษาทดลองในกาหนด 2 ปี และพืชทีท่ าการทดลองควรเปน็ ขา้ ว...”

ประโยชนท์ ่ีได้รับจากโครงการแกล้งดนิ ไดม้ ีการนาเทคโนโลยีท่ไี ดน้ ้ีไปถา่ ยทอดใหก้ บั เกษตรกรท่ีบ้านโคกอิฐ-โคกใน อาเภอตากใบ จงั หวดันราธวิ าส จากพน้ื ทีท่ านาไม่ได้ผล กระท่ังสามารถปลูกข้าวได้ 40-50 ถัง/ไร่ นับเปน็ การขยายผลการพัฒนาท่ีประสบความสาเร็จเป็นอยา่ งมาก ซง่ึ ประโยชนท์ ่ไี ดร้ บั คอื - ทาให้ดนิ เปร้ยี วที่ไม่สามารถปลกู พชื ใดๆ ได้ พัฒนาจนสามารถปลกู พืชเศรษฐกิจได้ - ทาใหเ้ กษตรกรทมี่ ีที่นาในพน้ื ทพ่ี รุ ซึ่งเป็นดินเปร้ียวจัด สามารถใช้ปลูกขา้ ว ปลูกพชื ล้มลุก พืชผักพืชไร่ รวมถึงการปลูกไม้ผลได้ ซง่ึ เปน็ การชว่ ยใหเ้ กษตรกรมีรายได้เพ่ิมขนึ้ศูนย์ศึกษาการพฒั นาพกิ ุลทองอันเนือ่ งมาจากพระราชดาริ ภาพท่ี 2.12 ศูนย์ศกึ ษาการพฒั นาพกิ ลุ ทองอนั เนือ่ งมาจากพระราชดาริ จากการท่ีพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ร.9 เสดจ็ พระราชดาเนินไปทรงเย่ียมเยียนราษฎรในพ้นื ที่ภาคใต้ ทรงพบว่า พน้ื ทีจ่ านวนมากมสี ภาพเปน็ พรุทมี่ ีนา้ ทว่ มขังตลอดทงั้ ปี อีกท้ังดนิ เปน็ ดนิ เปร้ยี วจัดและมคี ณุ ภาพตา่ ไมส่ ามารถนามาใชป้ ระโยชน์ทางการเกษตรได้ จงึ มีพระราชดาริให้หน่วยงานจากกรมกอง

ต่างๆ มารว่ มกันศกึ ษาหาวธิ ีการเป็นต้นแบบในการพฒั นาพื้นทพี่ รุ แลว้ นาผลสาเร็จจากการศึกษานี้ไปขยายผลการพฒั นาในพน้ื ทข่ี องราษฎร จึงโปรดเกล้าฯ ใหจ้ ัดตง้ั โครงการศูนยศ์ กึ ษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนือ่ งมาจากพระราชดาริ ข้ึนเมือ่ วันที่ 6 มกราคม พ.ศ.2525 ศูนย์ศึกษาการพฒั นาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ตง้ั อยู่พน้ื ที่บ้านพกิ ลุ ทองและบา้ นโคกสยา ตาบลกะลวุ อเหนือ อาเภอเมือง จงั หวัดนราธิวาส ประกอบดว้ ยพ้ืนท่ดี าเนินการ ดังนี้ 1.พน้ื ทีบ่ ริเวณศูนย์ศึกษาการพฒั นาพิกลุ ทองฯ เนอ้ื ท่ี 1,740 ไร่ 2.พ้นื ที่หม่บู ้านรอบศูนย์ฯ มีท้ังหมด 11 หมบู่ ้าน ได้รับการส่งเสรมิ ด้านการเกษตรและพฒั นาอาชีพ ให้สามารถพ่ึงตนเองได้ 3.ศูนย์สาขา 4 สาขา คือ โครงการสวนยางตนั หยง โครงการพัฒนาหมูบ่ า้ นปีแนมูดอ โครงการหมู่บา้ นปศสุ ัตว์เกษตรมโู นะ โครงการหมู่บ้านโคกอิฐ และบ้านยูโร 4.พ้ืนทที่ ่ีมีพระราชดารใิ หด้ าเนนิ การ เช่น พ้ืนทด่ี ินเปรยี้ วจัด ทบี่ ้านโคกกระท่อม บ้านตอหลัง และบ้านทรายขาว อาเภอตากใบ จังหวดั นราธิวาส การพัฒนาพรแุ ฆแฆ อาเภอสายบุรี จงั หวัดปัตตานี ซงึ่ เป็นทีด่ ินอินทรยี ์ ดินเปร้ยี ว และดินทราย ทีร่ าษฎรต้องการใช้ประโยชน์ โครงการปรับปรงุ ภาวะโภชนาการของเด็กอายุ 0-60 เดอื น โครงการศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็กอันเนอื่ งมาจากพระราชดาริ ส่งเสรมิ ให้เด็กทม่ี ีอายุระหวา่ งสอง 21 – 5 ปี มกี ารพัฒนาการและการอบรมเล้ยี งดูทถ่ี กู ต้องเหมาะสม พร้อมที่จะเขา้ เรยี นใน 2ระดบั ประถมต่อไป โครงการฟน้ื ฟแู ละพัฒนาการเกษตร ในเขตลมุ่ น้าบางนรา อยู่ในเขตอาเภอเมือง ยี่งอระแงะ ตากใบ และเจาะไอรอ้ งวัตปุ ระสงค์ และการดาเนนิ งาน เพอ่ื ใหก้ ารดาเนนิ งานโครงการเป็นไปตามแนวพระราชดาริในการแก้ปญั หาการใชท้ ีด่ นิ ในพ้ืนที่พรุอย่างมีประสิทธภิ าพ ราษฎรมีรายไดเ้ ลีย้ งตัวเองและครอบครวั พฒั นาเปน็ ชมุ ชนท่เี ข้มแข็ง ศูนยศ์ กึ ษาการพัฒนาพิกุลทองฯ จงึ ได้ดาเนินงานในลกั ษณะผสมผสานตามแนวพระราชดาริ เพ่อื ช่วยเหลือราษฎรที่เดอื ดรอ้ นจากสภาพปัญหาต่างๆใหใ้ ชป้ ระโยชน์จากท่ีทากนิ ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ โดยศึกษา คน้ ควา้ วิจยัและพฒั นาดนิ อินทรีย์และดินทีม่ ีปัญหาอื่นๆ ในพ้นื ทีพ่ รุและพน้ื ทท่ี ม่ี ีพระราชดาริ เพอื่ นามาใชป้ ระโยชน์ทางการเกษตร ท้ังการปลูกพืช การเลย้ี งสตั ว์ การเกษตรอุตสาหกรรมและอ่ืนๆ ตามข้อกาหนดการใช้

ประโยชน์พ้นื ท่ีพรุ โดยคานึงถึงความเหมาะสมสอดคล้องกบั สภาพแวดลอ้ มของพื้นทีภ่ าคใต้ เพื่อให้เป็นต้นแบบแหง่ ความสาเร็จให้กับพื้นท่ีอ่นื ท่ีเป็นศนู ย์กลางการพัฒนาแบบเบด็ เสร็จ ทมี่ ีการศกึ ษา ทดลองและสาธติ ใหเ้ ห็นถงึ ความสาเร็จของการพฒั นาด้านตา่ งๆ ในลักษณะผสมผสานท่ีเปน็ สหวิทยาการเสมอื นหน่ึงเปน็ “พิพธิ ภัณฑ์ธรรมชาตทิ ่ีมชี ีวิต” สาหรับเกษตรกรและประชาชนทม่ี ีความสนใจทั่วไปเขา้ มาศกึ ษาดูงานตา่ งๆ เช่น โครงการแกลง้ ดนิ อันเป็นรปู แบบของการพัฒนาพ้นื ที่ดินเปรยี้ วจดั การเกษตรทฤษฎใี หม่การปรับปรงุ นา้ เปร้ยี ว ได้นาไปใช้เปน็ แบบอยา่ งในการประกอบอาชีพ การพฒั นาแบบผสมผสาน ดว้ ยการนาผลสาเรจ็ ที่ได้รับจากการศึกษาคน้ ควา้ ทดลองภายในศูนย์ฯไปขยายผลเพื่อการพฒั นา โดยจดั ทาในรปู แบบของการถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่พื้นทข่ี องเกษตรกรในลกั ษณะการพัฒนาแบบผสมผสานกนั ท้งั ดา้ นความรู้ การดาเนนิ งาน และการบริหารอยา่ งเปน็ ระบบ เป็นศูนยก์ ลางขอ้ มลู การพัฒนาต่างๆ เพอื่ แลกเปลีย่ นส่อื สารทงั้ ในด้านวิชาการ และการปฏิบตั ิให้แก่กลุ่มเป้าหมายต่างๆ พฒั นายกระดับรายได้ และคณุ ภาพชวี ิต ของประชาชนในหมบู่ ้านรอบศูนยฯ์ และศูนยฯ์ สาขาใหม้ กี ารดารงชวี ิตท่ีพออยู่พอกินและสามารถพึง่ พาตนเองได้ เพือ่ นาไปสกู่ ารเข้ามามรส่วนรว่ มในกระบวนการพฒั นาประเทศโดยรวม พฒั นาและอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม โดยเฉพาะในพนื้ ที่พรุใหม้ คี วามสมบรู ณ์รวมท้ังฟื้นฟพู ื้นทเี่ สื่อมโทรมให้สามารถใชป้ ระโยชน์ได้อยา่ งเหมาะสมทรงตดิ ตามความคืบหน้าของโครงการฯ ด้วยพระองค์เอง แมโ้ ครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ จะมีมากมายหลายพนั โครงการ แตพ่ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ร.9 กท็ รงตดิ ตามความคบื หน้าของโครงการฯ เหลา่ นัน้ ด้วยพระองค์เอง ท้ังยังไดพ้ ระราชทานพระราชดาริ เพอ่ื ใหน้ าไปใชป้ รับปรงุ การดาเนนิ งานเพ่ือเกดิ สมั ฤทธอิ ันสูงสุด ดงั จะได้อันเชิญพระราชดารสัสว่ นหนงึ่ ท่ีไดพ้ ระราชทานแก่บุคคลต่างๆ นับแต่ไดโ้ ปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ัดต้งั ศูนย์ศึกษาพัฒนาพิกุลทองฯ ขึ้นที่จงั หวัดนราธวาส

“...ดว้ ยพนื้ ทีจ่ านวนมากในจงั หวดั นราธวิ าส เป็นทีล่ ุม่ ต่ามีน้าขงั ตลอดปี ดนิ มีความอุดมสมบรู ณต์ ่า ซง่ึ มีเนือ้ ท่ที ั้งหมดประมาณ 300,000 ไร่ กสิกรจานวนมากไมม่ ีท่ที ากนิ แมเ้ มื่อระบายน้าออกหมดแล้ว ยงั ยากที่จะใช้ประโยชนท์ างการเกษตรให้ไดผ้ ล ทงั้ นเี้ นื่องจากดินมีสารไพไรท์ ทาให้เกดิ กรดกามะถัน เม่อื ดินแหง้ทาให้ดินเปรยี้ ว ควรปรับปรุงดินให้ดีขึ้น ดังนน้ั จึงเห็นสมควรทีจ่ ะมีการปรบั ปรุงพฒั นาโดยใหม้ หี น่วยงานต่างๆ ทีเ่ กยี่ วข้องเขา้ มาดาเนินการศึกษา แลพฒั นาพ้ืนท่ีพรุรว่ มกันแบบผสมผสาน และนาผลสาเรจ็ ของโครงการไปเป็นแบบอย่างในการท่ีจะพัฒนาพน้ื ท่พี รุอืน่ ในโอกาสตอ่ ไป...”“...ที่ต้ังของศนู ย์ฯ น้ี เพอ่ื ประสงค์สาคัญยิ่งสองทาง ทางหน่ึงคือเป็นการสาธิตการพัฒนาเบ็ดเสร็จ หมายถึงทกุ สง่ิ ทุกอย่าง ทกุ ดา้ นของชีวติ ประชาชนทจี่ ะหาเลย้ี งชพี ในท้องที่จะทาอยา่ งไรและได้เห็นวทิ ยาการแผนใหม่จะสามารถที่จะหาดวู ธิ กื ารจะทามาหากินให้มีประสทิ ธิภาพและเป็นข้อบังคบั อยา่ งหนึ่ง...” พระราชดารัส พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัว ร.9 ระหว่างเสด็จพระราชดาเนนิ ตรวจพื้นท่ี เพ่ือจดั ตงั้ ศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาพิกลุ ทองฯ วันที่ 18 สงิ หาคม พ.ศ.2524“...ศูนย์ศึกษาการพัฒนาทม่ี อี ยใู่ นจงั หวัดนราธิวาส เป็นศนู ยศ์ ึกษาทหี่ นักไปทางด้านคน้ ควา้ วิจยั และบริการในชีวิตความเป็นอยใู่ นภาคใต้ หนักไปในทางดนิ ที่เป็นพรุ ซึง่ เปน็ ปญั หามาก เพราะว่ายงั ไม่ได้ศึกษาพอ และเก่ยี วข้องกบั กรมกอง หลายกรมกอง ซง่ึ อาจจะยงั ไม่ปรองดองกันคือ ไม่เข้าใจกัน ก็มาวจิ ยั พร้อมกันทีเดียว จะได้มคี วามเขา้ ใจกนั ได้...” พระราชดารสั พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ร.9 เมือ่ เสด็จพระราชดาเนินตรวจเยีย่ มโครงการศูนย์ศกึ ษาการพฒั นาพิกุลทองฯ วนั ท่ี 11 กนั ยายน พ.ศ.2526ในการดาเนนิ งานของศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกลุ ทองฯ บางคร้ังพบปัญหาทย่ี งั ไมท่ ราบสาเหตุ เมือ่ ทรงทราบกไ็ ดพ้ ระราชทานพระราชดาริ ที่แสดงถงึ พระอจั ฉรยี ภาพ บางเรื่องเปน็ ปญั หาชนิดเสม้ ผมบังภูเขา ที่เจ้าหน้าทีแ่ ละผ้เู ช่ยี วชาญของศูนยฯ์ ก็คาดไม่ถงึ

“...ตน้ ยางอายุเท่ากนั แต่การเจรญิ เตบิ โตไมเ่ ท่ากัน จะเหน็ วา่ บางต้นเจริญไดด้ ี บางต้นเจริญไม่ได้ ใหข้ ดุ ดินไปวิเคราะหว์ จิ ยั หาสาเหต.ุ ..” พระราชดารัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว ร.9 เม่อื เสดจ็ พระราชดาเนนิ ตรวจเยย่ี มโครงการศูนย์ศกึ ษาการพฒั นาพิกลุ ทองฯ วันท่ี 1 ตุลาคม พ.ศ.2530“...สภาพพ้นื ท่ดี ินเปรย้ี วในบา้ นโคกอิฐ บ้านโคกใน เกษตรกรมคี วามต้องการจะปลกู ขา้ ว ทางชลประทานได้จดั ส่งนา้ ชลประทานมาให้ กใ็ หพ้ ัฒนาทดี่ นิ เปรยี้ วเหลา่ นใ้ี หใ้ ช้ประโยชนไ์ ด้ และใหป้ ระสานงานกับชลประทานว่าจะต้องควบคุมระดบั นา้ ใต้ดินอยเู่ ท่าใด...” พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว ร.9 มีพระราชดารัสกับผู้อานวยการศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ วันที่ 3 กันยายน พ.ศ.2533“...ศกึ ษาทดลองเลยี้ งไก่ตามสภาพธรรมชาติ โดยใช้เศษอาหาร ข้าวเปลือก เมลด็ ยาง เมล็ดปาลม์ น้ามันเศษวัชพชื เปน็ อาหารไก่ ไม่จาเปน็ ตอ้ งทากรง ทาแต่เพิง...”“...ผู้ทที่ างานในศูนย์ศึกษาการพฒั นาจะต้องเปน็ ทง้ั นกั วจิ ัยและนักฝกึ อบรมผู้ท่มี าเยยี่ มเยียนชมศูนย์ศึกษานอกจากจะไดม้ าเทย่ี วชมจะได้รับความรูก้ ลับไป...” พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัว ร.9 มีพระราชดารสั กบั ผ้วู า่ ราชการจงั หวดั นราธวิ าส ปศสุ ตั ว์จงั หวดั นราธิวาส และผู้อานวยการศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกลุ ทองฯ วนั ท่ี 25 กนั ยายน พ.ศ.2533

“...เรือ่ งการยกรอ่ งในการปลูกไมย้ นื ตน้ ในดินเปร้ยี วใหเ้ ปดิ หน้าดนิ ออกก่อน แลว้ ขุดดินด้านลา่ งมาเสรมิบริเวณสันร่อง และนาหน้าดินเข้ามาอกี ครึง่ หนงึ่ จะทาใหส้ ันร่องปลกู พชื สงู เพ่มิ มากข้นึ ...” พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั ร.9 ทรงมีพระราชดาริกับอธบดกี รมพฒั นาที่ดนิ และหัวหนา้ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพกิ ลุ ทองฯ วนั ท่ี 7 ตลุ าคม พ.ศ.2533 เม่อื ศนู ย์ศกึ ษาการพฒั นาพิกุลทองฯ ดาเนนิ โครงการแกล้งดินไปได้ในระยะหนง่ึ แล้วพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวร.9 ไดเ้ สด็จฯ ทอดพระเนตรความคืบหน้าของโครงการ และได้พระราชทานพระราชดาริให้ศึกษาการเปล่ียนแปลงความเปน็ กรดของดินกรดกามะถนั เพ่ิมเติมว่า“...ในการศึกษาแปลงที่ 1-5 ใหด้ าเนินการตามท่ีกรมพฒั นาที่ดนิ เสนอคือ - แปลงที่ 1 ทดลองใช้นา้ ชะล้างความเปน็ กรด และสารพิษให้ออกจากดนิ แลว้ ใชป้ ลกู ข้าวในฤดูฝนและปลกู พชื ล้มลกุ ในฤดูแลง้ - แปลงที่ 2 ทดลองใชน้ ้าชะล้างความเป็นกรด และสารพิษใหอ้ อกจากดนิ ควบคู่กบั การใช้หินปูนฝนุ่ เพอ่ืใชป้ ลกู ข้าวในฤดฝู นและปลูกพืชลม้ ลุกในฤดูแลง้ - แปลงที่ 3 ทดลองการใช้หนิ ปนู ฝุ่นแตเ่ พียงอยา่ งเดียว โดยไมใ่ ช้น้าชะลา้ งความเปน็ กรดของดินเพ่ือใช้ปลกู ขา้ วในฤดฝู น และปลูกพืชล้มลุกในฤดูแล้ง - แปลงที่ 4 ทดลองเพื่อหาผลตกคา้ งของปุ๋ยฟอสฟอรสั ทใ่ี สล่ งไปแลว้ ในการทดลองชว่ งท่ี 2 - แปลงท่ี 5 ทดสอบการปลูกผักชนดิ ต่างๆ โดยใชว้ สั ดปุ รบั ปรุงดนิ ทีเ่ คยศึกษาแลว้ ในพ้ืนท่ีพรขุ องศูนย์ฯ - แปลงท่ี 6 ใหท้ าใหส้ ภาพเหมือนกบั บ้านยโู ร โคกใน แล้วศกึ ษาการปรับปรงุ ดนิ ...”

“...โครงการแกลง้ ดินน้ีเปน็ เหตุผลอยา่ งหนึ่งท่ีพดู มา 3 ปี แล้วหรอื 4 ปีกวา่ แลว้ ตอ้ งการนา้ สาหรับมาให้ดนิ ทางาน ดินทางานแล้วดนิ จะหายโกรธ อนั นไ้ี มม่ ใี ครเช่อื แล้วกม็ าทาทีน่ ี่ แล้วมนั ไดผ้ ล ดังนนั้ ผลงานของเราทีท่ าที่นเี่ ปน็ งานสาคัญท่ีสดุ เชอื่ วา่ ชาวต่างประเทศเขามาดู เราทาอยา่ งน้ีแลว้ เขากพ็ อใจ เขามีปัญหาแลว้ เขาก็ไมไ่ ด้แกห้ าตาราไม่ได้...” พระราชทานพระราชดาริ กับ พล.อ.ต.กาธน สนิ ธวานนท์ องคมนตรี นายจลุ นภ สนิทวงศ์ ณ อยธุ ยา องคมนตรี นายสเุ มธ ตันตเิ วชกลุ เลขาธกิ าร กปร. และเจ้าหน้าทกี่ รม ชลประทาน วันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ.2535ทรงมีสายพระเนตรยาวไกล“...การขยายผลที่เราทดลองที่นจ่ี ะไปเปน็ ประโยชน์สาหรบั ทีอ่ ่ืน อยา่ งท่จี งั หวดั นครนายกท่ีเราต้องการให้นครนายกมนี ้า เดยี๋ วนีน้ ครนายกแห้งแลง้ แลว้ ก็เปรย้ี ว เมื่อเปรยี้ วแล้วเอาปนู มาใสก่ ย็ ังไม่ดี ท่เี ราศกึ ษาทจี่ ะเปน็ ประโยชน์จะเปน็ เหตผุ ลที่จะตอ้ งทาโครงการจดั น้ามานครนายก ดนิ เปร้ยี วจะหายเปรี้ยว ไม่ใชเ่ อะอะก็เอาปูนขาวมาใส่ ... ใชเ้ ฉพาะปนู ไม่มปี ระโยชนก์ ็ต้องศกึ ษา...”“...เมือ่ มีการแก้ไขตามที่กลา่ วมาแล้ว การใชน้ า้ ก็สามารถลดความเปน็ กรดของดนิ จะสามารถปลกู พืชไดผ้ ลดแี ล้วให้ปลอ่ ยทิง้ ไว้ เพ่ือศกึ ษาว่ากามะถันท่ีอยูใ่ นดนิ จะทาปฏกิ ิริยากบั ออกซิเจนแลว้ ทาใหเ้ กิดกรดอีกหรือไม่ ถา้ เกดิ กรดขึ้นมาอีกกใ็ หแ้ ก้ไขใหมด่ วู า่ จะใช้เวลานานเทา่ ใด...”“...งานทดลองนเี้ หมือนเป็นตารา ควรทาเป็นตาราที่จะนาไปใช้ในพนื้ ทดี่ ินเปรี้ยวอืน่ ๆ ในพ้ืนที่อน่ื อาจจะไม่ต้องการแบ่งเปน็ แปลงย่อยเช่นน้ี ดนั ดินทส่ี ร้างเพ่ือกัน้ นา้ ก็อาจจะใช้คลองชลประทาน สรา้ งถนน สะพานการศึกษา จงึ ต้องทาแบบน.ี้ ..” พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว ร.9 พระราชทานพระราชดาริ กับ พล.อ.ต.กาธน สินทวานนท์ องคมนตรี นายจลุ นภ สนทิ วงศ์ ณ อยธุ ยา องคมนตรี นายสเุ มธ ตันตเิ วชกุล เลขาธกิ าร กปร.

และเจ้าหนา้ ท่ีกรมชลประทาน วันท่ี 5 ตุลาคม พ.ศ.2535ทรงห่วงใยทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมอันทรงคุณคา่“...ควรกาหนดขอบเขตป่าพรุให้แน่นอน เพือ่ ป้องกนั การบุกรุกพ้ืนทีอ่ ันท่ีจะทาให้สภาพแวดลอ้ มเสยี หมด...พรเุ ราต้องเก็บไว้ เพราะมคี วามสาคญั เก่ียวกบั ส่ิงแวดล้อม ต้องห้ามไม่ให้บุกรุกเข้าไป คราวนีเ้ ราทาโครงการที่โคกใน เขาจะบุกเข้าไปไม่ได้อีกแลว้ เพราะจากัดบรเิ วณเขา ในพรุเราก็สง่ เสรมิ เอาไม้พรุ เพม่ิประสทิ ธภาพ อยา่ งตามขา้ งทางนส้ี ววยมากๆ ไมเ้ หลาชะโอนก็มี...” พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ร.9 พระราชทานพระดารแิ ก่คณะทางาน ระหว่างเสดจ็ พระราชดาเนนิ ทรงเยี่ยมโครงการศนู ยศ์ ึกษาการพฒั นาพกิ ุลทอง วันท่ี 9 ตลุ าคม พ.ศ.2535ทรงรูจ้ ักเมืองไทยทกุ ตารางนิ้ว“...น้าในคลองบางนรา.. ยังมีคณุ ภาพไม่ดนี ัก เพราะว่ามนี า้ เปรยี้ วลง.. แตว่ ่าถา้ ทางานทางโนน้ ใหด้ ี – ให้ออกได้ กจ็ ะดีขึน้ – คลองโคกไผเ่ ล็กมาก ตอ้ งขยาย – น้าจากพรมุ าลงที่โคกไผจ่ านวนมาก – คลองลานก็ใหญไ่ ม่พอ ต้องการขยายอีก.. ตอ้ งยอมเสียที่ ถา้ เราทาได้ น้าเสียก็จะไปลงทปี ระตูระบายนา้ ปูยไู ม่ลงบางนรา.. ตามทฤษฎี ถา้ ลงทา้ ยปูยไู ดท้ ้งั หมด คือ นา้ เปรยี้ วทั้งหมดไปทา้ ยปูยูเลยจะดที ่ีสดุ เพราะว่าทั้งหมดน้ีจะทากนิ ได้เปน็ หมื่นไร.่ . กว่าจะปรับให้ดขี ึ้นจะเสยี เวลาอีกหายปี แลว้ ท่ีเขาเคยหนา้ บาน ทน่ี กี้ ็หายหน้าบานยอมให้โครงการบางนรานีช่ า้ ไปนิดหน่ึง.. บางนราทัง้ อันจะใชไ้ ดผ้ ลด.ี ..”“...เคยพูดเมอ่ื 2 ปีก่อน มโู นะนา้ ไมพ่ อ มูโนะจะเลยี้ งบางนราไมไ่ ด้ เราตอ้ งเอาน้าจากที่อื่น วธิ ีทดี่ ีกค็ ือปรบั ปรงุ คลองสุไหงปาดีให้คลอ่ ง อนั น้ีอาจจะแพง แต่ว่าคุ้ม ต้นน้าสุไหงปาดดี ีมาก น้าสุไหงปาดที ั้งกลมุ่เขาตะเวนา้ เยอะ เอามาชว่ ยพ้ืนทท่ี ากนิ ได้...”

ทรงหว่ งใยเมืองไทย และคนไทย“...แตก่ อ่ นนี้เมืองไทย 20 ลา้ น เดี๋ยวน้ี 60 ล้านคน.. ขา้ วก็ต้องเพิ่มข้นึ แตถ่ ้ามาบอกวา่ ข้าวไมด่ ี ขายไม่ออกในเมืองไทยกใ็ ช้ข้าวมาก แต่ก่อนน้ีผลติ 20 ล้านตนั Export 3 ลา้ นตัน จะเป็น 17 ล้านตัน บรโิ ภค เดี๋ยวนี้ก็ตอ้ งบริโภคมากข้ึน 25 ไป 30 ลา้ นตนั Export ก็ 3 ล้านตัน 4 ล้านตัน เคยเป็นอย่างเดิม ถ้าไม่ Exportเกือบจะไมเ่ ปน็ ไร เพราะเมืองไทยบริโภคเอง.. ถงึ ถ้ามาบอกวา่ ไมค่ วรปลกู ข้าวนะ เป็นส่งิ ทแ่ี ย่ ถ้าลดจานวนข้าวท่จี ะปลกู เราต้องซ้ือข้าว.. เราถึงพยายามศึกษาข้าวใหป้ ลูกให้ได้.. ขา้ วตอ้ งปลูก เพราะอีก 20 ปีประชากรอาจจะ 80 ล้านคน ข้าวจะไมพ่ อ ถา้ ลดการปลกู ข้าวไปเรอื่ ยๆ ข้าวจะไมพ่ อ เราจะต้องซื้อขา้ วจากต่างประเทศ.. เร่ืองอะไรประชาชนคนไทยไม่ยอม คนไทยน้ีตอ้ งมขี า้ ว แม้ขา้ วในเมืองไทยสู้ปลูกในตา่ งประเทศไม่ได้ เรากต็ ้องปลูก ฉะนนั้ นี่แหละดนู า่ ชื่นใจท่สี ดุ ดไู ดผ้ ล แต่ก่อนนเ้ี รามายืนตรงน้ี เหน็ พ้ืนที่ท่เี ขาทาน้อยกว่าน้ี แตว่ ่าเปน็ จุดทเี่ ขยี วทส่ี ุดใช้ได.้ . น่ี ทม่ี าทีน่ ี่ ดใี จมาก ที่ทัง้ เจ้าหนา้ ทท่ี ุกคนรว่ มกันทาและชาวบา้ นรว่ มกัน ชว่ ยกันทา เห็นผล จึงตอ้ งมาดูทน่ี ี่ จะอธบิ ายได้...” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว ร.9 พระราชทานพระราชดารแิ กค่ ณะทางาน ระหวา่ งเสดจ็ พระราชดาเนินทรงเยีย่ มโครงการศนู ย์ศึกษาการพฒั นาพกิ ุลทองฯ วนั ท่ี 28 กันยายน พ.ศ.2536

บทที่ 3 แผนการดาเนินงาน การดาเนินงาน ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ1.รวบรวมหัวข้อโครงงานท้ังหมดท่ี 6 ตลุ าคม 2560 สมาชิกทุกคนเก่ียวขอ้ ง2.แบง่ หวั ขอ้ งาน เพอ่ื ไปหาขอ้ มูล 6 ตุลาคม 2560 สมาชกิ ทกุ คน3.นาเสนอความคืบหนา้ ของโครงงาน 17 ตุลาคม 2560 กลุ ยา4.รวบรวมข้อมูลทง้ั หมด 10 พฤศจิกายน 2560 จริ าภรณ์ กุลยา5.จดั ทาสอ่ื PowerPoint 10 พฤศจกิ ายน 2560 จิราภทั ร6.จัดทารปู เลม่ 10 พฤศจิกายน 2560 กลุ สตรี7.จดั ทาสื่อ Ebook 12 พฤศจิกายน 2560 กุลยา จริ าภรณ์8.นาเสนอรายงาน 21 พฤศจกิ ายน 2560 จิราวรรณ เขมกิ า จิราภรณ เขมกิ า ตารางที่ 3.1 แผนการดาเนินงาน

บทท่ี 4 ผลการศึกษา จากการศึกษาโครงการแกล้งดิน พบว่าเน่ืองมาจากเม่ือปี พ.ศ. 2524 พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัว ร.9ไปทรงเย่ยี มราษฎรในเขตจังหวดั นราธวิ าส และทรงพบว่า ราษฎรมีความเดือดร้อนหลายเร่ือง โดยเฉพาะในกลุ่มของ เกษตร มีการขาดแคลนท่ีทากิน หรือปัญหาในพื้นท่ีพรุซ่ึงมีน้าขังอยู่ตลอดปีถึงแม้สามารถทาให้น้าแห้งได้ ดินในพ้ืนท่ีเหล่านั้นก็ยังเป็นดินเปร้ียวจัด ทาการเกษตรได้ผลน้อยไม่คุ้มทุนเพ่ือจะได้มีพ้ืนท่ีใช้ทาการเกษตร และเป็นการบรรเทาอุทกภัยนั้น ทาให้ดินในพ้ืนท่ีพรุแปรสภาพเป็นดินเปรี้ยวจัด ทาให้เพาะปลูกไม่ได้ผล พระองค์ทรงตระหนักถึงปัญหาเหล่าน้ี จึงทรงตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาพกิ ลุ ทองอนั เนื่องมาจากพะราชดาริ ข้นึ ที่จงั หวัดนราธิวาส เพ่อื ทาการศึกษาค้นควา้ ขบวนการเปล่ยี นแปลงดนิ เปร้ยี วจัดให้เขา้ ใจอย่างถอ่ งแทด้ พี อเสยี ก่อน ก่อนท่ีจะศึกษาหาวธิ กี ารปรบั ปรงุ ใชป้ ระโยชน์ได้ตอ่ ไป คณะรัฐมนตรไี ด้มีมตเิ มอ่ื วันที่ 20 มถิ นุ ายน 2549 เหน็ ชอบตามทกี่ ระทรวงวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยีเสนอการเทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ร.9 เป็น \"พระบิดาแห่งนวัตกรรมไทย\" และกาหนดให้วันท่ี 5 ตุลาคม ของทุกปี เป็น \"วันนวัตกรรมแห่งชาติ\" เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบแนวพระราชดาริด้านการพัฒนาและราลึกพระมหากรุณาธิคุณท่ีทรงมีต่อพสกนิกรชาวไทย ด้วยการใช้เทคโนโลยีแกป้ ญั หาสภาพดนิ เปรีย้ วใหส้ ามารถใช้ประโยชนท์ างการเกษตร การใช้กังกันน้าชยั พัฒนาในการพัฒนาคุณภาพน้า และการปลูกหญา้ แฝก ป้องกันการกร่อนทะลายของดิน เพื่อสดุดีพระเกีรยติคุณให้สถติสถาพรสบื ไป

บทที่ 5 สรปุ ผลและข้อเสนอแนะสรปุ ผล จากการศึกษา โครงการแกลง้ ดนิ สรุปผลไดว้ า่ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 9 ไดเ้ สดจ็พระราชดาเนินแปรพระราชฐานและทรงเย่ยี มเยียนราษฎรในภาคใต้อย่างสมา่ เสมอตงั้ แต่ปี 2516 เร่อื ยมาทาใหท้ รงทราบว่าราษฎรในพ้ืนทแ่ี ถบจังหวดั นราธิวาส และจงั หวดั ใกล้เคียงประสบปญั หาอยนู่ านัปการราษฎรขาดแคลนท่ีทากิน อนั เป็นสาเหตุสาคญั ในการดารงชพี พ้ืนทดี่ ินพรุที่มกี ารระบายน้าออกจะแปรสภาพเปน็ ดนิ เปร้ยี วจัด เน่อื งจากสารไพไรท์ทมี่ ีอยใู่ นดนิ ทาปฏิกิริยากบั ออกซิเจนในอากาศแลว้ ปลดปลอ่ ยกรดกามะถันออกมามากจนถึงจดุ ทเ่ี ป็นอันตรายต่อพืชทีป่ ลูกหรือทาใหผ้ ลผลิตลดลงอยา่ งเหน็ ไดช้ ัด จงึ ได้มีพระราชดาริให้จดั ตง้ั \"โครงการศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดาริขน้ึ ณ จังหวัดนราธวิ าส เมอื่ ปี 2524 เพื่อศึกษาและปรับปรุงแก้ไขปัญหาพ้ืนท่ีพรใุ ห้สามารถใช้ประโยชน์ทางการเกษตรและดา้ นอน่ื ๆได้ประโยชน์ทไี่ ดร้ ับจากโครงงาน 1.ช่วยทาใหท้ างานรว่ มกับผู้อื่นอยา่ งเปน็ ระบบ 2.เกิดการแบ่งปัน และยอมรับความคิดเหน็ ของผู้อ่นื ท่ีมีมมุ มองแตกต่างกนั ออกไป 3.รู้จกั การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า 4.ในการทางานฝึกให้เปน็ ท้ังผูน้ า และผตู้ ามที่ดี 5.เกดิ ความคิดท่ีดี และนาไปใชอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์ปญั หาและอปุ สรรค 1.สมาชิกในกล่มุ มเี วลาว่างในการทางานไมต่ รงกนั 2.ข้อมลู ทนี่ ามาค่อนข้างซ้ากันหลายคน 3.ข้อมลู ในแตล่ ะหวั ข้อที่ไปศึกษามาน้นั มีค่อนข้างจะมจี านวนน้อย

ขอ้ เสนอแนะ 1.เวลาทางานไม่ตรงกนั วธิ แี ก้ไขปญั หา คือ การตดิ ต่อส่ือสารในสอื่ ออนไลน์ เช่น ไลน์ เฟซบ๊กุ 2.ข้อมูลซ้ากัน วธิ แี ก้ไขปญั หา คือ การนาข้อมมลู เหล่าน้ันมาเรียบเรยี งและวเิ คราะหก์ ่อนนาไปใช้ 3.ขอ้ มลู มจี านวนน้อย วิธแี ก้ไขปัญหา คือ การคน้ คว้าข้อมูลจากหลายๆส่ือเพิ่มมากขนึ้ อีก เชน่ หนังสือ วารสาร หนังสอื พิมพ์ เวบ็ ไซต์ตา่ งๆ เปน็ ต้น

บรรณานกุ รม . (ม.ป.ป.). แกลง้ ดนิ สาเร็จแลว้ ราษฎรได้ประโยชนอ์ ะไร. (ออนไลน์). สืบคน้ เมอ่ื 16 ตุลาคม 2560, จาก http://km.rdpb.go.th/Knowledge/View/56 . (ม.ป.ป.). “ทฤษฎแี กล้งดิน” เปลี่ยนดินให้เป็นทอง. (ออนไลน)์ . สบื ค้นเมื่อ 7 ตลุ าคม 2560, จาก http://www.hongthongrice.com/life/5436/นภันต์ เสริกลุ . (2549). ความเปน็ มาของโครงการแกล้งดิน. ม.ป.ท. : ม.ป.พ.นภนั ต์ เสรกิ ลุ . (2549). ศูนย์ศกึ ษาการพฒั นาพิกุลทองอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ. ม.ป.ท. : ม.ป.พ. . (ม.ป.ป.). วธิ ีการแกลง้ ดนิ ตามพระราชดาริ. (ออนไลน)์ . สืบคน้ เมอ่ื 7 ตุลาคม 2560, จาก http://www.baanjomyut.com/library_2/soil/07.htmlสานกั ประชาสมั พันธเ์ ขต 6. (ม.ป.ป.). โครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ. (ออนไลน์). สบื ค้นเมอื่ 19 ตลุ าคม 2560, จาก http://region6.prd.go.th/main.php?filename=royal_projectMaditate. (2554). ประเภทของนวตั กรรม และท่านคิดว่า โครงการแกลง้ ดิน เปน็ นวัตกรรม ประเภทใด. (ออนไลน์). สืบคน้ เมอ่ื 21 ตุลาคม 2560, จาก http://www.tpa.or.th/writer/

ภาคผนวก

ภาพที่ 1 ภมู ปิ ระเทศจงั หวัดนราธวิ าส ภาพท่ี 2 ลักษณะของปา่ พรุ

ภาพท่ี 3 ลักษณะของดนิ เปรี้ยวภาพที่ 4 แปลงทดลองการแกล้งดนิ

ภาพท่ี 5 ศูนยศ์ ึกษาพฒั นาพิกุลทอง อันเนือ่ งมาจากพระราชดาริ ท่ี จ.นราธวิ าส ภาพที่ 6 การโรยปูนฝุ่นเพ่ือปรับสภาพดิน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook